You are on page 1of 17

1

แนวทางการแก้ไขข้อบกพร่องและข้อสังเกตของสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร

จัดทาโดย

กลุ่มตรวจการสหกรณ์
สานักงานสหกรณ์จังหวัดมหาสารคาม

คานา
สำนักงำนสหกรณ์จังหวัดมหำสำรคำม มีบทบำทโดยหน้ำที่หลักมีหน้ำที่ในกำรแนะนำ ส่งเสริม และ
เผยแพร่อุดมกำรณ์ หลักกำรและวิธีกำรสหกรณ์ไปยังสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร และเกษตรกรประชำชนทั่วไป
นอกจำกนั้นในอีกบทบำทหนึ่งก็มีหน้ำที่ในกำรกำกับกำรดำเนินกำรของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีกำร
ดำเนินงำนหรือปฏิบัติให้เป็นไปตำมกฎหมำยสหกรณ์ กฎหมำยอื่น ข้อบังคับ ระเบียบและคำแนะนำ คำสั่งของ
นำยทะเบียนสหกรณ์ รวมทั้งปฏิบัติให้ เป็นไปตำมมติ และระเบียบของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร แต่จำกกำร
ตรวจสอบกำรดำเนินงำนของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จำกข้อมูลที่ผู้สอบบัญชีที่ได้ตรวจสอบบัญชีระหว่ำงปี
บัญชีหรือจำกกำรสอบบัญชีประจำปีบัญชีของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในปีที่ผ่ำนมำและในปีปัจจุบัน รวมทั้ง
ข้อมูลจำกกำรตรวจกำรสหกรณ์ของคณะผู้ตรวจกำรสหกรณ์ จำกสำนักงำนสหกรณ์จังหวัดมหำสำรคำม พบว่ำ
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีข้อสังเกตและข้อบกพร่องในกำรดำเนินงำนหลำยแห่ง
จำกปัญหำข้อสังเกตของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ตรวจพบเหล่ำนั้น จึงเป็นที่มำในกำรกำหนด
แนวทำงในกำรแก้ไขปัญหำต่ำง ๆ ที่พบทั้งจำกกรมส่งเสริมสหกรณ์ที่ได้กำหนดแนวทำงในกำรแก้ไขปัญหำ
เพื่อให้สำนักงำนสหกรณ์จังหวัดใช้เป็นเครื่องมือในกำรดำเนินงำน และทั้งจำกแนวทำงที่สำนักงำนสหกรณ์
จังหวัดได้กำหนดแนวทำงในกำรแก้ไขปัญหำในแต่ละประเด็นเพื่อให้ข้อสังเกตเหล่ำนั้นได้รับกำรแก้ไขและ
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสำมำรถดำเนินงำนต่อไปได้ ซึ่งที่ผ่ำนมำกำรแก้ไขปัญหำข้อสังเกตได้ดำเนินกำรมำ
อย่ำงต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน ซึ่งมีข้อสังเกตได้รับกำรแก้ไขได้แล้วเสร็จหลำยรำยกำรแต่ก็มีข้อสังเกตบำงรำยกำร
ที่อำจต้องใช้เวลำในกำรแก้ไข เพื่อให้ ผู้ ที่ มีส่ วนเกี่ยวข้องในกำรแก้ไขปัญ หำข้อสั งเกตในสหกรณ์ และกลุ่ ม
เกษตรกร สำมำรถนำแนวทำงดังกล่ำวไปใช้ในกำรแก้ไขปัญหำหรือนำไปใช้ในกำรแนะนำ และส่งเสริมเพื่อ
ป้องกันกำรเกิดปัญหำดังกล่ำวขึ้น ดังนั้น กลุ่มตรวจกำรสหกรณ์ สำนักงำนสหกรณ์จังหวัดมหำสำรคำม จึงได้
ดำเนิ นกำรในกำรสรุปประเด็นข้อสังเกตที่ตรวจพบ ผลกำรแก้ไขปัญหำ และผลสำเร็จของกำรแก้ไขปัญหำ
รวมทั้ง แนวทำงในกำรแก้ไขปัญหำข้อสังเกตหรือข้อบกพร่องที่ผ่ำนมำ และข้อเสนอแนะที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้
ผู้เกี่ยวข้องใช้เป็นแนวทำงในกำรแก้ไขหรือกำรป้องกัน กำรเกิดข้อสังเกตและข้อบกพร่องในสหกรณ์และกลุ่ม
เกษตรกร ต่อไป

กลุ่มตรวจกำรสหกรณ์
สำนักงำนสหกรณ์จังหวัดมหำสำรคำม
ความสาคัญ
ข้อบกพร่อง ตำมพจนำนุกรมไทยฉบับรำชบัณฑิตยสถำน ได้ให้ควำมหมำยของคำว่ำ “ข้อบกพร่อง”
ให้หมำยถึง “ข้อเสียหำย” “ข้อผิดพลำด” “ข้อเสีย”
ข้อบกพร่องของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร หมำยถึง กำรปฏิบัติของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรซึ่งมี
ข้อผิดพลำดและทำให้เกิดควำมเสียหำยที่อำจเกิดควำมเสียหำยหรือเสื่อมเสียผลประโยชน์ของสหกรณ์และ
กลุ่มเกษตรกรและสมำชิกโดยรวม
ข้อสังเกต หมำยถึง ลักษณะของข้อผิดพลำดในกำรปฏิบัติงำนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร หรือกำร
บันทึกบัญชีของสหกรณ์ ซึ่งสำมำรถแก้ไขปรับปรุงได้โดยข้อผิดพลำดนั้นไม่กระทบต่อผลกำรดำเนินงำนและ
ฐำนะทำงกำรเงินของสหกรณ์อย่ำงมีสำระสำคัญ หรือยังไม่ก่อให้เกิดควำมเสียหำย ซึ่งผู้สอบบัญชีสหกรณ์ หรือ
ผู้มีหน้ำที่กำกับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเมื่อตรวจพบแล้วต้องแจ้งให้สหกรณ์แก้ไขให้ถูกต้องและรำยงำนให้
นำยทะเบียนสหกรณ์พิจำรณำตำมอำนำจหน้ำที่ตำมพระรำชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 ตำมที่กฎหมำยได้
บัญญัติไว้
กำรเกิดข้อบกพร่องและข้อสังเกตของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จึงเป็นลักษณะของกำรปฏิบัติที่มี
ข้อผิ ดพลำด โดยมีกำรปฏิ บั ติที่ ขัด กับ กฎหมำย ข้อบั งคับ ระเบียบ คำแนะนำและคำสั่ งของนำยทะเบี ยน
สหกรณ์ และกำรไม่ ป ฏิ บั ติ ต ำมระเบี ย บของสหกรณ์ มติ ที่ ป ระชุ ม ใหญ่ และมติ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมกำร
ดำเนินกำรสหกรณ์ ดังนั้น เพื่อเป็นกำรลดกำรเกิดข้อบกพร่องและข้อสังเกตของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
ดังกล่ ำว กลุ่ มตรวจกำรสหกรณ์ ส ำนั กงำนสหกรณ์ จังหวัด มหำสำรคำม จึ งได้ศึ กษำลั กษณะของกำรเกิ ด
ข้อบกพร่องและข้อสังเกตของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ผลกำรแก้ไขปัญหำที่ผ่ำนมำ เพื่อนำมำเป็นแนวทำง
ในกำรแก้ไขปรับปรุงกำรดำเนินงำนของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ในควำมดูแล แนะนำ และส่งเสริม และ
ในขณะเดียวกันได้มีกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลระหว่ำงกันเพื่อที่จะนำมำกำหนดเป็นมำตรกำรหรือแนวทำงใน
กำรลดกำรเกิดข้อบกพร่องของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในอนำคตด้วย
ข้อบกพร่องและการแก้ไขปัญหาข้อบกพร่องของสหกรณ์
กรมส่ ง เสริ ม สหกรณ์ ได้ จ ำแนกประเภทของข้ อ บกพร่ อ งของสหกรณ์ ไ ว้ จ ำนวน 5 ประเภท
ประกอบด้วย
1) ทุจริต สภำพปัญหำสหกรณ์ที่มีกำรทุจริต เช่น ปลอมแปลงลำยมือชื่ อสมำชิกกู้เงินหรือ
ปลอมแปลงลำยมือชื่อสมำชิก ถอนเงินฝำก ทำให้สหกรณ์และสมำชิกได้รับควำมเสียหำย ที่ผ่ำนมำมีกำรพบ
กรณีดังกล่ำวบ่อยมำก เนื่องจำกระบบกำรควบคุมภำยในไม่รัดกุมเพียงพอ เป็นต้น
2) ข้อบกพร่องทำงบัญชี สภำพปัญหำพบว่ำ สหกรณ์ไม่ปฏิบัติตำมมำตรำ 65 และมำตรำ
66 แห่งพระรำชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 โดยมีกำรบันทึกบัญชีไม่เป็นไปตำมรูปแบบรำยกำรบัญชีตำมที่
กฎหมำยกำหนด เมื่อมีเหตุต้องบันทึ กรำยกำรในบัญชีเกี่ยวกับกระแสเงินสดของสหกรณ์ให้ บันทึกบัญชีในวัน
นั้น และสำหรับเหตุอื่นที่ไม่เกี่ยวกับกระแสเงินสดให้บันทึกรำยกำรภำยในสำมวันนับแต่วันที่มีเหตุอันจะต้อง
บันทึกรำยกำรนั้น
3) ข้อบกพร่องทำงกำรเงิน มูลเหตุเกิดจำกกำรที่สหกรณ์ไม่ปฏิบัติตำมระเบียบ ว่ำด้วยกำร
รับจ่ำยเงินและกำรเก็บรักษำเงินของสหกรณ์ โดยมีกำรเก็บรักษำเงินสดไว้เป็นจำนวนมำกและเป็นเวลำนำนซึ่ง
เป็นสำเหตุหลักอีกสำเหตุหนึ่งที่ทำให้เงินสดขำดบัญชี ที่พบได้บ่อย
2

