You are on page 1of 20

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแยกตัวประกอบของพหุนาม

แผนฯ ที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว
เวลา 5 ชั่วโมง
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ค 1.2 ม.2/2 เข้าใจและใช้การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
1) อธิบายขั้นตอนการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียวโดยใช้ตารางการคูณได้ (K)
2) แสดงขั้นตอนการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียวโดยใช้ตารางการคูณได้อย่างถูกต้อง (P)
3) นาความรู้เกี่ยวกับการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียวไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้ (A)

3. สาระการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยใช้ พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา
- สมบัติการแจกแจง
- กาลังสองสมบูรณ์
- ผลต่างของกาลังสอง

4. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองในรูป ax2 + bx + c เมื่อ a, b เป็นจานวนเต็ม และ c เป็นค่าคงตัวที่
a ≠ 0 และ x เป็นตัวแปร สามารถใช้ตารางการคูณเพื่อแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองได้ โดยเริ่มจากสร้าง
ตารางการคูณ แล้วเขียนพจน์หน้าไว้บริเวณพื้นที่มุมซ้ายบนและเขียนพจน์หลังไว้บริเวณพื้นที่มุมขวาล่าง ต่อมา
พิจารณาตัวประกอบของพจน์หน้าและพจน์หลัง แล้วเขียนตัวประกอบที่ได้ลงในแถวแรกและหลักแรกของตารางการคูณ
โดยพิจารณาจากตัวประกอบของพจน์นั้น ๆ จากนั้นทาการคูณเพื่อทาให้ตารางสมบูรณ์แล้วตรวจสอบว่าผลคูณที่ได้
ตรงกับพหุนามที่ได้กาหนดไว้หรือไม่ หากไม่ตรงให้กลับไปพิจารณาตัวประกอบในขั้นตอนที่ 2 อีกครั้ง
การพิจารณาตัวประกอบพจน์หน้าของพหุนามเกิดจากพจน์ หน้าของแต่ละวงเล็บคูณกัน พจน์กลางของพหุนาม
เกิดจากผลคูณของพจน์หน้าในวงเล็บแรกกับพจน์หลังในวงเล็บหลัง บวกกับผลคูณของพจน์หลังในวงเล็บแรกกับ
พจน์หน้าในวงเล็บหลัง หรือพจน์กลาง = (พจน์ใกล้ x พจน์ใกล้) + (พจน์ไกล x พจน์ไกล) และพจน์หลังของพหุนาม
เกิดจากพจน์หลังของแต่ละวงเล็บคูณกัน

32
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแยกตัวประกอบของพหุนาม
แผนฯ ที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว

5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มีวินัย
2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรียนรู้
1) ทักษะการสังเกต 3. มุ่งมัน่ ในการทางาน
2) ทักษะการระบุ
3) ทักษะการคิดละเอียด
4) ทักษะการวิเคราะห์
5) ทักษะการสื่อสาร สื่อความหมายทาง
คณิตศาสตร์
6) ทักษะการสร้างความรู้
7) ทักษะการสรุปลงความเห็น
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา

33
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแยกตัวประกอบของพหุนาม
แผนฯ ที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว

6. กิจกรรมการเรียนรู้
 แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : Concept Based Teaching
ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ การวัดและการประเมินผล

ชั่วโมงที่ 1
ตัวชี้วัด
ค 1.2 ม.2/2 เข้าใจและใช้การ ขั้นนา
แยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง การใช้ความรู้เดิมเชื่อมโยงความรู้ใหม่ (Prior Knowledge) - ทักษะการระบุ - สังเกตคุณลักษณะ
ในการแก้ ปั ญ หาทางคณิ ต ศาสตร์ ครูทบทวนความรู้ เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนาม โดย - ทักษะการคิดละเอียด อันพึงประสงค์
ถามคาถามนักเรียน ดังนี้ - ทักษะการสื่อสาร
จุดประสงค์การเรียนรู้  การแยกตั ว ประกอบของพหุ น ามมี ค วามหมายว่ า อย่ า งไร สื่อความหมายทาง
1) อธิบายขั้นตอนการแยกตัวประกอบ (แนวตอบ : การเขียนพหุนามให้อยู่ในรูปการคูณกันของ คณิตศาสตร์
ของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว พหุนามที่มีดีกรีต่ากว่าตั้งแต่สองพหุนามขึ้นไป)
โดยใช้ตารางการคูณได้ (K)  ขั้ นตอนในการแยกตั วประกอบของพหุ นามมี วิ ธี การอย่ างไร
2) แสดงขั้นตอนการแยกตัวประกอบ (แนวตอบ : หาตัวประกอบร่วมของแต่ละพจน์ในพหุนามและ
ของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว ใช้สมบัติการแจกแจง โดยน่าตัวประกอบร่วมออกมาไว้หน้า
โดยใช้ ต ารางการคู ณ ได้ อ ย่ า ง วงเล็ บ ส่ ว นที่ เ หลื อ ในวงเล็ บ เป็ น ผลลั พ ธ์ จ ากการน่ า
ถูกต้อง (P) ตัวประกอบร่วมไปหารแต่ละพจน์นั้น ๆ)
3) น าคว ามรู้ เ กี่ ยว กั บ การแย ก
ตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง ขั้นสอน
ตั ว แปรเดี ย วไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ น รู้และเข้าใจ (Knowing and Understanding)
ชีวิตจริงได้ (A) 1. ครู อ ธิบ ายการคู ณระหว่า งพหุ น ามกับ พหุ นามโดยพหุ นาม
ทั้งสองนั้นอยู่ในรูป px + q เมื่อ p, q เป็นค่าคงตัว และ x
เป็นตัวแปรและ p ≠ 0 ผลคูณที่ได้จะอยู่ในรูป ax2 + bx + c
34
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแยกตัวประกอบของพหุนาม
แผนฯ ที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ การวัดและการประเมินผล


