You are on page 1of 106

วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนต้ น

• ยุควรรณคดีอยุธยา สามารถแบ่งเป็ น 3 ตอน


วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนต้ น เริ่ มตั้งแต่สมัยพระรามาธิ บดีที่ 1
(พระเจ้าอู่ทอง) ไปจนถึงพระอาทิตยวงศ์ (พ.ศ. 1893-2172) ยุคสาคัญ
ของวรรณคดี คือ สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและสมเด็จพระเจ้า
ทรงธรรม
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง ตั้งแต่สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง
จนถึงสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (พ.ศ. 2172-2231) ซึ่ งในช่วงนี้
ยุคทองของวรรณคดีคือสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
วรรณคดีอยุธยาตอนปลาย ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเพทราชา จนถึง
สมเด็จพระเจ้าเอกทัศ (พ.ศ. 2231-2310) วรรณคดีรุ่งเรื องมากในสมัย
สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั บรมโกศ
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนต้ น
• สภาพเหตุการณ์ บ้านเมือง
ช่วง พ.ศ. 1893-2172 มีปัจจัยที่มีผลต่อวรรณคดีคือ การแผ่ขยาย
อาณาเขต การแย่งชิงราชสมบัติ และการตกเป็ นประเทศราช ทาให้
วรรณคดีไทยที่สืบทอดต่อมามีไม่มากนัก
• ลักษณะคาประพันธ์ ที่นิยมแต่งในช่วงอยุธยาตอนต้นคือ
โคลงและร่ าย
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนต้ น
• เนือ้ หา ประกอบไปด้วยเรื่ องราว ดังนี้
เกีย่ วกับศาสนา เช่น มหาชาติคาหลวง กาพย์มหาชาติ
เกีย่ วกับสดุดพี ระมหากษัตริย์ เล่าเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
เช่น ลิลิตยวนพ่าย
เกีย่ วกับนิทาน เช่น ลิลิตพระลอ
เกีย่ วกับพิธีกรรม เช่น ลิลิตโองการแช่งน้ า
เกีย่ วกับอารมณ์ และความรู้ สึกของกวี เช่น โคลงกาสรวล
โคลงทวาทศมาส
ลิลติ โองการแช่ งนา้

ผู้แต่ ง: ตามหลักฐานไม่ปรากฏนามผูแ้ ต่ง แต่มีการสันนิษฐานกัน


น่ าจะเป็ นพราหมณ์ ผ้ ูรอบรู้ และเป็ นผู้ประกอบพิธีถอื นา้ พระพิพฒ
ั น์ สัตยา
วรรณคดีเรื่ องนี้เป็ นวรรณคดีที่ใช้ในพิธีกรรม ผู้ร้ ู ส่วนใหญ่ สันนิษฐาน
ว่ าแต่ งในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (อู่ทอง)
เนื่องจากพระเจ้าแผ่นดินต้องการให้ไพร่ ฟ้าข้าแผ่นดินจงรักภักดีจึง
จาเป็ นต้องมีพิธีถือน้ าและมีคาแช่งน้ า
ลิลติ โองการแช่ งนา้

ทานองแต่ ง: แต่ งเป็ นลิลติ กล่าวคือ มีร่ายโบราณ ต่อด้วยโคลงห้า


หรื อโคลงมณฑกคติ
วัตถุประสงค์ ในการแต่ ง: เพือ่ ใช้ ในพิธีถือนา้ พระพิพฒ
ั น์ สัตยา
(สาบาน) ซึ่งเป็ นพิธีที่ให้เหล่าเสนา ข้าราชการแสดงและสาบานตนว่า
จะจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริ ย ์
เนือ้ หาลิลติ โองการแช่ งนา้

- เนื้อหาเริ่ มแรกเป็ นการกล่าวสรรเสริ ญเทพเจ้าพราหมณ์ คือ พระ


นารายณ์ พระอิศวร และพระพรหม อันแสดงถึงอิทธิพลของศาสนา
พราหมณ์ที่ปนเข้ามากับความเชื่อทางพุทธและทางภูตผี
ตัวอย่ างการสรรเสริญพระนารายณ์ หรือพระวิษณุ
“โอมสิ ทธิสรวงศรแกล้ ว แผ้ วมฤตยู เอางูเป็ นแท่ น แกว่ นกลืน
ฟ้ากลืนดิน บินเอาครุ ฑมาขี่ สี่ มือถือสั งข์ จกั รคธาธรณี ภีรุอวตาร
อสู รแลงลาญทัก ททัคนิจรนายฯ (แทงพระแสงศรปลัยวาต)”
• ถอดคาประพันธ์
โอม ขอความสาเร็ จจงมีดว้ ยอานุภาพของพระนารายณ์ ผูท้ รง
สิ ริและแกล้วกล้า ซึ่งสถิตในสรวงสวรรค์ พระผูพ้ น้ จากความตาย
ประทับเหนืออาสนะ คือ งู ทรงมีอานาจครอบงาทั้งฟ้ าทั้งดิน ทรง
ครุฑเป็ นพาหนะ พระกรทั้งสี่ ถอื อาวุธสี่ อย่ าง คือ สั งข์ จักร คทา
และธรณี (คือดอกบัว) ทรงแบ่งภาคมาเกิดเป็ นผูท้ ี่น่ากลัวเพื่อปราบ
อสูร และทรงใช้สายฟ้ าทาให้อสูรแหลกลาญ
เนือ้ หาลิลติ โองการแช่ งนา้

- ต่อไปกล่าวถึงเมื่อโลกหมดอายุสิ้นกัปกัลป์ ก็จะมีไฟมาไหม้
เผาโลกให้หมดสิ้ นไป
ตัวอย่ าง
นานาอเนกน้ าวเดิมกัลป์ จักร่าจักราพาฬเมื่อไหม้
กล่ าวถึงตระวันเจ็ดอันพลุ่ง นา้ แล้ งไข้ ขอดหาย
เจ็ดปลามันพุ่งหล้ าเป็ นไฟ วาบจตุราบายแผ่ นขวา้
ชักไตรตรึงษ์ เป็ นเผ้ า แลบลา้ สี ทอง
• ถอดคาประพันธ์
เท้าความย้อนไปถึงยุคเดิมที่ผา่ นมามากมายหลายยุค จะ
กล่าวถึงเมื่อจักรวาลถูกไฟไหม้ กล่าวถึง ดวงอาทิตย์ เจ็ดดวง ขึ้นมา
ในท้องฟ้ า (หรื อดวงอาทิตย์เจ็ดดวงทาให้น้ าเดือด) น้ างวดแห้ง
หายไป
นา้ มันของปลาเจ็ดตัวพุ่งขึน้ ทาให้โลกลุกเป็ นไฟ ไฟไหม้
อบายภูมิท้ งั สี่ พินาศไป ทาให้สวรรค์ช้ นั ดาวดึงส์ กลายเป็ นเถ้าถ่าน
เนือ้ หาลิลติ โองการแช่ งนา้

- พระพรหมจะสร้ างโลกขึน้ ใหม่ แทนโลกเก่า สิ่ งมีชีวติ อย่ าง


มนุษย์ เกิดขึน้ มา เกิดดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ มีวนั เดือน ปี ตามมา
มีพระราชา
- เนือ้ หาในตอนนีม้ ีที่มาจากอัคคัญญสู ตร ซึ่งอธิบายกาเนิดของ
คนและประมุขของปวงชนไว้วา่ มาจากพรหมทั้งหลายที่จุติบน
พื้นดินแล้วบริ โภคดิน จึงเกิดตัณหาเสื่ อมจากญาณ มีผวิ พรรณ
หยาบบ้าง ผิวดีบา้ ง เกิดการดูถูกกันจนดินที่บริ โภคดับสู ญ
เนือ้ หาลิลติ โองการแช่ งนา้

- เกิดเป็ นข้ าวสาลีทไี่ ม่ มีเปลือก พรหมจึงต้ องบริโภคข้ าวสาลี


แทน จึงเกิดการขับถ่ายและเกิดเพศตามชาติกาเนิด
- ต่ อมาพรหมซึ่งกลายเป็ นมนุษย์ แล้ ว ไปเก็บข้าวสาลีมาสะสม
ไว้มาก ๆ ทาให้ขา้ วสาลีเม็ดลีบเล็กลง มีเปลือกหุม้
- มนุษย์ เหล่ านั้นมีการแบ่ งเขตแดนขึน้ มีการลักข้าวของกัน
- ในทีส่ ุ ดก็เลือกคนทีม่ ีปัญญา แข็งแรง รู ปงามกว่ าคนทั้งหลาย
ขึน้ เป็ นหัวหน้ า หรือเป็ นกษัตริย์
• ตัวอย่ าง
จึ่งเจ้ าตั้งผาเผือกผาเยอ ผาหอมหวานจึ่งขึน้
หอมอายดินเลอก่ อน สรดืน้ หมู่แมนมา
ตนเขาเรืองร่ อนหล้ าเลอหาว หาวันคืนไปได้
จ้ าวชิมดินแสงหล่ น เพียงดับไต้ มดื มูล
ว่ นว่ นตาขอเรือง เป็ นพระสู รย์ ส่องหล้ า
เป็ นเดือนดาวเมืองฉ่า เห็นฟ้าเห็นแผ่ นดิน
แลมีคา่ มีวนั กินสาลีเปลือกปล้ อน
บมีผู้ต้อนแต่ งบรรณา เลือกผู้ยงิ่ ยศเปนราชาอะคร้ าว
เรียกนามสมมติราชเจ้ า จึ่งตั้งท้ าวเจ้ าแผ่ นดิน
เนือ้ หาลิลติ โองการแช่ งนา้

