You are on page 1of 10

แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 6

หน่วยการเรียนรู้ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน เรื่องชนิดของฟังก์ชัน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์


รหัสวิชา ค31202 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เวลาเรียน 1 ชั่วโมง
ผู้สอน นางสาวณัฎฐพัชร พรมราช โรงเรียนวัดห้วยจรเข้วิทยาคม

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้
-
2.ผลการเรียนรู้
1. ใช้ฟังก์ชันและกราฟของฟังก์ชันอธิบายสถานการณ์ที่กาหนด
2. หาผลลัพธ์ของการบวก การลบ การคูณ การหารฟังก์ชัน หาฟังก์ชันประกอบและฟังก์ชัน
ผกผัน
3. ใช้สมบัติของฟังก์ชันในการแก้ปัญหา
3. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
ฟังก์ชันมี 2 แบบ คือ ฟังก์ชันทั่วถึง และฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง
4. สาระการเรียนรู้/เนื้อหาย่อย
4.1 ด้านความรู้
นักเรียนสามารถระบุชนิดของฟังก์ชันได้
4.2 ด้านทักษะและกระบวนการ
นักเรียนสามารถสื่อความหมายสัญลักษณ์เกี่ยวกับฟังก์ชันชนิดต่างๆได้
4.3 ด้านคุณลักษณะ
นักเรียนมีความสนใจใฝ่เรียนรู้
5. สมรรถนะสาคัญ
5.1 นักเรียนมีความสามารถในการสื่อสาร
5.2 นักเรียนมีความสามารถในการคิด
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
6.1 นักเรียนมีความสนใจใฝ่เรียนรู้
7. การประเมินผลรวบยอด
ภาระงาน/ชิ้นงานที่แสดงผลการเรียนรู้
ใบงานที่ 5
8. การประเมินผล
จุดประสงค์ วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน
1. ด้านความรู้(Knowledge)
1) นักเรียนสามารถระบุชนิด 1) พิจารณาจากการ 1) ใบงาน นักเรียนผ่านเกณฑ์ ร้อยละ
ของฟังก์ชันได้ ทาใบงาน 2) แบบสังเกต 70 ถือว่าผ่านการประเมิน
2) พิจารณาจากการ พฤติกรรม
ตอบคาถามใน
ห้องเรียน
2. ด้านทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ (Process)
1) นักเรียนสามารถสื่อ 1) พิจารณาจาก 1) ใบงาน นักเรียนที่สามารถแสดง
ความหมายสัญลักษณ์ ร่องรอย ขั้นตอนใน 2) แบบสังเกต ทักษะทางคณิตศาสตร์ที่
เกี่ยวกับฟังก์ชันชนิดต่างๆได้ การคิดคานวณ และ พฤติกรรม กาหนด ถือว่าผ่านการ
การแก้ปัญหาทาง ประเมิน
คณิตศาสตร์ในใบ
งาน
3. ด้านคุณลักษณะ (Attribute)
1) นั ก เรี ย นมี ค วามสนใจใฝ่ 1) สังเกตพฤติกรรม 1) แบบสังเกต นักเรียนมีพฤติกรรมในการ
เรียนรู้ ในการเรียน พฤติกรรม เรียนตามที่กาหนดถือว่า
ผ่านการประเมิน

9. กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาสู่บทเรียน
1. ครูให้นักเรียนพิจารณาตัวอย่าง
ตัวอย่าง ให้ A  {1,2,3,4,5}
B  {a, b, c, d}
และกาหนดฟังก์ชัน g ดังแผนภาพ

1
a
2
b
3
c
4
d
5
จงหาโดเมนและเรนจ์ของ g
วิธีทา จะได้ว่า Dg  {1,2,3,4,5}  A
และ Rg  {a, b, c, d}  B
2. ครูให้นักเรียนสังเกตโดเมนและเรนจ์ของ g
3. จากตัวอย่าง จะเห็นว่า โดเมนของฟังก์ชัน g คือ A และเรนจ์ของฟังก์ชัน g คือ B เรียก
ฟังก์ชันที่มีสมบัติเช่นนี้ว่า ฟังก์ชันจาก A ไปทั่วถึง B (function from A onto B)
กิจกรรมที่ช่วยพัฒนาผู้เรียน
1. ครูอธิบายนิยามของฟังก์ชันทั่วถึงพร้อมยกตัวอย่าง
นิยาม
f เป็นฟังก์ชันจาก A ไปทั่วถึง B ก็ต่อเมื่อ f เป็นฟังก์ชันที่มี A เป็นโดเมน และ B เป็นเรนจ์
f เป็นฟังก์ชันจาก A ไปทั่วถึง B เขียนแทนด้วย f : A   B
onto

