You are on page 1of 13

July 22, 2021

KKP Research

คาดล็อกดาวน์อย่างน้อย 3 เดือน
เสี่ยงทาไทยเข้าสูภ
่ าวะเศรษฐกิจถดถอยอีกปี
คาดล็อกดาวน์อย่างน้อย 3 เดือน เสี่ยงทาไทยเข้าสู่ภาวะเศรษฐกิจถดถอยอีกปี

ผูเ้ ขียน

ลัทธกิตติ์ ลาภอุดมการ
นักวิเคราะห์

วรเทพ วงศ์ วริ ย


ิ ะสิทธิ์
นักวิเคราะห์

KKP Research โดยกลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร

พิ พัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ
หัวหน้านักเศรษฐศาสตร์ และหัวหน้าฝ่ายวิจัยเศรษฐกิจและกลยุทธ์

ชินวุฒิ์ เตชานุวต
ั ร์
ผู้อานวยการ หัวหน้าทีมวิจัยอุตสาหกรรม

ณิชารีย์ อรัญ
นักวิเคราะห์

ลัทธกิตติ์ ลาภอุดมการ
นักวิเคราะห์

ธนัชพร นันทาภิวธ
ั น์
นักวิเคราะห์

เคนเน็ท โดนัลท์ นีลเวล


นักวิเคราะห์

วรเทพ วงศ์ วริ ย


ิ ะสิทธิ์
นักวิเคราะห์

เอกสารฉบับนี้จัดทาขึน
้ จากแหล่งข้อมูลที่เปิดเผยต่อสาธารณชน ทั้งนี้ขอ
้ คิดเห็นที่
ปรากฏเป็นความคิดเห็นของฝ่ายวิจัยเศรษฐกิจและกลยุทธ์ไม่จาเป็นต้อง
สอดคล้องกับกลุม
่ ธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร เว้นแต่จะได้แจ้งไว้และขอสงวน
สิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงข้อมูลและความคิดเห็นโดยไม่ตอ
้ งแจ้งให้ทราบล่วงหน้า
คาดล็อกดาวน์อย่างน้อย 3 เดือน เสี่ยงทาไทยเข้าสู่ภาวะเศรษฐกิจถดถอยอีกปี

KKP Research
July 22, 2021
คาดล็อกดาวน์อย่างน้อย 3 เดือน เสี่ยงทาไทยเข้าสู่ภาวะเศรษฐกิจถดถอยอีกปี

คาดล็อกดาวน์อย่างน้อย 3 เดือน เสี่ยงทาไทยเข้าสูภ


่ าวะเศรษฐกิจถดถอยอีกปี

KEY TAKEAWAYS:

• KKP Research โดยเกี ย รติ น าคิ น ภั ท ร ประเมิ น ว่ า การ • แผนวัคซีนที่ล่าช้าเพิ่มต้นทุนมหาศาลให้กับเศรษฐกิจไทย


ระบาดระลอกปัจจุบันของไทยจะต้องใช้มาตรการล็ อ ก จากมาตรการล็อกดาวน์และจากัดกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
ดาวน์ อ ย่ า งน้ อ ย 3 เดื อ นกว่ า สถานการณ์ จ ะลดความ อย่ า งไรก็ ต ามยั ง มี ค วามเสี่ ย งที่ รั ฐ บาลอาจต้ อ งออก
รุนแรงลง ซึ่งจะส่งผลกระทบรุนแรงต่อเศรษฐกิจจากการ
บริโภคและการลงทุน และกระทบต่อการคาดการณ์ GDP มาตรการล็อกดาวน์ที่เข้มข้นขึ้นไปอีก หากยังไม่สามารถ
ในปี 2021 จาก 1.5% เหลือเพียง 0.5% เท่านั้น ควบคุมการแพร่ระบาด ไม่มีวัคซีนเพียงพอ และระบบ
• จากสถิติการระบาดใหญ่ในต่างประเทศ การแพร่ระบาด สาธารณสุขถึงขีดจากัด ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ
หนึ่งรอบกินระยะเวลาเฉลี่ย 120-150 วัน ในกรณีของไทย มากขึ้น จนอาจทาให้เศรษฐกิจติดลบในปีนี้ได้
เมื่ อ พิ จ ารณาการจั ด หาวั ค ซี น ที่ ล่ า ช้ า KKP Research • รั ฐ ต้ อ งเร่ ง ด าเนิ น นโยบายเพิ่ ม เติ ม ทั้ ง การประเมิ น
ประเมินว่า การแพร่ระบาดอาจจะเกิดขึ้นต่อเนื่อง โดย สถานการณ์อย่างรอบด้าน ปรับปรุงมาตรการล็อ กดาวน์ที่
คาดว่าตัวเลขผู้ติดเชื้อจะถึงจุดสูงสุดภายในไตรมาสสาม เป็นระบบ การเร่งตรวจหาเชื้อ หาวัคซีนที่มีประสิทธิภาพ
และค่อย ๆ ปรับลดลง ในไตรมาส 4 สู ง เตรี ย มนโยบายเยี ย วยาประชาชน และมี ก าร
ประสานงานระหว่างมาตรการการเงินและการคลังเพื่ อ
บรรเทาปัญหาการหยุดชะงักของเศรษฐกิจ
คาดล็อกดาวน์อย่างน้อย 3 เดือน เสี่ยงทาไทยเข้าสู่ภาวะเศรษฐกิจถดถอยอีกปี

