You are on page 1of 9

บทที่ 9

การทำความสะอาดถังและไล่แก๊ส

(Tank Cleaning and Gas Freeing)


ในบทนี้ จะกล่าวถึงวิธีการล้างถังและแก๊สฟรี ถังสิ นค้าและที่อบั อากาศ (Enclosed Space) อื่น ๆ ภายหลังสูบถ่ายสินค้าปิ โตรเลียมระเหยง่าย (Volatile
Petroleum) หรื อปิ โตรเลียมระเหยยาก (Non-Volatile Petroleum) บรรทุกในถังที่ไม่ทำแก๊สฟรี (Non-Gas Free Tank) มาก่อน หรื อเมื่อเป็ นไป
ได้วา่ อาจมีแก๊สรั่วไหลเข้าไปในถังหรื อที่อบั อากาศนั้น ๆ โดยกำหนดข้อควรระมัดระวังเกี่ยวกับความปลอดภัย รวมทั้งในส่ วนที่เกี่ยวกับ Crude Oil Washing ถังสิ นค้า
ด้วย

9.1. การควบคุมบังคับบัญชาและการเตรี ยมงาน (Supervision and Preparation)


9.1.1. การควบคุมบังคับบัญชางาน (Supervision)
นายประจำเรื อผูร้ ับผิดชอบจะต้องเป็ นผูค้ วบคุมบังคับบัญชาการล้างถังและแก๊สฟรี

9.1.2. การเตรี ยมงาน (preparations)


2 6
ทั้งก่อนและระหว่างการล้างถังและแก๊สฟรี นายประจำเรื อผูร้ ับผิดชอบควรทบทวนข้อควรระวังที่กล่าวไว้ในบทที่ และ ได้รับการปฏิบตั ิอย่างเหมาะสมเป็ นที่
พอใจ ควรมีการแจ้งให้พนักงานบนเรื อทุกคนทราบโดยทัว่ กันว่าการล้างถังและแก๊สฟรี กำลังจะเริ่ มขึ้น

ถ้ามีเรื อเล็กจอดเทียบอยูด่ ว้ ย ควรจะแจ้งให้พนักงานประจำเรื อเล็กนั้นทราบด้วยเช่นเดียวกัน และควรตรวจสอบว่าได้ปฏิบตั ิตามมาตรการความปลอดภัยที่เหมาะสม


หรื อไม่

ก่อนล้างถังหรื อแก๊สฟรี ขณะที่เรื อเทียบท่ารับส่ งน้ำมันควรมีมาตรการเพิ่มเติมดังนี้


 ปฏิบตั ิตามข้อควรระวังในบทที่ 4 ตามความเหมาะสม
 ควรแจ้งให้พนักงานที่รับผิดชอบของท่าทราบ เพื่อให้แน่ใจว่าสภาพบนท่าจะไม่ทำให้เกิดอันตรายและจะต้องได้รับการยินยอมจากท่าก่อนว่า
สามารถเริ่ มปฏิบตั ิได้

9.1.3. การทำแก๊สฟรี และล้างถังขณะเดียวกับการรับส่ งสิ นค้า (Gas Freeing and Tank Cleaning Concurrently with Cargo
Handling)
ตามกฎทัว่ ไปการล้างถังและแก๊สฟรี ไม่ควรทำไปพร้อม ๆ /
กับการรับ ส่ งสิ นค้า ในกรณี ที่มีเหตุ
จำเป็ นที่ตอ้ งทำควรจะปรึ กษาหารื ออย่างใกล้ชิด และได้รับการยินยอมจากทั้งนายท่าและเจ้าพนักงานของรัฐผูม้ ี อำนาจ

การล้างถังด้วยน้ำมันดิบ (Crude Oil Washing) และการสูบส่ งสิ นค้าอาจทำพร้อมกันได้ แต่จะต้องแจ้งให้นายท่าทราบก่อน (ดูขอ้ 9.4.)
9.1.4. การทดลองสายยางล้างถัง (Testing of Tank Cleaning Hose)
สายยางล้างถังทุกเส้นที่จะใช้ในการล้างถังจะต้องได้รับการทดลองการต่อเนื่องไฟฟ้ า (Electric Continuity) ในสภาพที่แห้งและจะต้องมีความต้านทานไม่
เกิน 6 โอห์ม ต่อความยาว 1 เมตร

9.1.5. การลงถังสิ นค้า (Entry into Cargo Tanks)

Page 1 of 9
ผูห้ นึ่งผูใ้ ดจะลงไปในถังสิ นค้าไม่ได้ นอกจากได้รับอนุญาตจากนายประจำเรื อผูร้ ับผิดชอบและได้ทำตามมาตรการควบคุมความปลอดภัยอย่างเหมาะสมแล้วเท่านั้น
รวมถึงการออกใบอนุญาต (Entry Permit) ด้วย (ดูบทที่ 11)
9.1.6. เครื่ องวัดแก๊ส (Gas Measuring Equipment)
เพื่อควบคุมบรรยากาศในถังให้ถกู ต้องและตรวจสอบประสิ ทธิผลของการทำแก๊สฟรี บนเรื อ ควรจะมีเครื่ องมือวัดแก๊สไว้จำนวนหนึ่ง ซึ่งขึ้นอยูก่ บั ชนิดของบรรยากาศ
ที่ตอ้ งการควบคุม อย่างไรก็ตามอย่างน้อยจะต้องมีเครื่ องมือดังต่อไปนี้ อย่างละ 2 เครื่ องพร้อมอุปกรณ์
 สำหรับถังที่มีแก๊สบางมาก (Too Lean Tank
Atmosphere)
- เครื่ องวัดที่ติดไฟได้ (Flammable Gas Indicator) ที่สามารถวัดแก๊สได้ถึงจุดพิกดั ล่าง (Lower
Flammable Limit) โดยมีสเกลอ่านได้เป็ นร้อยละของพิกดั ล่าง