4) กำรดำเนินกำรนอกกรอบวัตถุประสงค์ เป็นกรณีที่สหกรณ์มีกำรดำเนินกำรหรือกระทำ
กำรโดยที่ข้อบังคับหรือกฎหมำยไม่ให้อำนำจให้สหกรณ์กระทำกำรได้ เช่น เป็นตัวแทนในกำรจัดทำประกันชีวิต
กำรสร้ำงหอพักให้เช่ำ หรือกำรจัดสรรที่ดินเพื่อขำย เป็นต้น
5) พฤติกรรมที่อำจก่อให้เกิดควำมเสียหำย สภำพปัญหำดังกล่ำวที่เกิดขึ้น เช่น กรณีสหกรณ์
มีกำรรับฝำกเงินและกำรกู้ยืมเงินระหว่ำงสหกรณ์ ซึ่งสหกรณ์มีระเบียบที่สำมำรถดำเนินกำรได้ แต่ สหกรณ์บำง
แห่งคณะกรรมกำรดำเนินกำรขำดกำรพิจำรณำอย่ำงละเอียดและรอบคอบ ซึ่งส่งผลกระทบในกำรถอนเงินฝำก
ไม่ได้ หรือสหกรณ์ที่กยู้ ืมเงินไม่สำมำรถส่งชำระหนี้ได้ตำมกำหนดสัญญำ
ในกำรแก้ไขปั ญ หำที่ ผ่ ำนมำ กรมส่ งเสริมสหกรณ์ กำหนดแนวทำงให้ ส หกรณ์ จังหวัดในฐำนะรอง
นำยทะเบียนสหกรณ์ถือปฏิบัติ และพิจำรณำสั่งกำรตำมอำนำจหน้ำที่เมื่อมีกำรกระทำโดยทุจริตต่อสหกรณ์
กำรสั่งห้ำมสหกรณ์กระทำกำรในกรณีที่ดำเนินกำรนอกกรอบวัตถุประสงค์ และกำรตรวจสอบกรณีสหกรณ์
ดำเนินกำรไม่เป็นไปตำมวัตถุประสงค์ในกำรจัดตั้งสหกรณ์ รวมทั้ง ให้มีกำรตรวจสอบพฤติกรรมต่ำง ๆ ของ
คณะกรรมกำรดำเนินกำรสหกรณ์เกี่ยวกับกำรรับฝำกเงินและกำรกู้ยืมเงินระหว่ำงกัน โดยมีกำรวำงระบบกำร
ติดตำมและมีกำรออกเกณฑ์กำกับดูแลสหกรณ์ขนำดใหญ่ที่มีสินทรัพย์มำกกว่ำ 5 พันล้ำนบำท รวมทั้งกำร
กำหนดร่ำงระเบียบนำยทะเบียนสหกรณ์ที่ได้รับควำมเห็นชอบจำกนำยทะเบียนสหกรณ์เกี่ยวกับกำรให้สหกรณ์
กู้ยืมเงิน กำรรับฝำกเงินจำกสหกรณ์อื่น และประกำศของนำยทะเบียนสหกรณ์ เรื่อง กำหนดอัตรำดอกเบี้ยเงิน
รับฝำกของสหกรณ์ที่กำหนดให้ไม่เกินร้อยละ 4.50 ต่อปี เป็นต้น เหล่ำนี้ล้ วนเป็นมำตรกำรที่แต่ ละจังหวัด
นำมำปรับใช้ในกำรแก้ไขปัญหำข้อบกพร่องและข้อสังเกตที่เกิดขึ้น
ในส่ ว นของจั ง หวั ด มหำสำรคำม มี ส หกรณ์ ที่ มี ข อบกพร่ อ งที่ น ำยทะเบี ย นสหกรณ์ สั่ ง กำรให้
คณะกรรมกำรดำเนินกำรสหกรณ์แก้ไขข้อบกพร่อง และนำมำรำยงำนในระบบกำรจัดกำรข้อบกพร่องของกรม
ส่ งเสริ ม สหกรณ์ โดยในปี 2562 ยกมำจำกปี ก่ อ นจ ำนวน 5 แห่ ง และเป็ น ข้ อ บกพร่อ งที่ เกิ ด ในระหว่ำ ง
ปีงบประมำณ พ.ศ.2562 จำนวน 1 แห่ง รวมเป็น 6 แห่ง ซึ่งมีผลกำรดำเนินงำน ดังนี้
1. ข้อบกพร่องได้รับ กำรแก้ไขแล้วคงเหลือในส่วนกำรติดตำมกำรชดใช้เงินคืนให้ครบตำม
มูล ค่ำควำมเสีย หำย จำนวน 2 สหกรณ์ คือ สหกรณ์ กำรเกษตรบรบือ จำกัด และสหกรณ์ กำรเกษตรเมือง
มหำสำรคำม จำกัด
2. ข้อบกพร่องที่ต้องติดตำมกำรแก้ไขและเฝ้ำระวังในกำรแก้ไขปัญหำอย่ำงใกล้ชิด จำนวน 1
แห่ง สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนแกดำ จำกัด โดยมีปัญหำกำรขำดสภำพคล่องทำงกำรเงิน ลูกหนี้ไม่ชำระหนี้สหกรณ์
ไม่มีเงินที่จะถอนคืนเงินฝำกแก่สมำชิกที่นำเงินมำฝำกสหกรณ์
3. ข้ อ บกพร่ อ งที่ อ ยู่ ในกระบวนกำรทำงศำล (รอกำรอุ ท ธรณ์ คดี ข องจ ำเลย และอยู่ ใน
กระบวนกำรพิจำรณำของศำลกรณีหลำยคดี) และต้องติดตำมผลกำรแก้ไขเพื่อให้ชดใช้ควำมเสียหำยตำมมูลค่ำ
ควำมเสียหำยที่เกิดขึ้นแก่สหกรณ์ จำนวน 3 แห่ง คือ สหกรณ์กำรเกษตรแกดำ จำกัด, สหกรณ์ออมทรัพย์ครู
มหำสำรคำม จำกัด และสหกรณ์ออมทรัพย์สำธำรณสุขมหำสำรคำม จำกัด
ดังนั้น ปัญหำข้อบกพร่องของสหกรณ์ในจังหวัดมหำสำรคำม จึงเป็นข้อบกพร่องที่ได้รับกำรแก้ไขตำม
ขั้นตอนหรือกระบวนกำรในกำรแก้ไขปัญหำแล้ว แต่กำรชดใช้ควำมเสียหำยคืนให้แก่สหกรณ์ตำมมูลค่ำควำม
เสียหำยที่เกิดขึ้น นั้น เป็นเรื่องที่ต้องใช้เวลำในกำรแก้ไขของสหกรณ์ และเห็นว่ำ สหกรณ์อำจได้รับกำรชดใช้
เงินคืนหรือบำงสหกรณ์อำจจะได้รับเงินคืนไม่ครบตำมมูลค่ำควำมเสียหำยที่เกิดขึ้น ฉะนั้น แนวทำงที่จะไม่ให้
เกิดควำมเสียแก่สหกรณ์ที่ดีที่สุด คือกำรป้องกันไม่ให้เกิดปัญหำข้อบกพร่องขึ้นในสหกรณ์
3
ข้อสังเกตและการแก้ไขปัญหาข้อสังเกตในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
กรมส่งเสริมสหกรณ์ ได้ให้ลักษณะของข้อสังเกตในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่พบซึง่ สำมำรถจำแนก
ได้ 4 ประเภท ประกอบด้วย
1) กำรปฏิ บั ติ ไ ม่ เป็ น ไปตำมกฎหมำย สหกรณ์ มี ก ำรกระท ำกำรที่ ไ ม่ ได้ ก ำหนดไว้ ใ น
วัตถุประสงค์และอำนำจกระทำกำรตำมข้อบังคับของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
2) ด้ำนกำรเงินและกำรบัญชี
ด้ำนกำรเงิน : มูลเหตุเกิดจำกกำรไม่ปฏิบัติตำมระเบียบว่ำด้วยกำรรับจ่ำยและเก็บ
รักษำเงินของสหกรณ์
ด้ำนกำรบัญชี : สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีกำรบันทึกบัญชีไม่เป็นไปตำมรู ปแบบ
และรำยกำรตำมมำตรำ 65 และมำตรำ 66 แห่งพระรำชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542
3) พฤติกรรมที่อำจก่อให้ควำมเสียหำย เป็นพฤติกรรมหรือกำรกระทำกำรที่อำจก่อให้เกิด
ควำมเสียหำยต่อสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรเป็นมูลค่ำสูง หรือกระทบเป็นวงกว้ำง หรือพฤติกรรมที่ทำซ้ำ ๆ
ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กรรมกำร เจ้ำหน้ำที่ผู้ที่เกี่ยวข้องกับสหกรณ์ หรือที่ผู้ที่แอบอ้ำงแล้วทำให้บุคคล
ทั่วไปเข้ำใจว่ำสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรนั้นมีส่วนเกี่ยวข้อง
4) ข้อสังเกตอื่น ผู้สอบบัญชีหรือผู้ที่มีหน้ำที่กำกับสหกรณ์ สำมำรถพิจำรณำจำกลักษณะของ
ข้ อ สั งเกตที่ มี มู ล เหตุ จ ำกกำรไม่ ป ฏิ บั ติ ต ำมกฎหมำย ระเบี ย บ และข้ อ บั ง คั บ กำรด ำเนิ น กำรนอกกรอบ
วัตถุประสงค์ตำมข้อบังคับของสหกรณ์ และพฤติกรรมที่อำจก่อให้เกิดควำมเสียหำย หรือเสื่อมเสียผลประโยชน์
ของสหกรณ์และสมำชิก
ลั ก ษณะข้ อ สั งเกต ดั งกล่ ำว ข้ ำงต้ น เกิ ด จำกข้ อ ผิ ด พลำดในกำรปฏิ บั ติ งำนของสหกรณ์ แ ละกลุ่ ม
เกษตรกร หรือกำรบันทึกบัญชีของสหกรณ์โดยที่นำยทะเบียนสหกรณ์ พิจำรณำแล้วว่ำ ข้อผิดพลำดนั้นอำจ
ส่ งผลกระทบต่ อ ผลกำรด ำเนิ น งำนหรื อ ฐำนะทำงกำรเงิ น อย่ ำงมี ส ำระส ำคั ญ จึ งอำจใช้ อ ำนำจสั่ งกำรให้
คณะกรรมกำรดำเนินกำรสหกรณ์แก้ไขข้อบกพร่อง
กำรดำเนินกำรเมื่อได้รับแจ้งข้อสังเกตสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ผ่ำนมำ กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้
กำหนดแนวทำงในกำรแก้ไขข้อสังเกตไว้ ดังนี้
1. กรณีข้อเท็จจริงไม่ครบถ้วน ให้แจ้งผู้ตรวจกำรสหกรณ์ดำเนินกำรตรวจสอบข้อมูลเพิ่มเติม
2. กรณีข้อเท็จจริงครบถ้วน ให้สหกรณ์จังหวัดในฐำนะรองนำยทะเบียน รับมอบอำนำจจำก
นำยทะเบียนสหกรณ์พิจำรณำดำเนินกำรตำมอำนำจหน้ำที่ ดังนี้
-สั่งกำรให้หยุดหรือเลิกกำรกระทำทันที
-สั่ ง กำรให้ ตั้ ง คณะกรรมกำรสอบสวน หำผู้ รั บ ผิ ด ชอบควำมเสี ย หำยพร้ อ มรวบรวม
พยำนหลักฐำนที่เกี่ยวข้องและฟ้องร้องดำเนินคดี
-หำกสหกรณ์ไม่ดำเนินกำร ถ้ำผู้กระทำผิดเป็นกรรมกำรหรือผู้จัดกำร หรือเจ้ำหน้ำที่สหกรณ์
ให้รองนำยทะเบียนสหกรณ์ร้องทุกข์แทนสหกรณ์ตำมมำตรำ 21 และเสนอให้นำยทะเบียนสหกรณ์พิจำรณำสั่ง
กำรตำมมำตรำ 22 (4) แห่งพระรำชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ซึ่งอย่ำงน้อยต้องมีรำยกำร
ดังต่อไปนี้
4

