You are on page 1of 3

บทที่ 1

บทนำ

1.1 ควำมเป็นมำของโครงงำน
แหล่งน้ำเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นมำจำกธรรมชำติที่ได้สร้ำงขึ้นและนำมำหมุนเวียนใช้ได้อย่ำงไม่มีวันหมด
เนื่องจำกน้ำเป็นปัจจัยหลักที่ส ำคัญ ต่อกำรด ำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตรวมถึง มนุษย์ โดยมนุษย์ยัง ใช้
ประโยชน์จำกน้ำในทั้งด้ำนอุปโภคและบริโภคตลอดจนงำนด้ำนอุตสำหกรรมทำงกำรเกษตร ตลอดจน
ยังสำมำรถใช้เป็นต้นก ำลังในกำรสร้ำงพลังงำนในกำรผลิตกระแสไฟฟ้ำ เพี่อทดแทนพลังงำนจำก
เชื้อเพลิงที่ได้จำกซำกของฟอสซิล และพลังงำนจำกน้ำนี้ยังเป็นแหล่งพลังงำนสะอำดและไม่เ กิ ด
มลภำวะพิษทำงอำกำศ กำรผลิตไฟฟ้ำจำกพลังงำนน้ำเป็นวิธีที่มีต้นทุนถูกและสะอำด ซึ่งมีขั้ นตอน
กำรท ำงำน คือ 1) เก็บน้ำไว้ในอ่ำงน้ำ โดยกำรก่อสร้ำงเขื่อนเพื่อให้ระดับที่เก็บอยู่สูงกว่ำโรงไฟฟ้ำ
ระดับน้ำที่แตกต่ำงกันมำกนี้ จะทำให้น้ำถูกปล่อยลงมำมีแรงดันที่สูง 2) ปล่อยน้ำลงมำตำมท่อ ไปยัง
อำคำรโรงไฟฟ้ำที่อยู่ต่ำกว่ำโดยควบคุมปริมำณน้ำให้ได้ตำมต้องกำร 3) น้ำจะถูกส่งเข้ำเครื่องกังหัน
ผลักดันใบพัดของกังหันน้ำ ท ำให้กังหันหมุนด้วยควำมเร็วสูง 4) เพลำของเครื่องกังหันที่ต่อเข้ำกับ
เพลำของเครื่องก ำเนิดไฟฟ้ำออกมำใช้ในปัจจุบันประเทศไทยใช้ไฟฟ้ำจำกกำรผลิตด้วยพลังงำนน้ำ
ประมำณร้อยละ 5-6% ของปริมำณกำรใช้ไฟฟ้ำทั่วประเทศ พลังงำนไฟฟ้ำที่ได้จำกพลังงำนน้ำเป็น
เพียงแหล่งผลิตไฟฟ้ำเสริมให้ กับระบบไฟฟ้ำของประเทศในช่วงที่มีกำรใช้ไฟฟ้ำสูงหรือที่เรียกว่ำ พีค
โหลด (Peak load) เพรำะโรงไฟฟ้ำจำกพลังงำนน้ำสำมำรถเดินเครื่องได้รวดเร็ว และสำมำรถหยุด
เดินเครื่องได้ทุกเวลำตำมควำมต้องกำร ซึ่งต่ำงกับโรงไฟฟ้ำที่ใช้ ซำกดึกดำบรรพ์เป็นเชื้อเพลิง (Fossil
fuel) ที่ใช้เวลำนำนในกำรเดินเครื่องสำหรับหน่วยงำนหลักของประเทศไทยที่ทำหน้ำที่ผลิตไฟฟ้ำจำก
พลังงำนน้ำ คือ กำรไฟฟ้ำฝ่ำยผลิตแห่งประเทศไทย โดยมีโรงไฟฟ้ำพลังงำนน้ำอยู่ในควำมรับผิดชอบ
20 แห่งประเทศและมีกำลังกำรผลิตรวมทั้งสิ้นประมำณ 2.9 GW/Year (เบญจมำภรณ์ กมลสินธุ์, 2545)
ในพื้นที่หรือชุมชนที่อยู่ห่ำงไกลซึ่งสำยส่งไฟฟ้ำเข้ำไม่ถึง จ ำนวนประชำกรที่มีอยู่ในชุมชนไม่
เพียงพอต่อกำรลงทุนของกำรไฟฟ้ำส่วนภูมิภำค จึงมีผลให้ชุมชนนั้นไม่มีโอกำสได้ใช้ไฟฟ้ำจะอำศัยแสง
สว่ำงจำกตะเกียง หรือก่อกองไฟ ถ้ำชุมชนมีฐำนะก็รวบรวมทุนหำซื้อเครื่องปั่นไฟฟ้ำมำใช้ ซึ่งเชื้อเพลิง
น้ำมันที่ใช้ก็มีรำคำสูงขึ้นและกำรหำซื้อก็ต้องเดินทำงเข้ำในตัวเมืองที่มีระยะทำงที่ไกล ทำให้มีต้นทุน
ในกำรผลิตสูง เมื่อ กำรไฟฟ้ำส่วนภูม ิภำคไม่สำมำรถจ่ำยไฟฟ้ำให้ได้ กำรผลิตไฟฟ้ำด้วยพลังงำน
ทำงเลือกจึงจำเป็นสำหรับชุมชนที่ห่ำงไกล บำงชุมชนก็ได้รับควำมช่วยเหลือจำกภำครัฐ โดยนำระบบ
ผลิตไฟฟ้ำจำกแสงอำทิตย์มำติดตั้งให้ แต่ค่ำใช้จ่ำยในกำรลงทุนและกำรติดตั้งค่อนข้ำงสูง และในช่วง
ที่ที่มีแสงน้อยไม่เพียงพอต่อกำรผลิตไฟฟ้ำ เช่น ฤดูฝนปริมำณแสงจำกดวงอำทิตย์น้อยก็ไม่เพียงพอต่อ
2