 สำหรับถังที่มีบรรยากาศเฉื่อย (Inerted Tank Atmosphere)


- เครื่ องวัดที่สามารถวัดเปอร์เซ็นต์โดยปริ มาตรของแก๊สไฮโดรคาร์บอนในบรรยากาศเฉื่อย
- เครื่ องวัดอ๊อกซิเจน (Oxygen Analyser)
 สำหรับถังที่มีส่วนผสมของแก๊สมากเกิน (Over Rich Tank Atmosphere)
- เครื่ องวัดที่สามารถวัดความเข้มข้นของแก๊สไฮโดรคาร์บอนในอากาศได้มากกว่า 15% โดยปริ มาตร

ในการตรวจสอบว่าประสิ ทธิผลของการทำแก๊สฟรี เพื่อให้คนลงไปในถังควรมีเครื่ องมือเหล่านี้


- เครื่ องวัดแก๊สติดไฟได้สามารถวัดได้ถึงพิกดั ล่าง (Lower Flammable Limit) และมีสเกลอ่านได้เป็ นเปอร์เซ็นต์ของ
LEL
- เครื่ องวัดอ๊อกซิเจน (Oxygen Analyser)
- เครื่ องมือที่สามารถวัดความเข้มข้นของแก๊สที่เป็ นพิษต่อคน อ่านได้เป็ นส่ วนของล้าน (Part Per Million – PPM)

เครื่ องมือที่จะใช้วดั แก๊สควรได้รับการแคลิเบรต และทดสอบตามคำแนะนำของผูผ้ ลิตก่อนที่จะเริ่ มล้างถังและแก๊สฟรี

สายดูดตัวอย่างจะต้องเหมาะสมกับการใช้งานกับแก๊สที่ทำการวัดและทนต่อน้ำร้อนที่ใช้ลา้ งถัง

9.2. การล้างและทำความสะอาดถังสิ นค้า (Cargo Tank Washing and Cleaning)


9.2.1. บรรยากาศในถัง (Tank Atmosphere)
บรรยากาศของถังอาจจะเป็ นอย่างใดอย่างหนึ่ งดังต่อไปนี้
เฉื่อย (Inerted) - คือบรรยากาศที่ไม่สามารถจะลุกติดไฟได้ โดยใส่แก๊สเฉื่อย
ลงไปเพื่อลดปริ มาณอ๊อกซิเจน ในที่น้ี ถือเอาปริ มาณอ๊อกซิ
เจนไม่เกิน 8% โดยปริ มาตรเป็ นเกณฑ์
แก๊สเบาบาง (Too Lean) - คือบรรยากาศที่ไม่สามารถลุกติดไฟได้ โดยการลดปริ มาณ
แก๊สไฮโดรคาร์บอนให้ต ่ำกว่าพิกดั ติดไฟต่ำสุด (LEL)
แก๊สหนาแน่น (Over Rich) - คือบรรยากาศที่ไม่สามารถลุกติดไฟได้ โดยการลดปริ มาณ
แก๊สไฮโดรคาร์บอนอยูเ่ กินพิกดั บน (UFL) ขึ้นไป (ดู 9.2.5.)
ไม่ระบุ (Undefined) - คือบรรยากาศที่อาจจะอยูส่ ูงกว่า , ต่ำกว่าหรื ออยูใ่ นพิสัย
ติดไฟได้ (Flammable Range)

