You are on page 1of 22

การใช้แบบฝึกทักษะ 3

การใช ้แบบฝึ กทักษะ


แบบฝึกทักษะชุดนี้ได้ออกแบบมาให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ และความคิดอ่านด้านคณิตศาสตร์
ที่ดีและชัดเจนมากขึ้นจากเนื้อหาหลัก ซึ่งสามารถแยกอธิบายได้ ดังนี้

ทดสอบความ รู ้ก่อน
พร้พ้อม
แบบทดสอบวัดความรู ื้นฐานที่จาเป็น เพื่อ แบบทดสอบวัดเรีความรู
ยน ้พื้นฐานที่จาเป็น เพื่อ
ประเมินความพร้อมก่อนเข้าสู่หน่วยการเรียนรู้ ประเมินความพร้อมก่อนเข้าสู่หน่วยการเรียนรู้

สาระน่ ารู ้ ควรระวัง


ความรู้เสริมหรือเกร็ดความรู้ต่าง ๆ อธิบายสิ่งที่มีโอกาสพลาดบ่อย
ที่เกี่ยวข้องกับหน่วยการเรียนรู้ หรือขั้นตอนที่ควรระวัง

ลองทาดู แนะ
โจทย์ที่ให้ผู้เรียนได้ใช้วิธีทา แนะนแนวคิ ด้นตอนต่าง ๆ
าวิธีคิดในขั
ตามตัวอย่างเพื่อฝึกฝน ระหว่างเนื้อหา

สาระสาคั สรุป
สรุปแนวทางการให้ญ
นิยาม สมบัติ ทฤษฎี สัจพจน์ ความรู
สรุปองค์ ้ ละเรื่อง
ความรู้ของแต่
และขั้นตอนวิธีการต่าง ๆ หรือสรุปเนื้อหา

แบบฝึ ก แบบฝึ ก
ทักษะ
ระดับความยากง่ ายของแบบฝึกหัด ทดสอบ
แบบทดสอบความรู ้ก่อน-หลังเรียน
* ง่าย เพื่อให้ผู้เรียนประเมินว่าส่วนใดที่ทาได้ดี
* ปานกลาง และส่วนใดที่ยังต้องพัฒนา
* ยาก
คาชี้แจงเกี่ยวกับแบบฝึกทักษะ 3


คาชีแจงเกี ่
ยวกับแบบฝึ กทักษะ
1. แบบฝึกทักษะนี้เป็นแบบฝึกทักษะกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนาม
ดีกรีสูงกว่าสอง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีทั้งหมด 3 ชุด ดังนี้
ชุดที่ 1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง
ชุดที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่เป็นผลบวกของกาลังสามและผลต่างของกาลังสาม
ชุดที่ 3 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองบางรูป
2. แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์นี้ จัดทาขึ้นเพื่อเป็นเอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์
รหัสวิชา ค23101 เพื่อให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าและฝึกทักษะเพิ่มเติมด้วยตนเอง
3. แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์นี้ มีส่วนประกอบในเล่ม ดังนี้
3.1 คาชี้แจงเกี่ยวกับแบบฝึกทักษะ
3.2 คาชี้แจงการใช้แบบฝึกทักษะสาหรับครู
3.3 คาชี้แจงการใช้แบบฝึกทักษะสาหรับนักเรียน
3.4 การใช้แบบฝึกทักษะ
3.5 สาระการเรียนรู้
3.6 ทดสอบความรู้
3.7 ใบความรู้
3.8 แบบฝึกทักษะ
3.9 แบบทดสอบหลังเรียน
3.10 บรรณานุกรม
4. แบบฝึกทักษะนี้ ใช้เวลาเรียน 6 ชั่วโมง
คาชี้แจงการใช้แบบฝึกทักษะสาหรับครู 3