1) รำยละเอี ย ดของกำรกระท ำกำรหรือ งดเว้น กระท ำตำมอ ำนำจหน้ ำที่ ถ้ำมิ ใช่
คณะกรรมกำรดำเนินกำรดำเนินกำรสหกรณ์กระทำกำรหรืองดเว้นกระทำโดยตรง ให้รำยงำนถึงควำมเชื่อมโยง
ระหว่ำงผู้กระทำกับหน้ำที่ควำมรับผิดชอบของคณะกรรมกำรดำเนินกำรสหกรณ์
2) ระดับและขนำดควำมเสียหำย ผลกระทบจำกควำมเสียหำยที่สหกรณ์ได้รับ
3) กำรใช้อำนำจสั่งกำรที่ได้ดำเนินกำรไปแล้วตั้งแต่ต้นทั้งหมด และมีกำรปฏิบัติตำม
คำสั่ง อย่ำงไร
4) เหตุผลควำมจำเป็นต้องใช้อำนำจตำมมำตรำ 22(4) พร้อมทั้งประเมินผลกระทบ
ถ้ำไม่ใช้อำนำจสั่งกำรตำมตำมมำตรำ 22(4) หรือสั่งกำรล่ำช้ำ
5) มีรำยชื่อคณะกรรมกำรชั่วครำว หรือรำยชื่อสมำชิกสหกรณ์ ซึ่งจะแต่งตั้งแทน
กรรมกำรที่ว่ำง
ในส่วนของข้อสังเกตของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดมหำสำรคำม ในช่วงปีงบประมำณ พ.ศ.
2561-2562 ผู้สอบบัญชีได้แจ้งข้อตรวจพบจำกกำรตรวจสอบบัญชีระหว่ำงปี กำรสอบบัญชีประจำปีบัญชีของ
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มำยังสหกรณ์จังหวัดในฐำนะรองนำยทะเบียนสหกรณ์ เพื่อให้พิจำรณำดำเนินกำร
ตำมอำนำจหน้ ำที่เป็ น จำนวนมำก โดยในปีงบประมำณ พ.ศ. 2561 จำนวนข้อสังเกตทั้งสิ้น 88 แห่ง และ
นอกจำกนั้นมีข้อสังเกตที่ตรวจพบโดยคณะผู้ตรวจกำรสหกรณ์ ของกลุ่มตรวจกำรสหกรณ์ สำนักงำนสหกรณ์
จังหวัดมหำสำรคำม ที่ตรวจพบในปีที่ผ่ำนมำและในปี งบประมำณ พ.ศ.2562 (ข้อมูล ณ วันที่ 30 กรกฎำคม
2562) มีข้อสังเกตในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จำนวน 30 แห่ง ซึ่งลดลงจำกปีก่อนร้อยละ 34เมื่อเทียบกับ
ข้อสังเกตที่พบในปี 2561 ดังนั้นจึงขอสรุปประเด็นปัญหำข้อสังเกตของสหกรณ์ที่ตรวจพบไว้ ดังนี้
1. ข้อบังคับของสหกรณ์ไม่สอดคล้องกับกฎหมำย
2. กำรกำหนดและถือใช้ระเบียบขัดกับกฎหมำยและข้อบังคับของสหกรณ์ บำงระเบียบมี
เนื้อหำซ้ำซ้อนกัน รวมทั้งมีกำรถือใช้ระเบียบไม่เป็นไปตำมร่ำงของนำยทะเบียนสหกรณ์
3. กำรรับฝำกเงินจำกบุคคลภำยนอก จำกกลุ่มอำชีพต่ำง ๆ วัด เช่น บุตรหลำนของสมำชิก
นักเรียน เป็นต้น
4. กำรจ่ำยเงินกู้เป็นสวัสดิกำรให้แก้แก่เจ้ำหน้ำที่สหกรณ์เกินกว่ำวงเงินกองทุนที่มีอยู่ บำง
สหกรณ์ ไม่ มีเงิน กองทุ น เพื่อจั ด สวัส ดิกำรให้ แก่เจ้ำหน้ ำที่ แต่มีลู กหนี้ เงิน กองทุ นสงเครำะห์ เจ้ำหน้ำที่ บำง
สหกรณ์ มี เงิน กองทุ น สงเครำะห์ เจ้ ำหน้ ำที่ โดยที่ ข้อ บั งคั บสหกรณ์ ไม่ ได้ กำหนดให้ มี เงิน กองทุน สงเครำะห์
เจ้ำหน้ำทีใ่ นข้อบังคับ
5. ลูกหนี้เงินกู้ ลูกหนี้กำรค้ำ มีกำรปฏิเสธหนี้หรือมีกำรทักท้วงกำรเป็นหนี้ โดยกำรปฏิเสธหนี้
กับผู้สอบบัญชี หรือมีกำรร้องเรียนผ่ำนหน่วยงำนของรัฐ
6. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรจ่ำยเงินกู้เกินว่ำระเบียบที่สหกรณ์กำหนดไว้
7. เงินสดขำดบัญชี
8. มี ก ำรปฏิ บั ติขั ดกั บ ข้ อบั งคับ ของสหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกร โดยจ่ ำยเงิน กู้โดยมิ ได้ ให้
สมำชิกถือหุ้นตำมส่วนแห่งเงินกู้
9. ขำดทุนเกินกว่ำกึ่งหนึ่งของทุนเรือนหุ้นที่ชำระเต็มมูลค่ ำแล้ว หรือขำดทุนสะสมจนมีส่วน
ขำดแห่งทุน
5

10. กำรปฏิบัติขัดกับระเบียบและหลักกำรควบคุมภำยในไม่ดี โดยหนังสือสัญญำกู้ยืมเงิน มี


กำรกรอกข้ อ ควำมไม่ ส มบู ร ณ์ กำรจ่ ำ ยเงิ น กู้ โ ดยไม่ ผ่ ำ นกำรอนุ มั ติ ข องคณะกรรมกำรด ำเนิ น กำรหรื อ
คณะกรรมกำรเงินกู้ กำรจัดหลักประกันเงินกู้ไม่คุ้มครองหนี้และไม่เหมำสะสม
11. กำรนำเงินของสหกรณ์ไปลงทุนโดยไม่มีใบหุ้นให้ตรวจสอบ หรือมีรำยละเอียดใบหุ้นแต่
ไม่ตรงตำมบัญชีแยกประเภทของสหกรณ์
12. กำรจ่ำยเงินค่ำใช้จ่ำยต่ำง ๆ ของสหกรณ์โดยไม่มีใบเสร็จรับเงินประกอบกำรบันทึกบัญชี
13. กำรปฏิบัติขัดกับข้อบังคับ กำรรับสมำชิกเข้ำใหม่โดยไม่เรี ยกเก็บค่ำธรรมเนียมแรกเข้ำ
หรือเรียกเก็บค่ำธรรมเนียมแรกเข้ำจำกสมำชิกเข้ำใหม่เกินจำนวนที่ข้อบังคับกำหนดไว้หรือมีกำรเรียกเก็บไว้ไม่
ครบตำมจำนวน
14. กำรรับเงินชำระหนี้จำกสมำชิกโดยไม่ออกใบเสร็จรับเงิน
15. กรณีสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน มีกำรจ่ำยเงินสวัสดิกำร สก.1 และ สก.2 ให้แก่ชุมนุมสหกรณ์
เครดิตยูเนี่ยนแห่งประเทศไทย จำกัด ซึ่งกฤษฎีกำวินิจแล้วว่ำสหกรณ์ไม่สำมำรถกระทำกำรจัดสวัสดิกำรใน
ลักษณะดังกล่ำวได้
16. กำรนำเงินไปลงทุนร่วมกับสมำชิกในกำรทำธุรกิจร้ำนค้ำปลีก
17. กำรขำยปุ๋ยเป็นเงินเชื่อโดยไม่มีสัญญำขำยเชื่อ หรือไม่มีกำรจัดหลักประกันกำรขำยเชื่อไว้
18. กำรจ่ำยเงินกองทุนปลดเปลื้องหนี้สินให้แก่สมำชิกโดยไม่มีเงินกองทุน และเบิกจ่ำยเงิน
ให้แก่สมำชิกทุกรำยที่หนี้ครบกำหนดสัญญำและมีกำรทำเอกสำรกำรขอกู้เงินใหม่จำกสหกรณ์ และมีกำรนำ
สัญญำเงินกู้ใหม่ขอเบิกเงินจำกสถำบันกำรเงินเมื่อได้เงินกู้แล้วนำเงินกู้ดังกล่ำวมำจ่ำยแก่คืนสหกรณ์
19. กำรค้ำประกันเงินกู้ของสมำชิกโดยไม่ได้กำหนดจำนวนเงิน และไม่ได้กำหนดวงเงินกำร
ค้ำประกันของสมำชิกรำยหนึ่ง ๆ ไว้ให้ชัดเจน ส่งผลให้สมำชิกรำยหนึ่งๆ ค้ำประกันเงินกู้ได้หลำยสัญญำ
20. มีลูกหนี้กำรค้ำค้ำงนำนยกมำตั้งแต่ปีก่อน ๆ และค้ำงนำนเกินกว่ำ 2 ปี
21. กำรนำหลักทรัพย์มำจำนองค้ำประกันเงินกู้ของสมำชิกโดยไม่ได้จดจำนองหลักทรัพย์ให้
สอดคล้องกับสัญญำเงินกู้ และไม่สอดคล้องกับกำรรับเงินกู้ของสมำชิก ไม่มีกำรประเมินรำคำหลักทรัพย์ของ
หน่วยงำนรำชกำร และไม่มีกำรประเมินรำคำหลักทรัพย์ของคณะกรรมกำรดำเนินกำรสหกรณ์
22. เจ้ำหน้ำที่สหกรณ์ลำออก หรือถูกให้ออกจำกกำรเป็นจำกกำรเป็นเจ้ำหน้ำที่ของสหกรณ์
แต่ไม่สำมำรถชำระหนี้เงินกองทุนสงเครำะห์เจ้ำหน้ำที่ได้ครบตำมจำนวน
กำรแก้ไขปัญหำเมื่อมีข้อสังเกตของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ผ่ำนมำ จะใช้มำตรกำรขั้นต่ำก่อนโดย
กำรแนะนำให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรแก้ไขก่อนเป็นอันดับแรก เว้นแต่ข้อสังเกตที่เป็นกรณีร้ำยแรง เช่น เงิน
สดขำดบัญชี ลูกหนี้กำรค้ำค้ำงนำนและไม่มีผู้รับผิดชอบหำกข้อมูลเพียงพอนำยทะเบียนสหกรณ์จะพิจำรณำสั่ง
กำรให้คณะกรรมกำรดำเนินกำรแก้ไขข้อบกพร่อง โดยกำรสอบสวนข้อเท็จจริงเพื่อหำผู้รับผิดชอบและให้ชดใช้
ค่ำเสียหำยคือให้แก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ที่ผ่ำนมำพบว่ำในปีงบประมำณ พ.ศ.2562 มีข้อสังเกตที่ตรวจ
ลดน้ อยลงจำกปี งบประมำณ พ.ศ.2561 จำนวน 88 แห่ ง คงเหลือ ที่พบในปี 2562 จำนวน 30 แห่ ง โดย
ปัจจุบันข้อสังเกตส่วนใหญ่ได้รับกำรแก้ไขแล้วคงเหลือรำยกำรข้อสังเกตที่ต้องใช้เวลำในกำรแก้ไขได้แก่ กำรรับ
ฝำกเงินจำกบุคคลภำยนอกซึ่งอยู่ระหว่ำงกำรแก้ไข กำรลงทุนในร้ำนค้ำปลีกร่วมกับสมำชิกซึ่งอยู่ระหว่ำงกำร
ทยอยคืน เงินลงทุน ลูกหนี้ กำรค้ำค้ำงนำนบำงสหกรณ์ มีกำรฟ้องดำเนินคดีไปแล้ว บำงสหกรณ์อยู่ระหว่ำง
ตรวจสอบข้อเท็จจริงของคณะกรรมกำรดำเนินกำรสหกรณ์ และกำรจ่ำยเงินสวัสดิกำร สก.1 และ สก.2 ของ
6

สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนต่ำง ๆ ให้แก่ชุมนุมสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนแห่งประเทศไทย จำกัด ซึ่งสหกรณ์เครดิตยู


เนี่ ยนที่เกี่ยวข้องอ้ำงว่ำ ชุมนุ มสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนแห่ งประเทศไทย จำกัด ได้เรียกเก็บ เงินตลอดมำและ
ชุมนุมฯ ยังจ่ำยสวัสดิกำรให้แก่สมำชิกทุกรำยซึ่งในเรื่องนี้สหกรณ์ ฯ รอควำมชัดเจนในกำรดำเนินกำรของ
ชุมนุมสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนแห่งประเทศไทย จำกัด
วิธีการในการดาเนินการแก้ไขข้อสังเกตของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
กำรแก้ไขปั ญ หำข้ อสั งเกตของสหกรณ์ และกลุ่ มเกษตรกรที่ ผ่ ำนมำของส ำนั กงำนสหกรณ์ จังหวัด
มหำสำรคำม ได้ปฏิบัติตำมแนวทำงที่กรมส่งเสริมสหกรณ์กำหนดไว้โดยเคร่งครัด โดยใช้มำตรกำรขั้นต่ำก่อน
โดยกำรให้ ค ำแนะน ำในกำรปฏิ บั ติ ง ำนแก่ ค ณะกรรมกำรด ำเนิ น กำรสหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกรและ
ในขณะเดี ย วกั น กลไกลส ำคัญ ในกำรแก้ ไขปั ญ หำข้อ สั งเกตต่ำง ๆ ที่ มี ควำมส ำคั ญ และจำเป็ น อย่ำงยิ่งคื อ
กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ซึ่งมีหน้ำที่ในกำรดูแล และแนะนำ และส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ต้องทำ
ควำมเข้ำใจกับปัญหำที่เกิดขึ้น โดยต้องให้ คำแนะนำให้คณะกรรมกำรดำเนินกำรสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
แก้ไขปัญหำให้แล้วเสร็จโดยเร็ว รวมทั้งกำกับไม่ให้สหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรนั้น ๆ เกิดปัญหำข้อสังเกตใน
ลักษณะดังกล่ ำวเกิดขึ้นอีก และอีกส่วนที่มีควำมสำคัญ ยิ่ง คือผู้บริหำรสูงสุ ดของหน่วยงำนคือท่ำนสหกรณ์
จังหวัดต้องให้ควำมสำคัญในกำรแก้ไขปัญหำ ดังกล่ำวด้วย
ในกำรดำเนินงำนกำรแก้ไขปัญหำข้อสังเกตที่ตรวจพบโดยผู้สอบบัญชีที่สำนักงำนตรวจบัญ ชีสหกรณ์
มหำสำรคำม แจ้งข้อตรวจพบ นั้น จะอำศัยอำนำจของนำยทะเบียนสหกรณ์เฉพำะกรณีที่เห็นว่ำ ข้อสังเกตนั้น
เกิดควำมเสียหำยแก่สหกรณ์แล้ว เช่น เงินสดขำดบัญชี กำรปฏิเสธหนี้ เท่ำนั้น โดยส่วนใหญ่สหกรณ์และกลุ่ม
เกษตรกรได้ดำเนินกำรแก้ไขปัญหำข้อสังเกตตำมคำแนะนำของสหกรณ์จังหวัด ได้แล้วเสร็จ โดยไม่มี ต้องใช้
อำนำจของนำยทะเบียนสหกรณ์หรือนำยทะเบียนกลุ่มเกษตรกรประจำจังหวัดในกำรใช้มำตรกำรรุนแรงให้
นำยทะเบียนสหกรณ์สั่งกำรตำมมำตรำ 22 (1) แห่งพระรำชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
โดยมีประเด็นข้อสังเกต คำแนะนำของสหกรณ์จังหวัด หรือรองนำยทะเบียนสหกรณ์เกี่ยวกับ วิธีกำรในกำร
แก้ไขปัญหำที่ผ่ำนมำ ตลอดจนผลสำเร็จในกำรแก้ไขข้อสังเกตของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ดังนี้
ประเด็นข้อสังเกต คาแนะนาของสานักงานสหกรณ์ ผลการแก้ไขปัญหาที่ผ่านมา
จังหวัดหรือนายทะเบียนสหกรณ์
1 .ข้ อ บั งคั บ ไม่ ส อ ด ค ล้ อ งกั บ -แนะนำให้สหกรณ์ฯ แก้ไขเพิ่มเติม -ส ห ก รณ์ ได้ แ ก้ ไข เพิ่ ม เติ ม
กฎหมำย ข้อบังคับสหกรณ์ให้สอดคล้องกับ ข้ อ บั ง คั บ ให้ ส อ ด ค ล้ อ งกั บ
กฎหมำย โดยมีกำรแนะนำให้ถือ กฎหมำยตำมค ำแนะน ำของ
ปฏิบัติ ดังนี้ ส ำนั ก งำนสหกรณ์ จั ง หวั ด หรื อ
1.นำเสนอที่ประชุมคณะกรรมกำร นำยทะเบียนสหกรณ์แล้ว
ดำเนินกำรโดยองค์ประชุมเต็มองค์ -ส่วนที่เหลือรอกำรประชุมใหญ่
คณะของจำนวนกรรมกำรโดยใช้มติ สำมัญประจำปีของสหกรณ์
สองในสำมของจำนวนกรรมกำร
ดำเนินกำร
2.นำเสนอที่ประชุมใหญ่สำมัญ
ประจำปีองค์ประชุมจำนวน 100 คน
ประเด็นข้อสังเกต คาแนะนาของสานักงานสหกรณ์ ผลการแก้ไขปัญหาที่ผ่านมา
จังหวัดหรือนายทะเบียนสหกรณ์
ขึ้นไป โดยมติคะแนนเสียงสองในสำม
ของสมำชิกหรือผู้แทนสมำชิกที่อยู่ใน
ที่ประชุม
3.ส่งเรื่องขอจดทะเบียนแก้เพิ่มเติม
ข้อบังคับภำยใน 30วัน นับแต่วัน
ประชุมใหญ่
2.กำรกำหนดและถือใช้ระเบี ย บ -แนะนำให้สหกรณ์ดำเนินกำร ดังนี้ -สหกรณ์ ส่ ว น ให ญ่ ได้ แ ก้ ไ ข
ของสหกรณ์ ขั ด กั บ กฎหมำยและ 1.ยกเลิ กระเบี ยบที่ ขัดกั บกฎหมำย ปั ญ ห ำ ต ำ ม ค ำ แ น ะ น ำ ข อ ง
ข้ อ บั ง คั บ สหกรณ์ และไม่ เป็ น ไป และข้อบังคับสหกรณ์ ส ำนั ก งำนสหกรณ์ จั ง หวั ด หรื อ
ตำมค ำแนะน ำของนำยทะเบี ย น 2.ให้ มีกำรแก้ไขเพิ่มเติมระเบี ยบให้ ค ำแนะน ำของนำยทะเบี ย น
สหกรณ์ หรื อ ค ำแนะน ำของกรม สอดคล้ อ งกั บ กำรปฏิ บั ติ ง ำนของ สหกรณ์โดยยกเลิกระเบียบที่ขัด
ส่งส่งเสริมสหกรณ์ และเนื้อหำของ สหกรณ์ในปัจจุบัน กั บ ก ฎ ห ม ำย แ ล ะ ข้ อ บั งคั บ
ระเบี ย บบำงระเบี ย บที่ ถื อ ใช้ มี 3.กรณี ที่ น ำยทะเบี ย นสหกรณ์ ร่ ำ ง สหกรณ์
ควำมซ้ำซ้อนกัน ระเบี ย บให้ ส หกรณ์ น ำมำใช้ ในกำร -มีกำรพิจำรณำกำหนดระเบียบ
ปฏิ บั ติงำน แนะน ำให้ ส หกรณ์ แ ก้ไข ขึ้ น ถื อ ใช้ ใหม่ ให้ เป็ น ไปตำมร่ ำ ง
เพิ่ มเติมระเบียบโดยยกเลิ กระเบียบ ของนำยทะเบี ย นสหกรณ์ ห รื อ
เดิ ม และให้ ถื อ ใช้ ร ะเบี ย บใหม่ ใ ห้ ตำมร่ำงของกรมส่งเสริมสหกรณ์
เป็ น ไปตำมร่ ำ งหรื อ ค ำแนะน ำของ แล้ว
นำยทะเบียนสหกรณ์ -เจ้ ำห น้ ำที่ ส่ งเส ริ ม ส ห ก รณ์
4.ให้ ยกเลิ ก ระเบี ยบ ที่ มี เ นื้ อห ำ แ น ะ น ำ เกี่ ย ว กั บ ก ำ ร ถื อ ใช้
ซ้ำซ้อนกัน ระเบียบของสหกรณ์
3.กำรรับฝำกเงินจำกบุคลภำยนอก -แนะนำให้สหกรณ์ ดำเนินกำรแก้ไข -สหกรณ์ ได้ดำเนินกำรแก้ไขได้
ได้แก่ บุตรหลำนของสมำชิก กลุ่ม ปัญหำข้อสังเกต ดังนี้ แล้ ว เสร็จ บำงแห่ ง กรณี ที่ ยั งแก้
อำชีพต่ำง ๆ ในสหกรณ์ หมู่บ้ ำน 1.ให้เจ้ำของบัญชีมำปิดบัญชีเงินฝำก ไม่เสร็จสหกรณ์ได้จัดทำแผนกำร
วัดต่ำง ๆ 2.กรณีบุตรสมำชิกแนะนำให้เปลี่ยน แก้ไขปัญหำแล้วบำงส่วน
ชื่อบัญชีเป็นซื่อของบิดำมำรดำของ -สหกรณ์ น ำเสนอที่ ป ระชุ ม
เด็กซึ่งเป็นสมำชิกสหกรณ์ ใหญ่เพื่อขอให้พิจำรณำเกี่ยวกับ
3. กรณี เป็ น วัด กองทุ น หมู่ บ้ ำ น ให้ กำรดำเนิ นกำรกับ บัญ ชีเงินฝำก
บุคคลที่เป็นสมำชิกซึ่ งเป็นกรรมกำร กรณีที่ไม่มีตัวตน และไม่สำมำรถ
วัด กองทุนหมู่บ้ำนเป็นเจ้ำของบัญชี ติ ด ต่ อ ได้ แ ล้ ว ว่ ำ สห กรณ์ จะ
เงินฝำกแทน ดำเนินกำรกับเงินจำนวนดังกล่ำว
4.กรณีเป็นบุคคล ถ้ำมีคุณสมบัติเป็น อย่ ำ งไร และก ำหนดเวลำกำร
สมำชิ ก ตำมที่ กำหนดไว้ในข้ อบั งคั บ ดำเนินกำรไว้ชัดเจนแล้ว