Page 2 of 9
9.2.2. การล้างถังที่มีบรรยากาศเฉื่อย (Washing in an Inert Atmosphere)
การรักษาให้บรรยากาศยังคงอยูใ่ นสภาพเฉื่อยในระหว่างการล้างถัง และข้อควรระวังควรปฏิบตั ิตามที่กล่าวไว้ในข้อ 10.6.8.
9.2.3. การล้างถังที่มีบรรยากาศแก๊สเบาบาง (Washing in a too Lean Atmosphere)
ต้องปฏิบตั ิตามข้อควรระวังดังนี้
(a) ,
ก่อนล้างถังควรจะเอาน้ำลงให้ท่วมก้นถังแล้วสูบออก ควรจะต้องใช้น ้ำไล่ระบบท่อทางรวมถึงปั๊ มสิ นค้า ท่เชื่อมระหว่างระบบ (Crossover) ท่อส่ง น้ำที่
ใช้ไล่ท่อควรระบายลงถังที่ออกแบบไว้หรื อส่ งไปยังถังสล็อปที่กหนดไว้
(b) ก่อนล้างถังควรระบายอากาศเพื่อลดความเข้มข้นของแก๊สลงให้เหลือ 10%
ของพิกดั ล่าง (LEL)
หรื อน้อยกว่าการวัดแก๊สควรทำหลายระดับโดยพิจารณา
ถึงกระเปาะหรื อหลืบต่าง ๆ ของโครงสร้างถังที่อาจมีแก๊สถูกกักอยู่
ควรเดินพัดลมระบายอากาศและตรวจแก๊สอย่างต่อเนื่ องตลอดระยะเวลาของการล้างถัง การระบายอากาศควรเป็ นลักษณะที่การถ่ายเทของอากาศผ่านสะดวก
จากด้านหนึ่งไปยังอีกด้านหนึ่งของถัง
(c) ถ้าถังนั้นมีระบบระบายไอระเหย (Venting) ร่ วมกับถังอื่นจะต้องปิ ดกั้นป้ องกันแก๊สจากถังอื่นให้ยอ้ นเข้ามา
(d) ถ้าใช้เครื่ องล้างถังเคลื่อนที่ ควรต่อสายน้ำ (Hose) ที่จะใช้แล้วตรวจความต่อเนื่องของไฟฟ้ าก่อนที่จะหย่อนเครื่ องลงไปในถัง และไม่ควรถอดข้อต่อออก
จากกันจนกว่าจะนำเครื่ องล้างถังขึ้นมาจากถัง การระบายน้ำออกจากท่อควรทำโดยการแย้มหน้าแปลนและกวดเข้าไปใหม่ก่อนที่จะดึงเครื่ องขึ้นมา
(e) ในระหว่างล้างถังต้องตรวจวัดแก๊สตามระยะเวลาที่ระดับต่าง ๆ ควรพิจารณาถึงประสิ ทธิภาพของเครื่ องวัดอันเนื่องมาจากผลของน้ำ ควรหยุดการล้างถังเมื่อ
ปรากฏว่ามีแก๊สมากกว่า 50% ของ LEL และจะเริ่ มล้างใหม่หลังจากทำการระบายอากาศจนแก๊สลดเหลือ 20% ของ LEL และคงที่อยูท่ ี่จุดนี้สักพัก
หนึ่ง
(f) ในระหว่างการล้างถังควรสูบน้ำออกพร้อมกันไป และควรหยุดล้างเมื่อน้ำล้างถังสู งขึ้นมาเรื่ อย ๆ
(g) ไม่ควรใช้น ้ำที่ลา้ งถังแล้วหมุนเวียนกลับมาใช้อีก
(h) ไม่ควรใช้ไอน้ำพ่นลงถัง
(i) ในระหว่างการล้างถังที่ไม่สามารถระบุลกั ษณะบรรยากาศ (Unidentified Atmosphere) ควรใช้ความระมัดระวังในการใช้อุปกรณ์วดั ถังตัก
ตัวอย่างที่กล่าวในข้อ 9.2.4. (I)
(j) ถ้าใช้สารเคมีผสมในน้ำล้างถังอุณหภูมิของน้ำจะต้องไม่เกิน 60C
(k) การล้างถังด้วยน้ำอุ่น (Heated Wash Water) ถ้าอุณหภูมิที่ 60C หรื อต่ำกว่าควรหยุดการล้างเมื่อปรากฏว่ามีแก๊สขึ้นถึง 50% ของ LEL
และถ้าใช้น ้ำอุ่นที่มีอุณหภูมิเกิน 60C ควรหยุดเมื่อมีแก๊สเพิ่มขึ้นถึง 35% ของ LEL
9.2.4. การควบคุมการล้างถังที่ไม่สามารถระบุลกั ษณะของบรรยากาศได้ (Control of Washing in Unidentified Atmosphere)
บรรยากาศที่ไม่สามารถระบุลกั ษณะได้ ไอระเหยที่มีอยูใ่ นถังอาจจะอยูใ่ นพิสัยการติดไฟได้ ทางเดียวที่จะประกันการรุ กติดไฟหรื อระเบิดได้คือการไม่มีแหล่งกำเนิด
ไฟ (Ignition Source) เลย

ในการขจัดความเสี่ ยงที่เกิดจากไฟฟ้ าสถิตย์ ควรปฏิบตั ิดงั นี้


(a) เครื่ องล้างถังแต่ละตัวจะต้องไม่ใช้น ้ำเกิน 60 m3/hr.
(b) น้ำที่ใช้ลา้ งถังรวมของแต่ละถัง ควรให้มีนอ้ ยที่สุดเท่าที่จะทำได้และต้องไม่เกิน 180 m3/hr.
(c) ต้องไม่นำน้ำที่ใช้ลา้ งถังแล้วกลับมาใช้อีก
(d) ต้องไม่ใช้สารเคมี

Page 3 of 9
(e) น้ำล้างถังอุ่นได้ไม่เกิน 60C
(f) ไม่ใช้ไอน้ำ
(g) ควรระบายน้ำล้างถังออกตลอดและหยุดการล้างถังถ้าระดับน้ำล้างถังเพิ่มขึ้นมาเรื่ อย ๆ
(h) ต้องต่อสายน้ำและตรวจความต่อเนื่องไฟฟ้ าก่อนจะหย่อนเครื่ องล้างถังลงไปในถัง และต้องไม่แยกหน้าแปลนของสายน้ำออกจากกัน จนกว่าจะนำเครื่ องขึ้นมา
จากถัง การระบายน้ำออกจากท่อควรแย้มหน้าแปลนออกแล้วกวดกลับไปใหม่ก่อนที่จะดึงเครื่ องขึ้นมาจากถัง
(i) การวัดระดับน้ำและการใช้อุปกรณ์อื่นใด จะต้องหย่อนลงไปทางท่อวัด (Sounding Pipe) ถ้ามี ถ้าไม่มีท่อวัดจะต้องแน่ใจว่าอุปกรณ์เหล่านั้นต่อ
สายดินเข้ากับตัวเรื ออย่างถูกต้องก่อนที่จะหย่อนลงไป และจะถอดสายดินได้ต่อเมื่อดึงกลับขึ้นจากถังแล้วเท่านั้น ข้อควรระวังดังกล่าวควรปฏิบตั ิในระหว่าง
การล้างถังและภายใน 5 ชม. หลังจากการล้างถังเสร็จ แต่ถา้ มีการระบายอากาศตลอดเวลาการล้างถังอาจจะลดเวลาภายหลังเสร็จการล้างเหลือ 1 ชม. และใน
ช่วงเวลาดังกล่าวนี้
 เครื่ องวัดความหนาน้ำมันที่ผิวน้ำ (Interface Detector) ที่ทำด้วยโลหะจะใช้ได้ต่อเมื่อต่อสายดินโดยใช้ประกับ (Clamp) หรื อ
เกลียวกวด
 อาจใช้ตุม้ โลหะต่อเข้ากับเทปวัดที่ต่อสายดินไว้แล้วได้
 ไม่ควรแขวนแท่งวัดโลหะด้วยเชือกไฟเบอร์ ถึงแม้วา่ ปลายเชือกนั้นผูกไว้กบั ตัวเรื อ เพราะการนำไฟฟ้ าลงดินผ่านเส้นเชือกไม่สามารถเชื่อถือได้
 อาจใช้อุปกรณ์อโลหะ (Non-Metallic) ได้ ตัวอย่างเช่น ไม้วดั ผูกเชือกโดยไม่ตอ้ งต่อสายดิน
 ไม่ควรใช้เชือกที่ทำจากสารสังเคราะห์ผกู อุปกรณ์หย่อนลงไปในถัง