คาชีแจงการใช้ ้แบบฝึ กทักษะ


สาหร ับครู
การใช้แบบฝึกทักษะ รายวิชาคณิตศาสตร์ 5 รหัสวิชา ค 23101 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การแยกตัว
ประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง ครูผู้สอนเป็นผู้ที่มีบทบาทสาคัญที่จะช่วยให้การดาเนินการเรียนรู้ของ
ผู้เรียนบรรลุวัตถุประสงค์ ครูจึงควรศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับการปฏิบัติตนก่อนที่จะใช้แบบฝึกทักษะในการ
จัดประสบการณ์การเรียนรู้ ดังนี้
1. ครูต้องศึกษาแบบฝึกทักษะและอ่านเนื้อหาสาระอย่างละเอียดรอบคอบ พร้อมทั้งทาความเข้าใจ
กับเนื้อหาก่อนการใช้งาน
2. เตรียมแบบฝึกทักษะให้ครบถ้วนเพียงพอกับจานวนนักเรียน
3. การจัดชั้นเรียนอาจจัดให้นักเรียนศึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มก็ได้
4. เตรียมเครื่องมือวัดผลและประเมินผล เพื่อให้ทราบความก้าวหน้าของนักเรียน
5. ชี้แจงให้นักเรียนทราบลาดับขั้นตอนและวิธีการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะอย่างชัดเจนและ
ประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะ
6. ชี้แจงให้นักเรียนทราบเกี่ยวกับบทบาทของนักเรียน ในการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะให้เข้าใจ
และเน้นย้าเรื่องความซื่อสัตย์ ไม่ลอกเพื่อนหรือดูเฉลยก่อนลงมือทาด้วยตนเอง
7. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนเพื่อประเมินความรู้เดิมของนักเรียนก่อนใช้แบบฝึกทักษะ
8. แจ้งผลการเรียนรู้ให้นักเรียนทราบเสมอ
9. ดาเนินการตามกิจกรรมการเรียนรู้ที่กาหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้ที่ใช้ควบคู่กับแบบฝึก
ทักษะนี้
10. ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหา ใบความรู้ และลงมือทาแบบฝึกทักษะ เสร็จแล้วตรวจคาตอบตามเฉลย
11. ครูสังเกตความตั้งใจของนักเรียน ความสนใจในการเรียน การทางานร่วมกันเป็นกลุ่มอย่าง
ใกล้ชิด ถ้านักเรียนคนใดหรือกลุ่มใดมีปัญหาให้ทาการช่วยเหลือทันที
12. เวลาในการจัดกิจกรรมการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะของนักเรียนแต่ละคน แต่ละกลุ่มอาจไม่
เท่ากัน ถ้านักเรียนคนใดหรือกลุ่มใดมีปัญหาให้ทาการช่วยเหลือทันที
13. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อประเมินความก้าวหน้าของนักเรียนหลังจากเรียนรู้และ
ทาแบบฝึกทักษะทั้งหมดแล้ว
14. เมื่อมีการสรุปบทเรียนควรเป็นกิจกรรมร่วมกันของนักเรียนทุกคน หรือแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนร่วม
อภิปราย หรือวิธีการที่ให้นักเรียนได้แสดงออกว่าการเรียนรู้มากที่สุด ครูมีหน้าที่ช่วยเหลือสนับสนุน อานวย
ความสะดวก
15. ในกรณีที่นักเรียนขาดเรียน สามารถให้นักเรียนศึกษาเป็นรายบุคคลด้วยตนเองนอกเวลาเรียน
จากแบบฝึกทักษะ ตามความเหมาะสมและความสามารถของนักเรียน
คาชี้แจงการใช้แบบฝึกทักษะสาหรับนักเรียน 3


คาชีแจงการใช ้แบบฝึ กทักษะ
สาหร ับนักเรียน
ในการศึกษาแบบฝึกทักษะ รายวิชาคณิตศาสตร์ 5 รหัสวิชา ค23101 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การ
แยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง นักเรียนควรปฏิบัติตามคาแนะนาต่อไปนี้อย่างเคร่งครัด
1. อ่านคาชี้แจงเกี่ยวกับแบบฝึกทักษะ และคาแนะนาการใช้แบบฝึกทักษะสาหรับนักเรียนให้เข้าใจ
ก่อนทาการศึกษาด้วยแบบฝึกทักษะ ทุกครั้ง
2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียนเพื่อประเมินความรู้เดิมของนักเรียนด้วยความซื่อสัตย์
3. ศึกษาเนื้อหาและทาแบบฝึกทักษะ ตามลาดับขั้นตอน ถ้าทาแบบฝึกทักษะข้อใดไม่ได้ ให้
ย้อนกลับไปศึกษาทบทวนเนื้อหาอีกรอบ ศึกษาตัวอย่าง เอกสารเพิ่มเติมหรือปรึกษาครูผู้สอน
4. ตรวจแบบฝึกทักษะตามเฉลยและบันทึกคะแนนที่ได้ จากนั้นร่วมกับเพื่อนช่วยกันสรุปองค์ความรู้
ที่ได้รับจากการศึกษา โดยอาจขอคาชี้แนะและอธิบายเพิ่มเติมจากครูผู้สอน
5. ทาแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อประเมินความก้าวหน้าของตนเองหลังจากศึกษาแบบฝึกทักษะจบ
แล้ว
6. ในการทาแบบฝึกทักษะ แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน นักเรียนต้องพยายามทาด้วยความ
ตั้งใจ มีความซื่อสัตย์และเชื่อมั่นในความรู้ของตนเองที่ได้รับจากการศึกษาแบบฝึกทักษะ เพื่อให้เกิดความรู้
ความเข้าใจที่แท้จริง
สาระการเรียนรู้ 3

การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง

x2 - 20

1. การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง
1.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เป็นผลต่างของกาลาสอง
1.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยการทาเป็นกาลังสองสมบูรณ์

A3 + B3 2. การแยกตัวประกอบของพหุนาม
A3 - B3 ที่เป็นผลบวกของกาลังสาม
และผลต่างของกาลังสาม

x3 + 4
x6 - 1
3. การแยกตัวประกอบของพหุนาม
ดีกรีสูงกว่าสองบางรูป

ต ัวชีว้ ั
ด ค 1.2 ม.3/1 เข้าใจและใช้การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสองในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง 3

ทดสอบ
ความพร
1. จงหาค่ าของจานวนต่อไปนี้อม

2
2 2
1) 3 3) 7
2 2
2) − 5 4) − 0.04

2. จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้
1) 2x2 - 5xy 3) x2 + xy + 2x + 2y
2) 12x3 y + 4xy 4) 2x2 – 8xy – x + 4y

3. จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้
1) x2 + 4x + 4 3) 9y2 + 6y + 1
2) x2 – 10x + 25 4) 25a2 – 60a + 36

4. จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้
1) x2 - 1 3) 49x2 - 1
2) y2 – 100 4) 121m2 – 64n2

ครูปาล์ม พิมพ์วรีย์
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง 3

รู ้ก่อนเรียน
1. เมื่อ a เป็นจานวนจริงบวกหรือศูนย์ a 2
= a และ − a 2
= a เช่น
2
5 =5
2
− 11 = 11
2
3 3
7
=7
2. การแยกตัวประกอบของพหุนามในบางครั้งสามารถทาได้โดยใช้สมบัติการแจกแจง เช่น
12xy2 + 20x2y = (4xy)(3y) + (4xy)(5y)
= 4xy(3y + 5x)
3x2 – 6xy – 4x + 8y = 3x(x – 2y) – 4(x – 2y)
= (3x - 4)(x – 2y)
3. การแยกตัวประกอบของพหุนามที่เป็นกาลังสองสมบูรณ์ มีสูตรดังนี้
กาหนดให้ A และ B เป็นพหุนาม
A2 + 2AB + B2 = (A + B)2
A2 - 2AB + B2 = (A - B)2
เช่น
x2 + 6x + 9 = x2 + 2(x)(3) + 32
= (x + 3)2
(y - 2)2 – 2(y - 2)x + x2 = [(y - 2) - x]2
4. การแยกตัวประกอบของพหุนามที่เป็นผลต่างของกาลังสอง มีสูตรดังนี้
กาหนดให้ A และ B เป็นพหุนาม
A2 - B2 = (A + B)(A – B)
เช่น
x2 – 16 = x2 – 42
= (x + 4)(x - 4)
(y + 4)2 – (2x) 2 = (y + 4 + 2x)(y + 4 – 2x)

ครูปาล์ม พิมพ์วรีย์
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง 3

1. การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง
1.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เป็นผลต่างของกาลังสอง
นักเรียนทราบสูตรการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เป็น
ผลต่างของกาลังสองมาแล้ว ดังนี้

สาระสาคั
ญ กาหนดให้ A และ B เป็นพหุนาม
2 2 A - B = (A + B)(A – B)

นักเรียนยังทราบอีกว่า a 2 = a เมื่อ a เป็นจานวนจริงบวกหรือ


ศูนย์ นักเรียนสามารถนาความรู้ดังกล่าวมาใช้แยกตัวประกอบของพหุนามดีกรี
สองได้ ดังตัวอย่างต่อไปนี้

ตัวอย่างที่ 1 จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้
1) x2 – 3 3) 12 – (x - 8)2
2) 5x2 – 4 4) (x + 3)2 – 18
3= a 2 วิธีทา 1) x2 – 3 = x2 - 3 2
= (x + 3)(x – 3)
ดังนั้น x2 – 3 = (x + 3)(x – 3) ตอบ
2
2) 5x2 – 4 = 5𝑥 - 22
= ( 5x + 2)( 5x – 2)
2
ดังนั้น 5x – 4 = ( 5x + 2)( 5x – 2) ตอบ
2
12 = 2 3 3) 12 – (x - 8)2 = 2 3 2 - (x - 8)2
= [2 3 + (x - 8)][2 3 – (x - 8)]
= [2 3 + x - 8][2 3 – x + 8]
= [2 3 - 8 + x][2 3 + 8 - x]
ดังนั้น 12 – (x - 8)2 = [2 3 - 8 + x][2 3 + 8 - x] ตอบ
4) (x + 3)2 – 18 = (x + 3)2 - 3 2 2
= [(x + 3) +3 2][(x + 3) - 3 2]
= [x + 3 +3 2][x + 3 - 3 2]
= (2 3 - 8 + x)(2 3 + 8 – x)
ดังนั้น 12 – (x - 8)2 = (2 3 - 8 + x)(2 3 + 8 – x) ตอบ

ครูปาล์ม พิมพ์วรีย์
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง 3

ลองทาดู
จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้
1) x2 – 5 3) 20 – (x + 4)2
2) 2x2 – 9 4) (x - 1)2 – 24

แบบฝึ ก
ทั(*)กจงแยกตั
ษะ วประกอบของพหุ
1.1 นามต่อไปนี้
1) x2 – 7 11) (x - 3)2 – 2
2) x2 – 8 12) (x + 4)2 – 10
3) 6 - x2 13) 5 - (x - 1)2
4) 12 - x2 14) 8 - (x + 5)2
5) 4x2 – 3 15) (x + 7)2 – 40
6) 7x2 – 9 16) (x - 2)2 – 32
7) 16 - 2x2 17) 50 - (x - 8)2
8) 20 - 4x2 18) 63 - (x + 10)2
2
9) 25x2 – 9 19) (2x - 5)2 – 28
1
10) 4x2 – 3 20) 96 - (3x + 7)2