เมื่อ a, b และ c เป็นค่าคงตัว และ a ≠ 0 ซึ่งเป็นพหุนาม
ดีกรีสองที่มี x เป็นตัวแปรเพียงตัวเดียว
2. ครูถามคาถามนักเรียนว่า “นักเรียนคิดว่า 3x2+ 2x + 5 และ - ทักษะการสร้างความรู้ - สังเกตคุณลักษณะ
x2 + 9 มีตัวแปรกี่ตัวและดีกรีเท่ากับเท่าใด” - ทักษะสังเกต อันพึงประสงค์
(แนวตอบ : ทั้งสองพหุนามมีตัวแปรหนึ่งตัวและดีกรีเท่ากับ 2) - ทักษะการระบุ
3. ครูอธิบายว่า พหุนามที่เขียนได้ในรูป ax2 + bx + c เมื่อ a, - ทักษะการคิดละเอียด
b และ c เป็นค่าคงตัวที่ a ≠ 0 และ x เป็นตัวแปร เรียกว่า - ทักษะการสื่อสาร
“พหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว”จากนั้นยกตัวอย่างพหุนาม สื่อความหมายทาง
ดีกรีสองตัวแปรเดียวบนกระดาน แล้วให้นักเรียนร่วมกันหา คณิตศาสตร์
ค่าของ a, b และ c ดังนี้
2
 4x + 2x + 5
(แนวตอบ : a = 4 , b = 2 และ c = 5)
2
 7x + x + 3
(แนวตอบ : a = 7 , b = 1 และ c = 3)
2
 x + 5x + 6
(แนวตอบ : a = 1 , b = 5 และ c = 6)
2
 7x + 14x
(แนวตอบ : a = 7 , b = 14 และ c = 0)
4. ครูถามคาถามกับกระตุ้นความคิดนักเรียน ดังนี้
 นักเรียนคิดว่า ค่า a, b, c ของ (3x + 1)(x - 3) เท่ากับ
เท่าใด

35
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแยกตัวประกอบของพหุนาม
แผนฯ ที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ การวัดและการประเมินผล


(แนวตอบ : (3x + 1)(x - 3) = 3x2 + x – 9x – 3
= 3x2 – 8x – 3
จะได้ a = 3, b = -8, และ c = -3)
2 2
 นักเรียนคิดว่า -3x y - 3xy = -3xy(x + y) สอดคล้อง
กับสมบัติใด
(แนวตอบ : สมบัติการแจกแจง)
5. ครู ย กตั ว อย่ า งพหุ น ามดี ก รี ส องตั ว แปรเดี ย วบนกระดาน
แล้วสุ่มให้นักเรียนออกมาแยกตัวประกอบบนกระดาน ดังนี้
2
 5x + 25x
(แนวตอบ 5x2 + 25x = 5x(x + 5))
2
 -8x + 24x
(แนวตอบ -8x2 + 24x = -8x(x - 3))
2
 -4x - 6x
(แนวตอบ -4x2 - 6x = -2x(2x + 3))
6. ครูถามคาถามให้นักเรียนร่วมกันตอบ ดังนี้ - ทักษะการสร้างความรู้ - สังเกตคุณลักษณะ
 นักเรียนคิดว่า (x + 2)(x + 3) เท่ากับเท่าใด - ทักษะสังเกต อันพึงประสงค์
(แนวตอบ : x2 + 5x + 6 ) - ทักษะการระบุ
2
 นักเรียนคิดว่า x + 5x + 6 มี a, b และ c เท่ากับเท่าใด - ทักษะการสื่อสาร
(แนวตอบ : a = 1, b = 5 และ c = 6) สื่อความหมายทาง
 นักเรียนคิดว่า b = 5 = 2 + 3 และ c = 6 = 2 x 3 คณิตศาสตร์
สอดคล้องกับสมบัติใด
(แนวตอบ : สมบัติการเท่ากัน)
36
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแยกตัวประกอบของพหุนาม
แผนฯ ที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ การวัดและการประเมินผล


7. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ เรื่อง การแยกตัวประกอบ
ของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียวว่า เป็นการเขียนพหุนาม
ให้อยู่ในรูปการคูณกันของพหุนามที่มีดีกรีต่ากว่าตั้งแต่สอง
พหุนามขึ้นไป หรือเขียนพหุนามที่กาหนดให้ในรูปที่ง่ายกว่า
โดยผลคูณที่ได้จะอยู่ในรูป ax2 + bx + c

ชั่วโมงที่ 2
8. ครูทบทวนความรู้โดยการเขียนพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว
บนกระดาน จากนั้ น สุ่ ม นั ก เรี ย นออกมาแสดง วิ ธี แ ยกตั ว
ประกอบ โดยครู และนักเรียนในชั้นเรียนร่วมกันตรวจสอบ
ความถูกต้อง
9. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน คละความสามารถ - ทักษะการสร้างความรู้ - หนังสือเรียน - สังเกตคุณลักษณะ
ทางคณิตศาสตร์ แล้วร่วมกัน ศึกษาการแยกตัวประกอบของ - ทักษะสังเกต รายวิชาพื้นฐาน อันพึงประสงค์
พหุนามดีกรีสองโดยใช้บัตรตัวเลขและบัตรตัวแปร ในหนังสือ - ทักษะการระบุ ชุดสัมฤทธิ์มาตรฐาน - สังเกตพฤติกรรม
เรียนรายวิชาพื้นฐาน ชุดสัมฤทธิ์มาตรฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 - ทักษะการวิเคราะห์ คณิตศาสตร์ ม.2 การทางานกลุม่
เล่ม 2 หน้า 13-16 จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย - ทักษะการคิดละเอียด เล่ม 2
ตัวอย่างในหนังสือเรียน พร้อมกับครูเปิดโอกาสให้นักเรียน - ทักษะการสื่อสาร
ซักถามประเด็นที่สงสัย สื่อความหมายทาง
10. ครู อธิ บายเพิ่มเติ มเกี่ ยวกั บ การแยกตั วประกอบโดยใช้ บั ตร คณิตศาสตร์
ตัวเลขและบัตรตัวแปรว่า ต้องเริ่มจากการสร้างตารางการคูณ
ที่แบ่งพื้นที่เป็นสี่ส่วนโดยมุมบนซ้ายจะเป็น x2 ล่างขวาจะเป็น
ตัวเลข 1 ตามจานวนพจน์สุ ดท้ายของรูปทั่ วไปของพหุ นาม
37
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแยกตัวประกอบของพหุนาม
แผนฯ ที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ การวัดและการประเมินผล


ดี กรี ส องตั ว แปรเดี ยว โดยตั ว ประกอบที่ ได้ จะเป็ นพหุ นาม
2 พหุนาม ที่เกิดจากกลุ่มตามแถวและกลุ่มตามหลัก
11. ครูยกตัวอย่าง x2 + 10x + 24 จะพบว่าตัวประกอบของ 24
มี 1 × 24, 2 × 12, 3 × 8, และ 4 × 6 ดังนั้นจะสามารถ
สร้างตารางได้ 4 รูปแบบ เมื่อสร้างตารางทั้ง 4 รูปแบบแล้ว
จะพบว่ า มี เ พี ย งตารางการคู ณ ของ 4 × 6 ที่ น ามาใช้ ห า
ตัวประกอบได้ เนื่องจาก 4 + 6 = 10 โดยจะสอดคล้องกั บ
สัมประสิทธิ์หน้า x ซึ่งมีค่าเท่ากับ 10
12. ครูให้นักเรียนทากิจกรรม Practice Now ในหนังสือเรียน - ทักษะการสร้างความรู้ - หนังสือเรียน - สังเกตพฤติกรรม
รายวิ ช าพื้ น ฐาน ชุ ด สั ม ฤทธิ์ ม าตรฐาน คณิ ต ศาสตร์ ม.2 - ทักษะสังเกต รายวิชาพื้นฐาน การทางานรายบุคคล
เล่ ม 2 หน้า 16 ลงในสมุด จากนั้นขออาสาสมัครนักเรียน - ทักษะการระบุ ชุดสัมฤทธิ์มาตรฐาน
ออกมาแสดงวิ ธี คิ ด บนกระดาน โดยครู แ ละนั ก เรี ย นใน - ทักษะการวิเคราะห์ คณิตศาสตร์ ม.2
ชั้นเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง - ทักษะการสรุปลง เล่ม 2
13. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ เรื่อง การแยกตัวประกอบ ความเห็น
ของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียวว่า สามารถใช้บัตรตัวเลข - ทักษะการสื่อสาร
และบัตรตัวแปรเพื่อสร้างตารางในการแยกตัวประกอบได้ สื่อความหมายทาง
คณิตศาสตร์
ชั่วโมงที่ 3
14. ครู ทบทวนความรู้โดยเขียนพหุ นามดีกรีสองตัวแปรเดียวบน
กระดาน จากนั้ น สุ่ ม นั ก เรี ยนออกมาแยกตั ว ประกอบของ
พหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียวโดยใช้บัตรตัวเลขและบัตรตัวแปร
พร้อมเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ซักถามประเด็นที่สงสัย
38
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแยกตัวประกอบของพหุนาม
แผนฯ ที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ การวัดและการประเมินผล