- อัญเชิญสิ่ งศักดิ์สิทธิ์มาเป็ นพยานและช่วยลงโทษผูท้ รยศในพิธี


ถือน้ า ดังนี้
- มีการอัญเชิญพระกรรมบดีปู่เจ้ าซึ่งเป็ นเทพในศาสนาพราหมณ์มา
เป็ นประธานในพิธี
- อาราธนาพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ มาร่ วมในพิธี
- เชื้อเชิญเทวดา อสู ร ผี ไปจนถึงสั ตว์ มาร่ วมพิธี แล้วให้ร่วมกันเป็ น
พยานในการลงโทษคนทรยศหักหลังทาการกบฏต่อพระมหากษัตริ ย ์
เนือ้ หาลิลติ โองการแช่ งนา้

- การลงโทษเป็ นการลงโทษทางใจ บางครั้งก็เป็ นเรื่องเหนือจริง เช่น


ให้ นา้ ตัดคอ ถูกพระยมนาตัวไปลงนรก
ให้ได้รับอันตรายจากสัตว์ร้าย เช่น ให้ แร้ งกาเจาะพุง ให้ หมี เสื อกัด
- ส่ วนผูซ้ ื่อสัตย์จะได้รับผลตอบแทนโดยสิ่ งศักดิ์สิทธิ์บนั ดาลให้
เช่น มีอายุยนื มีจิตใจกล้ าหาญ ไม่ มีอนั ตรายมาแผ้ วพาน
- และยังได้รับรางวัลจากกษัตริ ย ์ เช่น ทรัพย์ สมบัติ ยศศักดิ์ ชื่อเสี ยง
ผู้หญิง
ตัวอย่ างคาสาปแช่ งในลิลติ โองการแช่ งนา้

ดีร้ายบอกคนจา ผีพรายผีชรหมื่นดาช่วยดู
การู คลื่นเป็ นเปลว บซื่อน้ าตัดคอ
ตัดคอเร็ วให้ขาด บซื่ อมล้างออเอาใส่ เล้า
บซื่อน้ าหยาดท้องเป็ นรุ ้ง บซื่อแร้งหาเต้าแตกตา
เจาะพุงใบแบ่ง บซื่ อหมาหมีเสื อเข่นเขี้ยว
เขี้ยวชาชแวงยายี ยมราชเกี้ยวตาตาวช่วยดู
ตัวอย่ างคาสาปแช่ งในลิลติ โองการแช่ งนา้

• จงเทพยุดา ฝูงนี้ ให้ตาย ในสามวัน อย่าให้ทนั ในสามเดื อน อย่าให้


เคลื่อนในสามปี อย่าให้มีสุขสวัสดีเมื่อใด อย่ากินเข้าเพื่อไฟจนตาย
จงไปเป็ นเปลวปล่อง อย่าอาศัยแก่น้ าจนตาย
น้ าคลองกลอกเป็ นพิษ นอนเรื อนคารนคาจนตาย
จระเข้ริบเสื อฟัด หมีแรดถวัดแสนงขนาย หอกปื นปลายปักครอบ
ใครต้องจอบจงตาย งูเงี้ยวพิษทั้งหลายลุม้ ฟ้ า ตายต่าหน้ายังดิน
**ถวัด=ตวัด แสนง= เสนง หรือเขาสั ตว์ ขนาย=งาช้ างพัง
ตัวอย่ างคาสรรเสริญในลิลติ โองการแช่ งนา้

มิ่งเมืองบุญศักดิแพร่ ใครซื่อใครรางควายทอง
เพิม่ ช้างม้าแผ่ววั ควาย ใครซื่อฟ้ าสองย้าวเร่ งยิน
เพรงรัตนพรายพรรณยืน่ ใครซื่อสิ นเภตรา
เพิ่มเขาหมื่นมหาไชย ใครซื่อใครรักเจ้าจงยศ
กลืนชนมาให้ยนื ยิง่ เทพายศล่มฟ้ า
อย่ารู้วา่ อันตราย ได้ใจกล้าดังเพชร
คุณค่ าของลิลติ โองการแช่ งนา้

1. ในด้ านอักษรศาสตร์ ถือเป็ นลิลิตเรื่ องแรกในวรรณคดีไทย ผูแ้ ต่ง


สามารถใช้ถอ้ ยคาและสร้างเนื้อหาให้กระทบอารมณ์และความรู ้สึก
กลัวเกรง ไม่กล้ากระทาผิดสัตย์สาบานได้
2. ในด้ านวัฒนธรรม แสดงถึงอิทธิ พลของวัฒนธรรมอินเดียที่มีต่อ
สังคมไทยอย่างมากมาย
3. ในด้ านการปกครอง ลิลิตโองการแช่งน้ าถือเป็ นเครื่ องมือในการ
ปกครอง ซึ่ งผูเ้ ข้าร่ วมพิธียอ่ มแสดงถึงความจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริ ย ์
และแสดงถึงความสามัคคีของคนในชาติ
ลิลติ ยวนพ่าย
ลิลติ ยวนพ่าย
- คาว่า “ยวน” ก็คือ ไทยล้านนา หรื อเชียงใหม่
- คาว่า “พ่าย” ก็คือ แพ้
วรรณคดีเรื่ องนี้เป็ นวรรคดีสดุดีวรี กรรม เป็ นการยอพระเกียรติ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถที่ทาศึกได้ชยั ชนะต่อพระเจ้าติโลกราช
เจ้าเมืองเชียงใหม่
ลิลติ ยวนพ่าย
ผู้แต่ ง: ไม่ปรากฏนาม สันนิษฐานว่าแต่งในรัชสมัยสมเด็จพระ
รามาธิบดีที่ 2 และผูแ้ ต่งคนเป็ นกวีคนสาคัญในราชสานักที่
เชี่ยวชาญด้านภาษา ขนบธรรมเนียม พงศาวดารอย่างลึกซึ้ง
ทานองแต่ ง: ลิลิตดั้น กล่าวคือเป็ นร่ ายดั้นและโคลงดั้น
บาทกุญชร
วัตถุประสงค์ : เพื่อยอพระเกียรติพระมหากษัตริ ย ์
ลิลติ ยวนพ่าย
เนือ้ หา:
- เนือ้ หาเบือ้ งต้ นเป็ นการไหว้ ครู จากนั้นก็เป็ นการพรรณนาพระ
เกียรติคุณของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
- การกล่าวถึงว่าพระองค์ ประสู ติที่ท่ ุงพระอุทยั ระหว่างที่พระราช
มารดาไปส่ งเสด็จพระราชบิดา คือ สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2
ที่ยกทัพไปรบเขมร การรบกับเขมรครั้งนั้นปรากฏว่าได้ชยั ชนะ
- เมื่อสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 เสด็จสวรรคตสมเด็จพระบรม
ไตรโลกนาถก็ได้ครองราชสมบัติ
- วันหนึ่งพระยายุทธิษฐิ ระเจ้ าเมืองเชลียงหรือพิษณุโลกคิดทรยศ
ไปเข้ ากับพระเจ้ าติโลกราชเจ้ าเมืองเชียงใหม่
- สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถจึงยกทัพไปปราบปรามจนราบคาบ
แล้วเสด็จไปประทับอยูท่ ี่เมืองพิษณุโลก ระหว่างนั้น พระองค์ได้ทรง
หาเวลาเพื่อทานุบารุ งพระพุทธศาสนาให้รุ่งเรื อง ได้ส่งพระราชโอรส
ไปนิมนต์พระลังกามา แล้วพระองค์ได้ออกผนวชเป็ นพระภิกษุครั้ง
หนึ่ง
- ต่อมาพระเจ้ าติโลกราชเจ้ าเมืองเชียงใหม่ ทรงพระวิกลจริต
หวาดระแวงว่าหนานบุญเรืองพระราชโอรสว่าคิดกบฏ จึงรับสัง่ ให้
จับไปฆ่าเสี ย
- พระเจ้าติโลกราชยังรับสัง่ ให้หมื่นด้ งนครที่พระองค์ให้
ไปครองเมืองเชียงชื่น กลับมาเชียงใหม่แล้วให้จบั ประหารชีวติ เสี ยด้วย
- นางเมืองภริยาของหมื่นด้ งนครมาขอความช่ วยเหลือจากกรุ งศรี
อยุธยา
- สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถจึงยกทัพไปช่ วย แต่พนั โนราชแห่ง
เชียงชื่นรี บไปบอกทางเชียงใหม่รู้ตวั เสี ยก่อน
- เชียงใหม่ จงึ ยกทัพมายึดเมืองเชียงชื่นไว้ ได้ เมื่อกองทัพกรุ งศรี
อยุธยาไปถึงจึงต่อสู้กนั สุ ดท้ายชัยชนะตกเป็ นของกรุ งศรี อยุธยา
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถได้รับชัยชนะ
- เรื่องราวตอนท้ าย เป็ นการกล่ าวสรรเสริญพระเกียรติสมเด็จพระ
บรมไตรโลกนาถ
ตัวอย่ างลิลติ ยวนพ่าย
• ผูแ้ ต่งสรรเสริ ญสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถว่าทรงรู ้รอบด้าน
ตั้งแต่ระบบเบียบการปกครองในสมัยโบราณ ตลอดจนกิจการ
งานหนังสื อทั้งหมด และยังทรงประพฤติธรรม
รบินรบยบท้ าว เบาราณ
รบอบระบับยล ยิง่ ผู้
รบยนรบิการย เกลากาพย ก็ดี
ราบอดรบัดรู้ รอบสรรพ์
การบุญการบาปแท้ ทุกการ
การท่ ยงธรรมาธรรม์ ถ่ องถ้ วน
ล่ วงบาลรบาลบร ทุกเทศ ก็ดี
ล่ วงโทษล่ วงคุณล้ วน เลิศราม
* บาล = ปกครอง, เลีย้ งดู
ตัวอย่ างลิลติ ยวนพ่าย
• สรรเสริ ญพระบรมไตรโลกนาถในด้านการปกครองว่า ทรงรู ้จกั
ผูอ้ ยูใ่ นความดูแลของพระองค์วา่ ผูใ้ ดซื่อ ผูใ้ ดคิดคด
ใครคดใครซื่อร้ าน ดีใด ก็ดี
ใครใคร่ ครองตนบยฬ ท่ านม้ วย
ซื่อนึกแต่ ในใจ จงซ่ อน ก็ดี
พระอาจล่ วงรู้ ด้วย ดุจหมาย
ตัวอย่ างลิลติ ยวนพ่าย
• สรรเสริ ญพระปรี ชาสามารถในการจัดทัพและกลยุทธ์ในการสงครามของ
พระบรมไตรโลกนาถ
ลวงหาญหาญกว่าผู ้ หาญเหลือ ว่านา
ริ ยงิ่ ริ คนริ ยิง่ ผู ้
ลวงกลใส่ กลเหนือ กลแกว่น กลแฮ
รู ้ยงิ่ รู ้กว่ารู ้ เรื่ องกล
เชองโหรเหนแม่นแม้น มุนิวงศ
สบศาสตราคมยล ล่งล่วน
สบศิลปสาแดงทรง ทายาท ไส้แฮ
สบสิ พาคมถ้วน ถี่แถลง
คุณค่ าของลิลติ ยวนพ่าย
1. ในด้ านอิทธิพลต่ อวรรณคดีร่ ุนหลัง ลิลิตยวนพ่ายมีอิทธิ พลต่อ
นักกวีรุ่นหลัง จะเห็นได้จากลิลติ ตะเลงพ่าย ที่ประพันธ์โดยสมเด็จ
กรมพระปรมานุชิตชิโนรส
2. ในด้ านอักษรศาตร์ ลิลิตยวนพ่ายนับเป็ นวรรณคดียอพระเกียรติ
เล่ มแรก
คุณค่ าของลิลติ ยวนพ่าย