รายละเอียดเพิ่มเติมสำหรับข้อควรระวังเกี่ยวกับไฟฟ้ าสถิตย์กล่าวไว้ในบทที่ 20
9.2.5. การล้างถังในบรรยากาศที่มีส่วนผสมของแก๊สมากเกิน (Washing in an Over Rich Atmosphere)
วิธีการทำให้บรรยากาศในถังอยูใ่ นสภาพที่มีแก๊สมากเกิน (Over Rich) แล้วล้างด้วยน้ำ มีวตั ถุประสงค์เพื่อป้ องกันอากาศไม่ให้เข้าไปในถัง ซึ่งจะต้องมี
มาตรการพิเศษในการปฏิบตั ิ และจะทำได้ต่อเมื่อได้รับอนุญาตจากบริ ษทั ฯ และจะต้องควบคุมโดยบุคคลที่ได้รับการฝึ กมาแล้วเท่านั้น

ต้องไม่ลา้ งถังด้วยน้ำหรื อถ้ากำลังล้างถังอยูต่ อ้ งหยุด เมื่อปรากฏว่าบรรยากาศในถังมีปริ มาณไฮโดรคาร์บอนน้อยกว่า 15% โดยปริ มาตร (ไม่ใช่ 15% LEL)

9.2.6. เครื่ องล้างถังเคลื่อนที่และสายน้ำ (Portable Tank Washing Machines and Hoses)


โครงภายนอกของเครื่ องล้างถังควรเป็ นวัสดุที่จะไม่ทำให้เกิดประกายไฟเมื่อกระทบกับโครงสร้างภายในของถังสิ นค้า

ควรมีลวดต่อเชื่อมการเดินของไฟฟ้ า (Bonding Wire) ที่ดีระหว่างท่อจ่ายน้ำล้างถังผ่านสายน้ำทุกเส้นไปยังตัวเครื่ องล้างถัง

สายน้ำควรมีเครื่ องหมายเฉพาะสำหรับล้างถัง และต้องมีบนั ทึกวันที่และผลการทดลองการต่อเนื่ องไฟฟ้ า (Electrical Continuity Test) เอาไว้

ควรแขวนเครื่ องล้างถังด้วยเชือกเมื่ออยูใ่ นถังไม่ใช่ดว้ ยสายน้ำ

9.2.7. การเติมน้ำทางปากถัง (Free Fall)


ควรหลีกเลี่ยงการเอาน้ำหรื อสล็อปลงทางปากถัง การปั๊มน้ำใส่ ถงั ควรทำเมื่อระดับน้ำในถังสูงกว่าทางเข้า (Inlet) อย่างน้อย 1 เมตร เพื่อไม่ให้เกิดน้ำกระจายแต่ไม่
จำเป็ นถ้าถังนั้นอยูใ่ นสภาพเฉื่อย

9.2.8. การฉีดฝอยน้ำ (Spraying of Water)

Page 4 of 9
การฉีดฝอยน้ำเข้าไปในถังน้ำมันที่บรรจุน ้ำมันที่สะสมประจุไฟฟ้ า (Static Accumulator Oil) จะทำให้เกิดไฟฟ้ าสถิตย์ที่ผิวหน้าน้ำมันไม่ว่าเนื่องจาก
การกวน (Agitation) หรื อการที่น ้ำนอนก้น (Settling) ถังที่ยงั มีน้ำมันดังกล่าวค้างอยูค่ วรสูบออกก่อนที่จะล้าง นอกจากถังนั้นคงเป็ นสภาพเฉื่อยอยู่
9.2.9. การใช้ไอน้ำ (Steaming of Tanks)
ไม่ควรเอาไอน้ำเข้าถังสิ นค้าที่บรรยากาศติดไฟได้ เนื่องจากอันตรายจากการเกิดไฟฟ้ าสถิตย์ และควรระลึกไว้เสมอว่าบรรยากาศที่ไม่ติดไฟไม่สามารถเป็ นหลัก
ประกันได้ในทุก ๆ ครั้งที่คิดว่าการใช้ไอน้ำมีผลดี (ดูขอ้ 20.4.3.)
9.2.10. น้ำมันแก๊สโซลีนที่เติมสารตะกัว่ (Leaded Gasoline)
ถังที่เก็บน้ำมันที่เติมสารตะกัว่ เป็ นเวลานาน จะมีอนั ตรายจากพิษของ Tetraethyl Lead (TEL) และ Tetraethyl Lead (TML) สำหรับถังใน
เรื อซึ่งปกติมกั เปลี่ยนบรรทุกสิ นค้าต่าง ๆ หรื อใช้เป็ นถังถ่วงเรื อจะมีความเสี่ ยงต่ออันตรายดังกล่าวน้อยกว่า แต่ถา้ ต้องบรรทุกน้ำมันเติมสารตะกัว่ เป็ นประจำ ควรเอา
น้ำล้างก้นถังทุกครั้งที่สูบน้ำมันออกหมดนอกจากถังนั้นใช้เป็ นถังถ่วงเรื อ