คาดล็อกดาวน์อย่างน้อย 3 เดือน เสี่ยงทาไทยเข้าสู่ภาวะเศรษฐกิจถดถอยอีกปี

KKP research ปรับ GDP ลงเหลือ 0.5% จาก 1.5%


KKP Research โดยกลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร ประเมินว่าการระบาดระลอกใหม่ของโควิด-19 อาจมีแนวโน้มยืดเยื้อ
กว่าที่หลายฝ่ายประเมิน การระบาดของโควิด-19 ในรอบนี้อาจจะไม่สามารถจบได้เร็วแบบเดียวกับปีก่อน ทั้งจากไวรัสที่ระบาด
เป็นสายพันธุ์ใหม่ คือ สายพันธุ์เดลต้าที่มีความสามารถในการระบาดสูงกว่าเดิมมาก ประกอบกับมาตรการล็อกดาวน์ที่เริ่มต้น
ช้า นโยบายการตรวจโรคที่เป็นข้อจากัดที่ทาให้มีการตรวจโรคน้อยกว่าที่ควร การประเมินสถานการณ์ต่ากว่าความจริง จานวน
วัคซีนที่มีจากัดและมีความไม่แน่นอนสูง ส่งผลให้การกระจายวัคซีนทาได้ช้า ทาให้สัดส่วนของประชากรที่มีภูมิคุ้มมีน้อยมาก
และวัคซีนที่ใช้มีประสิทธิผลในการป้องกันต่อเชื้อเดลต้าต่า ทาให้การเปิดเมืองไม่สามารถทาได้เต็มที่แม้มีจานวนผู้ติดเชื้อลดลง
KKP Research ประเมินว่าการระบาดระลอกปัจจุบันของไทยจะต้องใช้มาตรการล็อกดาวน์อย่างน้อย 3 เดือน กว่าสถานการณ์
จะบรรเทาความรุนแรงลง และสัดส่วนของประชากรที่ได้รับวัคซีนครบสองโดสเริ่มมีเพิ่มขึ้น ซึ่งจะส่งผลกระทบรุนแรงต่อ
เศรษฐกิจจากการบริโภคและการลงทุนที่ลดลงในช่วงไตรมาส 3 และกระทบต่อการคาดการณ์ GDP ในปี 2021 จากเดิมที่คาด
ว่าจะเติบโตที่ 1.5% เหลือเพียง 0.5% แม้ว่าการส่งออกจะสามารถขยายตัวได้ดีขึ้นก็ตาม (รูปที่ 1) ในกรณีเลวร้าย มีความเสี่ยง
ที่อาจต้องใช้มาตรการล็อกดาวน์ที่ยาวนานกว่า ขึ้น หรือต้องใช้มาตรการล็อกดาวน์ที่มีข้อจากัดมากขึ้น จนกระทบต่อภาคการ
ผลิตและการส่งออกซึ่งเป็นความหวังสุดท้ายของเศรษฐกิจไทย เราอาจเห็นเศรษฐกิจหดตัวในปี 2021 ได้
การเติบโตของ GDP ในปี 2021 และ 2022 จะไม่เพียงพอชดเชยการหดตัวของเศรษฐกิจไทยในปี 2020 (รูปที่ 2) เศรษฐกิจไทย
หดตัวลงไป 6.1% ในปี 2020 ในขณะที่ KKP Research คาดว่าเศรษฐกิจในปี 2022 จะเติบโตที่ 4.6% สูงขึ้นกว่าการประมาณ
การรอบก่อนจากฐานในปีนี้ที่ต่าลง ทาให้ระดับ GDP จะต่ากว่าระดับก่อนเกิดโควิดไปจนถึงปี 2023 อย่างไรก็ตามการเติบโต
ของเศรษฐกิจในปี 2022 ยังมีความไม่แน่นอนสูงและขึ้นอยู่กับ การควบคุมสถานการณ์การระบาดและจานวนนักท่องเที่ยว
ต่างชาติเป็นหลัก ในกรณีฐาน เราคาดการณ์ว่านักท่องเที่ยวจะกลับเข้ามาได้ 5.8 ล้านคนและกลับมาอย่างมีนัยสาคัญตั้งแต่ช่วง
ครึ่งหลังของปีหน้า หลังจากคนไทยส่วนใหญ่ได้รับวัคซีน และการเดินทางระหว่างประเทศเริ่มเข้าสู่ภาวะปกติ ความเสี่ยงใน
กรณีเลวร้าย คือ วัคซีนที่ล่าช้ากว่าคาดและไทยอาจเปิดประเทศได้ช้าลงกว่าเดิมซึ่งหากนักท่องเที่ยวกลับมาได้เหลือเพียง 3
ล้านคนจะส่งผลให้ GDP ปี 2022 เติบโตได้เพียง 3.7% เท่านั้น

รูปที่ 1: ตารางประมาณการตัวเลขเศรษฐกิจไทยปี 2021 และ 2022 รูปที่ 2: เศรษฐกิจไทยจะสามารถกลับเข้าสูร่ ะดับก่อน


Previous New forecast โควิด-19 ได้ตอ้ งใช้เวลาถึงครึง
่ แรกของปี 2022
%YoY 2020 2021E 2021E 2022E 3.1
Pre COVID-19 trend
Baht Trillions

Real GDP -6.1 1.5 0.5 4.6


3.0
Private Consumption -1.0 1.4 -1.3 5.2
Government Consumption 0.8 5.0 5.0 -1.0 2.9 Previous
Gross Fixed Capital Formation -5.2 5.1 4.8 6.4 forecast
2.8 Pre COVID-19 level
Private -8.4 4.4 3.1 7.0
2.7
Public 5.7 10.0 10.5 5.0
2.6 New
Exports of Goods and Services -19.4 5.7 10.0 8.9
forecast
Imports of Goods and Services -13.1 7.7 12.9 6.3 2.5
Exports of Goods -5.8 8.5 13.4 6.1 Actual data
2.4
Imports of Goods -11.9 8.4 14.7 6.0
2.3
Current account (US$ bn) 16.5 1.5 1.2 8.2
as % of GDP 3.3 0.3 0.2 1.5 2.2
Q1 Q3 Q1 Q3 Q1 Q3 Q1 Q3 Q1 Q3 Q1 Q3 Q1 Q3 Q1 Q3
Headline CPI -0.9 1.2 1.2 1.6
2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022
Policy rate 0.5 0.5 0.5 0.5
Tourist arrivals (Mn persons) 6.7 0.2 0.16 5.8 ที่มา: NESDC, KKP Research
ที่มา: NESDC, KKP Research

KKP RESEARCH I KIATNAKIN PHATRA FINANCIAL GROUP I 4


คาดล็อกดาวน์อย่างน้อย 3 เดือน เสี่ยงทาไทยเข้าสู่ภาวะเศรษฐกิจถดถอยอีกปี

การแพร่ระบาดรอบปัจจุบันอาจลากยาว
รูปที่ 3: ตารางสรุปสถิตก
ิ ารแพร่ระบาดของโควิด-19 ในต่างประเทศ
Infections (per million) Duration (days) Daily Growth Rate
Country
Start Peak End Start to Peak Peak to End Total Start to Peak Peak to End
UK 92 881 86 102 59 161 2.2% -3.9%
US 132 759 162 105 74 179 1.7% -2.1%
Israel 69 996 69 66 69 135 4.1% -3.8%
India 34 282 32 42 59 101 5.2% -3.6%
Germany 57 307 86 70 55 125 2.4% -2.3%
Italy 37 575 200 42 79 121 6.8% -1.3%
Overall Average 71 66 137 3.7% -2.8%
Moderately Infectious 92 63 155 2.1% -2.7%
Highly Infectious 50 69 119 5.3% -2.9%

ที่มา: Our World in Data, KKP Research

จากสถิติการระบาดใหญ่ในต่างประเทศ พบว่าการแพร่ระบาดหนึ่งรอบกินระยะเวลาเฉลี่ย 120-150 วัน (รูปที่ 3) สาหรับกรณี


ประเทศไทย เมื่อพิจารณาปัจจัยอื่นประกอบ อาทิ ประสิทธิผลของวัคซีนที่ลดลงต่อเชื้อสายพันธุ์เดลต้า แผนการจัดหาวัคซีน
และสถานการณ์ระบบสาธารณสุขในปัจจุบัน KKP Research ประเมินว่า การแพร่ระบาดอาจจะเกิดขึ้นต่อเนื่องได้ถึง 6 เดือน
โดยแบ่งเป็น 2 กรณี (รูปที่ 4)
รูปที่ 4: การแพร่ระบาดของไทยจะเกิดขึน
้ ต่อเนือ
่ งในอีก 6 เดือนข้างหน้า
45,000
New infections before Jul-21
40,000
New infections in Jul-21
35,000
Jul-21 projection
30,000 Base case
25,000 Worse case
20,000

15,000

10,000

5,000

0
Apr-21 May-21 Jun-21 Jul-21 Aug-21 Sep-21 Oct-21 Nov-21 Dec-21 Jan-22 Feb-22 Mar-22

ที่มา: KKP Research

1. กรณีฐาน (Base case) มีสมมติฐานว่ามาตรการล็อกดาวน์ในระดับเท่ากับเดือนเมษายน 2020 (Oxford Stringency Index