3. ในด้ านวิถีชีวติ ได้แสดงถึงชีวติ ความเป็ นอยูข่ องผูค้ นในสมัย


อยุธยาว่านิยมยกย่องพระมหากษัตริ ยข์ องตนและจงรักภักดียงิ่ นัก
4. ในด้ านประวัติศาสตร์ ได้รู้ถึงการทาสงครามระหว่าง
พระมหากษัตริ ยต์ ่างเมืองกัน การรบซึ่งใช้ชา้ งและม้าเป็ นพาหนะ
และอาวุธ
มหาชาติคาหลวง
• คาว่า “มหาชาติ” หมายถึง การเกิดครั้งยิง่ ใหญ่ของพระโพธิ์สตั ว์
• หมายความว่า ในพระชาติสุดท้ ายที่เสวยพระชาติเป็ นพระเวสสั นดร
ได้ ทรงบาเพ็ญบารมีครบถ้ วนทุกประการ ก่ อนจะได้ เป็ นพระพุทธเจ้ า
• คาว่า “คาหลวง” วรรณคดีที่เป็ น “วรรณคดีคาหลวง” มีเพียง 4 เรื่ อง
- มหาชาติคาหลวง - นันโทปนันทสูตรคาหลวง
- พระมาลัยคาหลวง - พระนลคาหลวง
• จากวรรณคดีท้ งั 4 เรื่ อง พอจะอนุมานได้วา่ วรรณคดีคาหลวงมี
ลักษณะ ดังนี้
1. เป็ นวรรณคดีที่พระมหากษัตริ ย์หรื อเชื้อพระวงศ์ จัดให้ มีขึน้
จะโดยทรงนิพนธ์เอง หรื อทรงเป็ นพระธุระให้ผอู ้ ื่นนิพนธ์ข้ ึนก็ได้
2. เนือ้ เรื่องต้ องเป็ นเรื่องที่ศักดิ์สิทธิ์ หรื อเป็ นเรื่ องสาคัญทางศาสนา
หรื อศีลธรรม
3. คาประพันธ์ ที่ ใช้ ค่ อนข้ างหลากหลายมี ท้ งั โคลง ฉันท์ กาพย์
กลอน และร่ าย
4. คาหลวง อาจหมายความได้วา่ เป็ นฉบับที่ถูกต้ อง ควรยึดถือเป็ น
แบบฉบับได้
มหาชาติคาหลวง

• มหาชาติคาหลวง เป็ นหนังสื อมหาชาติภาษาไทยที่เป็ นคาหลวงเรื่อง


แรกของไทย
• ของเดิมได้หายไปบ้าง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั พระพุทธเลิศหล้า-
นภาลัยรัชกาลที่ 2 ทรงให้แต่งซ่อมจนครบ 13 กัณฑ์
• ที่แต่งเพิ่มเข้ามา มี 6 กัณฑ์ คือ
- กัณฑ์ หิมพานต์ - กัณฑ์ ทานกัณฑ์ - กัณฑ์ จุลพล
- กัณฑ์ มัทรี - กัณฑ์ สักบรรพ - กัณฑ์ ฉกษัตริย์
วรรณคดีที่ใช้ ในการเทศน์ มหาชาติ
• ประเพณี การเทศน์มหาชาติมีมานานแล้ว ในปัจจุบนั นิยมเทศน์
กันอยูท่ ุกภาค มีสานวนแตกต่างกันไปบ้าง แต่ที่เป็ นที่รู้จกั
แพร่ หลาย ดังนี้
• มหาชาติคาหลวง สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถได้โปรดให้
ประชุมนักปราชญ์ราชบัณฑิตแต่งเป็ นภาษาไทย โดยใช้คา
ประพันธ์ท้ งั โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่ าย
วรรณคดีที่ใช้ ในการเทศน์ มหาชาติ
• กาพย์ มหาชาติ สมเด็จพระเจ้าทรงธรรมได้โปรดให้ประชุม
นักปราชญ์ราชบัณฑิตแต่งเป็ นร่ ายยาว ซึ่งมีความยาวมากไม่
สามารถเทศน์ได้จบภายในหนึ่งวัน
• มหาชาติกลอนเทศน์ หรือร่ ายยาวมหาเวสสั นดรชาดก ใช้
คาประพันธ์ประเภทร่ ายยาว ซึ่งรวมสานวนดีของกวีหลายท่าน
จากแหล่งต่างๆจนครบ 13 กัณฑ์ โดยมีจุดมุ่งหมายจะนาไป
เทศน์ให้ประชาชนฟัง
มหาชาติคาหลวง