สหกรณ์ แนะนำให้ ส มัครเป็นสมำชิก -ปั จ จุ บั น ส ำนั ก งำนสหกรณ์
สหกรณ์หรือเป็นสมำชิกสมทบ จังหวัดได้ให้กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์
5.กรณีไม่มีตัวตน ไม่สำมำรถติดต่อได้ ที่ มี ห น้ ำ ที่ ใ นกำรแนะน ำและ
ประเด็นข้อสังเกต คาแนะนาของสานักงานสหกรณ์ ผลการแก้ไขปัญหาที่ผ่านมา
จังหวัดหรือนายทะเบียนสหกรณ์
แนะน ำให้ ส หกรณ์ ออกประกำศ ส่งเสริมสหกรณ์ ได้สำรวจข้อมูล
เพื่ อ ให้ ผู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งรั บ ทรำบกำร สหกรณ์ ที่ มี ก ำรรับ ฝำกเงิน จำก
ดำเนินกำรเกี่ยวกับบัญชีเงินฝำกต่ำง ๆ บุ ค คลภำยนอกทั้ ง หมดและให้
ของสหกรณ์ โดยปิดประกำศตำมบอร์ด จัดทำแผนในกำรแก้ไขปัญหำโดย
ประชำสัมพันธ์ต่ำง ๆ อย่ำงกว้ำงขวำง ก ำหนดระยะเวลำแล้ ว เสร็ จ ให้
ชัดเจน
4. กำรจ่ำยเงินกู้กองทุนสงเครำะห์ - นำยทะเบี ย นสหกรณ์ สั่ ง กำรให้ -สหกรณ์ ไ ด้ ด ำเนิ น กำรเรี ย ก
เจ้ำหน้ำที่สหกรณ์ที่เกินกว่ำวงเงิน คณะกรรมกำรด ำเนิ น กำรสหกรณ์ เงิ น กู้ คื น แต่ เจ้ ำ หน้ ำ ที่ ซึ่ ง เป็ น
กองทุ น ที่ มี อ ยู่ จ่ ำยเงิน กู้ โดยไม่ มี แก้ไขข้อบกพร่อง ดังนี้ ลู ก หนี้ ไ ม่ มี เงิ น จ่ ำ ยคื น เต็ ม ตำม
เงิน กองทุ น สงเครำะห์ เจ้ ำ หน้ ำ ที่ 1.เรียกเงินกู้คืนกรณีที่ข้อบังคับไม่ได้ จ ำนวน แต่ มี ก ำรทยอยจ่ ำยคื น
และสหกรณ์ ไม่ ไ ด้ ก ำหนดให้ มี ก ำหนดให้ มี เงิ น กองทุ น สงเครำะห์ เป็นรำยเดือน ต้องใช้เวลำในกำร
เงินกองทุน สวัสดิกำรเจ้ำหน้ำที่ไว้ เจ้ำหน้ำที่ไว้ในข้อบังคับสหกรณ์ เก็บคืน
ในข้อบังคับ และ 2.ยุติกำรให้เงินกู้ใหม่แต่ให้ดำเนินกำร -ไม่มีกำรจ่ำยเงินกู้เงินสวัสดิกำร
เรียกเก็บเงินกูค้ ืนให้ครบตำมจำนวน ให้ แ ก่ เจ้ ำหน้ ำที่ ส หกรณ์ เพิ่ ม แต่
3.ให้พิจำรณำปรับอัตรำดอกเบี้ยเงินกู้ อย่ำงใด โดยมีเพี ยงกำรติ ดตำม
ให้ เท่ ำ กั บ อั ต รำดอกเบี้ ย ที่ ส หกรณ์ กำรส่งชำระเงิน
เรีย กเก็บ จำกสมำชิก หรือ อย่ำงน้อ ย -สหกรณ์ จ ะจ่ ำ ยเงิ น กู้ เป็ น เงิ น
ต้ อ งเท่ ำ กั บ ต้ น ทุ น ทำงกำรเงิ น ของ สวั ส ดิ ก ำรแก่ เจ้ ำหน้ ำที่ ได้ เมื่ อ มี
สหกรณ์ เงิ น กองทุ น คงเหลื อ มำกกว่ ำ
4.เรีย กหลั กประกัน เงินกู้ ให้ เพียงพอ ลูกหนี้เงินกู้
และเหมำะสม
5. ลู ก หนี้ เ งิ น กู้ ป ฏิ เ สธหนี้ หรื อ - แ น ะ น ำ ใ ห้ ค ณ ะ ก ร ร ม ก ำ ร -สหกรณ์ ได้ตั้งคณะกรรมกำร
ลูกหนี้กำรค้ำปฏิเสธหนี้ หรือมีกำร ดำเนินกำรสหกรณ์ ดำเนินกำร ดังนี้ ตรวจสอบข้อเท็จจริง และพบว่ำ
ทักท้วงกำรเป็นหนี้ 1.ตั้ ง คณ ะกรรมกำรตรวจสอบ บ ำ ง ร ำ ย ก ำ ร ได้ เกิ ด เห ตุ ใน
ข้อเท็จจริงเพื่อหำผู้รับผิดชอบ คณะกรรมกำรด ำเนิ น กำรชุ ด
2.ให้ผู้รับผิดชอบใช้เงินคืนสหกรณ์ ก่ อ นโดยไม่ มี ก ำรส่ ง มอบงำน
ตำมจ ำนวนเงิน ที่ ท ำให้ ส หกรณ์ เกิ ด ระหว่ำงกันทำให้ คณะกรรมกำร
ควำมเสียหำย ด ำ เนิ น ก ำ ร ชุ ด นั้ น ต้ อ งเป็ น
3.หำกผู้ รั บ ผิ ด ชอบชดใช้ เ งิ น คื น ผู้รับผิดชอบ
บำงส่วนส่วนที่เหลือให้ทำหนังสือรับ -ผู้รับผิดชอบชดใช้เงินคืนให้แก่
สภำพหนี้ไว้ได้ไม่เกิน 1 ปี โดยให้จัด สหกรณ์ครบถ้วน บำงแห่งมีกำร
หลักประกันให้เหมำะสม ผ่อนชำระเป็นรำยงวด
4.ติ ด ตำมกำรชดใช้ เ งิ น คื น ตำม -เจ้ำหน้ำที่ส่งเสริมสหกรณ์กำชับ
หนั งสื อ รั บ สภำพหนี้ ที่ ก ระท ำไว้ ต่ อ ให้ ส หกรณ์ ป ฏิ บั ติ ต ำมระเบี ย บ
สหกรณ์อย่ำงต่อเนื่อง อย่ำงเคร่งครัด
6. เงินสดขำดบัญชี -สั่งกำรให้คณะกรรมกำรดำเนินกำร -สหกรณ์ ได้ ตั้ งคณะกรรมกำร
ประเด็นข้อสังเกต คาแนะนาของสานักงานสหกรณ์ ผลการแก้ไขปัญหาที่ผ่านมา
จังหวัดหรือนายทะเบียนสหกรณ์
สหกรณ์แก้ไขข้อบกพร่องหรือแนะนำ ตรวจสอบข้อเท็จจริงเพื่อหำผู้รับ
ให้สหกรณ์ดำเนินกำร ดังนี้ ชอบ
1.ตั้ งค ณ ะ ก รรม ก ำร ต รว จ ส อ บ -ให้ ผู้ รั บ ผิ ด ชอบชดใช้ เ งิ น คื น
ข้อเท็จจริงเพื่อหำผู้รับผิดชอบ ส ห ก ร ณ์ ได้ ค ร บ ถ้ ว น ก ร ณี
2.ให้ ผู้ รั บ ผิ ดชอบชดใช้ น ำเงิน มำคื น ผู้รับผิดชอบไม่มีเงินสดชดใช้คืน
โดยน ำเข้ ำ ฝำกธนำคำรหรื อ น ำไป ได้ ค รบตำมจ ำนวน ได้ จั ด ท ำ
ดำเนินธุรกิจ เพื่อให้เกิดรำยได้ สัญญำรับสภำพหนี้ไว้
3.หำกไม่ผู้รับผิดชอบไม่มีเงินสดชดใช้ -เจ้ ำ ห น้ ำที่ ส่ ง เสริ ม ก ำชั บ ให้
คืนสหกรณ์ให้ทำหนังสือรับสภำพหนี้ ค ณ ะ ก ร รม ก ำร ด ำเนิ น ก ำ ร
โดยให้จัดหลักประกันให้เพียงพอและ สหกรณ์ ป ฏิ บั ติ ต ำมสั ญ ญำรั บ
เหมำะสม สภำพหนี้ไว้
4.กำกับให้ปฏิบัติตำมระเบียบที่ -นำเสนอที่ประชุมคณะกรรมกำร
กำหนดไว้อย่ำงเคร่งครัด ให้มีกำรปฏิบัติตำมข้อบังคับและ
5.ให้กำหนดระเบียบให้ครอบคลุม ร ะ เบี ย บ ที่ เกี่ ย ว ข้ อ ง อ ย่ ำ ง
กำรดำเนินงำน เคร่งครัด
6.ดำเนินคดีทำงอำญำ(ยักยอก)
7. กำรปฏิบัติขัดกับระเบียบและ -แ น ะ น ำ ให้ ค ณ ะ ก ร ร ม ก ำ ร -สหกรณ์ ไ ด้ ด ำเนิ น กำรแก้ ไ ข
หลักกำรควบคุมภำยในไม่ดี มีกำร ดำเนินกำรสหกรณ์ ดำเนินกำร ดังนี้ ข้ อ สั ง เกตแล้ ว เสร็ จ โดยมี ก ำร
จ่ำยเงินกู้เกินกว่ำระเบี ยบ หนังสือ 1.ตรวจสอบข้ อ เท็ จ จริง หำกพบว่ ำ เรียกเงินกู้คืน
สั ญ ญำกู้ ยื ม เงิน กรอกข้ อ ควำมไม่ จ่ ำ ยเงิ น กู้ เกิ น กว่ ำ ระเบี ย บให้ เรี ย ก -ตรวจสอบหนังสื อสั ญ ญำกู้เงิน
สมบูรณ์ กำรจ่ำยเงินกู้โดยไม่ผ่ำน เงิ น กู้ คื น รวมทั้ ง ให้ ต รวจสอบและ และกรอกข้ อ ควำมในหนั ง สื อ
กำรอนุ มั ติ ข องคณ ะกรรมกำร กรอกข้อควำมในหนังสือสัญญำกู้ยืม สัญญำให้ครบถ้วน สมบูรณ์ และ
ด ำเนิ น กำรหรื อ คณะกรรมกำร เงินให้สมบูรณ์ ครบถ้วน ถูกต้อง
เงิน กู้ จ่ ำ ยเงิน กู้ เกิ น กว่ ำ ระเบี ย บ 2.ในกำรจ่ ำ ยเงิ น กู้ ข องสหกรณ์ ให้ -อยู่ระหว่ำงกำรดำเนินกำรแก้ไข
ก ำ ร จั ด ห ลั ก ป ร ะ กั น เงิ น กู้ ไม่ ผ่ ำ นมติ ที่ ป ระชุ ม คณ ะกรรมกำร โดยกำรกรอกข้อควำมในสัญญำ
คุ้มครองหนี้ ดำเนิ น กำรหรือคณะกรรมกำรเงิน กู้ เงินกูใ้ ห้ถูกต้อง
แล้ ว แต่กรณี และจัดหลั กประกันให้ -เจ้ ำห น้ ำที่ ส่ งเส ริ ม ส ห ก รณ์
เพียงพอและเหมำะสม แนะน ำให้ ก รรมกำรและฝ่ ำ ย
2.ให้สหกรณ์ปฏิบัติตำมระเบียบอย่ำง จัดกำรปฏิบัติตำมระเบียบอย่ำง
เคร่งครัดฯ อย่ำงเคร่งครัด เคร่งครัด
8.ก ำรป ฏิ บั ติ ขั ด กั บ ข้ อ บั งคั บ -แ น ะ น ำ ใ ห้ ค ณ ะ ก ร ร ม ก ำ ร -สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทุก
สหกรณ์ โดยจ่ ำยเงิน กู้โดยมิได้ให้ ดำเนินกำรสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร แห่งได้เรียกเก็บเงินค่ำหุ้นจำก
สมำชิกถือหุ้นตำมส่วนแห่งเงินกู้ ดำเนินกำร ดังนี้ สมำชิกที่กู้เงินเพิ่มเติมได้ครบทุก
1.เรียกเก็บเงินค่ำหุ้ นตำมส่ วนแห่ ง แห่ง
เงินกู้จำกสมำชิกผู้กู้เงินทุกรำย -ในปี 2562สังเกตเกี่ยวกับกรณี
2.ให้ ส หกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกรให้ ดังกล่ำวคงเหลือเพียงจำนวน 1
ประเด็นข้อสังเกต คาแนะนาของสานักงานสหกรณ์ ผลการแก้ไขปัญหาที่ผ่านมา
จังหวัดหรือนายทะเบียนสหกรณ์
ปฏิ บั ติ ใ ห้ เ ป็ น ไป ตำมข้ อ บั ง คั บ ที่ กลุ่ม ซึ่งได้แก้ไขเสร็จแล้ว
กำหนดไว้อย่ำงเคร่งครัด ในกำรจ่ำย -กลุม่ ส่งเสริมสหกรณ์แนะนำให้
เงินกู้ให้แก่สมำชิกทุกครั้ง สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรปฏิบัติ
ตำมที่ข้อบังคับกำหนดไว้
9.สหกรณ์ และกลุ่ ม เกษตรกร -แ น ะ น ำ ใ ห้ ค ณ ะ ก ร ร ม ก ำ ร -สหกรณ์ ไ ด้ น ำเสนอที่ ป ระชุ ม
ขำดทุ น เกิ น กว่ ำ กึ่ ง หนึ่ ง ของทุ น ดำเนินกำรสหกรณ์ดำเนินกำร ดังนี้ ให ญ่ พิ จ ำรณ ำก ำห น ด แ น ว
เรื อ นหุ้ น ที่ ช ำระเต็ ม มู ล ค่ ำ แล้ ว 1.ประชุมใหญ่โดยไม่ชักช้ำแต่ไม่เกิน ทำงกำรแก้ไขแล้ว
และมีผลกำรดำเนินกำรงำนโดยมี 30 วัน นับแต่วันที่สหกรณ์ทรำบ -กรณี ส หกรณ์ ที่ ไม่ ได้ รั บ ควำม
ส่วนขำดแห่งทุน 2.ให้ พิ จ ำรณำก ำหนดแนวทำงกำร ร่ ว ม มื อ จ ำ ก ส ม ำ ชิ ก ใน ก ำ ร
ดำเนินงำน ด ำเนิ น งำนหรื อ กรรมกำรไม่ มี
- เลิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ควำมประสงค์ จ ะด ำเนิ น งำน
- หำกไม่ เลิ ก ต้ อ งให้ มี ก ำรจั ด ท ำ ต่อไป ได้ขอให้สั่งเลิกสหกรณ์
แผนฟื้ น ฟู กิ จ กำรของสหกรณ์ แ ละ -สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีกำร
กลุ่มเกษตรกร ขอฟื้ นฟูกิจกำรฯโดยจัดท ำแผน
3.กลุ่ ม ส่ ง เสริ ม สหกรณ์ ที่ เกี่ ย วข้ อ ง ฟื้นฟู กิจกำรเสนอที่ประชุมใหญ่
ติดตำมผลกำรปฏิ บั ติตำมแผนฟื้ น ฟู ซึ่งอยู่ระหว่ำงกำรติดตำมผลของ
กิจกำรสหกรณ์ กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
1 0 .ก ำ ร ล ง ทุ น ไม่ มี ใบ หุ้ น มี -แ น ะ น ำ ให้ ค ณ ะ ก ร ร ม ก ำ ร -สหกรณ์ได้มีกำรตรวจสอบกำร
รำยละเอี ย ดกำรถือ หุ้ น แต่ ไม่ ต รง ดำเนินกำรสหกรณ์ ดำเนินกำรดังนี้ ลงทุนโดยกำรถือหุ้นหรือกำรนำ
กับบัญชีแยกประเภทของสหกรณ์ 1.ให้ตรวจสอบเอกสำรกำรถือหุ้นทุก เงินไปลงทุนต่ำง ๆ
ฉบับให้ถูกต้องตรงตำมบัญชีแยก -ได้ มี ก ำรทยอยกำรขอคื น เงิ น
ประเภท ลงทุนเป็นรำยปี
2.หำกไม่ถูกต้องให้ตรวจสอบยอดกับ -มีกำรปรับปรุงข้อมูลทำงบัญชีให้
หน่ ว ยงำนที่ ส หกรณ์ ถื อหุ้ นปรับ ปรุง จ ำนวนเงิ น ที่ น ำไปลงทุ น และ
บัญชีให้ถูกต้องต่อไป บั ญ ชี แ ยกประเภทไว้ ถู ก ต้ อ ง
ตรงกัน
11. กำรจ่ำยเงินเป็นค่ำใช้จ่ำยของ -แ น ะ น ำ ใ ห้ ค ณ ะ ก ร ร ม ก ำ ร -ส ห ก รณ์ ได้ แ ก้ ไข รำย ก ำร
สหกรณ์ โดยไม่มีเสร็จรับ เงิ นหรือ ดำเนินกำรสหกรณ์ ดำเนินกำร ดังนี้ ข้อสั งเกตซึ่งเป็นกำรจ่ำยเงินปัน
ใบกำกับ ภำษีป ระกอบกำรบั น ทึ ก 1.ตรวจสอบกำรจ่ ำ ยเงิ น ดั ง กล่ ำ ว ผลตำมหุ้น และเงินเฉลี่ยคืนโดย
บัญชี หำกไม่ถูกต้องให้เรียกเงินคืน ได้จัดทำรำยละเอียดกำรจ่ำยและ
2.กำรจ่ำยเงินทุกครั้งต้องเรียก ให้สมำชิกลงนำมรับเงินไว้ถูกต้อง
ใบเสร็จรับเงินหรือใบกำกับภำษี เป็น แล้ว
เอกสำรประกอบกำรบันทึกบัญชี -กลุ่ ม ส่ ง เสริ ม สหกรณ์ แ นะน ำ
3.ถ้ ำ เป็ น กำรจ่ ำ ยเงิ น ภำยในของ เกี่ ย วกั บ กำรรั บ จ่ ำ ยเงิ น ของ
สหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกรที่ ไม่ อำจ สหกรณ์ต้องมีใบเสร็จรับเงินหรือ
เรี ย กใบเสร็ จ รับ เงิ น ได้ ต้ อ งมี ใบเบิ ก ใบกำกับภำษีทุกครั้ง
ประเด็นข้อสังเกต คาแนะนาของสานักงานสหกรณ์ ผลการแก้ไขปัญหาที่ผ่านมา
จังหวัดหรือนายทะเบียนสหกรณ์
เงิน โดยระบุ ผู้ รับ รำยละเอียดกำร
เบิกเงินให้ชัดเจน
12. กำรปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ กำรรั บ -แ น ะ น ำ ใ ห้ ค ณ ะ ก ร ร ม ก ำ ร -สหกรณ์ ได้ ป ระชุ ม ซั ก ซ้ อ ม
สมำชิกใหม่ขัดกับข้อบังคับ โดยให้ ดำเนินกำรกำร ดำเนินกำร ดังนี้ ผู้ เกี่ ย ว ข้ อ งเกี่ ย ว กั บ ก ำรรั บ
ผู้สมัครเข้ำเป็นสมำชิกสหกรณ์ยื่น 1.ให้สหกรณ์ปฏิบัติตำมข้อบังคับโดย ส ม ำชิ ก ให ม่ ให้ เป็ น ไป ต ำม
ใบสมัครที่ส ำนั กงำนสหกรณ์ และ ผู้ ส มั ครต้ อ งยื่ น ใบสมั ค รต่ อประธำน ข้อบังคับของสหกรณ์
คณะกรรมกำรดำเนินกำรมีมติรับ กลุ่ ม แล้ ว ผ่ ำ น กำรรั บ รองจำกที่ -ส่งคืนเงินค่ำธรรมเนียมแรกเข้ำ
กำรสมำชิกใหม่ และไม่ได้เก็บเงิน ประชุมกลุ่มสมำชิกก่อนจึงนำเสนอที่ ที่ ส หกรณ์ เรี ย กเก็ บ จำกสมำชิ ก
ค่ ำ ธรรมเนี ย มแรกเข้ ำ หรื อ เรี ย ก ประชุมคณะกรรมกำรดำเนินกำร เกินกว่ำอัตรำที่ข้อบังคับกำหนด
เก็ บ ค่ ำ ธรรมเนี ย มแรกเข้ ำ เกิ น 2.เรียกเก็บค่ำธรรมเนียมแรกเข้ำตำม คืนให้แก่สมำชิก
หรือไม่ครบตำมจำนวน อัตรำที่ข้อบังคับกำหนดไว้ -กรณี เก็บค่ำธรรมเนี ยมไม่ครบ
3.หำกรั บ เงิน ค่ ำธรรมเนี ย มแรกเข้ ำ ได้ เ รี ย กเก็ บ เพิ่ ม ให้ ครบ ตำม
จำกสมำชิกเกินกว่ำอัตรำที่กำหนดให้ จำนวน
ดำเนินกำรจ่ำยคืนให้แก่สมำชิก -ให้ มี ก ำรป รั บ ป รุ ง ต รงต ำม
4.หำกเรียกเก็บเงินค่ำธรรมเนียมแรก ข้อเท็จจริงแล้ว
เข้ ำ ไม่ ค รบ ต้ อ งเรี ย กเก็ บ เพิ่ ม จำก
สมำชิกนั้น ๆ ให้ครบตำมจำนวน
5.ด ำเนิ น กำรปรั บ ปรุ ง บั ญ ชี ให้ ต รง
ตำมข้อเท็จจริง
13.กำรรับเงินจำกสมำชิก โดยไม่ -แ น ะ น ำ ใ ห้ ค ณ ะ ก ร ร ม ก ำ ร -ได้ แ ต่ งตั้ งค ณ ะ ก ร ร ม ก ำ ร
ไม่มีกำรใบเสร็จรับเงินให้แก่ ดำเนินกำร ดำเนินกำร ดังนี้ ตรวจสอบข้ อ เท็ จ จริ ง และหำ
สมำชิก 1.ให้ ต รวจสอบข้อเท็จจริงและหำก ผู้รับผิดชอบในเงินจำนวนแล้ว
พ บ ว่ ำ มี ก ำ รรั บ เงิ น โด ย ไม่ อ อ ก -ผู้รับผิดชอบได้ชดใช้ค่ำเสียหำย
ใบเสร็จรับเงินจริงให้หำผู้รับผิดชอบ คื น ให้ แ ก่ ส ห ก ร ณ์ แ ล ะ ก ลุ่ ม
2 .ก ำ รรั บ เงิ น ทุ ก ค รั้ งต้ อ งอ อ ก เกษตรกรครบตำมจำนวน
ใบเสร็จรับเงิน -ก ลุ่ ม ส่ ง เส ริ ม ส ห ก ร ณ์ ที่
3.ให้ ส หกรณ์ ปฏิบัติตำมระเบียบว่ำ เกี่ ย วข้ อ งก ำชั บ ให้ ส หกรณ์ ถื อ
ด้วยกำรรับจ่ำยและเก็บรักษำเงินของ ป ฏิ บั ติ ต ำ ม ร ะ เบี ย บ อ ย่ ำ ง
สหกรณ์ อย่ำงเคร่งครัด เคร่งครัด ต่อไป