15. ครูให้นักเรียนกลุ่มเดิมร่วมกันศึกษาการแยกตัวประกอบของ - ทักษะสังเกต - หนังสือเรียน - สังเกตคุณลักษณะ
พหุ น ามดี ก รี ส องโดยใช้ ต ารางการคู ณ และตั ว อย่ า งจาก - ทักษะการระบุ รายวิชาพื้นฐาน อันพึงประสงค์
Worked Example 4 ในหนั ง สื อ เรี ย นรายวิ ช าพื้ น ฐาน - ทักษะการคิดละเอียด ชุดสัมฤทธิ์มาตรฐาน - สังเกตพฤติกรรม
ชุดสัมฤทธิ์มาตรฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 2 หน้า 17-19 - ทักษะการสื่อสาร คณิตศาสตร์ ม.2 การทางานกลุม่
โดยให้ นั ก เรี ย นในชั้ น เรี ย นร่ ว มกั น อภิ ป รายถึ ง ขั้ น ตอน สื่อความหมายทาง เล่ม 2
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยใช้ตารางการคูณ คณิตศาสตร์
16. ครูยกตัวอย่างการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดย
อธิบายขั้นตอนการใช้ตารางการคูณเพื่อแยกตัวประกอบของ
พหุนาม x2 + 10x + 21 ดังนี้
- สร้างตารางการคูณ แล้วเขียน x2 ไว้บริเวณพื้นที่มุมซ้าย
บน และเขียน 21 ไว้บริเวณพื้นที่มุมขวาล่าง
- พิจารณาตัวประกอบของ x2 และ 21 แล้วเขียนตัวประกอบ
ที่ได้ลงในแถวแรกและหลักแรกของตารางการคูณ โดยใน
ที่นี้ x2 = x • x และ 21 = 3 × 7
- ท าการคู ณ ตารางเพื่ อ ท าให้ ต ารางสมบู ร ณ์ จ ากนั้ น
ตรวจสอบว่ า ผลคู ณ ที่ ไ ด้ ต รงกั บ พหุ น ามที่ ไ ด้ ก าหนดไว้
หรือไม่ หากไม่ตรงให้กลับไปพิจารณาตัวประกอบของ x2
และ 21 ในขั้นที่ 2 อีกครั้ง
ดังนั้น x2 + 10x + 21 = (x + 3)(x + 7)
17. ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า สาหรับพหุนามที่อยู่ในรูป ax2 + bx + c
เมื่อ a, b และ c > 0 ตัวประกอบของพหุนามของ c จะเป็น
จานวนบวกทั้งคู่ และสาหรับพหุนามที่อยู่ในรูป ax2 + bx + c
39
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแยกตัวประกอบของพหุนาม
แผนฯ ที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ การวัดและการประเมินผล


เมื่อ a และ c > 0 แต่ b < 0 ตัวประกอบของพหุนามของ c
จะเป็นจานวนลบทั้งคู่
18. ครูเขียนตารางต่อไปนี้บนกระดาน จากนั้นครูถามคาถามกับ - ทักษะการระบุ - สังเกตคุณลักษณะ
นักเรียน ดังนี้ - ทักษะการวิเคราะห์ อันพึงประสงค์
คูณ 3x -3 - ทักษะการคิดละเอียด
2
3x 9x -9x - ทักษะการสื่อสาร
-3 -9x 9 สื่อความหมายทาง
 จากตาราง พจน์ ห น้ า พจน์ ก ลาง และพจน์ ห ลั ง เท่ า กั บ คณิตศาสตร์
เท่าใด
(แนวตอบ : 9x2 , - 18x และ 9 ตามล่าดับ)
 จากตาราง นามาเขียนให้อยู่ในรูปของการแยกตัวประกอบ
ได้เท่ากับเท่าใด
(แนวตอบ : (3x - 3)2 = 9x2 - 18x + 9)
19. นักเรียนทากิจกรรม Practice Now ในหนังสือเรียนรายวิชา - ทักษะการสร้างความรู้ - หนังสือเรียน - สังเกตพฤติกรรม
พื้ น ฐาน ชุ ด สั ม ฤทธิ์ ม าตรฐาน คณิ ต ศาสตร์ ม.2 เล่ ม 2 - ทักษะการสังเกต รายวิชาพื้นฐาน การทางานรายบุคคล
หน้ า 19 จากนั้ น ครู สุ่ ม นั ก เรี ย นออกมาแสดงวิ ธี คิ ด บน - ทักษะการระบุ ชุดสัมฤทธิ์มาตรฐาน
กระดาน โดยครูและนักเรียนในชั้นเรียนร่วมกันตรวจสอบ - ทักษะการวิเคราะห์ คณิตศาสตร์ ม.2
ความถูกต้อง - ทักษะการคิดละเอียด เล่ม 2
20. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ เรื่อง การแยกตัวประกอบ - ทักษะการสื่อสาร
ของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียวว่า สามารถใช้ตารางการคูณ สื่อความหมายทาง
เพื่อแยกตัวประกอบตามขั้นตอนที่ได้ศึกษา คณิตศาสตร์

