You are on page 1of 4

รายงานปฏิบัติการเรื่อง การหาค่าความเร่ งโน้ มถ่ วงจากการเคลือ่ นที่แบบ Simple Harmonic

จุดประสงค์ การทดลอง
1.หาความเร่ งโน้ มถ่วงจากการเคลือ่ นที่แบบ simple harmonic
2.ศึกษาการเคลือ่ นที่แบบ simple harmonic
สมาชิก
1.นายวชิรวิทย์ พิศชวนชม เลขที่ 11 ชั้นมัทยมศึกษาปี ที่ 4/1
2.นายปราชญ์ ศิริ ฐิติผกายแก้ว เลขที่ 3 ชั้นมัทยมศึกษาปี ที่ 4/1
3.นายณภัทร ฟ้ าคุ้ม เลขที่ 1 ชั้นมัทยมศึกษาปี ที่ 4/1
ทฤษฎี

อุปกรณ์
1.เครื่องจับเวลา 4.ขาตั้ง
2.มวล 5.เชือก
3.ตลับเมตร
วิธีการทดลอง
1.ติดตั้งเชือกกับขาตั้งโดยการนำเชือกไปพันกับรอกเพือ่ ปรับขนาดและนำมวลมามัดกับปลายเชือก ความยาวให้
ได้ ความยาว 10 15 20 25 30 cm ตามลำดับโดยวัดจากจุดศูนย์ กลางมวลและความยาวเชือกรวมกัน
2.แกว่งมวล ณ ความยาวต่ างๆ โดยแกว่งโดยใช้ มุมทีม่ ีขนาด 10-15 องศา จากนั้นปล่ อยให้ มวลแกว่งและจับเวลา
โดยใช้ เครื่องจับเวลา เริ่มจับเวลาตั้งแต่ ตอนปล่ อยและกดหยุดเมื่อวัตถุเคลือ่ นที่ได้ จำนวน 5 คาบ
3.ทำซ้ำ 3 ครั้งของแต่ ละความยาวเชือก และบันทึกผล
4.นำค่ าการทดลองไปใส่ ในโปรแกรม Excel และคำนวนค่ าต่ างๆ

ผลการทดลอง
ตารางบันทึกผลการวัดคาบการเคลือ่ นที่ของมวล ณ ความยาวต่ างๆ
กราฟแสดงความสัมพันธ์ ระหว่างคาบกำลังสองกับความยาวเชือก
คาบกำลังสอง

ความยาวเชือก
ค่ า
1.slope=0.034
2.slope=0.00249
3.y-int=0.1124468
4.y-int=0.05292
สรุ ปผลการทดลองและอภิปรายผลการทดลอง
ความเร่ งเนื่องจากแรงโน้ มถ่ วง เป็ นความเร่ งคงที่เราจึงสามารถใช้ สมการต่ างๆมาหาค่ าความเร่ งเนื่องจาก
แรงโน้ มถ่ วงได้ จากการศึกษาการเคลือ่ นที่ของวัตถุที่พจิ ารณาแนวแรงในแนวดิง่ จากการทดลองสามารถหาค่ า g
ได้ จากสมการ α(g/l)sinเมื่อทำเป็ นสมการ simple harmonic ต้ องมีการประมาณค่ า แต่ ในความจริง
การทดลองมีการใช้ มุมทีไ่ ม่ คงที่ในแต่ ละครั้งทำให้ ผลมีความคลาดเคลือ่ นทำให้ เราหาค่ าความเร่ งจากแรงโน้ ม
ถ่ วงได้ เท่ ากับ 11.60±0.85 m/s² เห็นได้ ว่ามีความคลาดเคลือ่ นไปจากค่ าจริงเล็กน้ อย
เมื่อวัตถุเคลือ่ นที่แบบ simple harmonic จะได้ ว่าความยาวเชือกแปรผันตรงกับคาบในการเคลือ่ นที่ ดังนั้น
เมื่อวาดกราฟจะได้ กราฟที่มีความชั้นคงที่จากสมการ T²=4²(1/g) จะได้ กราฟทีม่ ความชัน 4²(1/g) จึง
สามารถหาค่ าความเร่ งได้ โน้ มถ่วงออกมาได้ ซึ่งมีค่าประมาณ 8
ข้ อเสนอแนะ
1.ควนแกว่ งมวลในองศาที่คงที่เพือ่ ไม่ ให้ มีความคลาดเคลือ่ นของค่ าแรงโน้ มถ่ วงมาก
2.ควรกดเริ่มและกดหยุดให้ พอดีกบั ตอนที่มวลเริ่มแกว่ งและมวลแกว่ งครบจำนวน 5 คาบพอดี เพือ่ ให้ มี
ความคลาดเคลือ่ นน้ อย
3.ควรใช้ ความยาวเชือกที่ห่างกันมากกว่านีเ้ พือ่ ให้ มีความชัดเจนของค่ า ณ ความยาวต่ างๆ
สิ่ งทีไ่ ด้ เรียนรู้ จากการทดลอง
นายณภัทร ฟ้ าคุ้ม
1.ได้ ร้ ู จักวิธีการพล็อตกราฟโดยใช้ โปรแกรม Excel
นายปราชญ์ ศิริ ฐิติผกายแก้ว
1.ได้ นำความรู้ และทฤษฎีต่างๆจากภายในห้ องเรียนมาใช้ ในการทดลองจริง
นายวชิรวิทย์ พิศชวนชม
1.ได้ เรียนรู้ การคำนวนค่าต่ างๆโดยใช้ โปรแกรม excel
2.ได้ ร้ ู จักการทำงานเป็ นทีม

You might also like