ไม่ควรอนุญาตให้คนลงถังที่บรรทุกน้ำมันเติมสารตะกัว่ นอกจากจะมีความจำเป็ นจริ ง ๆ

9.2.11. การโกยสนิม (Removal of Sludge, Scale and Sediment)


การโกยโคลนน้ำมัน (Sludge), สนิม (Scale) และสิ่ งตกค้าง (Sediment) ออกจากพื้นถัง บรรยากาศในถังจะต้องปลอดภัยสำหรับการลงถัง (Safe
for Entry) และต้องใบอนุญาตให้เข้าที่อบั (Entry Permit) ควรปฏิบตั ิตามข้อควรระวังที่กล่าวในข้อ 11.6.5. ตลอดระยะเวลาทำงาน
อุปกรณ์เครื่ องมือที่ใช้ควรออกแบบสร้างและทำด้วยวัสดุที่ไม่เสี่ ยงต่อการเกิดประกายไฟ

9.3. การทำฟรี แก๊ส (Gas Freeing)


9.3.1. ทัว่ ไป (General)
,
เป็ นที่ยอมรับกันทัว่ ไปว่าการล้างถังและแก๊สฟรี เป็ นปฏิบตั ิการที่มีอนั ตรายมากสำหรับเรื อบรรทุกน้ำมัน ไม่วา่ จะเป็ นการล้างถังเพื่อใส่ น ้ำถ่วงเรื อ แก๊สฟรี เพื่อลงถัง
หรื อแก๊สฟรี เพื่อทำ Hot Work ก็ตาม นอกจากนั้นยังมีอนั ตรายจากพิษของปิ โตรเลียมที่ไม่ควรมองข้าม ดังนั้นจึงต้องใช้ความระมัดระวังเป็ นพิเศษในการล้างถัง
และแก๊สฟรี

9.3.2. วิธีการปฏิบตั ิทวั่ ไป (General Procedures)


คำแนะนำที่จะกล่าวต่อไปนี้ นำไปใช้กบั การแก๊สฟรี ถงั สิ นค้าโดยทัว่ ๆ สำหรับถังสิ นค้าที่ทำให้เป็ นสภาพเฉื่อย (Inerted) มีรายละเอียดเพิ่มเติมเป็ นการเฉพาะใน
บทที่ 10
(1) ปิ ดช่องเปิ ดถังสิ นค้าทั้งหมดไว้จนกว่าจะเริ่ มระบายอากาศของแต่ละถัง
(2) ,
ควรใช้พดั ลมหรื อเครื่ องเป่ าอากาศที่เคลื่อนที่ที่ขบั เคลื่อนด้วยไฮโดรลิค ลม หรื อไอน้ำ
เท่านั้น วัสดุที่ใช้สร้างควรเป็ นวัสดุที่ไม่ทำให้เกิดประกายไฟไม่ว่าด้วยเหตุใดก็ตาม เช่น เมื่อปี กหมุนกระทบเสี ยดสี กบั โครงสร้างภายในของตัวเรื อ
ความจุและตำแหน่งที่พดั ลมเป่ าลงไปควรทำให้บรรยากาศภายในทั้งหมดเป็ นบรรยากาศที่ไม่ติดไฟได้ในเวลาที่ส้ ันที่สุดเท่าที่จะเป็ นได้
(3) การระบายแก๊สติดไฟได้ควรเป็ นไปตามวิธีการที่ทางเรื อวางไว้ ทางออกของแก๊สที่อยูใ่ นระดับเรี่ ย ๆ กับดาดฟ้ าหรื อทางขอบฝาถัง (Hatch Opening)
จะต้องควบคุมทิศทางและจำนวนของทางออกให้ความเร็วพอเพียงที่แก๊สจะไม่อยูบ่ นดาดฟ้ า
(4) ควรปรับทางดูดของระบบปรับอากาศ หรื อระบบระบายอากาศอย่างอื่น เพื่อป้ องกันไม่ให้แก๊สเข้าไปได้ ถ้าเป็ นไปได้ควรใช้การหมุนเวียนอากาศภายใน
(Recalculation of Air within the Spaces)
(5) เมื่อไรก็ตามที่สงสัยว่ามีแก๊สถูกดูดเข้าไปในที่พกั อาศัย จะต้องหยุดเครื่ องปรับอากาศรวมหรื อระบบระบายอากาศอื่นทันที และปิ ดฝาทางเข้าของอากาศให้สนิท