40
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแยกตัวประกอบของพหุนาม
แผนฯ ที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ การวัดและการประเมินผล

ชั่วโมงที่ 4
21. ครูทบทวนความรู้โดยเขียนพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียวบน
กระดาน จากนั้นขออาสาสมัครนักเรียนออกมาแสดงวิธีคิด
โดยครูและนักเรียนในชั้นเรียนร่วมกันตรวสอบความถูกต้อง - ทักษะสังเกต
22. ครูให้นั กเรียนกลุ่มเดิมร่วมกันศึกษาตัว อย่างจาก Worked - ทักษะการระบุ - หนังสือเรียน - สังเกตคุณลักษณะ
Example 5 ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ชุดสัม ฤทธิ์ - ทักษะการวิเคราะห์ รายวิชาพื้นฐาน อันพึงประสงค์
มาตรฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 2 หน้า 20-21 จากนั้นให้ - ทักษะการคิดละเอียด สัมฤทธิม์ าตรฐาน - สังเกตพฤติกรรม
นักเรียนพิจารณากรอบ INFORMATION ของพหุนามดีกรีสอง - ทักษะการสื่อสาร คณิตศาสตร์ ม.2 การทางานกลุ่ม
ตัวแปรเดียวว่า บางพหุนามไม่ส ามารถใช้ตารางการคูณใน สื่อความหมายทาง เล่ม 2
การแยกตัวประกอบได้ เช่น x2 + 2x – 1 คณิตศาสตร์
23. ครู อ ธิ บ ายเพิ่ ม เติ ม ว่า มี พ หุ นามดี ก รี ส องตั ว แปรเดี ย วบาง
พหุนามที่ไม่สามารถใช้ตารางการคูณเพื่อแยกตัวประกอบได้
โดยจะใช้วิธีอื่นในการแยกตัวประกอบซึ่งจะได้ศึกษาในเรื่อง
ถัดไป
24. ครูให้นักเรียนทากิจกรรม Practice Now ในหนังสือเรียน - ทักษะการสร้างความรู้ - หนังสือเรียน - สังเกตพฤติกรรม
รายวิช าพื้นฐาน ชุด สัม ฤทธิ ์ม าตรฐาน คณิต ศาสตร์ ม.2 - ทักษะการวิเคราะห์ รายวิชาพื้นฐาน การทางานรายบุคคล
เล่ม 2 หน้า 21 จากนั้นครูสุ่มนักเรียนออกมาแสดงวิธีคิดบน - ทักษะการคิดละเอียด ชุดสัมฤทธิ์มาตรฐาน
กระดาน โดยครูและนักเรียนในชั้นเรียนร่วมกันตรวจสอบ - ทักษะการสื่อสาร คณิตศาสตร์ ม.2
ความถูกต้อง สื่อความหมายทาง เล่ม 2
25. ครู ใ ห้ นั ก เรี ย นจั บ คู่ กั บ เพื่ อ น แล้ ว ช่ ว ยกั น พิ จ ารณาบั ต ร คณิตศาสตร์ - บัตรพหุนาม
พหุนามต่อไปนี้ว่าพหุนามใดบ้างเป็นพหุนามที่เท่ากัน
41
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแยกตัวประกอบของพหุนาม
แผนฯ ที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ การวัดและการประเมินผล

x2 + 9x + 14 (x + 2)(x + 7)

2x2 + 2x – 4 (2x + 4)(x – 1)

x2 – 13x + 40 (x – 5)(x – 8)

3x2 – 25x – 18 (x – 9)(3x + 2)

26. ครูให้นักเรียนแต่ละคู่ออกมานาเสนอวิธีการแยกตัวประกอบ - ทักษะการสังเกต - สังเกตคุณลักษณะ