อยู่ในช่วง 60-80) เกิดขึ้นในไตรมาสสาม สามารถควบคุมการแพร่ระบาดได้ดี และสิ้นไตรมาสที่ 3 มีผู้ฉีดวัคซีนอย่างน้อยหนึ่ง
โดสคิดเป็น 30% ของจานวนประชากร ซึง่ น่าจะสามารถลดอัตราการเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลอัตราเสียชีวิตลงได้ในระดับหนึ่ง
แต่อาจไม่สามารถลดการติดเชื้อได้ เนื่องจากวัคซีนส่วนใหญ่ที่ใช้มีประสิทธิผลต่อไวรัสสายพันธุ์เดลต้าไม่ดีนัก จึงส่งผลให้ยอดผู้
ติดเชื้อ ถึงจุดสูงสุดภายในกลางไตรมาส 3 และค่อย ๆ ปรับลดลงในไตรมาส 4
2. กรณีเลวร้าย (Worse case) ภายใต้สมมติฐานว่ามาตรการล็อกดาวน์ ในระดับเท่ากับเดือนเมษายน 2020 ไม่สามารถที่จะ
หยุดยั้งการแพร่ระบาดได้ คาดว่ายอดผู้ติดเชื้อจะถึงจุดสูงสุดภายในปลายไตรมาส 3 และปรับลดลงมาอยู่ในระดับ 2,000 ราย
ในช่วงเดือนธันวาคม จนต้องมีการใช้มาตรการที่รุนแรงขึ้น ในลักษณะเดียวกับประเทศชิลี อินเดีย และมาเลเซีย (Oxford
Stringency Index มากกว่า 80) ที่อาจกระทบต่อภาคการผลิตมากขึ้น เช่น การจากัดจานวนคนและหรือช่วงเวลาที่สามารถ
เดินทางออกจากบ้าน การห้ามเดินทางออกจากบ้านที่เข้มข้นขึ้น รวมไปถึงการห้ามการทางานยกเว้นอุตสาหกรรมที่จาเป็น
เป็นต้น

KKP RESEARCH I KIATNAKIN PHATRA FINANCIAL GROUP I 5


คาดล็อกดาวน์อย่างน้อย 3 เดือน เสี่ยงทาไทยเข้าสู่ภาวะเศรษฐกิจถดถอยอีกปี

ความสมดุลระหว่างเศรษฐกิจและสาธารณสุข : ไทยปิดเมืองมากไปปีที่แล้ว และช้าไปในปีนี้

ในการระบาดรอบแรกเมื่อปีที่แล้วที่ตัวเลขผู้ติดเชื้อใหม่อยู่ใน รูปที่ 5: Oxford Stringency Index ของไทยผ่อนคลาย


มากกว่ากลุม่ ประเทศที่มก
ี ารแพร่ระบาดหนักด้วยกัน
ระดับต่า (ยอดผู้ติดเชื้อต่อวันสูงสุดเพียง 188 คน) แต่ไทย (ประเทศที่มี Positive rate >5% จัดเป็นกลุ่มประเทศระบาดหนัก)

เลือกที่จะใช้มาตรการอย่า งเข้มงวดมากในการปิดเมื องทั่ว 90


Active Case (RHS) 140,000

Thailand 120,000
ประเทศ ซึ่งส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจอย่างรุนแรง ในขณะที่ Highly Infectious Average
100,000
เมื่อต้นปีที่ผ่านมา จานวนผู้ติดเชื้อ ที่รักษาตัวในโรงพยาบาล 70
80,000

(Active case) สู ง ขึ้ น มาก แต่ ม าตรการกลั บ มี ค วามผ่ อ น 50 60,000

คลายค่อนข้างมากเมื่อเทียบกับการระบาดครั้งก่อน จนทาให้ 30
40,000

สถานการณ์เกิดการระบาดอย่างรุนแรง 20,000

10 0
Mar-20 Jun-20 Sep-20 Dec-20 Mar-21 Jun-21

ที่มา: Hale et al. (2021), KKP Research

ความน่ากังวลของสายพั นธุ์เดลต้า: เคสที่สูงขึ้น โรงพยาบาลไม่เพี ยงพอ


ตั้งแต่เดือนมิถุนายนปีนี้เป็นต้นมา การแพร่ระบาดในประเทศมีแนวโน้มรุนแรงมากขึ้น ส่วนหนึ่งมีสาเหตุหลักมาจากการระบาด
ของเชื้อไวรัสสายพันธุ์เดลต้า ที่มีความสามารถในการแพร่เชื้อได้รวดเร็วมากขึ้น และลดประสิทธิผลของวัคซีนนที่มีอยู่ (Box 1)
ทาให้ระบบสาธารณสุขของไทยถู กทดสอบขีดจากัดในระดับรุนแรงที่ไม่เคยมีมาก่อน จานวนผู้ป่วยอาการหนักมีมากกว่าที่ห้อง
ICU และเครื่องช่วยหายใจจะรับไหว บุคลากรทางแพทย์อ่อนล้า และมีความเสี่ยงจากการติดเชื้อจากวัคซีนที่มีประสิทธิผลต่า
แผนการรับมือวิกฤติของรัฐบาลที่ไม่ชัดเจน การสื่อสารที่สับสน และความล่าช้าในการจัดหาวัคซีนที่มีประสิทธิผลและปริมาณ
เพียงพอได้สร้างความไม่แน่นอนมหาศาลต่อการวางแผนทางเศรษฐกิจของภาคธุรกิจและครัวเรือนในระยะข้างหน้า ทั้งหมดนี้จึง
เป็นความเสี่ยงหลักต่อเส้นทางกลับสู่ภาวะปกติ (path to normalcy) ที่จะล่าช้าออกไป

Box 1: ผลการศึกษาชีใ้ ห้เห็นถึงความสามารถในการแพร่เชือ


้ ได้รวดเร็วมากขึน
้ ของเชือ
้ กลายพันธุ์

Variant of Concern Origin Transmissibility

Alpha United Kingdom, 45-93% higher reproduction number than pre-existing variants
Sep-2020
Beta South Africa, 1.50 (95% CI 1.20-2.13) times as transmissible than previously circulating
May-2020 variants
Gamma Brazil, 1.4 - 2.2 times more transmissible than existing variants
Nov-2020
Delta India, - 40-60% more transmissible than Alpha variant
Oct-2020 - The odds ratio of household transmission was 1.64 among Delta variant
cases (95% CI 1.26-2.13) compared to Alpha cases
ที่มา: WHO, ECDC, Allen et al. (2021), Davies et al. (2021), Pearson et al. (2021), Faria et al. (2021), KKP Research complied

วัคซีน Inactivated Virus มีประสิทธิภาพตา่ กว่าในการป้องการการติดเชือ


้ สัดส่วนผูต
้ ด
ิ เชือ
้ สายพันธุเ์ ดลต้าในประเทศไทยเริม
่ เพิ่มสูงขึน

100%
21A (Delta)
Effectiveness Infection Hospitalization ICU Death
Jul-21
75% 59%
Sinovac 65.90% 87.50% 90.30% 86.30%
Pfizer- 50% Non-VoCs
92.60% 95.10% 96.20% 91.00%
BioNTech 20I (Alpha, V1)
25% Jul-21
ที่มา: Bloomberg, Jara et al., (2021) 41%
0%
Sep-20 Dec-20 Mar-21 Jun-21