ครูปาล์ม พิมพ์วรีย์
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง 3

1.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยทาเป็นกาลังสองสมบูรณ์
นักเรียนทราบสูตรการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เป็นกาลัง
สองสมบูรณ์มาแล้ว ดังนี้

สาระสาคั
ญ กาหนดให้ A และ B เป็นพหุนาม
2 2 2
A + 2AB + B = (A + B)
A2 - 2AB + B2 = (A - B)2

จากสูตรจะได้ว่า

สาระสาคั
ญ กาหนดให้2 x เป็นตัวแปร
2
และ a เป็นค่าคงตัว
2
x + 2ax + a = (x + a)
x2 – 2ax + a2 = (x - a)2

นักเรียนสามารถแยกตัวประกอบของพหุนามโดยใช้วิธีแยกตัวประกอบที่
ทราบมาแล้ว เช่น
x2 + 6x - 16 = (x + 8)(x - 2)
เพื่อให้มีบางส่วนเป็นกาลังสอง
สมบูรณ์ จึงเขียน x2 + 6x พิจารณาการแยกตัวประกอบของ x2 + 6x - 16 โดยทาให้บางส่วนเป็น
เป็น x2 + 2(3)x แล้วเพิ่มพจน์ 32 กาลังสองสมบูรณ์ก่อน ดังนี้
เพื่อให้จัดรูปกาลังสองสมบูรณ์ได้ x2 + 6x – 16 = [x2 + 2(3)x + 32] – 16 – 32
เป็น (x + 3) 2 แล้วลบออกด้วย 32
เพื่อให้ค่าของพหุนามคงเดิม = (x + 3)2 – 16 – 9
= (x + 3)2 – 25
= (x + 3)2 – 52
= (x + 3 + 5)(x + 3 - 5)
= (x + 8)(x - 2)
การแยกตัวประกอบของ x2 + 6x – 16 ด้วยวิธีข้างต้นเรียกว่า
วิธีทาเป็นกาลังสองสมบูรณ์

ครูปาล์ม พิมพ์วรีย์
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง 3

การแยกตัวประกอบของพหุนามโดยใช้วิธีทาเป็นกาลังสองสมบูรณ์ จะทาให้นักเรียนสามารถแยกตัว
ประกอบของพหุน ามดีกรี สองบางพหุน ามที่ไม่สามารถแยกได้ด้วยวิธีที่เคยศึกษามาก่อนหน้า เช่น ในการ
แยกตัวปรกอบของพหุนาม x2 + 4x – 3 โดยใช้วิธีทาเป็นกาลังสองสมบูรณ์ ทาได้ดังนี้
x2 + 4x – 3 = [x2 + 2(2)x + 22 ] – 3 – 22
= (x + 2)2 – 3 – 4
2
= (x + 2)2 – 7
= (x + 2 + 7)(x + 2 - 7)

ตัวอย่างที่ 2
จงแยกตัวประกอบของ x2 + 6x – 11โดยใช้วิธีทาเป็นกาลังสองสมบูรณ์
วิธีทา x2 + 6x – 11 = [x2 + 2(3)x + 32] – 11 – 32
= (x + 3)2 – 11 – 9
= (x + 3)2 – 20
= (x + 3)2 – (2 5)2
= (x + 3 + 2 5)(x + 3 - 2 5)
ดังนั้น x2 + 6x – 11 = (x + 3 + 2 5)(x + 3 - 2 5) ตอบ

ตัวอย่างที่ 3
จงแยกตัวประกอบของ x2 - x – 11 โดยใช้วิธีทาเป็นกาลังสองสมบูรณ์
1 1 2 1 2
วิธีทา x2 - x – 11 = [x2 - 2 2
x+ 2
] – 11 – 2
1 2 1
= 𝑥−
2
– 11 – 4
1
-2+
3 5 1
= - (2 +
3 5 1 2 45
2 2
) = 𝑥−
2

4
1−3 5 2
=- ( 2 ) 12 3 5
1−3 5 = (x - 2) – 2
=- 2 1 3 5 1 3 5
= (x - 2 + 2
)(x - −
2 2
)
1−3 5 1+3 5
= (x - 2
)(x - 2
)
1−3 5 1+3 5
ดังนั้น x2 - x – 11 = (x - 2
)(x - 2
) ตอบ

ลองทาดู
จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้โดยใช้วิธีทาเป็นกาลังสองสมบูรณ์
1) x2 + 4x – 1 3) x2 - 8x + 4
2) x2 - 3x – 1 4) x2 + 7x + 3

ครูปาล์ม พิมพ์วรีย์
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง 3

ตัวอย่างที่ 4
จงแยกตัวประกอบของ 3x2 - 14x – 5 โดยใช้วิธีทาเป็นกาลังสองสมบูรณ์
14 5
วิธีทา 3x2 - 14x – 5 = 3(x2 - 3 x – 3)
7 7 2 5 7 2
= 3[ 𝑥 − 2
2
𝑥 + − − ]
ทาสัมประสิทธิ์ของ x2 ให้เป็น 3 3 3 3
1 โดยใช้สมบัติการแจกแจง 7 2 5 49
นา 3 ออกมาเป็นตัวคูณร่วม
= 3[ 𝑥 − 3 −
3

