You are on page 1of 12

Discrete Structure

Function
-1-
ฟังก์ชัน
(Function)
ฟังก์ชัน (function : f) คือ ความสัมพันธ์ชนิดพิเศษที่เกิดจากความสัมพันธ์ R จาก A ไป B ซึ่งเป็น
สับเซตของผลคูณคาร์ทีเชียน AxB A
นิยาม
1. Rf  AxB
2. (xA) (yB) : (x,y)  Rf หมายถึง สมาชิกทุกตัวในเซต A และ
สมาชิกบางตัวใน B เป็นคู่อันดับในความสัมพันธ์ Rf\
3. ฟังก์ชัน คือ ความสัมพันธ์ ซึ่งคู่อันดับใด ๆ สองคู่อันดับของความสัมพันธ์
นั้น ถ้ามีสมาชิกตัวหน้าเหมือนกันแล้ว สมาชิกตัวหลังต้องไม่ต่างกัน

ตัวอย่างที่ 1 กาหนดให้ A = {1,2,3} และ B = {a,b,c} พิจารณาความสัมพันธ์ต่อไปนี้ว่าเป็นฟังก์ชันหรือไม่


 1) ความสัมพันธ์ f = { (1,a) , (2,a) , (3,b) } เพราะ มีสมาชิกทุกตัวในเซต A และสมาชิก บาง
ตัวใน B เป็นคู่อันดับในความสัมพันธ์ Rf\
 2) ความสัมพันธ์ f = { (1,a) , (1,a) , (3,b) } เพราะ ไม่มสี มาชิกทุกตัวในเซต A แต่มี
สมาชิกบางตัวใน B เป็นคู่อันดับในความสัมพันธ์ Rf\

ตัวอย่างที่ 2 จงบอกว่าแผนภาพแต่ละรูปต่อไปนี้
กาหนดว่าเป็นฟังก์ชันจาก A = {a,b,c} ไปยัง B={x,y,z} หรือไม่ เพราะเหตุใด

a x a x a x a x
b y b y b y b y
c z c z c z c z
(ก) (ข) (ค) (ง)
ไม่เป็น ไม่เป็น เป็น เป็น
เพราะไม่มีสมาชิก เพราะมีสมาชิกในเซต A เพราะมีสมาชิกในเซต A เพราะมีสมาชิกใน
ในเซต A ซ้า คือ (c,x),(c,z) ทุกตัว และสมาชิกในเซต เซต A ทุกตัว
B บางตัว
Discrete Structure
Function
-2-
โดย function f จาก A ไป B คือความสัมพันธ์จาก A ไป B ซึ่งมีคุณสมบัติ คือ
1. โดเมนของ f คือ A
2. ถ้า (a, b) , (a, b’)  f แล้ว b = b’
เมื่อความสัมพันธ์มีคุณสมบัติตามนิยาม เรียกว่า ฟังก์ชันจาก A ไป B โดยเซต A คือโดเมน
(domain) ของฟังก์ชันและ เซต B คือโคโดเมน (Codomain)
ฟังก์ชันมักเขียนด้วยตัวอักษร เช่น f , g , … โดยเมื่อ f เป็นฟังก์ชันจาก A ไปยัง B เขียนแทนด้วย

f : A B อ่านว่า “f takes (or maps) A into


B”
เมื่อ f : AB
ถ้า a A จะเรียกสมาชิกเพียงตัวเดียวของ B ซึ่งฟังก์ชัน f กาหนดขึ้นที่ a ว่า ภาพ
(image) ของ a ภายใต้ f (the image of under) หรือ ค่าของ f ที่ a เขียนแทนด้วย

f(a)

โดยเซตของค่าภาพ (image values) ทั้งหมด เรียกว่า ภาพของ f (Im(f) หรือ f(A)) จะเห็นว่า Im(f)
เป็นสับเซต (อาจจะเป็นสับเซตแท้) ของเซต B

ตัวอย่างที่ 3 ให้ A = {1,2,3,4} และ B = {a,b,c} พิจารณาความสัมพันธ์ต่อไปนี้ว่าเป็นฟังก์ชันหรือไม่


ถ้าเป็นฟังก์ชันให้แสดงโดเมน และโคโดเมน (หรือภาพ) ของฟังก์ชัน
 1) ความสัมพันธ์ f = { (1,a) , (2,c) , (3,c) } เพราะ ขาดสมาชิกในเซต A คือ 4
D(f) = - Im(f) = -
 2) ความสัมพันธ์ f = { (1,a) , (2,b) , (3,c) , (4,a) } เพราะ มีสมาชิกในเซต A
D(f) = {1,2,3,4} f(A) = {a,b,c}
 3) ความสัมพันธ์ f = { (3,a) , (3,b) , (3,c) } เพราะ ขาดสมาชิกในเซต A คือ 1,2,4