ที่มา: Nextstrain

KKP RESEARCH I KIATNAKIN PHATRA FINANCIAL GROUP I 6


คาดล็อกดาวน์อย่างน้อย 3 เดือน เสี่ยงทาไทยเข้าสู่ภาวะเศรษฐกิจถดถอยอีกปี

แผนวัคซีนที่ล่าช้าและไม่แน่นอน เพิ่ มต้นทุนต่อเศรษฐกิจจากการล็อกดาวน์เพิ่ มเติม


ในปัจจุบันมีคนไทยได้รับวัคซีนครบสองโดสแล้วเพียง 3.5 ล้าน รูปที่ 6: คนได้รบ
ั วัคซีนสองเข็มแล้ว 3.5 ล้านคน
คน หรือคิดเพียง 5% ของประชากร และเกือบทั้งหมดได้รับ เกือบทัง้ หมดเป็น Sinovac (3.3 ล้านคน)
(Dose) Sinovac1 Sinovac2 Astra1
วัคซีน Sinovac (รูปที่ 6) ที่มีงานวิจัยพบว่ามีประสิทธิผลจากัด 14Mn
Astra2 Sinopharm1 Sinopharm2

ต่อเชื้อไวรัสสายพันธุ์เดลต้า และมีแนวโน้มที่ภูมิคุ้มกันลดลง 12Mn

เรื่อยๆ นอกจากนี้ความไม่แน่นอนในการจัดหาวัคซีนกาลังสร้าง 10Mn

ความเสี่ยงต่อสร้างภูมิคุ้มกันโดยรวมของประชากร 8Mn

6Mn

KKP Research คาดว่า จากปริมาณวัค ซีน ที่ มีไ ม่เ พี ย งพอ มี 4Mn

ความไม่แน่นอนค่อนข้างสูง ล่าช้ากว่าแผน และระยะเวลาที่ 2Mn

ต้องทิ้งห่างระหว่างวัคซีนโดสที่หนึ่งและโดสที่สองประมาณ 6- 0Mn
15-May-21 29-May-21 12-Jun-21 26-Jun-21 10-Jul-21
12 สัปดาห์ ภายในสิ้นปีนี้จะมีเพียง 35% ของประชากรจะได้รับ ที่มา: CCSA, KKP Research

วัคซีนครบสองโดส (รูปที่ 7) ซึ่งเป็นระดับที่ต่ามากเมื่อเทียบกับ


ประสบการณ์ในต่างประเทศ เช่น ในอังกฤษที่มีการฉีดวัคซีน รูปที่ 7: เพียง 35% ของประชากรจะได้รบ
ั วัคซีนครบในสิน
้ ปี
At least 1 dose Fully vaccinated
ครบสองโดสถึง 52% ของประชากร แต่กาลังเผชิญการระบาด 80%
Dec-21
ครั้งใหม่ ที่มีผู้ติดเชื้อสูงถึงวันละกว่า 50,000 คน (แต่การฉี ด 70%
35%
60%
วัคซีนทาให้ มีจานวนผู้เสียชีวิตต่อวัน น้อยกว่าไทยเสียอีก) ยิ่ง 50%
ทาให้โอกาสในการผ่อนคลายมาตรการล็อกดาวน์และเปิดเมือง 40%

ทาได้ยากมาก แม้ในบางพื้นที่เช่นกรุงเทพมหานครจะมีการเร่ง 30%


Jul-21
5%
ฉีดวัคซีน และอาจจะเริ่มผ่อนคลายมาตรการได้ก่อนพื้นที่อื่นๆ 20%

แต่ก็มีความเสี่ยงที่การระบาดจะยังคงอยู่ในพื้นที่อื่นๆ 10%

0%
Jun-21 Sep-21 Dec-21 Mar-22 Jun-22
นอกจากนี้ ด้วยความสามารถในการแพร่เชื้อที่มากขึ้นของสาย ที่มา: MOPH, KKP Research

พั น ธุ์ เดลต้า ที่ มากกว่า สายพั น ธุ์ อัล ฟ่ า ถึง 60% และวัคซีน ที่
จัดหาได้มีป ระสิ ท ธิผลด้อยลงมาต่อการป้องกันเชื้อสายพันธุ์
รูปที่ 8: ประชากรทีไ่ ด้รบ
ั วัคซีนครบโดสสามารถลดการแพร่
เดลต้า การเกิดภูมิคุ้มกันหมู่อาจจะเป็นได้ยากขึ้น ระบาดได้เทียบเท่ามาตรการปิดสถานที่ทางาน
Effects of lockdown and vaccine
จากการศึกษาของ Turner et al. (2021) พบว่า สัดส่ว นของ 0%

ประชากรที่ฉีดวัคซีนแล้วครบ 2 โดส จะมีผลต่อการลดการแพร่ -5%

ระบาดได้ เ ที ย บเท่ า กั บ มาตรการล็ อ กดาวน์ บ างมาตรการ


(รูปที่ 8) เช่น หาก 7% ของประชากรได้รับฉีดวัคซีนครบสอง -10%

โดสช่วยจะลดโอกาสการแพร่ระบาดเฉลี่ยได้เทียบเท่ามาตรการ 7% fully School Stay-at-


home
Border seal
-11.6%
Gatherings closures
-15%

ปิ ด โรงเรี ย น ค าสั่ ง ห้ า มออกนอกเคหะสถาน หรื อ การห้ า ม vaccinated


-12.7%
ban
-13.8%
-12.4% -12.1%

เดินทางระหว่างประเทศ แต่ถ้าหากมีประชากรได้รับวัคซีนครบ -20 %

สองโดสในระดับมากกว่า 13% ของประชากร ก็จะสามารถลด


13% fully Workplace
-25%

การแพร่ระบาดได้ผลเทียบเท่ามาตรการปิดสถานที่ทางาน เป็น vaccinated


closures
-23.4%
-23.5%
ต้น แต่ด้วยสัดส่วนประชากรที่ได้รับวัคซีนครบโดสแล้วในระดับ ที่มา: Turner et al. (2021), KKP Research
ปัจจุบันของไทยเพียง 5% ทางออกที่เหลืออยู่คงเป็นมาตรการ
ล็อกดาวน์ ที่เข้มงวดขึ้นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