ของพหุนามจากบัตรพหุนามโดยใช้ตารางการคูณ โดยครูและ - ทักษะการระบุ อันพึงประสงค์
นักเรียนคู่อื่นร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง - ทักษะการวิเคราะห์ - สังเกตพฤติกรรม
27. ครูถามคาถามกระตุ้นความคิดนักเรียน ดังนี้ - ทักษะการคิดละเอียด การทางานกลุ่ม
2
 นักเรียนสามารถแยกตัวประกอบของ 3x + 14x + 8 ได้ - ทักษะการสื่อสาร - ประเมินการนาเสนอ
หรือไม่ อย่างไร สื่อความหมายทาง ผลงาน
(แนวตอบ : ได้ โดยสามารถแยกตัวประกอบได้ ดังนี้ คณิตศาสตร์
(3x + 2)(x + 4))
 พจน์หน้าของพหุนามเกิดจากการคูณกันของพจน์ใด
(แนวตอบ : เกิดจากการคูณกันของ 3x กับ x)
 พจน์หลังของพหุนามเกิดจากการคูณกันของพจน์ใด
(แนวตอบ : เกิดจากการคูณกันของ 2 กับ 4)
 พจน์กลางของพหุนามเกิดจากการคูณกันของพจน์ใด
(แนวตอบ : เกิดจากการคูณกันของ 3x กับ 4 บวกกับ
ผลคูณของ 2 กับ x )
42
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแยกตัวประกอบของพหุนาม
แผนฯ ที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ การวัดและการประเมินผล


28. ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า เมื่อพิจารณาพจน์กลางของพหุนามที่
เป็นผลคูณ จะเห็นว่าพจน์กลางได้มาจากผลคูณ ของพจน์ใน
วงเล็บที่อยู่ใกล้กันบวกกับผลคูณของพจน์ในวงเล็บที่อยู่ไกลกัน
ดังนั้น พจน์กลาง = (พจน์ใกล้ x พจน์ใกล้) + (พจน์ไกล x
พจน์ไกล)”
29. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ เรื่อง การแยกตัวประกอบ
ของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว

ชั่วโมงที่ 5
30. ครูทบทวนความรู้โดยถามคาถามกับนักเรียนว่า “นักเรียนคิด - ทักษะสังเกต - สังเกตคุณลักษณะ
ว่า 5x2 + 13x + 6 = (5x + 3)(x + 2) หรือไม่ อย่างไร” - ทักษะการระบุ อันพึงประสงค์
(แนวค่าตอบ : เท่ากัน เพราะเมื่อพิจารณาพจน์หน้า คือ 5x2 - ทักษะการวิเคราะห์
ซึ่งเป็นผลคูณที่เกิดจาก (5x)(x) พจน์กลาง คือ 13x ซึ่งเป็น - ทักษะการคิดละเอียด
ผลคูณที่เกิดจาก (5x)(2) + (3)(x) และพจน์หลัง คือ 6 ซึ่ง - ทักษะการสื่อสาร
เป็นผลคูณที่เกิดจาก (3)(2)) สื่อความหมายทาง
31. ครูเขียนตัวอย่างพหุนามบนกระดาน “8x2 + 14x + 3” คณิตศาสตร์
จากนั้นถามคาถามกับนักเรียน ดังนี้
 สัมประสิทธ์พจน์หน้าสามารถแยกตัวประกอบได้หรือไม่
อย่างไร
(แนวตอบ : สัมประสิทธ์ พจน์หน้า คือ 8 สามารถแยก
ตัวประกอบได้เป็น 1 x 8 หรือ 2 x 4)

43
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแยกตัวประกอบของพหุนาม
แผนฯ ที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ การวัดและการประเมินผล


 สัมประสิทธ์ พจน์หลัง สามารถแยกตั วประกอบได้ หรือไม่
อย่างไร
(แนวตอบ : สัมประสิทธ์พจน์หลัง คือ 3 สามารถแยก
ตัวประกอบได้เป็น 1 x 3)
 พจน์กลางสามารถหาได้อย่างไร
(แนวตอบ : นักเรียนสามารถตอบได้หลากหลาย ขึ้นอยู่กับ
ความรู้พื้นฐาน เช่น จับคู่ 2 x 4 กับ 1 x 3 แล้วน่า 2 x 1
= 2 และ 4 x 3 = 12 จะเห็นได้ว่า 2 + 12 = 14 เท่ากับ
สัมประสิ ทธิ์ของพจน์กลางพอดี แล้วจึงน่าไปใส่ในวงเล็ บ
โดยให้ได้ (พจน์ใกล้ x พจน์ใกล้) + (พจน์ไกล x พจน์ไกล))
2
 8x + 14x + 3 แยกตัวประกอบได้เท่ากับเท่าใด
(แนวตอบ : (2x + 3)(4x + 1))
32. ครูถามคาถามกับนักเรียน ดังนี้ - ทักษะสังเกต - สังเกตคุณลักษณะ
2
 นักเรียนสามารถแยกตัวประกอบของ 3x - 11x + 10 ได้ - ทักษะการระบุ อันพึงประสงค์
หรือไม่ อย่างไร - ทักษะการวิเคราะห์
(แนวตอบ : ได้ โดย 3x2 - 11x + 10 = (x - 2)(3x - 5)) - ทักษะการคิดละเอียด
2
 นักเรียนคิดว่า พจน์กลางของ 3x - 11x + 10 คือ - ทักษะการสื่อสาร
[(x)(3x)] + [(-2)(-5)] ถูกต้องหรือไม่ เพราะอะไร สื่อความหมายทาง
(แนวตอบ : ไม่ถูกต้อง เพราะพจน์กลางหาได้จาก คณิตศาสตร์
(ใกล้ x ใกล้) + (ไกล x ไกล) = (-2)(3x) + (x)(-5)
= (-6x) + (-5x)
= -11x
44
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแยกตัวประกอบของพหุนาม
แผนฯ ที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ การวัดและการประเมินผล