 4) ความสัมพันธ์ f = { (1,a) , (2,a) , (3,b) , (4,b) } เพราะ มีสมาชิกในเซต A


D(f) = {1,2,3,4} f(A) = {a,b}
 5) ความสัมพันธ์ f = { (1,c) , (2,c) , (3,c) , (4,c)} f เพราะ
D(f) = {1,2,3,4} f(A) = {c}
Discrete Structure
Function
-3-
ตัวอย่างที่ 4 พิจารณาฟังก์ชัน f จาก A = {a, b, c, d} ไปยัง B = {w, x, y, z} กาหนดโดยต่อไปนี้

a w
b x
c y
d z
จงหา
(ก) ภาพของแต่ละสมาชิกของ A
(ข) ภาพของ f
(ค) เขียน f ในรูปแบบของเซตคู่อับดับ
วิธีทา
(ก) ภาพของแต่ละสมาชิกของ A คือ f(a) = w , f(b) = z , f(c) = z , f(d) = y
(ข) ภาพของ f = { w,y,z }
(ค) เซตคู่อับดับของ f = {(a,w) , (b,z) , (c,z) , (d,y)}
ฟังก์ชันนี้สามารถเขียนด้วยสูตรทางคณิตศาสตร์ จะมีหลายวิธีที่อธิบายฟังก์ชันได้
ตัวอย่างที่ 6 ถ้า f เป็นฟังก์ชันจาก RR ซึ่งส่งเลขจานวนจริงแต่ละค่าไปยังกาลังสองของจานวนนั้น
f(x) = x2 หรือ xx2 หรือ y = x2
 อ่านว่า “ส่งไปยัง”
x เป็นตัวแปรอิสระ
y เป็นตัวแปรตาม เนื่องจากค่าของ y ขึ้นอยู่กับค่า x
พิจารณาฟังก์ชัน f(x) = x2 จงหา
(ก) ค่าของ f ที่ 5 , -4 และ 0
(ข) f(y+2) และ f(x+h)
(ค) [f(x+h) – f(x)] / h
วิธีทา
(ก) ค่าของ f ที่ 5 หรือ f(5) = 52 = 25
ค่าของ f ที่ -4 หรือ f(-4) = (-4)2 = 16
ค่าของ f ที่ 0 หรือ f(0) = (0)2 = 0
(ข) f(y+2) = (y+2)2 = (y+2)(y+2) = y2 + 4y + 4
f(x+h) = (x+h)2 = (x+h)(x+h) = x2 + 2xh + h2
Discrete Structure
Function
-4-
(ง) [f(x+h) – f(x)] / h
= [ (x2 + 2xh + h2 ) – x2 ] / h
= 2x + h

ตัวอย่างที่ 7 จงนิยามฟังก์ชันแต่ละฟังก์ชันจาก R ไป R ด้วยสูตรต่อไปนี้


(ก) f ส่งจานวนจริงไปยังจานวนนั้นยกกาลัง 3
(ข) g ส่งจานวนจริงไปยัง 5
(ค) h ส่งจานวนบวกไปยังกาลังสองของจานวนนั้น และส่งจานวนที่ไม่ใช่บวกไปยังเลข 6
วิธีทา
(ก) เนื่องจาก f ส่งจานวนจริงไปยัง x3 จะนิยาม f ด้วย f(x) = x3
(ข) เนื่องจาก g ส่งจานวนจริงไปยัง 5 จะนิยาม g ด้วย g(x) = 5
(ค) เนื่องจากมีกฎ 2 กฎ ที่ต่างกัน เพื่อนิยาม h ดังนี้

h(x) = x2 ถ้า x > 0


6 ถ้า x  0
ตัวอย่างที่ 8 พิจารณาฟังก์ชัน f ,g ,h ของตัวอย่างที่ 7 จงหา
(ก) f(4) , f(-2) , f(0) (ข) g(4) , g(-2) , g(0) (ค) h(4) , h(-2) , h(0)
วิธีทา
(ก) f(x) = x3 สาหรับทุกๆ ค่าของ x
f(4) = 64
f(-2) = -8
f(0) = 0
(ข) g(x) = 5 สาหรับทุกๆ ค่าของ x
g(4) = 5
g(-2) = 5
g(0) = 5