9
]
7 2 5+49
= 3[ 𝑥 − 3 −
9
]
7 2 63
= 3[ 𝑥 − 3 −
9
]
7 2 8 2
= 3[ 𝑥 − 3 −
3
]
7 8 7 8
1
= 3[ 𝑥 − 3 + 3][ 𝑥 − 3 − 3]
3(x+ ) = (3x + 1) 7 8 7 8
3
= 3(𝑥 − 3 + 3)(𝑥 − 3 − 3)
1
= 3 𝑥+3 𝑥−5
= (3x + 1)(x - 5)
ดังนั้น 3x2 - 14x – 5 = (3x + 1)(x - 5) ตอบ

การแยกตัวประกอบของ 3x2 - 14x – 5 ในตัวอย่างที่ 4 อาจใช้


วิธีการที่เคยเรียนมาแล้ว ดังนี้
3x2 - 14x – 5 = (3x + 1)(x - 5)

(3x + 1)(1x - 5) 3×1=3

(3x + 1)(1x - 5) 1 × (-5) = -5

(3x + 1)(1x - 5) [3 × (-5)] + (1 × 1) = -14

ลองทาดู

จงแยกตัวประกอบของ 5x2 + 8x + 3 โดยใช้วิธีทาเป็นกาลังสองสมบูรณ์

ครูปาล์ม พิมพ์วรีย์
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง 3

ตัวอย่างที่ 5
จงแยกตัวประกอบของ 2x2 + 3x – 7 โดยใช้วิธีทาเป็นกาลังสองสมบูรณ์
3 7
วิธีทา 2x2 + 3x – 7 = 2(x2 + 2x – 2)
3 3 2 7 3 2
= 2[ 𝑥 2 + 2 𝑥 + − − ]
ทาสัมประสิทธิ์ของ x2 ให้เป็น 4 4 2 4
1 โดยใช้สมบัติการแจกแจง 3 2 7 9
นา 3 ออกมาเป็นตัวคูณร่วม
= 2[ 𝑥 + 4 −
2

16
]
3 2 56+9
= 2[ 𝑥 + 4 −
16
]
3 2 63
= 2[ 𝑥 + 4 −
16
]
2
3 2 65
= 2[ 𝑥 + 4 −
4
]
3 65 3 65
1
3(x+ ) = (3x + 1)
= 2[ 𝑥 + 4 + 4
][ 𝑥 +
4

4
]
3
3 65 3 65
= 2 𝑥+4+ 4
𝑥+ −
4 4
3+ 65 3− 65
= 2 𝑥+
4
𝑥+
4
3+ 65 3− 65
ดังนั้น 2x2 + 3x – 7 = 2 𝑥 + 4
𝑥+
4
ตอบ
ลองทาดู

จงแยกตัวประกอบของ 2x2 + 7x - 5 โดยใช้วิธีทาเป็นกาลังสองสมบูรณ์

สาหรับพหุนามดีกรีสองบางพหุนามเช่น x2 + x + 1 ถ้าใช้วิธีทาเป็นกาลังสอง
สมบูรณ์ จะได้ว่า
1 1 2 1 2
x2 + x + 1 = [x2 + 2 2
x+ 2
]+1– 2
1 2 1
= 𝑥+2 +1–4
1 2 3
= 𝑥+2 +
4
1 2 3
= 𝑥 + 2 – −4
3
จะเห็นว่า ไม่สามารถเขียน − 4 ในรูปกาลังสองของจานวนจริงได้ จึงไม่
1 2 3
สามารถเขียนพหุนาม 𝑥 + 2 – − ในรูปผลต่างของกาลังสองได้ แสดงว่า ไม่
4
สามารถเขียนพหุนาม x2 + x + 1 ให้อยู่ในรูปการคูณของพหุนามดีกรีหนึ่งด้วยวิธีการที่ผ่านมาได้
นอกจากพหุนาม x2 + x + 1 แล้ว ยังมีพหุนามดีกรีสองบางพหุนามที่ม่สามารถแยกตัว
ประกอบด้วยวิธีการที่ผ่านมาได้ ซึ่งในหน่วยการเรียนรู้นี้จะยังไม่กล่าวถึงพหุนามในลักษณะดังกล่าว

ครูปาล์ม พิมพ์วรีย์
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง 3

สรุป
ความรู ้
การแยกตัวประกอบของพหุ นามดีกรีสองทีเ่ ป็นผลต่างของกาลังสอง
2
x2 – 3 = x2 – 3
= (x + 3)(x - 3)
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยทาเป็นกาลังสองสมบูรณ์
x2 + 4x – 3 = [x2 + 2(2)x + 22] – 3 – 22
= (x + 2)2 – 3 – 4
= (x + 2)2 – 7
= (x + 2)2 – ( 7)2
= (x + 2 + 7)(x + 2 - 7)

แบบฝึ ก
ทั1.ก(*)2 ษะ
จงแยกตั1.2
วประกอบของพหุนามต่อไปนี้โดยใช้วิธีทาเป็นกาลังสองสมบูรณ์
2
1) x + 4x + 1 6) x + 3x + 1
2) x2 + 2x – 7 7) w2 + w - 3
3) x2 - 16x + 24 8) x2 - 5x + 5
4) p2 – 8p – 5 9) x2 - 9x + 9
5) x2 + 40x + 391 10) x2 + 15x - 874