KKP RESEARCH I KIATNAKIN PHATRA FINANCIAL GROUP I 7


คาดล็อกดาวน์อย่างน้อย 3 เดือน เสี่ยงทาไทยเข้าสู่ภาวะเศรษฐกิจถดถอยอีกปี

ล็อกดาวน์ต้องทาอย่างเป็นระบบ เพราะประสิทธิผลอยู่ได้ไม่เกิน 2 เดือน


งานศึกษาใน 152 ประเทศของ Goldstein et al. (2021) จากมหาวิยาลัย Havard ชี้ให้เห็นว่ามาตรการล็อกดาวน์ มีข้อจากัด
สาคัญ คือ ผลของมาตรการจะมีประสิทธิผลสูงสุดไม่เกินช่วง 2 เดือนแรก (golden period) โดยหลังจากบังคับใช้มาตรการ
ผ่านไป 60 วัน ผลที่ได้จะไม่ดีมากเท่าในช่วงแรก เนื่องจากความร่วมมือต่อมาตรการจะลดลงอย่างมาก (lockdown fatigue)
ด้วยข้อจากัดด้านเศรษฐกิจและสังคมทาให้การจากัดการเคลื่อนไหวของคนในสังคมต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานแทบจะทาไม่ได้
เลย การล็อกดาวน์ให้ประสบผลสาเร็จจึงเป็นเรื่องที่ท้าทายและต้องแข่งกับเวลา และในขณะเดียวกันถึงแม้จะมีมีการล็อกดาวน์ที่
เข้มข้น เรามองว่าสิ่งสาคัญต้องทาควบคู่กันไปด้วยเพื่อให้สถานการณ์คลี่คลายได้เร็วยิ่งขึ้น ได้แก่
1. เร่งเพิ่มศักยภาพในการตรวจหาเชื้อ เช่น การแจกหรือการอุดหนุน rapid antigen test ที่ต้องทาควบคู่ไปกับการให้ความรู้
ในการทดสอบ นโยบาย home isolation และการส่งผลตรวจอย่างมีประสิทธิภาพ จะสามารถเพิ่มศักยภาพในการตรวจหาเชื้อ
ซึ่งจะเป็นกุญแจสาคัญในการประเมินสถานการณ์การระบาดให้มีความถูกต้องมากขึ้น และจะสามารถวางนโยบายให้สอดคล้อง
กับการระบาดได้เหมาะสมยิ่งขึ้น รวมถึงทาให้ผู้ติดเชื้อที่ไม่มีอาการลดความเสี่ยงในการแพร่เชื้อให้ผู้อื่น
2. จัดหาวัคซีนที่มีประสิทธิผลสูงต่อสายพันธุ์เดลต้า การจัดหาวัคซีน mRNA ที่มีการศึกษาทางการแพทย์สนับสนุน และเร่งฉีด
ให้กับประชากรอย่างทั่วถึง เพื่อลดการแพร่ระบาดและลดการเข้ารักษาพยาบาลจากสายพันธุ์เดลต้า จะช่วยบรรเทาแรงกดดันที่
มีต่อระบบสาธารณสุข ลดการเสียชีวิต และทาให้ธุรกิจสามารถกลับมาเปิดได้มากขึ้น การที่ไม่สามารถฉีดวัคซีนได้แพร่หลาย
จะยิ่งเพิ่มความเสี่ยงที่การระบาดระลอกใหม่จะเกิดขึ้นหลังคลายมาตรการแล้ว
ความเสี่ยงที่มาตรการปิดเมืองอาจต้องเข้มข้นขึ้น
จากการศึกษาประเทศในกลุ่ม OECD 35 ประเทศ ในช่วงเดือนมกรคม 2020 ถึงพฤษภาคม 2021 พบว่ามาตรการที่มีผลใน
การลดอัตราการแพร่ระบาดได้มากที่สุด คือ การสั่งปิดสถานที่ทางานยกเว้นสาหรับงานที่มีความจาเป็น พบว่าสามารถลดอัตรา
การแพร่ระบาดได้เฉลี่ย 23% (Turner et al., 2021) ในขณะที่การบังคับใช้มาตรการด้านอื่น ๆ เช่น การงดรวมกลุ่มเกิน
10 คน การปิดโรงเรียน คาสั่งห้ามออกนอกเคหะสถานโดยเด็ดขาด (เช่น อนุญาตให้ออกจากบ้านได้ 1 ครั้งต่อสัปดาห์ หรือ
ออกจากบ้านได้เพียงครั้งละ 1 คน เป็นต้น) และการห้ามเดินทางเข้าออกประเทศหรือปิดชายแดน สามารถช่วยลดการแพร่เชื้อ
ได้น้อยกว่าที่ราว 12-14% โดยเฉลี่ย (รูปที่ 8) อย่างไรก็ตาม งานศึกษานี้ยังไม่ได้พิจารณาครอบคลุมถึงการแพร่ระบาดที่รวดเร็ว
ขึ้นของเชื้อสายพันธุ์เดลต้า เนื่องจากยังไม่มีการแพร่ระบาดรุนแรงในกลุ่มประเทศ OECD ก่อนเดือนพฤษภาคม 2021 จึงเป็นไป
ได้ว่าหากเรานาปัจจัยดังกล่าวมาพิจารณาด้วย ประสิทธิผลของมาตรการต่าง ๆ นี้จะถูกลดทอนลงไปในการระบาดของเชื้อสาย
พันธุ์เดลต้ารอบนี้
หากมาตรการที่ไทยใช้อยู่ในปัจจุบัน ไม่สามารถควบคุมการระบาดได้ มีความเป็นไปได้ที่ รัฐบาลอาจต้องต้องใช้มาตรการที่
เข้มข้นขึ้น เช่น มาตรการปิดสถานที่ทางาน แต่มาตรการเหล่านี้ต้องมีการวางแผนและประสานงานกับภาคเอกชนและหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างความเข้าใจ ลดผลกระทบและความสับสน และทาให้บังคับใช้มาตรการได้อย่างมีประสิทธิผลมากที่สุด
ยกตัวอย่างเช่น ในมาเลเซียมีการประกาศจัดประเภทอุตสาหกรรมตามความสาคัญ และอนุญาตให้สามารถทางานต่อไปได้ที่
capacity มากกว่ากลุ่มอุตสาหกรรมที่ไม่จาเป็น โดยบริษัทต้องส่งหนังสือขออนุญาตทางานอย่างเป็นทางการพร้อมกับรายชื่อ
พนักงาน เพื่อประเมินตารางเวลาทางานให้อยู่ภายใต้ข้อจากัดของ capacity ในแต่ละอุตสาหกรรม และเฉพาะพนักงานที่ได้รับ
การจัดสรรให้ทางานแต่ละช่วงเวลาเท่านั้นที่จะได้รับอนุญาตให้ เดินทางจากที่พักไปทางานได้ หรือในเวียดนามที่มีการทา
restricted area แยกส่วนเฉพาะสาหรับนิคมอุตสาหกรรม ให้ลูกจ้างสามารถปฏิบัติงานต่อไปได้ และห้ามไม่ให้มีการติดต่อกับ
กลุ่มภายนอกหรือเดินทางเข้าออกเพื่อลดการได้รับเชื้อหรือแพร่เชื้อระหว่างกัน เป็นต้น

KKP RESEARCH I KIATNAKIN PHATRA FINANCIAL GROUP I 8


คาดล็อกดาวน์อย่างน้อย 3 เดือน เสี่ยงทาไทยเข้าสู่ภาวะเศรษฐกิจถดถอยอีกปี

แต่การนามาตรการเหล่านี้ มาใช้จะมีผลกระทบทางเศรษฐกิจต่อ ภาคการผลิต และการส่งออกที่เป็นความหวังสาคัญ ของ