ผู้แต่ ง: นักปราชญ์ราชบัณฑิตหลายคนช่วยกันแต่ง ตามพระบรม-


ราชโองการของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เมื่อ พ.ศ.2025
ลักษณะคาประพันธ์ : ยกคาถามคธขึ้นมาแล้วแปลเป็ นคาประพันธ์
หลายประเภทในการแต่ง ทั้งโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน และร่ าย
วัตถุประสงค์ ในการแต่ ง: เพื่อใช้สวดให้อุบาสกอุบาสิ กาฟังเวลาไป
อยูบ่ าเพ็ญกุศลที่ในวัด
เนือ้ หา: มหาชาติคาหลวง มีขอ้ ความแบ่งเป็ น 13 ตอน คือ
1. กัณฑ์ ทศพร
• กล่าวถึงพระพุทธเจ้าตรัสรู ้ แล้วเสด็จไปเทศนาโปรดพระเจ้าพิมพิสาร
พระประยูรญาติและพุทธบิดา เกิดฝนโบกขรพรรษ พระสงฆ์สาวก
ทูลอาราธนาให้แสดงเรื่ องมหาเวสสันดรชาดก
• เริ่ มต้นด้วยพระอินทร์ ทรงทราบว่าพระนางผุสดีผเู ้ ป็ นชายาต้องจุติ
จากดาวดึงส์สวรรค์ไปเกิดในโลกมนุษย์ จึงอนุญาตให้พระนางขอพร
ได้ 10 ประการ ดังนี้
1. ขอให้ได้เป็ นอัครมเหสี ของของพระเจ้ากรุ งสญชัยผูค้ รองสี วิรัฐ
2. ขอให้มีพระเนตรดาประดุจตากวางที่มีอายุ 1 ปี
กัณฑ์ ทศพร (ต่ อ)
3. ขอให้มีคิ้วดางาม
4. ขอให้มีชื่อเดิมคือ “ผุสดี”
5. ขอให้หน้าท้องแบนราบเมื่อทรงครรภ์
6. ขอให้มีบุตรชายที่มีชื่อเสี ยงโด่งดังไปทัว่
7. ขอให้มีนมตั้งไม่ยอ้ ย
8. ขอให้มีผมดกดาอยูเ่ สมอ (ไม่มีผมงอกสักเส้น)
9. ขอให้มีผิวงาม
10. ขอให้มีโอกาสช่วยคนจากโทษประหารชีวิต
2. กัณฑ์ หิมพานต์
• พระนางเทพผุสดีได้จุติลงมาเป็ นราชธิดาของพระเจ้ามัททราช เมื่อ
เจริ ญชนม์ได้ 16 ชันษา จึงได้อภิเษกสมรสกับพระเจ้ ากรุงสญชัย
แห่งกรุ งสี วริ ัฐ ต่อมาได้ประสูติพระโอรสนามว่า "เวสสั นดร"
• ในวันที่พระเวสสันดรประสูติน้ นั ได้มีนางช้างตกลูกเป็ นช้างเผือกขาว
บริ สุทธิ์จึงนามาไว้ในโรงช้างต้นคู่บารมีให้นามว่า "ปัจจัยนาค"
• เมื่อพระเวสสั นดรเจริ ญชนม์ ราชบิดาก็ยกราชสมบัติให้ครอบครอง
และทรงอภิเษกกับ “นางมัทรี” มีพระโอรส 1 องค์ชื่อ “ชาลี” ราช
ธิดาชื่อ “กัณหา”
กัณฑ์ หิมพานต์ (ต่ อ)
• พระองค์ได้สร้างโรงทานบริ จาคทานแก่ผเู ้ ข็ญใจ ต่อมาพระเจ้าแห่ง
นครกาลิงครัฐได้ส่งพราหมณ์มาขอพระราชทานช้าง “ปัจจัยนาค”
เพื่อให้ฝนตกในบ้านเมืองที่แห้งแล้ง
• พระเวสสันดรประทานช้างที่เป็ นช้างคู่บา้ นคู่เมืองให้ตามคาขอ ทาให้
ชาวเมืองโกรธแค้นพากันไปทูลความแก่พระเจ้ากรุ งสญชัย
• พระเจ้ากรุ งสญชัยจึงเนรเทศพระเวสสันดรออกจากเมืองไปอยูเ่ ขา
วงกต
ช้ างปัจจัยนาค
3. ทานกัณฑ์
• พระนางผุสดีขอพระราชทานอภัยโทษแก่พระเวสสันดร แต่ไม่เป็ นผล
• ก่อนออกจากเมือง พระเวสสันดรทรงบาเพ็ญสั ตตสดกมหาทาน
- สั ตตะ แปลว่า เจ็ด
- สดก แปลว่า จานวน 100, หมวด 100
การทาทานครั้งใหญ่ โดยให้ สิ่งของ 7 อย่ าง อย่ างละ 700 ได้ แก่
ช้ าง ม้ า รถ สตรี โคนม ทาสชาย และทาสหญิง
• แล้วทรงราชรถออกจากเมืองพร้อมพระนางมัทรี และลูก ระหว่างทางมี
พราหมณ์ขอพระราชทานม้าและรถทรงก็ทรงบริ จาคให้
พราหมณ์ ขอพระราชทานม้ าและรถทรง
4. กัณฑ์ วนประเวศน์
(วน แปลว่ า ป่ า ประเวศน์ แปลว่ า การเข้ าสู่)

• พระเวสสันดรพาครอบครัวมาถึงเมืองเจตราช
• กษัตริย์เจตราชทูลอันเชิญให้พระเวสสันดร
ครองเมืองของพวกตน แต่พระเวสสันดรปฏิเสธ
• กษัตริ ยเ์ จตราชจึงส่ งพระเวสสันดรไปยังเขาวงกต
โดยให้พรานเจตบุตรเป็ นนายด่านรักษาประตูป่า
คอยระวังต้นทางไม่ให้ใครรบกวนได้
• พระอินทร์ สงั่ ให้พระวิษณุกรรมลงมาเนรมิตรที่ประทับให้ทุกคนได้อาศัย
5. กัณฑ์ ชูชก
• พราหมณ์ ชูชกนาเงินที่ได้จากการขอทานไปฝากเพื่อนไว้
• เพื่อนเห็นว่าชูชกหายไปนาน เลยนาเงินออกมาใช้จ่ายหมด
• เมื่อไม่มีเงินคืน เลยยกลูกสาวชื่ออมิตตดาให้เป็ นภรรยาของชูชก
• นางอมิตตดาปรนนิบตั ิชูชกเป็ นอย่างดี ทาให้พราหมณ์ในหมู่บา้ น
มองว่าภรรยาของตนไม่ดี กล่าวตาหนิและทาร้ายภรรยา เพราะชูชกมี
ลักษณะบุรุษโทษ 18 ประการ ไม่น่าจะมีภรรยาดี
ลักษณะบุรุษโทษ 18 ประการของชู ชกคือ
1. เท้าทั้งสองข้างใหญ่และคด
2. เล็บทั้งหมดกุด
3. ปลีน่องทู่ยยู่ าน
4. ริ มฝี ปากบนย้อยทับริ มฝี ปากล่าง
5. นาลายไหลออกเป็ นยางยืดทั้งสองแก้ม
6. เขี้ยวงอกออกพ้นปากเหมือนเขี้ยวหมู
7. จมูกหักฟุบดูน่าชัง
8. ท้องป่ องเป็ นกระเปาะดัง่ หม้อใหญ่
9. สันหลังไหล่หกั ค่อม คด โกง
10. ตาข้างหนึ่งใหญ่ ข้างหนึ่งเล็ก ไม่เสมอกัน
ลักษณะบุรุษโทษ 18 ประการของชู ชก (ต่ อ)
11. หนวดเครามีพรรณดังลวดทองแดง (เส้นแข็ง)
12. ผมโหรง เหลืองดังสี ลาน (สี เหลืองนวล)
13. ตามร่ างกายมีเส้นเอ็นขึ้นทัว่ ไปเห็นได้ชดั เจน
14. มีต่อมแมลงวัน และตกกระดังโรยงา
15. ลูกตาเหลือง เหลือก เหล่
16. ร่ างกายคดค้อมในที่ท้ งั สามคือ คอ หลัง สะเอว
17. เท้าทั้งสองหัน เห ห่างเกะกะ (เท้าโก่ง ไม่เท่ากัน)
18. ขนตามตัวหยาบดังแปลงที่ทาด้วยขนหลังหมูป่า
กัณฑ์ ชูชก (ต่ อ)

• พวกพราหมณี แค้นใจไปด่านางอมิตตดา
• นางอมิตตดาเสี ยใจ ขอให้ชูชกเดินทางไปขอชาลีและกัณหาจาก
พระเวสสันดร
• ชูชกเดินทางไปถึงเขตแดนที่พรานเจตบุตรเฝ้ าอยู่
• ชูชกอ้างว่าตนเป็ นทูตของพระเจ้ากรุ งสญชัย
เพื่อทูลเชิญให้พระเวสสันดรกลับพระนคร
พราหมณ์เจตบุตรหลงเชื่อ
6. กัณฑ์ จุลพน
• พรานเจตบุตรจัดเตรี ยมเสบียงให้ชูชก
• และพรรณนาพรรณไม้ในป่ าหิ มพานต์ให้ชูชกฟังพร้อมทั้งบอก
เส้นทางแก่ชูชก
• ชูชกออกเดินทางไปยังเขาวงกตระหว่างทางได้พบอัจจุตฤาษี
7. กัณฑ์ มหาพน