ควำมต้องกำร ส่วนพลังงำนจำกลมก็เป็นทำงเลือกอีกทำงหนึ่งที่สำมำรถผลิตไฟฟ้ำได้ แต่ปริมำณและ


ควำมเร็วลมที่พัดไม่สม่ำเสมอ จึงทำให้ยำกต่อกำรควบคุม กำรผลิตไฟฟ้ำจำกแหล่งน้ำเล็กๆ ก็เป็นอีก
ทำงเลือกหนึ่งที่ควรพิจำรณำในพื้นที่หรือชุมชนห่ำงไกลที่มีลำน้ำเล็กๆ หลำยสำย และมีน้ำไหลค่อน
ข้ำงจะคงที่ เรำสำมำรถนำพลังงำนจำกล ำน้ำเล็กๆ เหล่ำนี้มำใช้ผลิตไฟฟ้ำสำหรับส่องสว่ำงในตอน
กลำงคืน กระแสไฟฟ้ำที่ผลิตได้มำกหรือน้อยก็ขึ้นอยู่กับขนำดของลำน้ำ เป็นกำรช่วยพัฒนำชีวิตควำม
เป็นอยู่ในพื้นที่หรือชุมชนที่ห่ำงไกลได้ (เบญจมำภรณ์ กมลสินธุ์, 2545)
ผู้วิจ ัยจึงมีแนวคิด ที่จ ะปรับ ปรุงและพัฒนำเพื่อให้เครื่องกัง หันน ้ำ ผลิตไฟฟ้ำ แบบเทอร์โกมี
สมรรถนะสูงขึ้น โดยในโครงงำนนี้ผ ู้วิจัย จะปรับ ปรุง ประสิทธิภำพด้วยกำรเปลี่ยนลักษณะและ
เปรียบเทียบชนิดของใบกังหันน้ำแบบเทอร์โกที่มีใบกังหันแตกต่ำงกัน 3 แบบ โดยออกแบบใหม่ 2 แบบ
โดยใช้โปรแกรม Solid works และเปรียบเทียบกับใบกังหันเดิมที่อัตรำกำรไหล 400 500 600 700
800 900 และ 1000 LPM โดยสมรรถนะที่ต้องกำรศึกษำคือ ก ำลังงำนไฟฟ้ำด้ำนออกของกังหัน
ควำมเร็วรอบของกังหัน ควำมเร็วจำเพำะของกังหัน และประสิทธิภำพของกังหัน