(ค) h(x) = x2 ถ้า x > 0


6 ถ้า x  0
h(4) = 16
f(-2) = 6
f(0) = 6
Discrete Structure
Function
-5-
ตัวอย่างที่ 9 จงนิยามฟังก์ชันแต่ละฟังก์ชันจาก R ไป R ด้วยสูตรต่อไปนี้
(ก) f ส่งจานวนจริงแต่ละจานวนไปยังผลบวก 3 กับกาลังสองของจานวนนั้น
(ข) g ส่งจานวนจริงแต่ละจานวนไปยังผลบวกกาลังสามของจานวนนั้นกับสองเท่าของจานวนนั้น
(ค) h ส่งจานวนจริงที่มากกว่าหรือเท่ากับ 3 ไปยังกาลังสองของจานวนนั้น และส่งจานวนซึ่งน้อยกว่า 3
ไปยัง –2
วิธีทา
(ก) f(x) = x2 + 3
(ข) g(x) = x3 + 2x
(ค) h(x) = x2 เมื่อ x >=3 / -2 เมื่อ x < 3

ตัวอย่างที่ 10 พิจารณาฟังก์ชัน f ,g ,h จากตัวอย่างที่ 9


(ก) f(4) , f(3) , f(-1) (ข) g(4) , g(3) , g(-1) (ค) h(4) , h(3) , h(-1)
2
(ก) f(4) = 3 + 4 = 19
f(3) = 3 + 32 = 12
f(-1) = 3 + -12 = 4
(ข) g(4) = 43 + 2(4) = 512
g(4) = 33 + 2(3) = 162
g(-1) = (-1)3 + 2(-1) = 2
(ค) h(4) = 42 = 16
h(3) = 32 = 9
h(-1) = (-1)2 = 2
Discrete Structure
Function
-6-
ฟังก์ชันเอกลักษณ์ (Identity Function)

นิยาม
เมื่อ A เป็นเซตใด ๆ เรียกฟังก์ชันจาก A A คือส่งสมาชิก แต่ละตัวไปยังตัวเอง
สาหรับสมาชิก a แต่ละตัวใน A เรียกว่า
ฟังก์ชันเอกลักษณ์ (identity function) บน A
เขียนแทนด้วย 1A หรือ 1 กล่าวคือ
1A(a) = a

ตัวอย่างที่ 13 กาหนดให้ A = {1,2,3}


1A = {(1,1) , (2,2) , (3,3)}

ฟังก์ชันหนึ่ง-ต่อ-หนึ่ง ฟังก์ชันทั่วถึง และฟังก์ชันผกผัน


( one-to-one onto and inverse function)
 ฟังก์ชันหนึ่ง-ต่อ-หนึ่ง (one-to-one function หรือ injective function)

ฟังก์ชัน f : AB เป็นฟังก์ชันหนึง่ ต่อหนึ่ง


เมื่อสมาชิกแต่ละตัวของโดเมน A มีภาพแตกต่างกัน

ตัวอย่างที่ 14 กาหนดให้ A = {a, b, c} และ B = {w, x, y, z}


จงพิจารณาแผนภาพของฟังก์ชันต่อไปนี้ว่าข้อใดเป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง

w w w
w a a a
a x x x
x b b b
b y y y
y c c c
c z z z
z
(ก)  (ข)  (ค)  (ง) 
Discrete Structure
Function
-7-
ตัวอย่างที่ 15 ให้ A = { a, b, c, d, e } และ B เป็นเซตของอักษรในภาษาอังกฤษ ให้ f,g และ h เป็น
ฟังก์ชันจาก A ไปยัง B ดังนี้ จงพิจารณาว่าฟังก์ชันใดเป็นฟังก์ชันแบบหนึ่งต่อหนึ่ง
(ก) f : a  r (ข) g : a  z (ค) h : a  a
ba by bc
cs cx ce
d r d y dr
ee ez ey
  

ตัวอย่างที่ 15 จงพิจารณาแต่ละฟังก์ชันต่อไปนี้ว่าเป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึง่ หรือไม่


(ก) กาหนดจานวนทีเ่ ป็นอายุให้แก่บุคคลแต่ละคนในโลกนี้
(ข) กาหนดชื่อผูเ้ ขียนให้แก่หนังสือแต่ละเล่ม ซึ่งเขียนโดยผู้เขียนคนเดียว
(ค) กาหนดชื่อนายกรัฐมนตรีให้แก่ประเทศที่มีนายกรัฐมนตรี
วิธีทา
(ก) ไม่เป็น
(ข) ไม่เป็น
(ค) เป็น

 ฟังก์ชันทั่วถึง (onto function หรือ surjective function)