2. (**) จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้โดยใช้วิธีทาเป็นกาลังสองสมบูรณ์
1) 5x2 - 18x - 8 6) -x2 + 8x + 12
2) 3x2 + 26x + 55 7) 2x2 – 18x + 3
3) 7x2 + 80x - 48 8) 5y2 – 35y + 10
4) 4x2 + 16x – 8 9) -8x2 - 40x - 20
5) -6a2 + 48a - 54 10) 2x2 + 4x + 1

3. (***) จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้โดยใช้วิธีทาเป็นกาลังสองสมบูรณ์
1) 2x2 + 5x + 1 3) 3x2 + 5x - 8
2) 4x2 - 6x + 1 4) -5x2 + 8x + 3

ครูปาล์ม พิมพ์วรีย์
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง 3

2. การแยกตัวประกอบของพหุนามที่เป็นผลบวกของ
กาลังสามและผลต่างของกาลังสาม
นักเรียนได้ศึกษาเกี่ยวกับการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองในรูป ax2 + bx + c บางพหุนาม
เมื่อ a, b, c เป็นจานวนเต็มที่ a ≠ 0 และได้ตัวประกอบเป็นพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์ของแต่ละพจน์เป็นจานวน
เต็ม ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงการแยกตัวประกอบของพหุนามที่เป็นผลบวกของกาลังสามและผลต่างของกาลังสาม
และตัวประกอบที่ได้มาเป็นพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์ของแต่ละพจน์เป็นจานวนเต็ม
พิจารณาผลคูณของพหุนามในแต่ละข้อต่อไปนี้
(x + 3)(x2 - 3x + 9) = x3 - 3x2 + 9x + 3x2 – 9x + 27
= x3 + 27
= x3 + 32
(x + 3)(x2 - 3x + 9) = x3 + 3x2 + 9x - 3x2 – 9x - 27
= x3 - 27
= x3 - 32
เรียกพหุนามเช่น x3 + 32 ว่า ผลบวกของกาลังสาม ( sum of cubes)
เรียกพหุนามเช่น x3 - 32 ว่า ผลต่างของกาลังสาม ( difference of cubes)
โดยสมบัติสามาตรสามารถเขียนแสดงการแยกตัวประกอบของ x3 + 32 และ x3 – 32 ได้ดังนี้
x3 + 32 = (x + 3)(x2 - 3x + 9)
= (x + 3)(x2 - 3x + 32)
x3 + 32 = (x - 3)(x2 + 3x + 9)
= (x - 3)(x2 + 3x + 32)
โดยทั่วไปการแยกตัวประกอบของพหุนามที่เป็นผลบวกของกาลังสามและผลต่างของกาลังสามทาได้
ตามสูตรดังนี้

สาระสาคั
ญ กาหนดให้ A และ B เป็นพหุนาม
3 3 2 2
A + B = (A + B) (A - AB+ B )
A3 - B3 = (A - B) (A2 + AB+ B2)

ครูปาล์ม พิมพ์วรีย์
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง 3

นักเรียนอาจใช้การคูณพหุนามเพื่อตรวจสอบการแยกตัวประกอบของพหุนามที่เป็นผลบวกของกาลัง
สามและผลต่างของกาลังสาม ดังนี้

(A + B) (A2 - AB+ B2) = (A)(A2) – (A)(AB) + (A)(B2)


+ (B)(A2) – (B)(AB) + (B)(B2)
= A3 - A2B + AB2 + A2B - AB2 + B3
= A3 + B3

(A - B) (A2 + AB+ B2) = (A)(A2) + (A)(AB) + (A)(B2)


- (B)(A2) – (B)(AB) - (B)(B2)
= A3 + A2B + AB2 - A2B - AB2 - B3
= A3 - B3
นอกจากนี้นักเรียนสามารถแสดงการแยกตัวประกอบของพหุนามที่เป็นผลบวกของกาลังสามและ
ผลต่างของกาลังสามได้ โดยพิจารณาจากการหาปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบขึ้นจากทรง
สี่เหลี่ยมมุมฉากได้ดังกิจกรรมต่อไปนี้

กิจกรรมที่ 1 พหุนามที่เป็นผลบวกของกาลังสาม
1) กาหนดรูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบขึ้นจากลูกบาศก์ A และลูกบาศก์ B ที่มีความยาวด้าน
a หน่วย และ b หน่วย ตามลาดับ ดังรูปที่ 1

ครูปาล์ม พิมพ์วรีย์
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง 3

2) พิจารณาการหาปริมาตรของรูปเรขาคณิตดังกล่าวด้วยขั้นตอนต่อไปนี้
ปริมาตรของลูกบาศก์ ขั้นตอนที่ 1 หาปริมาตรของลูกบาศก์ทั้งสองลูกรวมกัน
= ความยาวของด้าน3 จะได้ ปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติรูปที่ 1 = a3 + b3