• ชูชกลวงพระอัจจุตฤๅษีเช่นเดียวกับที่ลวงพรานเจตบุตร
• พระฤๅษีบอกทางไปเขาวงกตแก่ชูชก และพรรณนาหมู่สตั ว์และ
พรรณนาไม้ตามเส้นทางให้ชูชกฟัง
8. กัณฑ์ กมุ าร
• ชูชกเดินทางมาถึงสระน้ าใกล้อาศรมของพระเวสสันดรในตอน
พลบค่า
• แต่รอจนรุ่ งเช้าเพื่อให้นางมัทรี เข้าป่ าไปหาผลไม้ก่อน
• แล้วชูชกจึงเข้าไปทูลขอสองกุมาร พระเวสสันดรจึงไปตรัสเรี ยก
ที่สระโบกขรณี ที่สองกุมารหนีไปซ่อนอยู่ สองกุมารจึงยอม
ขึ้นมา
• พระเวสสันดรประทานให้พร้อมทั้งกาหนดค่าตัวไว้ให้ชูชกรับรู้
9. กัณฑ์ มัทรี
• พระนางมัทรี เดินเข้าไปหาผลไม้ในป่ าลึก
จนคล้อยเย็นจึงเดินทางกลับอาศรม แต่มี
เทวดาแปลงกายเป็ นเสื อนอนขวางทางจนค่า
• เมื่อกลับถึงอาศรมก็ไม่พบชาลีและกัณหา
พระเวสสันดรได้กล่าวว่านางนอกใจ
• นางมัทรี จึงออกเที่ยวหาโอรสและกลับมา
สิ้ นสติต่อเบื้องพระพักตร์ พระองค์ทรงตก
พระทัย ลืมตนว่าเป็ นดาบสจึงทรงเข้าอุม้ พระ
นางมัทรี และทรงกันแสง
กัณฑ์ มัทรี (ต่ อ)
• เมื่อพระนางมัทรี ฟ้ื นจึงถวายบังคมประทานโทษ พระเวสสันดร
จึงบอกความจริ งว่าได้ประทานชาลีและกัณหาแก่ชูชกแล้ว หาก
ชีวติ ไม่สิ้นคงจะได้พบ
• พระนางมัทรี จึงร่ วมอนุโมทนาในปิ ยบุตรทานนั้น
• แสดงให้เห็นว่ากัณฑ์มทั รี เป็ นกัณฑ์ที่พระนางมัทรี ทรงได้ตดั
ความห่วงหาอาลัยในสายเลือด อนุโมทนาทานโอรสทั้งสองแก่
ชูชก
10. กัณฑ์ สักรบรรพ
(สักกะ แปลว่า พระอินทร์, บรรพ แปลว่า กัณฑ์, ตอน)

• พระอินทร์ เกรงว่าพระเวสสันดรจะพระราชทานพระนางมัทรี แก่


ผูท้ ี่มาขออีก
• พระอินทร์จึงแปลงกายเป็ นพราหมณ์มาขอพระราชทานพระนาง
มัทรี จากพระเวสสันดร
• แล้วคืนให้ทาหน้าที่ปรนนิบตั ิพระเวสสันดรต่อ
11. กัณฑ์ มหาราช
• ชูชกพาสองกุมารเดินหลงทางไปที่แคว้นสี วิรัฐ
• พระเจ้ากรุ งสญชัยทอดพระเนตรเห็นชูชกพาสองกุมาร ก็รับสัง่ ให้นา
ตัวเข้าเฝ้ า
• ทรงพระราชทานค่าไถ่คืน และจัดเลี้ยงอาหารให้ ต่อมาชูชกก็ตาย
ด้วยเพราะเดโชธาตุไม่ยอ่ ย
• ชาลีจึงได้ทูลขอพระเจ้าสญชัยพร้อมนาทางให้ไปรับพระบิดาพระ
มารดา นิวตั ิพระนคร ในขณะเดียวกันเจ้านครลิงคะได้โปรดคืนช้าง
ปัจจัยนาคแก่นครสี พี
12. กัณฑ์ ฉกษัตริย์
ฉ [ฉอ, ฉ้ อ, ฉะ] ว. หก, สาหรับประกอบหน้ าศัพท์ อนื่ .

• เจ้ากรุ งสญชัยเดินทางถึงเขาวงกต มีเสี ยงโห่ร้องของทหาร


• พระเวสสันดรทรงคิดว่าเป็ นข้าศึกมารบ พระนางมัทรี ทรง
มองเห็นกองทัพพระราชบิดาจึงได้ตรัสทูลพระเวสสันดร
• เมื่อหกกษัตริ ยท์ รงพบกันเกิดความเศร้าโศกจนหมดสติ
• พระอินทร์บนั ดาลให้ฝนโบกขรพรรษตกลงมา ทาให้กษัตริ ย ์
ทั้ง 6 พระองค์ฟ้ื น
13.นครกัณฑ์

• พระเจ้ากรุ งสญชัยอภิเษกสองกษัตริ ยใ์ ห้ครองพระนคร แล้วเสด็จ


กลับราชธานี
คุณค่ าของมหาชาติคาหลวง
1. ในด้ านอักษรศาสตร์ นับเป็ นหนังสื อที่แต่งดีมาก เพราะผูแ้ ต่ง
ล้วนแต่เป็ นผูม้ ีฝีมือในการประพันธ์ท้ งั นั้น สานวนโวหารจึงไพเราะ
2. ในด้ านประเพณีวฒ ั นธรรม ได้ให้ความรู ้เกี่ยวกับประเพณี
วัฒนธรรมการฟังเทศน์ ซึ่งเชื่อกันว่าใครฟังมหาชาติต้งั แต่ ต้นจนจบ
จะมีอานิสงส์ มากถึงได้ ไปสวรรค์
สิ่ งที่สาคัญก็คอื มหาชาติเวสสั นดรมีอทิ ธิพลต่ อสั งคมไทยมาก
โดยเฉพาะเรื่องการให้ ทาน
กาพย์ มหาชาติ

กาพย์ มหาชาติ
- คาว่า “กาพย์ ” ที่น้ ีหมายถึงคานิพนธ์ ของกวี
- ไม่ ได้ หมายถึงคาประพันธ์ ชนิดกาพย์
- คาประพันธ์ที่ใช้กบั กาพย์ มหาชาติเรื่องนีเ้ ป็ นร่ ายยาว เพราะคาว่า
กาพย์ ในสมัยก่อนนั้นหมายถึงคาร้อยกรองโดยทัว่ ๆไป
ผู้แต่ ง: สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม
กาพย์ มหาชาติ

ทานองแต่ ง: แต่งเป็ นร่ ายยาว มีภาษาบาลีแทรกอยูต่ อน ๆ แปลเป็ น


ไทยแล้วอธิ บายความให้เข้าใจชัดเจนยิง่ กว่ามหาชาติคาหลวง
วัตถุประสงค์ ในการแต่ ง: เพื่อใช้เทศน์ให้อุบาสกอุบาสิ กาฟัง ในงาน
เทศน์มหาชาติ ซึ่ งมีประจาทุกปี โดยปกติจะมีช่วงเดือนสิ บถึงเดือน
สิ บสอง
สาระสาคัญ: เนื้อหาทั้งหมดเหมือนกันกับมหาชาติคาหลวง
วรรณคดี 3 เล่ มทีย่ งั มีข้อถกเถียง
• มีวรรณคดีอกี 3 เล่ ม ที่ยงั มีข้อถกเถียงอย่ างมากว่าแต่งในสมัยใดกันแน่
• เนื่องจากข้อความในวรรณคดีชวนให้ตีความได้หลายประการ
• ประกอบกับข้อมูลในสมัยอยุธยาสู ญหายไปจากการเสี ยกรุ งทั้ง 2 ครั้ง
• วรรณคดี 3 เรื่ องนั้นคือ
- โคลงกาสรวล
- โคลงทวาทศมาส
- โคลงนิราศหริภุญชัย
โคลงกาสรวล
ผู้แต่ งและสมัยทีแ่ ต่ ง:
ยังคงเป็ นที่สงสัยกันอยูแ่ ละมีผสู ้ นั นิษฐานกันว่า เนื้อความใน
เรื่ องมีการเอ่ยชื่อ “ศรี” อยูห่ ลายครั้ง
จึงมีผกู้ ล่าวว่าคือ ศรีปราชญ์ ซึ่งเป็ นกวีคนหนึ่งในสมัยสมเด็จ
พระนารายณ์
โคลงกาสรวล

• นักสันนิษฐานบางคนเห็นว่าภาษาในโคลงกาสรวลนี้เทียบได้กบั
ลิลติ ยานพ่าย ลิลติ พระลอ และยังมีการยกมาอ้างในหนังสื อ
จินดามณี ซึ่งพระโหราธิบดีแต่งในสมัยสมเด็จพระนารายณ์
ดังนั้น โคลงกาสรวล ไม่ น่าจะแต่ งสมัยสมเด็จพระนารายณ์
(สมัยอยุธยาตอนกลาง) จะต้ องมีมาก่ อน
โคลงกาสรวล
ทานองแต่ ง: แต่งเป็ นโคลงดั้นบาทกุญชร บทแรกเป็ นร่ ายดั้น
วัตถุประสงค์ ในการแต่ ง: เพื่อแสดงความอาลัยรักต่อหญิงที่ตนรัก
เพราะผูแ้ ต่งจะต้องจากนาง
เนือ้ หา: เริ่ มต้นด้วยการสดุดีกรุ งศรี อยุธยาว่าเป็ นเมืองที่น่าชม เป็ น
เมืองหลวงอันมีแต่ความรื่ นรมย์ และสวยงามดุจประดับด้วยแก้วเก้า
ประการ
- พระเจ้าแผ่นดินผูเ้ ป็ นใหญ่ ทรงสร้างพระนครศรี อยุธยาด้วย
พระองค์เอง
โคลงกาสรวล