ฟังก์ชัน f : AB เป็นฟังก์ชนั ทั่วถึง เมือ่ Im(f(A)) คือ B (หรือ Codomain)

ตัวอย่างที่ 16 กาหนดให้ A = {1, 2, 3} และ B = {a, b}


ฟังก์ชัน f ={ (1,b), (2,a), (3,a) } เป็นฟังก์ชันจาก A ไป B
จะเห็นว่า f เป็นฟังก์ชันทั่วถึง เพราะ Im(f(A)) = {b,a}
Discrete Structure
Function
-8-
 ฟังก์ชันผกผัน (inverse function)
ฟังก์ชัน f : AB เป็นฟังก์ชันผกผันได้
เมื่อ f -1 ของ f เป็นฟังก์ชันจาก B ไป A
แต่โดยทั่วไปความสัมพันธ์ผกผัน f -1 ไม่จาเป็นต้องเป็นฟังก์ชัน
ฟังก์ชัน f : AB เป็นฟังก์ชันผกผันได้
ก็ต่อเมื่อ f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งและทั่วถึง

ตัวอย่างที่ 17 กาหนด A = {1, 2, 3} และ B = {a, b, c}


ฟังก์ชัน f ={ (1,a), (2,b), (3,c) }
แล้ว f –1 = { (a,1), (b,2), (c,3) }

ตัวอย่างที่ 18 จากรูป f1 : AB f2 : BC f3 : CD f4 : DE


จงพิจารณาว่าแต่ละฟังก์ชันเป็นฟังก์ชันแบบใด
A B C D E
1 r
a x
2 s v
b y
3 t w
c z
4 u
f1 f2 f3 f4
วิธีทา
1. f1 เป็นฟังก์ชันหนึง่ ต่อหนึง่ แต่ไม่เป็นฟังก์ชันทั่วถึง
เนื่องจาก Codomain ของ f1  B
2. f2 เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งและฟังก์ชันทั่วถึง
เนื่องจาก ไม่มีสมาขิกใน C เป็นภาพของ B มากกว่าหนึ่ง และ Codomain ของ f2 = C
ฉะนั้นจะได้ว่า f2 เป็นฟังก์ชันผกผันและ f2-1 เป็นฟังก์ชันจาก C ไป B
3. f3 ไม่เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง แต่เป็นฟังก์ชันทั่วถึง
เนื่องจากสมาชิกใน D เป็นภาพของ C มากกว่า 1 สมาชิก แต่ Codomain ของ f3 = D
4. f4 ไม่เป็นทั้งฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งและฟังก์ชันทั่วถึง
เนื่องจากสมาชิกใน E เป็นภาพของ D มากกว่า 1 สมาชิก และ Codomain ของ f4  B
Discrete Structure
Function
-9-
ตัวอย่างที่ 19 กาหนดให้ A = { 0, 1, 2 } และ B = { a, b }
จงหาฟังก์ชันทัง้ หมด f : AB และ g : BA และในแต่ละฟังก์ชันทีห่ าได้เป็นฟังก์ชันแบบหนึ่งต่อ
หนึ่งหรือฟังก์ชันทั่วถึง
วิธีทา
1. ฟังก์ชัน f : AB มีทั้งหมด 8 ฟังก์ชัน สามารถแสดงได้ดังนี้
x f1 f2 f3 f4 f5 f6 f7 f8
0 a a a a b b b b
1 a a b b a a b b
2 a b a b a b a b
หนึ่ง ต่อ หนึ่ง ? N N N N N N N N
ทั่วถึง ? N Y Y Y Y Y Y N

2. ฟังก์ชัน g : BA มีทั้งหมด 9 ฟังก์ชัน สามารถแสดงได้ดังนี้


x f1 f2 f3 f4 f5 f6 f7 f8 f9
a 0 0 0 1 1 1 2 2 2
b 0 1 2 0 1 2 0 1 2
หนึ่ง ต่อ หนึ่ง ? N Y Y Y N Y Y Y N
ทั่วถึง ? N Y Y Y N Y Y Y N

ฟังก์ชันประกอบ (Composite function)

พิจารณาฟังก์ชัน f : AB และ g : BC ซึ่งโดเมนของ g คือโคโดเมนของ f


สามารถกาหนดฟังก์ชันใหม่จาก A ไปยัง C โดย (gof)(x)  g(f(x)) เรียกว่า
ฟังก์ชันประกอบ ของ f และ g เขียนแทนด้วย gof
ตัวอย่างที่ 20 พิจารณาฟังก์ชันประกอบ gof(x)

a x r
b y s
c z t
A f B g C
วิธีทา (gof)(a) = g(f(a)) = g(y) = t
Discrete Structure
Function
- 10 -
(gof)(b) = g(f(b)) = g(x) = s
(gof)(c) = g(f(c)) = g(y) = t
นิยาม
ให้ f และ g เป็นฟังก์ชัน แล้ว Rf  Dg
ฟังก์ชันประกอบของ f และ g เขียนแทนด้วย gof กาหนดโดย
(gof)(x)  g(f(x)) สาหรับทุก x  Df