Page 5 of 9
เครื่ องปรับอากาศชนิดหน้าต่างที่ไม่มีการรับรองให้ใช้ในบรรยากาศที่ติดไฟได้ หรื อที่ดูดอากาศจากภายนอก เข้ามาจะต้องตัดทางไฟและปิ ดคลุมทางเข้าของ
อากาศ
(6) สำหรับถังสิ นค้าที่มีระบบเครื่ องเป่ าลมติดตั้งประจำที่ต้งั แต่หนึ่งตัวขึ้นไป ควรปิ ดหน้าแปลนตาย (Blanked) ระหว่างการเชื่อมต่อของระบบระบายอากาศ
และระบบสิ นค้า นอกจากกำลังใช้เครื่ องเป่ าอากาศนั้นอยู่
และก่อนที่จะใช้ระบบสิ นค้าท่อทางส่งและท่อเชื่อม (Cross Over) ควรไล่ดว้ ยน้ำทะเลให้ตลอด ลิ้นสตริ ปและลิ้นอื่น ๆ ที่ไม่ได้ใช้ในการฟรี แก๊สควร
ปิ ดและผนึกเอาไว้
(7) ไม่ควรเปิ ดช่องเปิ ดของถังที่อยูใ่ นที่อบั อากาศแม้แต่บางส่วนก็ตาม จนกว่าถังนั้นได้ทำระบายอากาศอย่างพอเพียงแล้วจากช่องเปิ ดที่มีอยูภ่ ายนอก เมื่อระดับ
แก๊สในถังลดลงเหลือ 25%
ของ LFL หรื อน้อยกว่าอาจใช้เปิ ดช่องที่อยูใ่ นที่อบั อากาศ เพื่อช่วยให้การระบายอากาศสมบูรณ์ดว้ ยก็ได้ โดยควรจะวัดแก๊ส
ในห้องอับอากาศระหว่างการระบายด้วย
(8) ถ้าระบบระบายเป็ นระบบร่ วม ควรจะตัดตอนแต่ละถังเพื่อป้ องกันการถ่ายเทแก๊สจากถังหนึ่งไปยังอีกถังหนึ่ง
(9) ในการใช้พดั ลมเคลื่อนที่ ควรกำหนดตำแหน่งที่จะทำให้การระบายแก๊สออกเป็ นไปอย่างสม่ำเสมอทัว่ ถึงและมีประสิ ทธิผล โดยทัว่ ไปแล้วทางออกของแก๊ส
ควรจะอยูห่ ่างจากตัวพัดลมมากที่สุดเท่าที่จะทำได้
(10)การใช้พดั ลมเคลื่อนที่ ควรให้การต่อเชื่อมทางไฟฟ้ าระหว่างตัวพัดลมและตัวเรื อถูกต้องตลอดเวลา
(11)เครื่ องมือแก๊สฟรี ที่ติดตั้งประจำถังอาจจะใช้พร้อมกันได้ แต่จะต้องไม่ใช้ทำแก๊สฟรี พร้อมกับถังที่กำลังล้างอยู่
(12)เมื่อเสร็จแก๊สฟรี ถงั ใดแล้วควรรอ 10 นาที ก่อนที่จะวัดแก๊สเพื่อให้ที่วา่ งในถังอยูใ่ นสภาพคงตัว ควรวัดทุก ๆ ช่อง ถ้าเป็ นถังใหญ่ ๆ ควรวัดให้ครอบคลุมตาม
จุดต่าง ๆ ในทางกว้าง
ในกรณี ที่ผลการทดสอบยังไม่เป็ นที่พอใจ ต้องทำการระบายแก๊สต่อไป
(13)เมื่อทำแก๊สฟรี สมบูรณ์แล้ว ควรปิ ดช่องเปิ ดสู่ถงั ทั้งหมดยกเว้นฝาทางลงถัง (Tank Hatch)
(14)เมื่อทำแก๊สฟรี และล้างถังเสร็จสมบูรณ์ทุกถังแล้ว ควรตรวจระบบระบายถังอย่างระมัดระวัง โดยเฉพาะอย่างยิง่ ประสิทธิภาพของลิ้น พี.วี. (P/V Valve)
และลิ้นระบายความเร็วสู ง (High Velocity Vent Valve)
, ,
ควรระบายน้ำ สนิม โคลนน้ำมัน ในท่อระบายออกและทดสอบสภาพหัวต่อของไอน้ำดับไฟ (Steam Smothering Connection) ให้ใช้งาน
ได้

9.3.3. การทำแก๊สฟรี เพื่อรับสิ นค้า (Gas Free for the Reception of Cargo)
ถังที่ตอ้ งการทำแก๊สฟรี เพื่อรับสิ นค้าควรไล่แก๊สออกจนกระทัง่ วัดความเข้มข้นของแก๊สไฮโดรคาร์บอนทัว่ ถังไม่เกิน 40% LFL
9.3.4. การทำแก๊สฟรี เพื่อลงถังและทำงานที่ไม่เกิดความร้อน โดยไม่ตอ้ งใช้เครื่ องช่วยหายใจ (Gas Free for Entry and Cold Work without
Breathing Apparatus)
นอกจากต้องปฏิบตั ิตามข้อ 9.3.4. แล้ว จะต้องปฏิบตั ิเพิ่มเติมตามข้อ 11.3. ด้วย

9.4. การล้างถังด้วยน้ำมันดิบ (Crude Oil Washing)


9.4.1. ทัว่ ไป (General)
เรื อบรรทุกน้ำมันดิบที่ติดตั้งระบบแก๊สเฉื่อยและอุปกรณ์ลา้ งถังติดประจำที่ที่ได้รับการรับรองสามารถใช้น ้ำมันสิ นค้าล้างถัง ซึ่งอาจจะทำได้ท้ งั ในทะเลหรื อในท่า
ระหว่างสูบน้ำมันขึ้น ทีทำกันบ่อยที่สุดคือขณะสูบสิ นค้าขึ้น โดยเป็ นการช่วยนำส่ วนของน้ำมันที่ติดแน่นอยูก่ บั ผิวของถังสิ นค้าหรื อที่สะสมอยูข่ ้ ึนไปบนบกพร้อมกับ
สิ นค้า การล้างถังด้วยน้ำมันดิบนี้ ช่วยลดการล้างถังด้วยน้ำ เพื่อเอาสิ่ งตกค้างก้นถังออกขณะเดินทางเรื อเปล่า (Ballasted Voyage) เป็ นอย่างมากและในบาง
ครั้งสามารถเอาออกได้ท้ งั หมด

ถ้างถังนั้นจะใช้เติมน้ำถ่วงเรื อสะอาด (Clean Ballast) จำเป็ นต้องล้างด้วยน้ำอีกครั้งหนึ่ ง