14.กำรจ่ำยเงินสวัสดิกำร สก.1 -แ น ะ น ำ ใ ห้ ค ณ ะ ก ร ร ม ก ำ ร -สหกรณ์ เ ครดิ ต ยู เ นี่ ย นส่ ว น


และ สก.2 ให้ชุมนุมสหกรณ์เครดิต ดำเนินกำร ดำเนินกำร ดังนี้ ให ญ่ ยั ง มี ก ำ ร ส่ ง ช ำ ร ะ เงิ น
ยูเนี่ยนแห่งประเทศไทย จำกัด 1.ให้สหกรณ์หยุดจ่ำยเงินสวัสดิกำร ส วั ส ดิ ก ำร ส ก .1 แ ล ะ ส ก .2
สก.1 และสก.2 ตำมคำแนะนำของ เนื่องจำกชุมนุมสหกรณ์เครดิตยู
คณะกรรมกำรกฤษฎีกำ เนี่ ย นแห่ ง ประเทศไทย จ ำกั ด
ประเด็นข้อสังเกต คาแนะนาของสานักงานสหกรณ์ ผลการแก้ไขปัญหาที่ผ่านมา
จังหวัดหรือนายทะเบียนสหกรณ์
เรี ย กเก็ บ เป็ น ประจ ำทุ ก เดื อ น
และสมำชิ ก ยั ง ได้ รั บ ประโยชน์
จำกสวัสดิกำร ดังกล่ำวอยู่

-ร อ ค ว ำ ม ชั ด เจ น ใ น ก ำ ร
ด ำเนิ น กำรของชุ ม นุ ม สหกรณ์
เครดิ ต ยู เนี่ ย นแห่ งประเทศไทย
จำกัด
15.สหกรณ์นำเงินไปลงทุนร่วมกับ -แ น ะ น ำ ใ ห้ ค ณ ะ ก ร ร ม ก ำ ร -มติ ที่ ป ระชุ ม คณ ะกรรมกำร
สมำชิกในธุรกิจร้ำนค้ำปลีก ดำเนินกำรสหกรณ์ ดำเนินกำร ดังนี้ ด ำเนิ น กำรสหกรณ์ มี ม ติ ในกำร
1.ให้ ส หกรณ์ ถ อนหุ้ น หรื อ ถอนเงิ น ถอนคืนเงินลงทุนคืนแล้ว
ลงทุนคืน -มี ก ำรทยอยคื น เป็ น รำยปี เป็ น
2.หำกสหกรณ์ ฯ มี ควำมประสงค์จะ ประจำทุกปี
ทำกำรจัดหำสินค้ำอุปโภคบริโภคมำ -กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ติดตำมกำร
จ ำหน่ ำ ยให้ แ ก่ ส มำชิ ก ให้ ซื้ อ กิ จ กำร ส่งคืนเงินลงทุนอย่ำงต่อเนื่อง
ร้ำนค้ำปลีกมำบริหำรจัดกำร โดยต้อง
เป็ นกำรจำหน่ำยสินค้ ำให้ แก่สมำชิก
เป็นหลัก
16.ขำยปุ๋ยเป็นเงินเชื่อ ไม่มีสัญญำ -แนะนำให้สหกรณ์ ดำเนินกำร ดังนี้ -สหกรณ์ ไ ด้ ด ำเนิ น กำรแก้ ไ ข
ขำยเชื่ อ หรื อ ไม่ มี ใบก ำกั บ สิ น ค้ ำ 1.ตรวจสอบข้ อ เท็ จ จริ ง และหำก แล้ ว เสร็จโดยได้แก้ไขโดยจัดท ำ
และไม่ มี ก ำรจั ด หลั ก ประกั น กำร พบว่ำเป็นกำรขำยเชื่อโดยไม่มีสินเชื่อ สั ญ ญ ำ ข ำ ย เ ชื่ อ แ ล ะ จั ด
ขำยเชื่อ ให้จัดทำสัญญำขำยเชื่อ พร้อมกับจัด หลักประกันถูกต้องตำมระเบียบ
หลักประกันให้ เป็นไปตำมระเบียบที่ แล้ว
สหกรณ์กำหนดไว้ -มี ก ำรท ำทะเบี ย นคุ ม ลู ก หนี้
2.บันทึกบัญชี บันทึกทะเบียนคุม ให้ กำรค้ำไว้เป็นปัจจุบัน
ถูกต้อง ตรงกัน -กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ แนะนำให้
สหกรณ์และกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์
ปฏิบัติตำมระเบียบ
17.กำรจ่ำยเงินกองทุนปลดเปลื้อง -นำยทะเบี ย นสหกรณ์ สั่ ง กำรให้ -สหกรณ์ ได้ ยุติก ำรดำเนิ น กำร
ห นี้ สิ น ให้ แ ก่ ส ม ำชิ ก โด ย ไม่ มี คณะกรรมกำรด ำเนิ น กำรสหกรณ์ ในกำรให้สมำชิกเบิกเงิน กองทุน
เงิ น กองทุ น อยู่ และเบิ ก จ่ ำ ยเงิ น แก้ไขข้อบกพร่อง ดังนี้ ปลดเปลื้องหนี้สินโดยไม่มีเงินอยู่
ให้ แ ก่ ส มำชิ ก ทุ ก รำยที่ ห นี้ ค รบ 1.ให้ยุติกำรให้สมำชิกเบิกเงิน กองทุน จริงแล้ว
กำหนดสัญญำและจัดให้สมำชิก มี ปลดเปลื้องหนี้สินโดยไม่มีเงินกองทุน -โดยสมำชิกใช้เงินกองทุนปลด
กำรขอกู้เงินใหม่จำกสหกรณ์ อยู่จริงจำกสหกรณ์เพื่อชำระหนี้ให้แก่ เปลื้ อ งหนี้ สิ น ได้ เฉพำะภำยใน
สมำชิ ก แล้ ว ให้ ส มำชิ ก นั้ น ๆ ท ำ วงเงินกองทุนที่มีอยู่เท่ำนั้น
สัญญำเงินกู้ใหม่ -กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์แนะนำกำร
ประเด็นข้อสังเกต คาแนะนาของสานักงานสหกรณ์ ผลการแก้ไขปัญหาที่ผ่านมา
จังหวัดหรือนายทะเบียนสหกรณ์
2.ยกเลิ ก กำรถื อ ใช้ ร ะเบี ย บว่ ำด้ ว ย แก้ ไขเพิ่ ม เติ ม ระเบี ย บให้ มี ก ำร
กองทุ น ปลดเปลื้ อ งหนี้ สิ น ที่ ก ำหนด ก ำ ห น ด ที่ ม ำ ข อ งเงิ น แ ล ะ
ที่มำของเงินทีไ่ ม่ชอบด้วยข้อบังคับ ห ลั ก เก ณ ฑ์ ก ำ ร ใ ช้ เงิ น ใ ห้
3.ให้ ปรับปรุงระเบียบฯโดยกำหนด เหมำะสม
ที่ ม ำของเงิน กองทุ น ฯ และเงื่อ นไข -ติ ด ตำมกำรด ำเนิ น งำนอย่ ำ ง
หรือหลักเกณฑ์กำรใช้เงินกองทุนของ ต่อเนื่อง
สมำชิกให้ชัดเจน
18. กำรกำหนดระเบี ย บไม่รัดกุม -แนะนำให้สหกรณ์ดำเนินกำร ดังนี้ -อยู่ระหว่ำงกำรดำเนินกำรโดย
โดยระเบี ย บ สหกรณ์ ไม่ จ ำกั ด 1.ปรั บ ปรุ ง แก้ ไขเพิ่ ม เติ ม ระเบี ย บฯ สหกรณ์ จะได้ มี ก ำรปรั บ ปรุ ง
จ ำนวนเงิ น กำรค้ ำประกั น และ โดยให้ ก ำหนดวงเงิน กำรค้ ำประกั น ระเบียบโดยกำหนดวงเงินกำรค้ำ
จำนวนบุคคลที่สมำชิกรำยหนึ่ง ๆ และจำนวนบุคคลที่สมำชิกรำยหนึ่ง ประกั น เงิ น กู้ ข องสมำชิ ก ไว้ ใ ห้
สำมำรถค้ ำประกั น เงิ น กู้ ได้ ไว้ ใ ห้ จะสำมำรถค้ ำป ระกั น เงิ น กู้ ของ ชัดเจน
ชั ด เจน ท ำให้ ส มำชิ ก รำยหนึ่ ง ๆ สมำชิกแต่ละรำยไว้ให้ชัดเจน -กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์แนะนำให้
ค้ำประกันเงินกู้เป็นจำนวนมำก มีกำรจัดทำแผนกำรชำระหนี้ของ
- มี ก ำรแปลงหนี้ ห รื อ ท ำสั ญ ญำ
2.ให้ คณะกรรมกำรดำเนิ นกำร ฝ่ำย สมำชิ กมำก กว่ ำ ก ำรเป ลี่ ยน
ให ม่ ใน วงเงิ น ม ำก กว่ ำ เดิ ม แต่
จั ด กำร ปฏิ บั ติ ต ำมระเบี ย บอย่ ำ ง สัญญำเงินกู้ฉบับใหม่ในทุก ๆ ปี
หลักทรัพย์เดิมค้ำประกันหนี้เงินกู้
เคร่งครัด -กำรบั น ทึ ก บั ญ ชี ส หกรณ์ ได้
- บั น ทึ ก บั ญ ชี ไม่ เป็ น ไป ต ำม
3.กำรบั น ทึ ก บั ญ ชี ใ ห้ เ ป็ น ไปตำม ป ฏิ บั ติ เป็ น ไป ระ เบี ย บ น ำย
ระเบียบนำยทะเบียนสหกรณ์ รู ป แบ บ ที่ น ำยท ะเบี ยน สห กรณ์ ทะเบียนสหกรณ์แล้ว
กำหนด
19.ลูกหนี้กำรค้ำค้ำงนำน และและ -แนะนำให้สหกรณ์ดำเนินกำร ดังนี้ -สห กรณ์ ได้ ฟ้ องด ำเนิ น ค ดี
ค้ำงนำนเกินเกว่ำ 2 ปี 1.ตรวจสอบข้ อ เท็ จ จริงกรณี ลู ก หนี้ ลูกหนี้กำรค้ำที่ค้ำงนำนแล้ ว รอ
กำรค้ำค้ำงนำน และหำกขำดอำยุกำร ผลกำรพิจำรณำของศำล
ใช้ สิ ท ธิเรียกร้อ งทำงกฎหมำยให้ ห ำ -จัดให้ลูกหนี้กำรค้ำรับสภำพหนี้
ผู้รับผิดชอบ ทุ ก รำย กรณี ที่ สั ญ ญำขำดอำยุ
2.ให้ผู้รับผิดชอบชดใช้เงินคืนสหกรณ์ หรือไม่มีสัญญำแล้ว
ตำมจำนวนมูลค่ำควำมเสียหำย -กรณี ที่เป็นลูกหนี้ค้ำงนำนและ
3.หำกชดใช้ เงิ น คื น สหกรณ์ ไม่ ค รบ ไม่ อ ำ จ ห ำ ผู้ รั บ ผิ ด ช อ บ ได้
ตำมจ ำนวนมูล ค่ำ ให้ จัดให้ มีกำรรับ ค ณ ะ ก ร รม ก ำร ด ำเนิ น ก ำ ร
สภำพหนี้ แ ละให้ จั ด หลั ก ประกั น ให้ สหกรณ์ได้นำเสนอที่ประชุมใหญ่
เพียงพอและเหมำะสม เพื่อตัดหนี้สูญลูกหนี้กำรค้ำนั้น ๆ
4.ติดตำมกำรชำระคืน แล้ว
5.ให้ ส หกรณ์ ป ฏิ บั ติ ต ำมระเบี ย บฯ -แนะนำสหกรณ์ติดตำมกำรชำระ
อย่ำงเคร่งครัด ตำมสั ญ ญำรั บ สภำพหนี้ อ ย่ ำ ง
ต่อเนื่อง
20. สมำชิกกู้ยืมเงิน จำกสหกรณ์ -แนะนำให้สหกรณ์ดำเนินกำร ดังนี้ -ส่วนมำกแล้วเป็นสหกรณ์ขนำด
ประเด็นข้อสังเกต คาแนะนาของสานักงานสหกรณ์ ผลการแก้ไขปัญหาที่ผ่านมา
จังหวัดหรือนายทะเบียนสหกรณ์
และน ำหลั ก ทรั พ ย์ ม ำจ ำนองค้ ำ 1.ต้องจำนองค้ำประกันหลักทรัพย์ให้ ให ญ่ ๆ ที่ มี กำรจ่ ำ ยเงิ น กู้ เ ป็ น
ประกั น เงิ น กู้ ต ำมสั ญ ญำใหม่ แ ต่ ตรงตำมสัญญำเงินกู้ฉบับใหม่ ทุกครั้ง จำนวนมำก ซึ่งได้ดำเนินกำรแก้ไข
สหกรณ์ ไม่ได้ จ ดจ ำนองที่ ดิน ตำม 2 .ต้ อ ง ข อ ก ำ ร ป ร ะ เมิ น ร ำ ค ำ แล้วบำงส่วนในกรณีที่สมำชิกกู้เงิน
สัญญำฯคงใช้หนังสือสัญญำจำนอง หลั ก ทรั พ ย์ จ ำกหน่ ว ยงำนรำชกำร ใหม่ แ ล้ ว สหกรณ์ จั ด ให้ มี ก ำรจด
ฉบั บ เดิ ม และไม่ มี ก ำรประเมิ น ประกอบ ตำมระเบียบของสหกรณ์ จ ำนองใหม่ ส อดคล้ อ งกั บ สั ญ ญำ
รำคำที่ดิน ใหม่ ของหน่ วยงำนของ 3.ต้ อ งป ร ะ เมิ น ห ลั ก ท รั พ ย์ ข อ ง เงินกู้แล้ว
ท ำ ง ร ำ ช ก ำ ร ห รื อ ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก ำ ร ด ำ เนิ น ก ำ ร -ส่ ว นสั ญ ญำเงิน กู้ เดิ ม ต้ อ งรอ
คณะกรรมกำรดำเนินกำร ประกอบด้วยทุกครั้ง ให้ ส มำชิ ก ช ำระหนี้ แ ก่ ส หกรณ์
แล้ ว เสร็จ ก่ อ นเมื่ อ สมำชิ ก กู้ เงิ น
ใหม่สหกรณ์ จึงจะดำเนินกำรจด
จ ำนองใหม่ ใ ห้ ต รงตำมสั ญ ญำ
เงินกู้ต่อไป
-ได้ขอเอกสำรกำรประเมินรำคำ
ที่ ดิ น ของหน่ ว ยงำนรำชกำร
ประกอบกำรขอกู้เงินด้วยทุกครั้ง
-คณะกรรมกำรด ำเนิ น กำรได้
ป ร ะ เมิ น ร ำ ค ำ ห ลั ก ท รั พ ย์
ประกอบกำรขอกู้เงินของสมำชิก
21.เจ้ำหน้ำที่ลำออกจำกกำรเป็น -แนะนำให้สหกรณ์ดำเนินกำร ดังนี้ -ได้ชำระคืนทั้งหมดแล้วบำงรำย
เจ้ ำห นี้ แ ล ะ มี ห นี้ เงิ น ก อ งทุ น 1.เรี ย ก เงิ น กู้ คื น ทั้ งจ ำน ว น ต ำม และบำงรำยได้ชำระคืนบำงส่วน
สงเครำะห์ ไม่ส ำมำรถช ำระหนี้ ได้ ระเบียบ ที่เหลือได้ทำสัญญำรับสภำพหนี้
ห ม ด เนื่ อ งจ ำ ก ว งเงิ น กู้ ข อ ง 2.ลู กหนี้ไม่มีเงินมำช ำระหนี้ทั้งหมด ไว้ต่อสหกรณ์แล้ว
เจ้ำหน้ำที่แต่ละรำยเป็นจำนวนเงิน ได้ ช ำระหนี้ บ ำงส่ ว นจั ด ให้ มี ก ำรท ำ -ติดตำมผลกำรส่ งช ำระคืน เงิน
ที่มำก หนั งสื อ สั ญ ญ ำสภ ำพ ห นี้ โดยจั ด ของเจ้ ำ หน้ ำ ที่ ต ำมสั ญ ญ ำรั บ
หลักทรัพย์ให้เพียงพอและเหมำะสม สภำพหนี้ไว้อย่ำงต่อเนื่อง
3.ติ ด ตำมกำรช ำระคื น เงิ น กู้ ต ำม
สัญญำรับสภำพหนี้
4.ก ำหนดวงเงิ น กู้ ใ ห้ เ หมำะสมกั บ
ควำมสำมำรถกำรช ำระคื น ของ
เจ้ำหน้ำที่แต่ละรำย
5.ปฏิบัติตำมระเบียบอย่ำงเคร่งครัด