เนือ้ หา: (ต่ อ)


- เป็ นเมืองที่เป็ นที่ต้ งั แห่งพระบวรพุทธศาสนา คับคัง่ ไปด้วย
ประชาชนที่มีสุขล้นกันทัว่ ไป
- ต่อจากนั้นได้กล่าวถึงการพลัดพรากจากนางที่รัก เกิดความ
ห่วงใยเป็ นนักหนาไม่รู้วา่ จะฝากนางไว้กบั ใครดี
- เมื่อเดินมาถึงตาบลต่างๆ ก็เอาชื่อตาบลนั้นๆ มาราพัน
เปรี ยบเทียบความอาลัยรักของตนที่มีต่อนางผูเ้ ป็ นที่รัก
โคลงกาสรวล

ข้ อสั นนิษฐานหนึ่งที่ยงั สงสั ย


- การพร่ าพรรณนาความโศกเศร้า ความคิดถึงที่มีต่อนางในที่น้ ี
คือ “ศรีจุฬาลักษณ์ ” ซึ่งเป็ นตาแหน่งพระสนมเอกที่มีมาตั้งแต่สมัย
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
- การที่กวีกล่าวถึง “ศรี จุฬาลักษณ์” ในเรื่ องอย่างเปิ ดเผยนี้ ผูแ้ ต่ง
จึงไม่น่าจะใช่เพียง “ศรี ปราชญ์” ผูเ้ ป็ นกวีสามัญชนเป็ นแน่ อาจเป็ น
กษัตริ ยห์ รื อเจ้านายชั้นสู ง
ตัวอย่ างโคลงกาสรวล

• เริ่มต้ นเรื่อง กล่ าวชมบ้ านเมืองด้ วย “ร่ าย”


ศรีสิทธิววิ ทิ ธบวร นครควรช
ไกรพรหรงงสรรค สวรรคแต่ งแต้ ม
แย้ มพืน้ แผ่ นพสุ ธา มหาดิลกภพ
นพรัตนราชธานี บูรียรมยเมืองมิ่ง แล้ วแฮ
ราเมศไท้ ท้าวต้ งง แต่ งเอง ฯ
อยุธยายศยิง่ ฟ้า ลงดิน แลฤา
อานาจบุญเพรงพระ ก่ อเกือ้
เจดีย์ลอออินทร ปราสาท
ในทาบทองแล้ วเนือ้ นอกโสรม
• ถอดคาประพันธ์
เกียรติยศแห่งอยุธยานั้นยิง่ กว่าสวรรค์ลอยลงมาสถิตอยูบ่ นดิน
ด้วยอานาจแห่งบูรพกษัตริ ยท์ ุกพระองค์สร้างสมไว้ พระเจดียท์ ุก
องค์งดงามดุจปราสาทของพระอินทร์ ภายในองค์พระเจดียท์ าบด้วย
แผ่นทอง และภายนอกปิ ดทองแลดูอร่ าม
ตัวอย่ างโคลงกาสรวล

• การพรรณนาถึงนางอันเป็ นทีร่ ัก
รฤกชู้ แก้ วเกือ่ น ใจตาย และแม่
รยมร่ างเปนต้ นเลอย น่ าน้ อง
เลือดตายิง่ ฝนราย ราย่ าน
อกพีพ่ ้นฟ้าร้ อง รยกศรี ฯ
• ถอดคาประพันธ์
- การพรรณนาความรักความคิดถึงนางอันเป็ นที่รักของกวี ซึ่ง
กวีมีความทุกข์มากจนไม่รู้สึกตัวตนว่าเป็ นอย่างไร
- เฝ้ าแต่ร้องไห้จนน้ าตาตกเป็ นเลือดที่หลัง่ มาดังเม็ดฝน และ
เสี ยงร้องคร่ าครวญถึงนางในอกก็ดงั กว่าฟ้ าร้องเสี ยอีก
ตัวอย่ างโคลงกาสรวล

• การใช้ กลวิธีทนี่ าชื่อสถานที่ที่ผ่านมาช่ วยในการพรรณนาความรัก


พระใดบาราศแก้ ว กูมา
มาย่ านขวางขวางกาย ด่ งงนี้
จากมาเลือดตาตก เตมย่ าน
เตมย่ านบรู้ กี้ ถ่ งงแถม ฯ
ตัวอย่ างโคลงกาสรวล

• เมื่อเปรี ยบเทียบโคลงกาสรวล กับนิราศรุ่ นหลังจะเห็นภาพของ


การนาโคลงกาสรวลมาเป็ นครู ของกวีรุ่นเดียวกันหรื อกวีรุ่นหลัง
(โคลงกาสรวล)
ฤๅรยมให้ ชู้พราก กนนเพรง ก่ อนฤๅ
กรรมแบ่ งเอาอกมา ด่ งงนี้
เวรานุเวรของ พระบอก บารา
ผิดชอบใช้ นีห้ น้ า สู่ สสองส
(ทวาทศมาส)
เพรงเราเคยพรากเนือ้ นกไกล คู่ฤๅ
ริบราชเอาของขัง คัง่ ไว้
มาทันปลิดสายใจ เจียรจาก เรียมนา
มานิรารสให้ ห่ างไกล ฯ
(นิราศนรินทร์ )
รอยบุญเราร่ วมพ้ อง พบกัน
บาปแบ่ งสองทาทัน เท่ าสร้ าง
เพรงพรากสั ตว์จาผัน พลัดคู่ เขาฤๅ
บุญร่ วมบาปจาร้ าง นุชร้ างเรียมไกล ฯ
ตัวอย่ างโคลงกาสรวล
• โคลงต่อจากนี้กวีรุ่นหลังก็นาแนวคิดของ โคลงกาสรวลมา
โฉมแม่ จักฝากฟ้า เกรงอินทร์ หยอกนา
อินทร์ ท่านเทอกโฉมเอา สู่ ฟ้า
โฉมแม่ จักฝากดิน ดินท่ าน แล้วแฮ
ดินฤๅขัดเจ้ าหล้า สู่ สสองส
โฉมแม่ ฝากน่ านนา้ อรรณพ แลฤา
เยียวนาคเชยชอก พีไ่ หม้
โฉมแม่ ราพึงจบ จอมสวาท กูเอย
โฉมแม่ ใครสงวนได้ เท่ าเจ้ าสงวนเอง
• ในนิราศนริ นทร์เขียนว่า
โอ้ ศรีเสาวลักษณ์ ลา้ แลโลม โลกเอย
แม้ ว่ามีกงิ่ โพยม ยืน่ หล้า
แขวนขวัญนุชชู โฉม แมกเมฆ ไว้แม่
กีดบ่ มีกงิ่ ฟ้ า ฝากน้ องนางเดียว
• ถอดคาประพันธ์
นายนริ นทร์ ไม่อยากให้นางที่รักอยูบ่ นพื้นดินเลย (ในขณะ
ที่ตวั จากไป) เพราะนางนั้นงามเป็ นขวัญตาของโลก จึงคิดจะเอานาง
ไปแขวนไว้เสี ยในท้องฟ้ า แต่ฟ้าก็ไม่มีกิ่งโพยม หรื อกิ่งฟ้ า จึงคิดไป
ไม่สาเร็ จ
โฉมควรจักฝากฟ้ า ฤาดิน ดีฤา
เกรงเทพไท้ ธรณินทร์ ลอบกลา้
ฝากลมเลือ่ นโฉมบิน บนเล่า นะแม่
ลมจะชายชักช้า ชอกเนือ้ เรียมสงวน
ฝากอุมาสมรแม่ แล้ ลักษมี เล่านา
ทราบสยมภูวจักรี เกลือกใกล้
เรียมคิดจบจนตรี โลกล่วง แล้วแม่
โฉมฝากใจแม่ ได้ ยิง่ ด้ วยใครครอง ฯ
**อุมา = ชายาของพระอิศวร ลักษมี = ชายาของพระนารายณ์
สยมภู = พระอิศวร จักรี = ผู้มีจักร คือพระนารายณ์
ตัวอย่ างโคลงกาสรวล