Page 6 of 9
สำหรับวิธีการปฏิบตั ิควรเป็ นไปตามรายละเอียดใน “ Crude Oil Washing System” ของ IMO และคู่มือ “ Operation and
Equipment Manual” ของเรื อ

9.4.2. การแจ้งล่วงหน้า (Advance Notice)


( )
เมื่อต้องการจะทำการล้างถังด้วยน้ำมันดิบขณะสูบสิ นค้าขึ้น นายเรื อจะต้องแจ้งให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและทางท่า หรื อเรื ออีกลำหนึ่งถ้าเป็ นการถ่ายลำ ทราบอย่าง
น้อยล่วงหน้า 24 ชม . หรื อตามที่กำหนดในแต่ละแห่ง

การล้างถังด้วยน้ำมันดิบจะทำได้ต่อเมื่อได้รับอนุญาตเท่านั้น

9.4.3. เครื่ องมือล้างถัง (Tank Washing Machines)


ต้องใช้เครื่ องมือล้างถังติดตั้งประจำที่เท่านั้น

9.4.4. การควบคุมบรรยากาศในถัง (Control of Tank Atmosphere)


จะต้องมีปริ มาณอ๊อกซิเจนไม่เกิน 8% โดยปริ มาตรตามข้อ 10.6.8.
9.4.5. ข้อควรระวังการรั่วไหลจากระบบล้างถัง (Precaution Against Leakage from Washing System)
ก่อนถึงท่าที่จะทำการล้างถังด้วยน้ำมันดิบ ควรทดลองระบบล้างถังด้วยกำลังดัน (Pressure Test) ใช้งานปกติเพื่อตรวจดูการรั่วไหล
ควรเดินเครื่ องล้างถังทุกตัวที่จะใช้เป็ นเวลาสั้น ๆ เพื่อตรวจรั่วระบบที่อยูถ่ ดั จากลิน้ กันกลับ และถ้าพบรอยรั่วต้องแก้ไข

ในระหว่างการล้างถังจะต้องคอยตรวจระบบอย่างสม่ำเสมอ เพื่อจะได้แก้ไขได้ทนั ท่วงทีเมื่อมีการรั่วเกิดขึ้น

9.4.6. การหลีกเลี่ยงน้ำปนน้ำมัน (Avoidance of Oil/Water Mixture)


น้ำมันดิบที่มีน ้ำปนอยูด่ ว้ ยอาจทำให้เกิดละอองประจุไฟฟ้ า (Charged Mist) ระหว่างการล้างมากกว่าน้ำมันดิบที่ไม่มีน ้ำปน (“Dry” Crude Oil) ดัง
นั้นควรใช้น ้ำมันดิบที่ไม่มีน ้ำปน โดยสูบน้ำมันในถังที่จะใช้ลา้ งบางส่วนออกไปก่อน ซึ่งจะเอาน้ำที่นอนก้นในระหว่างเดินทางออกไปด้วย โดยทัว่ ไปสูบออก
1
ประมาณ เมตร เป็ นการพอเพียง ถ้าจะใช้ถงั สล็อปใส่น ้ำมันที่จะใช้ลา้ งถังควรสูบน้ำสล็อปขึ้นฝั่งทั้งหมดแล้วเติมด้วยน้ำมันดิบที่ไม่มีน ้ำปน (Dry Crude
Oil)
9.4.7. การไม่ให้น ้ำมันสิ นค้าผ่านเข้าไปในห้องเครื่ อง (Exclusion of Cargo Oil from the Engine Room)
ถ้ามีส่วนใดส่วนหนึ่งของระบบล้างถังอยูใ่ นห้องเครื่ อง ต้องปิ ดหน้าแปลนบอด (Blank Off) เพื่อป้ องกันไม่ให้น ้ำมันสิ นค้าเข้าไปในห้องเครื่ อง

และถ้าเครื่ องอุ่นน้ำล้างถัง (Tank Wash Water Heater) ติดตั้งอยูน่ อกห้องเครื่ อง ต้องปิ ดหน้าแปลนบอดขณะล้างถังด้วยน้ำมันดิบ เพื่อป้ องกันน้ำมัน
สิ นค้าเข้าห้องเครื่ องทางเครื่ องอุ่นน้ำ

9.4.8. การควบคุมไอระเหย (Control of Vapour Emission)


ในระหว่างการล้างถังด้วยน้ำมันดิบจะมีไอระเหยไฮโดรคาร์บอนในถังมากกว่าปกติ และเมื่อใช้ถงั นั้นใส่ น ้ำถ่วงเรื อจะมีแก๊สไฮโดรคาร์บอนถูกผลักดันออกสู่
บรรยากาศอย่างมาก ซึ่งบางเมืองท่ามีขอ้ ห้ามเอาไว้