ตำมประเด็ น ข้ อสั งเกต คำแนะน ำของสหกรณ์ จั งหวัด หรือ นำยทะเบี ยนสหกรณ์ กำรสั่ งกำรของ
นำยทะเบียนสหกรณ์และผลกำรดำเนินงำนในกำรแก้ไขปัญหำข้อสังเกตตำมที่ได้กล่ำวมำแล้วข้ำงต้น นั้น เป็น
กำรแก้ไขปัญหำเรื่องรำวของข้อสังเกตในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรซึ่งได้เกิ ดขึ้นมำแล้ว ข้อสังเกตบำงรำยกำร
ได้เกิดขึ้นมำหลำยครั้งครำว บำงแห่งเกิดเรื่องเดิมซ้ำ ๆ กัน ดังนั้น กำรแก้ไขจึงเป็นเรื่องที่มีควำมยุ่งยำก แต่
17

ข้อสังเกตบำงรำยกำรเป็นเรื่องที่ส หกรณ์และกลุ่มเกษตรกรปฏิบัติงำนขัด กับกฎหมำย ข้อบังคับหรือระเบียบ


ของสหกรณ์ ซึ่งพบโดยส่ ว นมำก ซึ่งอำจมีควำมบกพร่องกำรกำรแนะนำ ส่ งเสริม ที่ อำจไม่มีประสิ ทธิภ ำพ
เท่ำที่ควร เนื่ องจำกปัจจุ บัน หน่วยงำนที่มีห น้ำที่ในกำรดูแล และส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่ มเกษตรกร ได้แก่
เจ้ำหน้ำที่ส่งเสริมสหกรณ์ ซึ่งอำจมีงำนอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมำยหลำยงำนและเจ้ำหน้ำที่แต่ละคนรับผิดชอบใน
กำรแนะนำ ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรจำนวนหลำยสถำบัน จึงอำจไม่ได้มีข้อมูลเชิงลึกที่ควรเฝ้ำระวัง
กำรเกิดปัญหำของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเหล่ำนั้นด้วย
อย่ำงไรก็ดี ปัญหำทุกปัญหำเมื่อเกิดขึ้นมำแล้วต้องได้รับกำรแก้ ไขให้ถูกต้องตำมกฎหมำย ข้อบังคับ
และระเบี ย บที่เกี่ย วข้อง แต่ถ้ำหำกว่ำคณะกรรมกำรดำเนินกำรสหกรณ์ และกลุ่ มเกษตรกรทำควำมเข้ำใจ
ข้ อ บั งคั บ และระเบี ย บที่ เกี่ ย วข้ อ งแล้ ว ปั ญ หำข้ อ สั งเกตที่ ต รวจพบจะลดน้ อ ยลงหรื อ อำจไม่ มี เลย จึ ง มี
ข้อเสนอแนะ ดังนี้
1. ต้องป้องกันกำรเกิดข้อบกพร่องและข้อสังเกตต่ำง ๆ ในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
2. เจ้ำหน้ำที่ส่งเสริมสหกรณ์ผู้มีหน้ำที่ในกำรดูแล แนะนำ และส่งเสริม ควรต้องวิเครำะห์สถำนภำพ
ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ในควำมรับผิดชอบ รวมทั้งต้องมีข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับข้อควรเฝ้ำระวังควำม
เสี่ยงในกำรดำเนินงำนของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรนั้น ๆ
3. เมื่อเกิดปัญหำข้อสังเกตในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เจ้ำหน้ำที่ส่งเสริมสหกรณ์ต้องให้ควำมสำคัญ
ในกำรกำกับ แนะนำ และติดตำมกำรแก้ไขปัญหำ รวมทั้งต้องกำกับไม่ให้เกิดลักษณะปัญหำนั้น ๆ เกิดขึ้นอีก
4. บุคลำกรของสำนักงำนสหกรณ์จังหวัด ต้องศึกษำทำควำมเข้ำใจข้อกฎหมำย ข้อบังคับและระเบียบ
ต่ำง ๆ ให้ควำมเข้ำใจอย่ำงแท้จริง เพื่อจะได้ให้คำแนะนำในกำรดำเนินกำรของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้
อย่ำงถูกต้อง

You might also like