เศรษฐกิจไทยในปัจจุบัน และจะทใหผลกระทบต่อเศรษฐกิจมีม่ ากขึ้นไปอีก
ผลกระทบต่อเศรษฐกิจ: การบริโภคอาจถูกกระทบแรงกว่าปี 2020
สถานการณ์การระบาดที่รุนแรงและการปิดเมืองที่คาดว่ายาวนาน จะส่งผลกระทบต่อรายได้ กิจกรรมทางเศรษฐกิจ และการใช้
จ่ายภายในประเทศรุนแรงกว่าการระบาดรอบก่อน ตัวเลข Aggregate Mobility Index สะท้อนว่ากิจกรรมทางเศรษฐกิจของ
คนอยู่ในระดับต่าต่อเนื่องและชะลงตัวลงอีกครั้งในช่วงเดือนกรกฎาคม (รูปที่ 9) ในกรณีฐาน ประเทศไทยจะต้องมีมาตรการปิด
เมืองอย่างน้อย 3 เดือนเพื่อควบคุมการระบาด และยังมีความเสี่ยงที่มาตรการจะเข้มงวดขึ้นได้อีก เราคาดว่าการบริโภคจะติด
ลบเมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนทั้งในไตรมาส 2 และ 3 (รูปที่ 10) และการบริโภคทั้งปีจะติดลบเมื่อเทียบกับปีก่อน ในขณะที่การ
ลงทุนภาคเอกชนจะขยายตัวได้เล็กน้อยจากฐานต่าและภาคการผลิตเพื่อการส่งออกที่ยังขยายตัวได้ดี
รูปที่ 9: Aggregate Mobility Index สะท้อนการหดตัวทีร่ น
ุ แรง รูปที่ 10: ดัชนีการบริโภคและการลงทุนมีทศิ ทางสอดคล้องกับ
ทีส
่ ด
ุ ตัง
้ แต่มก
ี ารแพร่ระบาดหลังจากรอบแรก Aggregate Mobility Index ทีย ่ ง
ั หดตัวต่อเนือ
่ ง
10 (%)
50 0.10
0
-10
-20
0 0.00
-30
-40
-50
-50 -0.10
-60 1Q20 2Q20 3Q20 4Q20 1Q21 2Q21 3Q21 4Q21
13 Jan 21 7 May 21
-70 -55 -58 17 Jul 21 Aggregated Mobility Index (LHS)
9 Apr 20
-80 -63 Private consumption
-65
Private consumption (Forecast)
Jan-20 Apr-20 Jul-20 Oct-20 Jan-21 Apr-21 Jul-21
Private investment
ที่มา: Google, Apple, TomTom, KKP Research Private investment (Forecast)
ที่มา: NESDC, KKP Research

การส่งออกฟื้ นตัวแรง แต่มีความเสี่ยงจากการปิดโรงงาน


การส่งออกในช่วง 5 เดือนแรกของปีฟื้นตัวได้ดีกว่าที่ประเมินไว้ การส่งออกของไทยและภูมิภาคฟื้นตัวอย่างต่อเนื่องตาม
เศรษฐกิจโลกที่ขยายตัวได้ดีในปีนี้ แม้ตัวเลขการเติบโตจะสูงขึ้นส่วนหนึ่งจากฐานที่หดตัวลงแรงในปีก่อนแต่การส่งออกของไทย
ในช่วงที่ผ่านมามีมูลค่าเกินกว่ า 2 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ฯ เป็นระยะเวลา 4 เดือนติดต่อกันซึ่งถือเป็นระดับที่สูงกว่าปกติ
(รูปที่ 11) KKP Research ปรับประมาณการการส่งออกจาก 8.5% เป็น 13.4% สาหรับปี 2021 อย่างไรก็ตามดุลการค้าและดุล
บัญชีเดินสะพัดของไทยจะยังคงอยู่ในระดับต่าต่อเนื่อง ซึ่งเป็นผลมาจากนักท่องเที่ยวที่ยังไม่สามารถกลับเข้ามาในประเทศ
(รูปที่ 12) โดยคาดว่านักท่องเที่ยวจะกลับเข้ามาเพียง 1.6 แสนคน และ 5.8 ล้านคนในปีนี้และปี 2022 ตามลาดับ
รูปที่ 11: การส่งออกในช่วงทีผ
่ า่ นมามีมล
ู ค่าสูงกว่าปกติ รูปที่ 12: ดุลบัญชีเดินสะพัดของไทยจะยังคงอยูใ่ นระดับตา่
และเป็นปัจจัยบวกสาหรับเศรษฐกิจไทยในปี 2021 ต่อเนือ
่ งจากการท่องเทีย
่ วทีย
่ ง
ั ไม่ฟนตั
ื้ ว
(Mn USD) Primary + Secondary income
Export growth (%YoY) (RHS) Net service receipt
26,000 Export custom 0.4 (Bn USD) Treade balance (Mn person)
Export custom (6mma) Current account
24,000 0.3 20 10.8 12
10.3 Tourism (RHS)
9.7
22,000 0.2 15 9.0 10

10
20,000 0.1 6.7 8
5
6
18,000 0 0 3.8
4
16,000 -0.1 -5
1.3
-10 2
0.5
14,000 -0.2 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.1 0.3
-15 0
4Q20

4Q22
2Q19

1Q20

1Q21

4Q21
1Q22
3Q19

2Q20
4Q19

2Q22
1Q19

2Q21
3Q20

3Q22
3Q21

12,000 -0.3
Jan-10 Nov-11 Sep-13 Jul-15 May-17 Mar-19 Jan-21
ที่มา: BoT, TAT, KKP Research
ที่มา: MoC, KKP Research

KKP RESEARCH I KIATNAKIN PHATRA FINANCIAL GROUP I 9


คาดล็อกดาวน์อย่างน้อย 3 เดือน เสี่ยงทาไทยเข้าสู่ภาวะเศรษฐกิจถดถอยอีกปี

อย่างไรก็ตามความเสี่ยงที่ต้องจับตามอง คือ กรณีที่การระบาดของ รูปที่ 13: GDP ปีนอ


ี้ าจติดลบในกรณีเลวร้ายที่
โควิด-19 ส่งผลกระทบเพิ่มเติมต่อภาคการ KKP Research ประเมิน มีการปิดเมืองเพิ่มเติมและกระทบภาคการผลิต

ว่าในกรณีเลวร้าย จะเกิดผลกระทบขึ้นเพิ่มเติมต่อภาคการผลิต หาก


การระบาดของโควิด -19 รุนแรงกว่าคาดและรัฐบาลต้องประกาศ
+
นโยบายลอกดาวน์ที่เข้มงวดขึ้น ที่อาจกระทบต่อภาคการผลิต (เช่น
มีการปิดเมืองเพิ่มเติม และอนุญาตให้เปิดธุรกิจเฉพาะการผลิตสินค้า
จาเป็นเท่านั้น) ซึ่งอาจจะส่งผลต่อการส่ งออกที่เป็นเครื่องยนต์หลัก
ของเศรษฐกิจไทยเพียงตัวเดียวในปัจจุบัน ยิ่งไปกว่านั้นมาตรการ
ลอกดาวน์ที่เข้มงวดขึ้นจะส่ง ผลกระทบต่อทั้ง การบริโภคและการ
ลงทุนอีกต่อหนึ่ง ที่มา: KKP Research

ภายใต้กรณีเลวร้าย KKP Research สมมติให้ภาคการผลิตในกรุงเทพและปริมณฑลถูกกระทบในสัดส่วน 20% เป็นระยะเวลา


1 เดือน ซึ่งส่งผลให้การเติบโตของ GDP กลับทิศทางเป็นติดลบที่ระดับ -0.8% ได้ในปีนี้ (รูปที่ 13)
ผลกระทบที่รุนแรงต่อรายได้และสถานะทางการเงิน
รูปที่ 14: Implied Economic NPL เพิ่มขึน
้ ต่อเนือ
่ ง
KKP Research คาดการณ์ว่าการระบาดและมาตรการล็อกดาวน์ครั้ง ่ ี ICR ต่ากว่า 1 ต่อหนีร้ วม)
(สัดส่วนหนี้ของบริษัทจดทะเบียนทีม
นี้ ที่ น่ า จะกิ น เวลานานกว่ า การระบาดครั้ ง ก่ อ นๆ ก าลั ง สร้ า งการ (ข้อมูลไม่รวมกลุ่มพลังงานและการเงิน)

หยุดชะงักของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ กระแสเงินสด และกระทบต่อ 20% Implied NPL (12mma)

วิถีชีวิตของคนไทยอย่างรุนแรง หากไม่มีมาตรการช่วยเหลืออย่าง 15%

เหมาะสมและเพียงพอ การหยุดชะงักครั้งนี้จะกระทบต่อการจ้างงาน 10%

และความอยู่รอดของธุรกิจ และความสามารถในการจ่ายคืนหนี้ของ 5%

ครัวเรือนและธุรกิจโดยเฉพาะธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็กอย่าง 0%
หลีกเลี่ยงไม่ได้
Mar-08
Mar-09

Mar-20
Mar-21
Mar-10
Mar-11

Mar-15
Mar-12
Mar-13

Mar-17
Mar-18
Mar-14

Mar-16

Mar-19
แม้แต่สาหรับบริษัทขนาดใหญ่ในตลาดหลักทรัพย์ สถานะการเงินของ ที่มา: Bloomberg, KKP Research

บริษัทหลายแห่งก็อ่อนแอกว่าช่วงก่อนการระบาดของโควิด และมี
รูปที่ 15: Debt-at-Risk ยังคงอยูใ่ นระดับสูง
ความสามารถในการรองรั บ ผลกระทบเพิ่ ม เติ ม น้ อ ยลง เมื่ อ นั บ (มูลค่าหนีข ่ ี ICR ต่ากว่า 1)
้ องบริษัทจดทะเบียนทีม
สัดส่วนของหนี้ของบริษัทที่มี Interest coverage ratio (ICR) ต่า (ข้อมูลไม่รวมกลุ่มพลังงานและการเงิน)
(Baht)
กว่า 1 หรือมีกาไรน้อยกว่าภาระดอกเบี้ย พบว่าแม้ตัวเลขจะปรับตัว Health and Social Work
Real Estate Activities
1.0Mn Information and Communications
ดีขึ้นบ้างในช่วงไตรมาส 1 ปีนี้แต่ยังอยู่ในระดับที่สูงกว่าช่วงก่อนการ Accommodation and Food Service
0.8Mn Transport and Storage
ระบาดของโควิ ด (รู ป ที่ 14-15) ดั ง นั้ น ผลกระทบทางเศรษฐกิจ Wholesale and Retail Trade
Construction
เพิ่ ม เติ ม ในรอบนี้ มี โ อกาสเป็ น ไปได้ สู ง ที่ จ ะกระทบธุ ร กิ จ รุ น แรง 0.6Mn
Manufacturing
Agriculture

กว่ า เดิ ม และเริ่ ม กระทบต่ อ ความสามารถช าระหนี้ ในแง่ ข อง 0.4Mn

ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในแต่ละภาคธุรกิจยังพบว่าธุรกิจที่มีความ 0.2Mn

อ่อนแอสูงอยู่แล้ว เช่น ที่พักและร้านอาการ การขนส่ง จะได้รับ 0.0Mn


1Q14 1Q15 1Q16 1Q17 1Q18 1Q19 1Q20 1Q21
ผลกระทบหนักในรอบนี้เช่นกัน ความเสี่ยงของการผิดนัดชาระหนี้ใน ที่มา: Bloomberg, KKP Research

ธุรกิจกลุ่มนี้จึงเป็นประเด็นที่ต้องจับตามองมากที่สุดโดยเฉพาะธุรกิจ
SME ที่มีแนวโน้มมีสถานะทางการเงินที่อ่อนแอกว่าบริษัทจดทะเบียน

KKP RESEARCH I KIATNAKIN PHATRA FINANCIAL GROUP I 10


คาดล็อกดาวน์อย่างน้อย 3 เดือน เสี่ยงทาไทยเข้าสู่ภาวะเศรษฐกิจถดถอยอีกปี

นโยบายรัฐต้องมีเพี ยงพอและลดความไม่แน่นอน
KKP Research โดยเกียรตินาคินภัทรประเมินว่า การหยุดชะงักทางเศรษฐกิจที่จากมาตรการล็อกดาวน์รอบนี้ น่าจะกินเวลานาน
กว่าการระบาดสองรอบแรก และมีผลกระทบมหาศาลต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจ การจ้างงาน กระแสเงินสด ความสามารถใน
การจ่ายคืนหนี้ของครัวเรือนและธุรกิจขนาดกลางและเล็ก และวิถีชีวิตของประชาชนอย่างรุนแรงและกว้างขวาง รัฐบาลจึงควรมี
บทบาทสาคัญให้การให้ความช่วยเหลืออย่างเพียงพอ เพื่อลดผลกระทบ ป้องกันไม่ ให้เกิดแผลถาวรเป็นทางเศรษฐกิจ ช่วยให้
ธุรกิจและครัวเรือนสามารถวางแผนชีวิตได้อย่างเหมาะสม รักษาเศรษฐกิจให้สามารถฟื้นตัวกลับมาได้โดยเร็วเมื่อสถานการณ์
การระบาดปรับตัวดีขึ้น และรักษาการทางานระบบการเงินและเสถียรภาพของระบบการเงิน
KKP Research มองว่ามีหลายมาตรการที่รัฐบาลควรเร่งปรับปรุงนโยบาย และออกมาตรการเพื่อควบคุมสถานการณ์ และลด
ผลกระทบ
• ควรมีการประเมินสถานการณ์และสื่อสารกับประชาชนอย่างโปร่งใสและตรงไปตรงมา เพื่ออธิบายถึงสถานการณ์และขอ
ความร่วมมือจากประชาชนอย่างชัดเจน
• ควรจัดทาแผนมาตรการล็อกดาวน์ที่เป็นขั้นตอนและมองไปข้างหน้า สอดคล้องกับสถานการณ์ และสมเหตุสมผล และ
สื่อสารแผนการบังคับใช้และขั้นตอนในการผ่อนคลายไว้ล่วงหน้า โดยขึ้นอยู่กับสถานการณ์และตัวเลขด้านสาธารณสุขใน
แต่ละพื้นที่ มากกว่าระยะเวลา เพื่อให้ประชาชนและธุรกิจสามารถวางแผนได้อย่างมีเหตุผล และมีการประสานงานกับ
หน่วยงาน และภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องเพื่อทาความเข้าใจ และลดความสับสน
• เร่งเพิ่มศักยภาพในการตรวจหาโรค การสอบสวนโรค การแยกผู้ป่วย และการรักษา และปรับปรุงนโยบายที่เป็นอุปสรรค
ต่อศักยภาพในการตรวจโรค โดยอาศัยประสบการณ์ประเทศอื่นๆมาใช้ เช่น การแจก หรืออุดหนุน ชุดตรวจ rapid test
และส่งผลตรวจเข้าระบบกลาง ร่วมกับนโยบาย home isolation เพื่อลดข้อจากัดของระบบสาธารณสุข โดยมีการทา
ความเข้าใจกับประชาชนอย่างชัดเจนในขั้นตอนและข้อควรปฏิบัติ
• เร่งจัดหาวัคซีน mRNA ที่มีหลักฐานสนับสนุนในการป้องกันไวรัสสายพันธุ์เดลต้ าให้เร็วที่สุด เพื่อเร่งสร้างภูมิคุ้มกันของ
ประชาชน
• จัดเตรียมนโยบายเยียวยาประชาชนและธุรกิจที่เหมาะสมต่อระดับและระยะเวลาของมาตรการล็อกดาวน์ เพื่อสนับสนุนให้
มาตรการล็อคดาวน์มีประสิทธิผล ลดผลกระทบต่อประชาชน และป้องกันไม่ให้เกิดแผลเป็นถาวรทางเศรษฐกิจ และรักษา
เศรษฐกิจให้สามารถฟื้นตัวกลับมาได้โดยเร็วเมื่อสถานการณ์การระบาดปรับตัวดีขึ้น
• แม้ระดับหนี้สาธารณะมีแนวโน้มปรับสูงขึ้นและน่าจะเกินระดับเพดานหนี้ที่ 60% ของ GDP ในปี 2022 แต่ด้วยอัตรา
ดอกเบี้ยปรับลดลงในช่วงที่ผ่านมา ทาให้รายจ่ายดอกเบี้ยเป็นภาระต่องบประมาณน้อยลง เป็นความเสี่ยงต่อความยั่งยืน
ทางการคลังลดลง เราเชื่อว่าประเทศยังมีศักยภาพในการสร้างหนี้เพิ่ม หากมีความจาเป็นในการใช้งบประมาณเพิ่มเติม
โดยเฉพาะถ้าเป็นการใช้เงินที่เป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจ และประชาชน ป้องกันไม่ให้เศรษฐกิจหดตัว รั่วไหลน้อย โดย
จาเป็นต้องมีแผนในการลดการขาดดุลในอนาคต (มีแผนลดรายจ่าย หรือเพิ่มรายได้) เพื่อรักษาความเชื่อมั่นและรักษา
วินัยทางการคลัง และต้องจัดลาดับความสาคัญของการใช้งบประมาณให้มีประสิทธิภาพที่สุดสอดคล้องกับความจาเป็นใน
การเยียวยา การกระตุ้นเศรษฐกิจ และความท้าทายของประเทศหลังโควิด
• นโยบายการคลังและนโยบายการเงินควรต้องมีการประสานงานและมีบทบาทมากขึ้น เพื่อจัดหามาตรการเพื่อ บรรเทา
ผลกระทบจากการหยุดชะงักของเศรษฐกิจ กระแสเงินสด และความสามารถในการจ่ายคืนหนี้ของครัวเรือนและธุรกิจ
และเพื่อรักษาการทางานของภาคการเงิน หลีกเลี่ยงมาตรการที่บิดเบือนกลไกตลาด และรักษาเสถียรภาพของระบบ
การเงินของประเทศ
ในประเด็นเหล่านี้ KKP Research จะได้ทาการศึกษาและนาเสนอข้อเสนอแนะด้านนโยบายและมาตรการเฉพาะต่อไป