จากบทนิยามจะเห็นว่า การจะแสดงว่า f : A  B เป็นฟังก์ชันทั่วถึง ต้องแสดงว่า R f B


แต่เนื่องจาก R f  B อยู่แล้ว ฉะนั้น จึงอาจกล่าวได้ว่า f : A  B เป็นฟังก์ชันทั่วถึงก็ต่อเมื่อ
B  R f นั่นคือ ทุก y  B จะมี x  A ที่ y  f (x)
ตัวอย่างที่ 1 ให้ A  {1,2,3,4}
B  {a, b, c, d , e}
และกาหนดฟังก์ชัน h ดังแผนภาพ

a
1
b
2
c
3
d
4
e

จงพิจารณาว่า h เป็นฟังก์ชันจาก A ไปทั่วถึง B หรือไม่


วิธีทา เนื่องจากมี d  B ที่ d  Rh
ดังนั้น h ไม่ใช่ฟังก์ชันจาก A ไปทั่วถึง B

ตัวอย่างที่ 2 ให้ A  {1,2,3,4}


B  {a, b, c, d}
และกาหนดฟังก์ชัน k ดังแผนภาพ

a
1
b
2
c
3
d
4

จงพิจารณาว่า k เป็นฟังก์ชันจาก A ไปทั่วถึง B หรือไม่


วิธีทา k เป็นฟังก์ชันจาก A ไปทั่วถึง B เพราะ k เป็นฟังก์ชันที่ Dk  A และ Rk  B
2. ครูอธิบายต่อว่าจากตัวอย่างที่ 1 และ 2 จะเห็นว่าไม่มีสมาชิกใน A สองตัวใดๆ ที่จับคู่
สมาชิกใน B ตัวเดียวกัน แสดงว่า ถ้า x1  x2 แล้ว f ( x1 )  f ( x2 ) เรียกฟังชันที่มีสมบัติเช่นนี้ว่า
ฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง (one-to-one function)
3. ครูอธิบายนิยามของฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งพร้อมยกตัวอย่าง
นิยาม
f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก A ไป B ก็ต่อเมื่อ f เป็นฟังก์ชันจาก A ไป B สาหรับ
x1 , x 2 ใดๆ ใน A ถ้า f ( x1 )  f ( x 2 ) แล้ว x1  x 2
f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก A ไป B เขียนแทนด้วย f : A 1 1
B

จากบทนิยาม f : AB ไม่เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง ก็ต่อเมื่อ มี x1 , x 2 ใน A ที่ x1  x 2


และ f ( x1 )  f ( x 2 )
f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก A ไปทั่วถึง B (one-to-one function from A onto B
11
หรือ one-to-one correspondence) เขียนแทนด้วย f : A B
onto
หมายถึง f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อ
หนึ่งและเป็นฟังก์ชันทั่วถึง
ตัวอย่างที่ 3 ให้ A  {1,2,3,4}
B  {a, b, c, d}
และกาหนดฟังก์ชัน k ดังแผนภาพ

1 a

2 b

3 c

4 d

จงพิจารณาว่า k เป็นฟังก์ชันแบบใด
วิธีทา จะพบว่า Dk  {1,2,3,4}  A
Rk  {a, b, c, d}  B
และไม่มีสมาชิกตัวหลังของคู่อันดับใดเหมือนกัน
11
ดังนั้น k : A B
onto

4. ครูมอบหมายใบงานที่ 5 ให้นักเรียน
กิจกรรมรวบยอด
ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบงาน สรุปการพิจารณาการเป็นฟังก์ชันทั่วถึง และหนึ่งต่อหนึ่ง
รวมถึงเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัย

10. สื่อการเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 2
สานักพิมพ์ สกสค หน้า 21 ถึงหน้า 25
2. ใบงานที่ 5

11. เอกสารประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ (เขียนแบบบรรณานุกรม)


สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกระทรวงศึกษาธิการ. (2561). หนังสือเรียนรายวิชา
เพิ่มเติม คณิตศาสตร์เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
บันทึกผลการจัดการเรียนรู้

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ …….. เรื่อง ……………….………………………………………………………………….


ผลการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหา/อุปสรรค
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขครั้งต่อไป
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

รับทราบผลการดาเนินงาน

ลงชื่อ........................................................... ลงชื่อ...........................................................
(นางสาวณัฎฐพัชร พรมราช) (นางสาวชลธิชา วัฒนาการ)
ครูผู้สอน ครูพี่เลี้ยง
…..…../………..………./…………. …..…../………..………./………….
ชื่อ.....................................................ชั้น...........เลขที่......
ใบงานที่ 5

1. จงพิจารณาว่าฟังก์ชันที่กาหนดให้ ข้อใดมีลักษณะเป็นฟังก์ชันตามที่กาหนด
I A B II A B

1 a 1 a
2 b 2 b
3 c 3 c
4 d 4 d
5

III A B IV A B

1 a 1 a
2 b 2 b
3 c 3 c
4 d 4 d
e

1) ฟังก์ชันจาก A ไป B
2) ฟังก์ชันจาก B ไป A
3) ฟังก์ชันจาก A ไปทั่วถึง B
4) ฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก A ไป B
5) ฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก B ไป A

2. พิจารณาฟังก์ชันต่อไปนี้ ข้อใดเป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง
1) f  {( x, y)  R  R y  3x  1}

2) f  {( x, y)  R  R y  5}
3. กาหนดให้ A = {a,b,c}, B = {b,c,d}
f1 = {(a,c),(b,d),(c,c)} f5 = {(a,b),(b,c),(c,d)}
f2 = {(a,d),(b,b),(c,c)} f6 = {(a,c),(b,c),(c,c)}
f3 = {(b,a),(c,c),(d,a)} f7 = {(b,b),(c,c),(d,a)}
f4 = {(a,b),(c,c),(b,c)}
พิจารณาฟังก์ชันที่กาหนดให้ว่ามีฟังก์ชันใดบ้างที่เป็น
1) ฟังก์ชันจาก A ไป B
2) ฟังก์ชันจาก A ไปทั่วถึง B
3) ฟังก์ชันจาก B ไป A
4) ฟังก์ชันจาก B ไปทั่วถึง B
5) ฟังก์ชันจาก A ไป A
6) ฟังก์ชัน 1-1
7) ฟังก์ชันจาก B ไปทั่วถึง A
ชื่อ......เฉลย........................................ชั้น...........เลขที่......
ใบงานที่ 5

1. จงพิจารณาว่าฟังก์ชันที่กาหนดให้ ข้อใดมีลักษณะเป็นฟังก์ชันตามที่กาหนด
I A B II A B

1 a 1 a
2 b 2 b
3 c 3 c
4 d 4 d
5

III A B IV A B

1 a 1 a
2 b 2 b
3 c 3 c
4 d 4 d
e

1) ฟังก์ชันจาก A ไป B I,II,III
2) ฟังก์ชันจาก B ไป A IV
3) ฟังก์ชันจาก A ไปทั่วถึง B II
4) ฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก A ไป B III
5) ฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก B ไป A IV

2. พิจารณาฟังก์ชันต่อไปนี้ว่าเป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งหรือไม่
1) f  {( x, y)  R  R y  3x  1}
เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง
2) f  {( x, y)  R  R y  5}
ไม่เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง เช่น f={(1,5),(2,5)}
3. กาหนดให้ A = {a,b,c}, B = {b,c,d}
f1 = {(a,c),(b,d),(c,c)} f5 = {(a,b),(b,c),(c,d)}
f2 = {(a,d),(b,b),(c,c)} f6 = {(a,c),(b,c),(c,c)}
f3 = {(b,a),(c,c),(d,a)} f7 = {(b,b),(c,c),(d,a)}
f4 = {(a,b),(c,c),(b,c)}
พิจารณาฟังก์ชันที่กาหนดให้ว่ามีฟังก์ชันใดบ้างที่เป็น
1) ฟังก์ชันจาก A ไป B f1, f2, f4, f5, f6
2) ฟังก์ชันจาก A ไปทั่วถึง B f2, f5
3) ฟังก์ชันจาก B ไป A f3, f7
4) ฟังก์ชันจาก B ไปทั่วถึง B ไม่มี
5) ฟังก์ชันจาก A ไป A f1, f4, f6
6) ฟังก์ชัน 1-1 f2, f7
7) ฟังก์ชันจาก B ไปทั่วถึง A f7

You might also like