• ในตอนจบของโคลงกาสรวล จะเป็ นโคลงสัง่ นาง อันเป็ น


แบบอย่างของโคลงสมัยหลังเช่นกัน
สารนีน้ ุชแนบไว้ ในหมอน
อย่ าแม่ อย่ าควรเอา อ่ านแหล้ น
ยามนอนนาฏเอานอน เป็ นเพือ่ น
คืนคา่ อย่ าได้ เว้ น ว่ างใด
• ในนิราศตามเสด็จลานา้ น้ อย ของพระยาตรังก็มีแนวเดียวกันคือ
สารนีส้ ายสวาสดิ์เจ้ า จงสงวน ไว้ แม่
แทนพีแ่ ทนถนอมองค์ แอบพร้ อง
ไป่ ควรแม่ อย่ าควร คาพี่ แพร่ งเลย
เช้ าคา่ เพือ่ นห้ องน้ อง ณ ศรี ฯ
คุณค่ าของโคลงกาสรวล
• ในด้ านอักษรศาสตร์
มีการใช้ถอ้ ยคาสานวนคมคาย สานวนที่ใช้สร้างอารมณ์ได้อย่าง
ลึกซึ้ง เป็ นต้นแบบให้กบั นิราศรุ่ นหลัง
• ในด้ านพระพุทธศาสนา
ได้แสดงให้เห็นถึงความเจริ ญรุ่ งเรื องของพระพุทธศาสนาอย่าง
ยิง่ ใหญ่ สิ่ งก่อสร้างในทางพระพุทธศาสนางดงาม สง่าตระการตา
โคลงทวาทศมาส

• โคลงทวาทศมาส แปลว่า โคลง 12 เดือน เพราะว่าโคลงนี้เป็ นการ


เอาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในแต่ละเดือนทั้ง 12 เดือน มาประพันธ์
• ผู้แต่ ง: ผูแ้ ต่งโคลงนี้
บ้างก็วา่ มีผแู ้ ต่ง 3 คน เพื่อถวายสมเด็จพระยุพราช
- ขุนพรหมมนตรี
- ขุนศรี กวีราช
- ขุนสารประเสริ ฐ
บ้างก็วา่ พระเยาวราชเป็ นผูท้ รงนิพนธ์ โดยมี
- ขุนพรหมมนตรี
- ขุนศรี กวีราช
- ขุนสารประเสริ ฐ
เป็ นผูช้ ่วยแก้เกลาสานวน
• ส่ วนสมัยทีแ่ ต่ งอาจจะเป็ น
- สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
- สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
โคลงทวาทศมาส

ทานองแต่ ง: แต่งเป็ นโคลงดั้นวิวธิ มาลี 259 บท ส่ วนบทสุ ดท้ายที่


260 เป็ นร่ ายสุ ภาพสั้นๆ
วัตถุประสงค์ ในการแต่ ง: แต่งเพราะความมุ่งหมาย 2 ประการ คือ
1) เพื่อแสดงความสามารถในเชิงกวีของตน
2) เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระมหากษัตริ ยต์ ามธรรมเนียมการ
เขียน
โคลงทวาทศมาส
เนือ้ หา:
- เริ่ มต้นด้วยการกล่าวสดุดีพระพรหม พระนารายณ์ พระศิวะและ
เทพยาดา
- กล่าวถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ อันเป็ นการแสดงความ
เทิดทูนพระพุทธศาสนา ต่อไปเป็ นการสรรเสริ ญพระมหากษัตริ ย ์
- ชมความงามของหญิงคนรัก เปรี ยบความรักของตนกับบุคคลใน
วรรณคดีอย่างพระราม พระอนิรุทธ และพระสมุทรโฆษ เป็ นต้น แล้ว
แสดงความน้อยใจที่พระเอกนางเอกในวรรณคดีเหล่านั้นได้ไปอยู่
ร่ วมกัน ส่ วนตัวเองรู ้สึกอาลัยอาวรณ์ที่ตอ้ งจากนาง
• ตัวอย่ าง
ปางบุตรนคเรศไท้ ทศรถ
จากสี ดาเดียวลี ลาศแล้ ว
ยังคืนสู่ เสาวคต ยุพราช
ฤๅอนุชน้ องแคล้ ว คลาศไกล ฯ
ศรีอนิรุทธราศร้ าง แรมสมร
ศรีอุษาเจียรไคล คลาศแคล้ ว
เทวานราจร จาจาก
ยังพร่าน้ าวน้ องแก้ ว คอบคืน
• ตัวอย่ าง
สมุทรโฆษเริศร้ าง แรมพิน
ทุมดีดาลฝื น ใฝ่ เต้ า
ปางเจ็บชางือถวิล ลิวโลด
ยังพร่าน้ าวน้ องเหน้ า ร่ วมเรียง ฯ
พระศรีเสาวเลขสร้ อย สุ ธน
จากมโนห์ ราเคียง คิดน้ อง
ยังเสด็จสู่ ไพรสณฑ์ สั งวาส
สั งเวชนงค์ นุชคล้ อง เคลือ่ นองค์
- ราพันถึงเหตุการณ์ ลมฟ้ าอากาศในรอบเดือนหนึ่งๆ โดยเริ่ ม
ตั้งแต่เดือนห้าจนถึงเดือนสี่ วา่ ไปจนครบ 12 เดือน พรรณนาผสาน
กับความรัก
- มีการพูดถึงงานเทศกาลงานพิธีต่าง ๆ ที่มีในแต่ละเดือน
- ตอนสุ ดท้ ายเป็ นการถามข่ าวคราวของนางจากปี เดือน วัน ยาม
แล้วขอพรจากเทพยาดาขอให้ได้พบนางอันเป็ นที่รัก
- จบลงด้วยการสรรเสริ ญพระบารมีของพระมหากษัตริ ยอ์ นั เป็ น
ที่รักยิง่ เหนือสิ่ งอื่นใด แล้วก็บอกชื่อคนแต่ง
ตัวอย่ างโคลงทวาทศมาส
• เดือนอ้าย
ลมพัดเผยอข่าวด้วย ลมเฮย
ลมแล่นรับขวัญบิน บ่าไส้
เรี ยมรักร่ ายังเลย ลาญสวาดิ
สารสัง่ ว่าววานให้ แม่มา ฯ
ว่าวรับข่าวแล้วว่าว บินบน
ลมส่ งสายทรุ งพา ว่าวหว้าย
เรี ยมฟังข่าวนุชฉงน ไฉนอยู่
ว่าวบ่บอกสารหน้าย แสบทรวง ฯ
ตัวอย่ างโคลงทวาทศมาส
• เดือนห้ า
ฤดูเดือนเจตรร้ อน ทรวงธร
ทุกยา่ ยามโดรดวง ด่ วนน้ อง
จาระจาเราอร อรนิต หายแม่
อินทรแลพรหมยมป้ อง ไป่ คืน ฯ

** โดร = หอม, มีกลิน่ หอมทีฟ่ ุ้ งไป


ตัวอย่ างโคลงทวาทศมาส
• เดือนหก
เดือนหกเรียมไห้ ร่า ฤๅวาย
ยามย่ อมชนบทถือ ท่ องหล้ า
ธงธวัชโบกโบยปลาย งอนง่ า
คิดว่ ากรกวักข้ า แล่ นตาม
ตัวอย่ างโคลงทวาทศมาส
• ยอพระเกียรติพระมหากษัตริย์
บุญญาดิเรกเจ้ า จอมกษัตริย์
ครองครอบภูดาธาร ทั่วไท้
จงเป็ นปิ่ นจักรพรรดิ จอมโลก ธรพ่อ
ร้ อยราชถวายกรไหว้ หว่ านมาลย์ ฯ
ตราบสิ้นสุ ริเยศฟ้า ดินหาย ก็ดี
ยังพระยศยังสถาน อย่ าแคล้ว
ตราบเมรุครี ีทลาย ทบท่ าว ลงแฮ
คงคอบบุญท้ าวแผ้ ว แผ่ นฟ้าภพไตร
คุณค่ าของโคลงทวาทศมาส
• ในด้ านอักษรศาสตร์
มีการใช้ถอ้ ยคาสานวนพรรณนาถึงความรักอย่างซาบซึ้ ง
โดยใช้เหตุการณ์และฤดูกาลที่เกิดขึ้นในเดือนต่างๆมาเปรี ยบเทียบ
• ในด้ านวัฒนธรรมประเพณี
ทาให้รู้วา่ ชาวไทยนั้นมีประเพณี ทุกเดือน ทั้ง 12 เดือน
โคลงหริภุญไชย

• โคลงหริ ภุญไชย เป็ นโคลงนิราศที่เก่าแก่เรื่ องหนึ่ง เดิมแต่ งเป็ น


โคลงลาวที่เมืองเชียงใหม่ มีภาษาถิ่นพายัพและภาษาโบราณ
ปะปนอยู่มาก ต่อมากวีสมัยอยุธยานามาแต่งซ่อมแปลงให้เป็ น
โคลงสี่ สุภาพ
• ไม่แน่ชดั ว่าแต่งในสมัยไหน
- บางท่านว่าแต่งในสมัยพระเจ้าปราสาททองในราว พ.ศ. 2181
- บางท่านว่าแต่งในสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 ในราว
พ.ศ. 2060
โคลงหริภุญไชย