ขั้นตอนที่ 2 พิจารณาให้รูปด้านล่างนี้เป็นส่วนหนึ่งของทรงสี่เหลี่ยม
มุมฉากรูปใหญ่ จากนั้นนาปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากรูปใหญ่
หักออกด้วยปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากส่วนที่ถูกตัดออกไป
ดังรูปที่ 2

จะได้
ปริมาตรของ
ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติรูปที่ 2
= ความกว้าง × ความยาว = ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากรูปใหม่
× ความสูง - [ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ก
+ ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ข]
= a2(a + b) – [ab(a - b) + b2(a - b)]
= a2(a + b) – [ab(a - b) + bb(a - b)]
= a2(a + b) – b(a - b)(a + b)
= (a + b)[a2 - b(a - b)]
ใช้สมบัติแจกแจง
= (a + b)(a2 - ab + b2)
จัดรูปพหุนาม
จากการหาปริมาตรด้วยขั้นตอนที่ 1 และขั้นตอนที่ 2 จะได้ว่า
a3 - b3 = (a + b)(a2 - ab + b2)

ครูปาล์ม พิมพ์วรีย์
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง 3

กิจกรรมที่ 2 พหุนามที่เป็นผลต่างของกาลังสาม
1) กาหนดลูกบาศก์ A ให้มีความยาวด้าน a หน่วย จากนั้นตัดลูกบาศก์ดัง
กล่าวออกเป็นลูกบาศก์ B ที่มีความยาวด้าน b หน่วย ดังรูปที่ 3

2) พิจารณาการหาปริมาตรของรูปเรขาคณิตดังกล่าวด้วยขั้นตอนต่อไปนี้
ขั้นตอนที่ 1 หาผลต่างของปริมาตรของลูกบาศก์ทั้งสามลูก
จะได้ ปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติรูปที่ 3 = a3 - b3

ขั้นตอนที่ 2 แบ่งรูปเรขาคณิตสามมิติออกเป็นทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากสามรูป
ดังรูปที่ 4

จะได้
ปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติรูปที่ 4
= ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ก
+ [ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ข
+ ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ค
= a2(a - b) + ab(a - b) + b2(a - b)
ใช้สมบัติแจกแจง = (a - b)(a2 + ab + b2)
จัดรูปพหุนาม
จากการหาปริมาตรด้วยขั้นตอนที่ 1 และขั้นตอนที่ 2 จะได้ว่า
a3 - b3 = (a - b)(a2 + ab + b2)

ครูปาล์ม พิมพ์วรีย์
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง 3

ตัวอย่างที่ 6
จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้
1) x3 + 64
2) 27x3 + 1
3) 125x3 + (x - 1)3
4) (2x - 4)3 + (x + 1)3
วิธีทา 1) x3 + 64 = x3 + 43
= (x + 4)[x2 - 4(x) + 42]
= (x + 4)(x2 - 4(x) + 16)
ดังนั้น x3 + 64 = (x + 4)(x2 - 4(x) + 16) ตอบ
2) 27x3 + 1 = (3x)3 + 13
A = 3x, B = 1 = (3x + 1)[(3x)2 - 3(x) + 12]
= (3x + 1)(9x2 - 3(x) + 1)
ดังนั้น 27x3 + 1 = (3x + 1)(9x2 - 3(x) + 1) ตอบ
3) 125x3 + (x - 1)3 = (5x)3 + (x - 1)3
= [5x + (x -1)][(5x)2 – (5x)(x - 1) + (x - 1)2]
กาลังสองสมบูรณ์ = (6x - 1)(25x2 – 5x2 + 5x + x2 – 2x + 1)
(A + B)2 = A2 + 2AB + B2 = (6x - 1)(21x2 + 3x + 1)
(A - B)2 = A2 - 2AB + B2 ดังนั้น 125x3 + (x - 1)3 = (3x + 1)(9x2 - 3(x) + 1) ตอบ
4) (2x - 4)3 + (x + 1)3
= [(2x – 4) + (x +1)][(2x - 4)2 – (2x - 4)(x + 1) + (x + 1)2]
= (2x – 4 + x + 1)[(4x2 – 16x + 16) – (2x2 – 2x - 4) + (x2 + 2x + 1)
= (3x – 3)(4x2 – 16x + 16 – 2x2 + 2x + 4 + x2 + 2x + 1)
= (3x – 3)(3x2 – 12x + 21)
= 9(x – 1)(x2 – 4x + 7)
ดังนั้น (2x - 4)3 + (x + 1)3 = 9(x – 1)(x2 – 4x + 7) ตอบ
ลองทาดู
จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้
1) x3 + 8
2) 64x3 + 1
3) 216x3 + (x + 5)3
4) (3x - 2)3 + (x - 4)3