1.2 วัตถุประสงค์ของโครงงำน
1.2.1 เพื่อพัฒนำใบกังหันของเครื่องกังหันน้ำผลิตไฟฟ้ำแบบเทอร์โก
1.2.2 เพื่อศึกษำสมรรถนะเครื่องกังหันน้ำผลิตไฟฟ้ำแบบเทอร์โกที่มีใบกังหันแตกต่ำงกัน 3 แบบ

1.3 ขอบเขตของโครงงำน
1.3.1 เปรียบเทียบลักษณะและจำนวนใบที่มีต่อสมรรถนะของเครื่องกังหันน้ำผลิตไฟฟ้ำที่มใี บ
กังหัน 3 แบบ โดยออกแบบใหม่ 2 แบบ โดยใช้โปรแกรม Solid works และเปรียบเทียบกับใบกังหันเดิม
1.3.2 อัตรำกำรไหลของน้ำ 7 ระดับ คือ 400 500 600 700 800 900 และ 1000 LPM
1.3.3 เครื่องกังหันน้ำผลิตไฟฟ้ำที่ใช้ในกำรทดลองแบบเทอร์โก มีกำลังงำน 3,000 W ที่ควำมเร็ว
รอบ 1,500 rpm
1.3.4 หัวฉีด (Nozzle) ของกังหันน้ำจำนวน 2 หัวฉีด
1.3.5 ชุดต้นกำลังคือ เครื่องยนต์ ISUZU 4JB1-T 2.8 และขนำดท่อน้ำออก 2 นิ้ว ขับปั๊มน้ำที่มี
อัตรำกำรไหล 1,400 LPM ที่ควำมเร็วรอบ 3,600 rpm
1.3.6 สมรรถนะของเครื่องกังหันน้ำ คือ
1.3.6.1 กำลังงำนไฟฟ้ำด้ำนออกของเครื่องผลิตไฟฟ้ำ
1.3.6.2 ควำมเร็วรอบของเครื่องกังหันน้ำ
1.3.6.3 ควำมเร็วจำเพำะของเครื่องกังหันน้ำ
1.3.6.4 ประสิทธิภำพรวมของเครื่องกังหันน้ำ และเจนเนอเรเตอร์
3

1.3.7 จำนวนใบกังหันน้ำ 18 ใบ
1.3.8 ทดลองซ้ำจำนวน 3 ครั้ง

1.4 สถำนที่ดำเนินงำน
สำขำวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศำสตร์ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลล้ำนนำ ตำก

1.5 วิธีกำรดำเนินงำน
1.5.1 ศึกษำทฤษฎีและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1.5.2 ออกแบบและสร้ำงเครื่องกังหันน้ำผลิตไฟฟ้ำแบบเทอร์โก
1.5.3 ทดสอบเครื่องกังหันน้ำผลิตไฟฟ้ำและเก็บข้อมูล
1.5.4 วิเครำะห์ผลกำรทดลอง
1.5.5 สรุปผลกำรทดลอง
1.5.6 จัดทำเล่มปริญญำนิพนธ์

1.6 ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ
1.6.1 ได้เครื่องกังหันน้ำผลิตไฟฟ้ำแบบเทอร์โก ที่มีประสิทธิภำพเพิ่มขึ้น
1.6.2 ได้ทรำบสมรรถนะกำรทำงำนของเครื่องกังหันน้ำผลิตไฟฟ้ำแบบเทอร์โก
1.6.3 สำมำรถนำไปทดลองใช้กับชุมชนต่ำงๆ ที่มีแม่น้ำลำธำร

1.7 แผนกำรดำเนินงำน
ตำรำงที่ 1.1 แผนกำรดำเนินงำน
ลำดับขั้นตอนกำรดำเนินงำน มิ.ย 65 ก.ค 65 ส.ค 65 ก.ย 65
1.7.1 ศึกษำทฤษฎีและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1.7.2 ออกแบบและสร้ำงเครื่องกังหันน้ำผลิตไฟฟ้ำแบบ
เทอร์โก
1.7.3 ทดสอบเครื่องกังหันน้ำผลิตไฟฟ้ำและเก็บข้อมูล
1.7.4 วิเครำะห์ผลกำรทดลอง
1.7.5 สรุปผลกำรทดลอง
1.7.6 จัดทำเล่มปริญญำนิพนธ์

You might also like