แต่ [(x)(3x)] + [(-2)(-5)] = (3x2) + (-10)
ดังนั้น [(x)(3x)] + [(-2)(-5)] ≠ -11x
33. ครูให้นักเรียนทา Exercise 1B ข้อ 1.-3. ในหนังสือเรียน - หนังสือเรียน - สังเกตพฤติกรรม
รายวิ ช าพื้ น ฐาน ชุ ด สั ม ฤทธิ์ ม าตรฐาน คณิ ต ศาสตร์ ม.2 รายวิชาพื้นฐาน การทางานรายบุคคล
เล่ม 2 หน้า 22-27 ลงในสมุด โดยครูตรวจสอบความถูกต้อง ชุดสัมฤทธิ์มาตรฐาน - ตรวจ Exercise 1B
ลงมือทา (Doing) คณิตศาสตร์ ม.2
1. ครูให้นักเรียนจับคู่กับเพื่อนทาใบงานที่ 1.3 เรื่อง การแยก - ทักษะการสร้างความรู้ เล่ม 2 - สังเกตพฤติกรรม
ตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว เมื่อทาเสร็จ - ทักษะสังเกต - ใบงานที่ 1.3 การทางานรายบุคคล
แล้ ว ครู สุ่ มนั กเรี ยนบางคู่ ออกมาแสดงวิธีคิ ดบนกระดาน - ทักษะการระบุ - ตรวจกิจกรรมฝึกทักษะ
โดยครูและนักเรียนคู่อื่นร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง - ทักษะการวิเคราะห์ - ตรวจใบงานที่ 1.3
2. ครูให้นักเรียนทา Exercise 1B ข้อ 4.-5. ในหนังสือเรียน - ทักษะการคิดละเอียด - หนังสือเรียน - ตรวจ Exercise 1B
รายวิชาพื้นฐาน ชุดสัม ฤทธิ์ม าตรฐาน คณิต ศาสตร์ ม.2 - ทักษะการสื่อสาร รายวิชาพื้นฐาน
เล่ม 2 หน้า 28 ลงในสมุด โดยครูตรวจสอบความถูกต้อง สื่อความหมายทาง ชุดสัมฤทธิ์มาตรฐาน
คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ ม.2
ขั้นสรุป - ทักษะสรุปลงความเห็น เล่ม 2 - สังเกตคุณลักษณะ
ครูถามคาถามเพื่อสรุปความรู้รวบยอดของนักเรียน ดังนี้ อันพึงประสงค์
 การแยกตั ว ประกอบของพหุ น ามดี ก รี ส องตั ว แปรเดี ย ว
สามารถแยกตั ว ประกอบได้ ด้ ว ยวิ ธี ก ารใด และมี ขั้ น ตอน
อย่างไร
(แนวตอบ สามารถใช้ตารางการคูณในการแยกตัวประกอบ
ซึ่งมี 3 ขั้นตอน ดังนี้

45
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแยกตัวประกอบของพหุนาม
แผนฯ ที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะที่ได้ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ การวัดและการประเมินผล


ขั้นที่ 1 สร้ า งตารางการคู ณ แล้ ว เขี ย นพจน์ ห น้ า ไว้
บริเวณพื้นที่มุมซ้ายบนและเขียนพจน์ ห ลั ง ไว้
บริเวณพื้นที่มุมขวาล่าง
ขั้นที่ 2 พิจารณาตัวประกอบของพจน์หน้าและพจน์หลัง
แล้ วเขี ยนตั วประกอบที่ ไ ด้ ล งในแถวแรกและ
หลักแรกของตารางการคูณ โดยพิจารณาจาก
ตัวประกอบของพจน์นั้น ๆ
ขั้นที่ 3 ท่ า การคู ณ ตารางเพื่ อ ท่ า ให้ ต ารางสมบู ร ณ์
จากนั้นตรวจสอบว่าผลคูณที่ได้ตรงกับพหุนาม
ที่ ไ ด้ ก่ า หนดไว้ ห รื อ ไม่ หากไม่ ต รงให้ ก ลั บ ไป
พิจารณาตัวประกอบ ในขั้นที่ 2 อีกครั้ง)
 พจน์หน้าของพหุนามเกิดจากการคูณกันของพจน์ใด
(แนวตอบ : พจน์หน้าของแต่ละวงเล็บคูณกัน)
 พจน์กลางของพหุนามเกิดจากการคูณกันของพจน์ใด
(แนวตอบ : ผลคูณของพจน์หน้าในวงเล็บแรกกับพจน์หลังใน
วงเล็บหลัง บวกกับผลคูณของพจน์หลังในวงเล็บแรกกับพจน์
หน้าในวงเล็บหลัง หรือพจน์กลาง = (พจน์ใกล้ x พจน์ใกล้)
+ (พจน์ไกล x พจน์ไกล))
 พจน์หลังของพหุนามเกิดจากการคูณกัน
(แนวตอบ : พจน์หลังของแต่ละวงเล็บคูณกัน)