ครูปาล์ม พิมพ์วรีย์
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง 3

ตัวอย่างที่ 7
จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้
1) x3 - 125
2) 8x3 - 1
3) 64x3 - (x + 3)3
4) (x - 1)3 - (2x + 3)3
วิธีทา 1) x3 - 125 = x3 - 125
= (x - 5)[x2 + (5)x + 52]
= (x - 5)(x2 – 5x + 25)
ดังนั้น x3 - 125 = (x - 5)(x2 – 5x + 25) ตอบ
2) 8x3 - 1 = (2x)3 - 13
= (2x - 1)[(2x)2 + (2x)(1) + 12]
= (2x - 1)(4x2 + 2x + 1)
ดังนั้น 8x3 - 1 = (2x - 1)(4x2 + 2x + 1) ตอบ
3) 64x3 - (x + 3)3 = (4x)3 + (x + 3)3
= [4x - (x + 3)][(4x)2 + (4x)(x + 3) + (x + 3)2]
= (3x - 3)(16x2 + 4x2 + 12x + x2 + 6x + 9)
= (3x - 3)(21x2 + 18x + 9)
= 9(x - 1)(7x2 + 6x + 3)
ดังนั้น 64x3 - (x + 3)3 = 9(x - 1)(7x2 + 6x + 3) ตอบ
4) (x - 1)3 - (2x + 3)3
= [(x – 1) - (2x + 3)][(x - 1)2 + (x - 1)(2x + 3) + (2x + 3)2]
= (x – 1 - 2x - 3)[(x2 – 2x + 1) + (2x2 + x - 3) + (4x2 + 12x + 9)
= (-x – 4)(x2 – 2x + 1 + 2x2 + x - 3 + 4x2 + 12x + 9)
= (-x – 4)(7x2 + 11x + 7)
= -(x + 4)(7x2 + 11x + 7)
ดังนั้น (x - 1)3 - (2x + 3)3 = -(x + 4)(7x2 + 11x + 7) ตอบ

ลองทาดู
จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้
1) x3 – 27 3) 8x3 - (x + 7)3
2) 1000x3 – 1 4) (3x + 1)3 - (x - 2)3

ครูปาล์ม พิมพ์วรีย์
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง 3

สรุป
ความรู ้ ผลบวกของกาลังสาม
3 หน้า + หลัง3 = (หน้า + หลัง) (หน้า2 – (หน้า)(หลัง)+ หลัง2)

ผลต่างของกาลังสาม
หน้า3 - หลัง3 = (หน้า - หลัง) (หน้า2 + (หน้า)(หลัง)+ หลัง2)

แบบฝึ ก
ทั(*)ก
1.
3
ษะ
จงแยกตั ว2
ประกอบของพหุนามต่อไปนี้
3
1) x + 1 6) x - 1
2) y3 + 27 7) z3 - 8
3) 8x3 + 1 8) 27x3 - 1
4) 125d3 + 1 9) 343x3 - 1
5) 216x3 + 64 10) 64x3 - 729

2. (**) จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้
1) x3 + (2x - 1)3 4) x3 - (x - 2)3
2) (2x)2 + (3x + 4)3 5) (3x)3 – (2x + 1)3
3) (x – 3)3 + y3 6) (x + 1)3 + y3

3. (***) จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้
1) (x + 2)3 + (5x + 2)3 3) (6x + 5)3 – (x - 1)3
2) (3x - 4)3 + (y + 2)3 4) (2x - 1)3 – (3y - 7)3

ครูปาล์ม พิมพ์วรีย์
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง 3

3. การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองบางรูป
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสองบางรูป บางครั้งอาจทาได้
โดยการจัดให้อยู่ในรูปผลต่างของกาลังสอง กาลังสองสมบูรณ์ และผลบวกของกาลังสาม
หรือผลต่างของกาลังสาม จากนั้นนาความรู้ที่ได้เรียนมาแล้วใช้ในการแยกตัวประกอบ
ต่อได้ ในที่นี้จะพิจารณาการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองบางรูปที่มี
สัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็ม
ตัวอย่างที่ 8 จงแยกตัวประกอบของ 81x4 – 16
วิธีทา 81x4 – 16 = (9x 2)2 – 42
= (9x2 + 4)(9x2 – 4
จัดให้อยู่ในรูป = (9x2 + 4)[(3x)2 – 22]
ผลต่างของกาลังสอง = (9x2 + 4)(3x + 2)(3x - 2)
= (3x + 2)(3x - 2)(9x2 + 4)
ดังนั้น 81x4 – 16 = (3x + 2)(3x - 2)(9x2 + 4) ตอบ
ลองทาดู
จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้
1) x4 – 16 2) 625x3 - 81

ตัวอย่างที่ 9 จงแยกตัวประกอบของ x4 + 3x2 + 4


วิธีทา x4 + 3x2 + 4 = (x 2)2 + 3x2 + 22
= [(x2)2 + (2)(2)x2 + 22] + 3x2 – (2)(2)x2
= (x2 + 2)2 + 3x2 – 4x2
= (x2 + 2)2 - x2
= [(x2 + 2) + x][(x2 + 2) – x]
= (x2 + x + 2)(x2 - x + 2)
ดังนั้น x4 + 3x2 + 4 = (x2 + x + 2)(x2 - x + 2) ตอบ

จากตัวอย่างที่ 9 จะเห็นว่าไม่สามารถแยกตัวประกอบของพหุนาม
(x2 + x + 2) และ (x2 - x + 2) ด้วยวิธีการที่ผ่านมาได้ จึงหยุดการ
แยกตัวประกอบเอาไว้เท่านี้

ครูปาล์ม พิมพ์วรีย์

You might also like