Page 7 of 9
การควบคุมไม่ให้แก๊สไฮโดรคาร์บอนจากถังถ่วงเรื อออกสู่ บรรยากาศมี 4 วิธีดงั นี้
(a) โดยใช้ถงั ถ่วงเรื อถาวร (Permanent Ballast Tank) ที่มีความจุพอในการถ่วงเรื อให้กินน้ำลึกตอนออกจากท่าน้อยที่สุด (Minimum
Departure Draught)
(b) เก็บแก๊สที่ถูกขับออกมาเอาไว้ในถังสิ นค้าที่ว่าง โดยทำการถ่วงเรื อและสูบน้ำมันขึ้นพร้อมกันไป โดยที่วา่ งเหนือถังที่กำลังสูบน้ำถ่วงเรื อเข้าและถังที่กำลังสูบ
น้ำมันขึ้นเชื่อมต่อถึงกันโดยตรง
(c) โดยวิธีการอัดแก๊ส กล่าวคือเมื่อสูบน้ำมันเสร็ จแล้วในถังจะมีกำลังดันต่ำสุด เปิ ดที่วา่ งของถังสิ นค้าให้ถึงกันทางท่อแก๊สเฉื่อย แก๊สที่อยูใ่ นถังสิ นค้าที่ใช้ถ่วงเรื อ
จะท่อแก๊สเฉื่อยไปยังถังสิ นค้าอื่น ๆ ซึ่งทางระบายและช่องเปิ ดทั้งหมดถูกปิ ดอยู่ ดังนั้นแก๊สจะถูกอัดอยูใ่ นถังสิ นค้าของเรื อโดยที่กำลังดันอยูใ่ นระดับปลอดภัย
(Safe Margin) ต่ำกว่ากำลังดันลิ้นระบาย พี.วี. และอุปกรณ์ตดั แก๊สเฉื่อย (Breaker) ที่ต้งั ไว้ ทั้งนี้ลิ้น พี วี, deck seal และ breaker
ต้องอยูใ่ นสภาพใช้งานได้ดี รวมทั้งต้องปิ ดอุปกรณ์กนั กลับทั้งหลายให้หมดเพื่อกันแก๊สไหลย้อนกลับเข้าไปในเครื่ องกำเนิดแก๊สเฉื่อย

(d) โดยการผสมผสานใช้สามวิธีดงั กล่าวแล้ว

โดยทัว่ ไปที่วา่ งของถังสิ นค้าติดต่อถึงกันด้วยท่อแก๊สเฉื่อยอยูแ่ ล้ว การเอาน้ำถ่วงเรื อเข้าถัง (Dirty Ballast) สามารถทำไปพร้อม ๆ กับการสูบน้ำมันจากถัง
สิ นค้าอื่น ๆ ซึ่งอัตราการสูบน้ำมันขึ้นและอัตราเอาน้ำถ่วงเรื อเข้าที่พอเหมาะจะไม่ทำให้กำลังดันในถังสูงพอที่จะทำให้ไอระเหยออกสู่บรรยากาศได้ แต่ถา้ เกิดอัตราน้ำ
ถ่วงเรื อเข้ามากกว่าอาจจำเป็ นต้องลดหรื อหยุดการเติมแก๊สเฉื่อยเข้าถังเป็ นการชัว่ คราว

9.4.9. การบังคับบัญชา (Supervision)


การล้างถังด้วยน้ำมันดิบต้องควบคุมบังคับบัญชาโดยบุคคลที่มีคุณสมบัติที่กำหนดโดยรัฐที่เรื อจดทะเบียน และกฎระเบียบที่แต่ละเมืองท่ากำหนดไว้

9.4.10. หมายเตือนให้ระมัดระวัง (Cautionary Notice)


ควรปิ ดป้ ายเตือนให้ระมัดระวัง ควรติดไว้อย่างถาวรในห้องควบคุมสิ นค้า, ห้องควบคุมเครื่ องจักร, บนสะพานเดินเรื อ และกระดานประกาศบนเรื อ โดยใช้ขอ้ ความ
ดังนี้

THE TANK WASHING LINES ON THIS SHIP MAY CONTAIN CRUDE OIL. VALVES MUST
NOT BE OPERATED BY UNAUTHORISED PERSONNEL

9.5. การทำความสะอาดถังด้วยวิธีพิเศษ (Special Tank Cleaning Procedures)


ถังบรรทุกสิ นค้าเฉพาะบางประเภทต้องล้างด้วยไอน้ำหรื อใช้สารเคมีผสมน้ำล้างถัง

การเอาไอน้ำเข้าถังจะทำได้ต่อเมื่อถังนั้นมีสภาพเฉื่อยหรื อได้ลา้ งด้วยน้ำและแก๊สฟรี แล้วเท่านั้น ก่อนใช้ไอน้ำ แก๊สติดไฟในถังจะต้องมีปริ มาณไม่เกิน 10% ของ


LFL และต้องระวังไม่ให้กำลังดันไอน้ำในถังเพิ่มขึ้น

TLV (Threshold Limit Valve) เท่าใด ผูท้ ี่จะลงถังควรสวมเครื่ อง


ถ้าเป็ นการล้างถังด้วยน้ำที่มีสารเคมีผสมจะต้องรู้วา่ สารเคมีน้ นั มีพิษหรื อไม่ และมี
ช่วยหายใจและเสื้ อผ้าที่เหมาะสม ต้องปฏิบตั ิตามข้อควรระวังในการลงถังอื่น (ข้อ 11.4.) หลอดตรวจจับ (Detector Tubes) แก๊สมีประโยชน์มากที่จะใช้
ตรวจแก๊สเฉพาะและไอระเหยที่อยูใ่ นถัง

ถ้าสารเคมีที่ใช้ลา้ งถังสามารก่อให้เกิดบรรยากาศติดไฟได้ จะต้องใช้ในถังที่มีสภาพเฉื่อยเท่านั้น อย่างไรก็ตามถ้าใช้จำนวนน้อย ๆ เช่น การเช็ดถูเฉพาะแห่งในเรื อที่


ไม่มีระบบแก๊สเฉื่อยก็อาจทำได้ แต่ท้ งั นี้ จะต้องปฏิบตั ิตามข้อกำหนดในการเข้าที่อบั

นอกจากนั้นการใช้สารเคมีควรปฏิบตั ิตามคู่มือการใช้ของผูผ้ ลิต

Page 8 of 9
และถ้าเป็ นการล้างถังในเขตท่าเรื ออาจจะมีกฎระเบียบเพิม่ เติมเฉพาะ ซึ่งต้องปฏิบตั ิตามเช่นกัน

Page 9 of 9

You might also like