จาก (gof)(x)  g(f(x)) หมายถึง การหาภาพของฟังก์ชันประกอบ (gof)(x)


จะต้องหาภาพของ x ภายใต้ f และหาภาพของ f(x) ภายใต้ g
**** แต่ฟังก์ชันประกอบของ g และ f เขียนแทนด้วย fog ******
ตัวอย่างที่ 21 ให้ A = { 1, 2, 3 } , B = { a, b, c } และ C = { x, y, z }
กาหนดให้ f = { (1,a) , (2,a) , (3,c) } เป็นฟังก์ชันจาก A ไปยัง B
g = { (a,y) , (b,x) , (c,z) } เป็นฟังก์ชันจาก B ไปยัง C
วิธีทา ฟังก์ชันประกอบจาก A ไปยัง C gof(1) = g(f(1)) = g(a) = y
gof(2) = g(f(2)) = g(a) = y
gof(3) = g(f(3)) = g(c) = z
ดังนั้น gof(A) = { (1,y) , (2,y) , (3,z) }

ตัวอย่างที่ 22 ให้ f(x) = 2x-3 , g(x) = x3+4 จงหาสูตรของฟังก์ชันประกอบ gof(x) และ fog(x)
วิธีทา gof(x) = g(f(x))
= g(2x-3)
= (2x-3)3 +4
fog(x) = f(g(x))
= f(x3+4)
= 2(x3+4) – 3
= 2x3 +5
ตัวอย่างที่ 23 ให้ f(x) = 2x+1 และ g(x) = x2 -2 จงหาสูตรของฟังก์ชันประกอบ gof(x) และ fog(x)
วิธีทา gof(x) = g(f(x))
= g(2x+1)
= (2x+1)2 - 2
Discrete Structure
Function
- 11 -
= 4x2 + 4x + 1
fog(x) = f(g(x))
= f (x2 –2)
= 2 (x2 –2) +1
= 2x2 –4 +1
= 2x2 –3

ทฤษฎีบท ถ้า f : AB เป็นฟังก์ชันซึ่ง f-1: BA เป็นฟังก์ชัน จะได้ว่า


fof-1 = 1B
f-1of= 1A

ทฤษฎีบท ถ้า f : AB เป็นฟังก์ชันใด ๆ แล้ว


fo1A = f และ 1Bof = f
เมื่อ 1A และ 1B คือฟังก์ชันเอกลักษณ์บนเซต A และ B ตามลาดับ
Discrete Structure
Function
- 12 -
แบบฝึกหัดที่ 3

1. ให้ W = { a, b, c, d } จงพิจารณาเซตของคู่อันดับต่อไปนี้ว่าเป็นฟังก์ชันจาก W ไปยัง W หรือไม่


1.1 { (b,a) , (c,d) , (d,a) , (c,d) , (a,d) }
1.2 { (d,d) , (c,a) , (a,b) , (d,b) }
1.3 { (a,b) , (b,b) , (c,b) , (d,b) }
1.4 { (a,a) , (b,a) , (a,b) , (c,d) }
2. ให้ f และ g เป็นฟังก์ชันซึ่งกาหนดโดย f(x) = 2x+1 และ g(x) = x2 –2 จงหาสูตรซึ่งกาหนดฟังก์ชัน
ประกอบ gof(x)
3. จงอธิบายว่าสาเหตุที่ f(x) = x+1 เป็นฟังก์ชันหนึง่ ต่อหนึ่ง
4. กาหนดให้ A = { 1, 2, 3, 4 } ให้ f : AA โดยที่ f(1) = 2 , f(2)=4 , f(3) = 1 , f(4) = 3 ให้หาคาตอบ
ต่อไปนี้
4.1 fof
4.2 fofof
4.3 fofofof
5. กาหนดให้ T = {1,2,3,4} , R = {1, 2} ให้หาฟังก์ชันแบบหนึง่ ต่อหนึ่งและทั่วถึงทัง้ หมดของ
f : TR โดยแสดงรายการของแต่ละฟังก์ชัน
6. จากข้อ 5 ให้หา f-1 โดยแสดงรายการของฟังก์ชัน

You might also like