KKP RESEARCH I KIATNAKIN PHATRA FINANCIAL GROUP I 11


คาดล็อกดาวน์อย่างน้อย 3 เดือน เสี่ยงทาไทยเข้าสู่ภาวะเศรษฐกิจถดถอยอีกปี

เอกสารอ้างอิง
Allen, H., Vusirikala, A., Flannagan, J., Twohig, K., Zaidi, A., Groves, N., Lopez-Bernal, J., Harris, R., Charlett, A.,
Dabrera, G., & Kall, M. (2021). Increased household transmission of COVID-19 cases associated with SARS-CoV-
2 Variant of Concern B.1.617.2: a national case- control study.
https://khub.net/documents/135939561/405676950/Increased+Household+Transmission+of+COVID-19+Cases+-
+national+case+study.pdf/7f7764fb-ecb0-da31-77b3-b1a8ef7be9aa
Davies, N. G., Abbott, S., Barnard, R. C., Jarvis, C. I., Kucharski, A. J., Munday, J. D., Pearson, C. A. B., Russell, T. W.,
Tully, D. C., Washburne, A. D., Wenseleers, T., Gimma, A., Waites, W., Wong, K. L. M., van Zandvoort, K.,
Silverman, J. D., Diaz-Ordaz, K., Keogh, R., Eggo, R. M., & Funk, S. (2021). Estimated transmissibility and impact
of SARS-CoV-2 lineage B.1.1.7 in England. Science, eabg3055.
European Centre for Disease Prevention and Control. (2021). Implications for the EU/EEA on the spread of the SARS-
CoV-2 Delta (B.1.617.2) variant of concern.
https://www.ecdc.europa.eu/sites/default/files/documents/Implications-for-the-EU-EEA-on-the-spread-of-SARS-
CoV-2-Delta-VOC-23-June-2021_2.pdf
Faria, N. R., Mellan, T. A., Whittaker, C., Claro, I. M., Candido, D. da S., Mishra, S., Crispim, M. A. E., Sales, F. C. S.,
Hawryluk, I., McCrone, J. T., Hulswit, R. J. G., Franco, L. A. M., Ramundo, M. S., de Jesus, J. G., Andrade, P. S.,
Coletti, T. M., Ferreira, G. M., Silva, C. A. M., Manuli, E. R., & Pereira, R. H. M. (2021). Genomics and
epidemiology of the P.1 SARS-CoV-2 lineage in Manaus, Brazil. Science, eabh2644.
Goldstein, P., Yeyati, E. L., & Sartorio, L. (2021). Lockdown Fatigue: The Diminishing Effects of Quarantines on the
Spread of COVID-19. Growthlab. https://growthlab.cid.harvard.edu/publications/lockdown-fatigue-diminishing-
effects-quarantines-spread-covid-19
Hale, T., Angrist, N., Goldszmidt, R., Kira, B., Petherick, A., Phillips, T., Webster, S., Cameron-Blake, E., Hallas, L.,
Majumdar, S., & Tatlow, H. (2021). A global panel database of pandemic policies (Oxford COVID-19
Government Response Tracker). Nature Human Behaviour, 1–10. https://doi.org/10.1038/s41562-021-01079-8
Jara, A., Undurraga, E. A., González, C., Paredes, F., Fontecilla, T., Jara, G., Pizarro, A., Acevedo, J., Leo, K., Leon, F.,
Sans, C., Leighton, P., Suárez, P., García-Escorza, H., & Araos, R. (2021). Effectiveness of an Inactivated SARS-
CoV-2 Vaccine in Chile. New England Journal of Medicine.
Pearson, C., Russell, T., Davies, N., Kucharski, A., Covid-19, C., John Edmunds, W., & Eggo, R. (2021). Estimates of
severity and transmissibility of novel South Africa SARS-CoV-2 variant 501Y.V2.
https://cmmid.github.io/topics/covid19/reports/sa-novel-
variant/2021_01_11_Transmissibility_and_severity_of_501Y_V2_in_SA.pdf
Turner, D., Balázs Égert, Yvan Guillemette, & Jarmila Botev. (2021). The tortoise and the hare: The race between
vaccine rollout and new COVID variants. OECD Economics Department Working Papers, Article 1672.
https://doi.org/10.1787/4098409d-en

KKP RESEARCH I KIATNAKIN PHATRA FINANCIAL GROUP I 12

You might also like