46
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแยกตัวประกอบของพหุนาม
แผนฯ ที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว

7. การวัดและประเมินผล
รายการวัด วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน
ประเมินระหว่างการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้
1) การแยกตัวประกอบ - ตรวจใบงานที่ 1.3 - ใบงานที่ 1.3 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ของพหุนามดีกรีสอง - ตรวจ Exercise 1B - Exercise 1B - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ตัวแปรเดียว
2) การนาเสนอผลงาน/ - ประเมินการนาเสนอ - การนาเสนอผลงาน/ผล - ระดับคุณภาพ
ผลการทากิจกรรม ผลงาน/ผลการทา การทากิจกรรม พอใช้ ผ่านเกณฑ์
กิจกรรม
3) พฤติกรรมการทางาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ
รายบุคคล การทางานรายบุคคล การทางานรายบุคคล พอใช้ ผ่านเกณฑ์
4) พฤติกรรมการ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ
ทางานกลุ่ม การทางานกลุ่ม การทางานกลุ่ม พอใช้ ผ่านเกณฑ์
5) คุณลักษณะ - สังเกตความมีวินัย - แบบประเมินคุณลักษณะ - ระดับคุณภาพ
อันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น อันพึงประสงค์ พอใช้ ผ่านเกณฑ์
ในการทางาน

8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
8.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนั ง สื อ เรี ย นรายวิ ช าพื้ น ฐาน ชุ ด สั ม ฤทธิ์ ม าตรฐาน คณิ ต ศาสตร์ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 2 เล่ ม 2
เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนาม
2) ใบงานที่ 1.3 เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว
3) บัตรพหุนาม
8.2 แหล่งการเรียนรู้
- ห้องเรียน

47
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแยกตัวประกอบของพหุนาม
แผนฯ ที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว

ใบงานที่ 1.3
เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว

คาชี้แจง : ให้นักเรียนแยกตัวประกอบของพหุนามที่กาหนดต่อไปนี้
1. x 2 – 3x + 2 =

2. x 2 + 5x + 4 =

3. 2x2 + 5x + 2 =

4. 12x2 – 20x + 8 =

5. 30x2 + 37x - 84 =

6. x 2 – x - 6 =

7. x 2 - 3x + 2 =

8. 12x2 - 31x + 9 =

9. 12x2 - 56x + 9 =

10. 6x 2 – x - 1 =

48
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแยกตัวประกอบของพหุนาม
แผนฯ ที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว

ใบงานที่ 1.3 เฉลย


เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว

คาชี้แจง : ให้นักเรียนแยกตัวประกอบของพหุนามที่กาหนดต่อไปนี้
1. x 2 – 3x + 2 = (x – 2 )(x – 1)

2. x 2 + 5x + 4 = (x + 4)(x + 1)

3. 2x2 + 5x + 2 = (x + 2)(2x + 1)

4. 12x2 – 20x + 8 = (4x – 4)(3x – 2)

5. 30x2 + 37x - 84 = (6x – 7)(5x + 12)

6. x 2 – x - 6 = (x - 3 )(x + 2)

7. x 2 - 3x + 2 = (x - 2)(x - 1)

8. 12x2 - 31x + 9 = (3x - 1)(4x - 9)

9. 12x2 - 56x + 9 = (6x - 1)(2x - 9)

10. 6x 2 – x - 1 = (2x - 1)(3x + 1)

49
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแยกตัวประกอบของพหุนาม
แผนฯ ที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว

บัตรพหุนาม

2
x + 9x +14 (x + 2)(x + 7)

2
2x + 2x – 4 (2x + 4)(x – 1)
2
x – 13x + 40 (x – 5)(x – 8)

2
3x – 25x –18 (x – 9)(3x + 2)

50
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแยกตัวประกอบของพหุนาม
แผนฯ ที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว

9. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

ข้อเสนอแนะ

ลงชื่อ
( )
ตาแหน่ง
10. บันทึกผลหลังการสอน
 ด้านความรู้

 ด้านสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน

 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

 ด้านความสามารถทางคณิตศาสตร์

 ด้านอื่น ๆ (พฤติกรรมเด่น หรือพฤติกรรมที่มีปัญหาของนักเรียนเป็นรายบุคคล (ถ้ามี))

 ปัญหา/อุปสรรค

 แนวทางการแก้ไข

51

You might also like