ผู้แต่ ง: ชื่อทิพ หรื อศรี ทิพ


ทานองแต่ ง: แต่งเป็ นโคลงสี่ สุภาพ
วัตถุประสงค์ ในการแต่ ง: เพื่อแสดงความอาลัยรักต่อคนรักของตน
ที่ตนต้องจากไปนมัสการพระธาตุหริ ภุญไชย
(สมัยก่อน การคมนาคมไม่สะดวกจะไปไหนมาไหนแต่ละที ต้อง
ใช้เวลาหลายวันหรื อเป็ นแรมเดือน ฉะนั้น การจากกันไปแสนนาน
ทาให้อดคิดถึงกันไม่ได้ ผูท้ ี่มีอารมณ์หรื อกวีจึงแต่งนิราศไว้เป็ นที่
ระลึกถึง)
โคลงหริภุญไชย
• เนือ้ หา:
• เริ่ มต้นด้วยบทนมัสการพระรัตนตรัย
• บอกวันเดือนปี ที่เดินทางไปนมัสการพระธาตุหริ ภุญไชย
(ปัจจุบนั อยูใ่ นจังหวัดลาพูน)
• ก่อนจะออกเดินทางไปก็ได้ไปกราบลาพระพุทธสิ หิงค์ ขอพร
จากพระเจ้ามังราย พระมหากษัตริ ยท์ ี่ชาวเชียงใหม่ถือเป็ นผูท้ ี่
ศักดิ์สิทธิ์ ควรเคารพบูชา
• ระหว่างทางพบเห็นอะไร ก็เอามาเป็ นอารมณ์สาหรับคร่ าครวญ
หวนคะนึงถึงนางคนที่ตนรักได้ตลอดเวลา
• เมื่อถึงเมืองหริ ภุญไชย (ลาพูน) ก็ได้นมัสการพระธาตุอนั เป็ นที่
เคารพสักการะสมความปรารถนา
• กวีได้บรรยายถึงความงดงามของพระธาตุและการมีงานสมโภช
พระธาตุ กราบนมัสการพระธาตุหริ ภุญไชยแล้วก็เดินทางกลับ
เมืองเชียงใหม่
ลิลติ พระลอ
• ลิลิตพระลอ เป็ นยอดวรรณคดีประเภทลิลติ
• เข้ าใจกันว่ าเป็ นเรื่องจริงเล่ากันเรื่ อยมาจนกลายเป็ นนิยายชื่อดัง
ของท้องถิ่นไทยภาคเหนือ
• สันนิษฐานว่าเมืองสรองอยูแ่ ถว ๆ จังหวัดแพร่ อาเภอร้องกวาง
• ส่ วนเมืองสรวง น่าจะอยูจ่ งั หวัดลาปาง ในอาเภอแจ้ห่ม
ลิลติ พระลอ
ผู้แต่ ง: ไม่ปรากฏหลักฐานแน่นอนว่าใครเป็ นผูแ้ ต่งและแต่งใน
สมัยใด น่าจะแต่งในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ หรื อสมเด็จพระ
นารายณ์กไ็ ม่ทราบแน่ชดั
ทานองแต่ ง: แต่งเป็ นลิลิตสุ ภาพ ซึ่ งประกอบด้วยร่ ายสุ ภาพ และ
โคลงสี่ สุภาพ อีกทั้งมีบางตอนก็เป็ นร่ ายโบราณ และไม่สู้เคร่ งครัดใน
ฉันทลักษณ์มากนัก
วัตถุประสงค์ ในการแต่ ง: เพื่อให้พระกษัตริ ยท์ รงอ่านเป็ นที่สาราญ
พระทัย
ตัวอย่ างชมโฉมพระลอ
รอยรู ปอินทรหยาดฟ้ า มาอ่าองค์ในหล้า
แหล่งให้คนชม แลฤๅ ฯ
พระองค์กลมกล้องแกล้ง เอวอ่อนอรอรรแถ้ง
ถ้วนแห่งเจ้ากูงาม บารนี ฯ
โฉมผจญสามแผ่นแพ้ งามเลิศงามล้วนแล้
รู ปต้องติดใจ บารนี ฯ
ฦๅขจรในแหล่งหล้า ทุกทัว่ คนเที่ยวค้า
เล่าล้วนยอโฉม ท่านแล ฯ
ตัวอย่ างชมโฉมพระลอ
เดือนจรัสโพยมแจ่มฟ้ า ผิบได้เห็นหน้า
ลอราชไซร้ดูเดือน ดุจแล ฯ
ตาเหมือนตามฤคมาศ พิศคิว้ พระลอราช
ประดุจแก้วเกาทัณฑ์ ก่งนา ฯ
พิศกรรณงามเพริ ศแพร้ว กลกลีบบงกชแก้ว
อีกแก้มปรางทอง เทียบนา ฯ
ทานองนาสิ กไท้ คือเทพนฤมิตไว้
เปรี ยบด้วยขอกาม ฯ
ตัวอย่ างชมโฉมพระเพือ่ นพระแพง
ทุกเมืองมีลูกท้าว นับมี มากนา
บเปรี ยบสองกษัตรี ย ์ พีน่ อ้ ง
พระแพงแม่มีศรี สวัสดิ์ยงิ่ คณนา
พระเพื่อนโฉมยงหย้อง อยูเ่ พี้ยงดวงเดือน ฯ
โฉมสองเหมือนหยาดฟ้ า ลงดิน
งามเงื่อนอัปสรอินทร์ สู่ หล้า
อย่าคิดอย่าควรถวิล ถึงยาก แลนา
ชมยะแย้มทัว่ หน้า หน่อท้าวมีบุญ
ตัวอย่ างตอนพระลอเสี่ ยงน้า
มากูจะเสี่ ยงน้ า นองไป ปรี่ นา
น้ าชื่อกาหลงไหล เชี่ยวแท้
ผิวกูจะคลาไคล บรอด คืนนา
น้ าจุ่งเวียนวนแม้ รอดไส้จงไหล ฯ
ครั้นวางพระโอษฐน้ า เวียนวน อยูน่ า
เห็นแก่ตาแดงกล เลือดย้อม
หฤไทยรทดทน ทุกข์ใหญ่ หลวงนา
ถนัดดั่งไม้ ร้อยอ้ อม เท่ าท้ าวทับทรวง
ลักษณะไก่ ทปี่ ู่ เจ้ าสมิงพรายใส่ มนต์ เสน่ ห์ไว้
ปู่ กระสัลถึงไก่ไพรพฤกษ์ ปู่ ลาฦกไก่ไก่กม็ า บรู ้กี่คณากี่หมู่ ปู่
เลือกไก่ตวั งาม ทรงทรามไวยทรามแรง สร้อยแสงแรงพพราย ขนเขียว
ลายยยับ ปี กสลับเบญจรงค์ เลื่อมลายหงส์สิบบาท ขอบตาชาดพพริ้ ง
สิ งคลิ้งหงอนพรายพรรณ ขันขานเสี ยงเอาใจ เดือยงอนใสสี ระรอง
สองท้าวเทียมนพมาศ เพียงฉลุชาดทารง ปู่ ก็ใช้ผีลงแก่ไก่
ไก่แก้วไซร้บมิกลัว ขุกผกหัวองอาจ ผาดผันตีปีกป้ อง ร้องเรื่ อยเฉื่ อย
ฉาดฉาน เสี ยงขันขานแจ้วแจ้ว ปู่ ก็สงั่ แล้วทุกประการ มินานผาดโผน
ผยอง ลงโดยคลองบหึ ง ครั้นถับถึงพระเลืองลอ ยกคอขันขานร้อง ตีปีก
ป้ องผายผัน ขันเอื้อยเจื้อยไจ้ไจ้ แล้วไซ้ปีกไซ้หาง โฉมสาอางสาอาจ
คุณค่ าของลิลติ พระลอ

1. ในด้ านอักษรศาสตร์ นับเป็ นวรรณคดีที่ใช้ถอ้ ยคาได้อย่างไพเราะ


ปลุกอารมณ์ร่วมได้ทุกอารมณ์ เป็ นวรรณคดีที่มีอิทธิ พลต่อวรรณคดีอื่น ๆ
มากอย่างบทเสี ยงลือเล่าที่วา่
“เสี ยงลือเสี ยงเล่าอ้าง อันใด พี่เอย
เสี ยงย่อมยอยศใคร ทัว่ หล้า
สองเขือพี่หลับใหล ลืมตื่น ฤาพี่
สองพี่คิดเองอ้า อย่าได้ถามเผือ”
คุณค่ าของลิลติ พระลอ

2. ในด้ านพระศาสนา ได้ให้แง่คิดทางศาสนา อย่างเช่น ความไม่เที่ยง


แท้แน่นอนของชีวิต ซึ่ งเป็ นของแน่ยงิ่ กว่าแน่เสี ยอีก อย่างบทที่วา่
สิ่ งใดในโลกล้วน อนิจจัง
คนแต่บาปบุญยัง เที่ยงแท้
คือเงาติดตัวตรัง ตรึ งแน่นอยูน่ า
ตามแต่บุญบาปแล้ ก่อเกื้อรักษา
คุณค่ าของลิลติ พระลอ

• หรือบททีว่ ่ ากฎแห่ งกรรม


ถึงกรรมจักอยูไ่ ด้ ฉันใด พระเอย
กรรมบ่มีมีใคร ฆ่าเข้า
กุศลส่ งสนองไป ถึงที่ สุ ขนา
บาปส่ งจาตกช้า ช่วยได้ฉนั ใด

You might also like