You are on page 1of 28

แถลงขาววันที่ 18 พฤษภาคม 2563

GDP ไตรมาสแรก ป 2563 และแนวโนมป 2563


สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

18 พฤษภาคม 2563 www.nesdc.go.th 1


ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP) ไตรมาสแรก ป 2563
GDP Q1/63 -1.8
การบริโภคเอกชน การอุปโภคของรัฐบาล ปริมาณการสงออก (G&S) ลงทุนรวม

+3.0 -2.7 -6.7


มูลคาการสงออกสินคาในรูป US$ (1.5%)*
-6.5
เอกชน -5.5 ภาครัฐ -9.3

ภาคเกษตร สาขาอุตสาหกรรม สาขาที ่พักแรมและ


บริการดานอาหาร สาขาขนสง สาขากอสราง สาขาการคา สาขาการเงิน

-5.7 -2.7 -24.1 -6.0 -9.9 +4.5 +4.5


หมายเหตุ: *มูลคาการสงออกสินคาเปนฐานขอมูลดุลการชําระเงินของธนาคารแหงประเทศไทย
18 พฤษภาคม 2563 www.nesdc.go.th 2
ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP) ไตรมาสแรก ป 2563
GDP Growth (%)
2561 2562 2563
2561 2562
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1
GDP 4.2 2.4 5.0 4.6 3.2 3.8 2.9 2.4 2.6 1.5 -1.8
GDP ปรับฤดูกาล - - 1.9 0.8 0.1 1.0 1.0 0.3 0.3 -0.2 -2.2
ดานการใชจาย : การบริโภคภาคเอกชนชะลอตัว การใชจายภาครัฐ การลงทุนภาครัฐและเอกชนปรับตัวลดลง การสงออกรวม
ปรับตัวลดลงตามการสงออกบริการทีป่ รับตัวลดลงมาก ในขณะที่การสงออกสินคากลับมาขยายตัว

ดานการผลิต : การผลิตสาขาที่พักแรมและบริการดานอาหาร สาขาอุตสาหกรรม สาขาเกษตรกรรม สาขาการขนสงฯ และสาขากอสราง


ปรับตัวลดลง ในขณะที่การผลิตสาขาการขายสงและการขายปลีกฯ และสาขาขอมู ลขาวสารและการสื่ อสารขยายตั ว
ตอเนื่อง และการผลิตสาขาไฟฟา กาซฯ กลับมาขยายตัวอีกครั้ง

18 พฤษภาคม 2563 www.nesdc.go.th 3


เศรษฐกิจไทยไตรมาสแรก ป 2563
ดานการผลิต
2561 2562 2563
Growth (%) 2561 2562
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1
ภาคเกษตร 5.5 -0.2 8.3 10.4 2.9 1.3 1.7 -1.4 2.7 -2.5 -5.7
ภาคนอกเกษตร 4.0 2.6 4.7 4.1 3.2 4.1 3.0 2.8 2.5 2.0 -1.4
- การผลิต 2.7 -0.0 3.2 2.7 1.4 3.5 0.7 1.2 -0.1 -1.9 -1.9
- การบริการ 4.8 4.0 5.6 4.8 4.2 4.5 4.3 3.6 3.9 4.1 -1.1
GDP 4.2 2.4 5.0 4.6 3.2 3.8 2.9 2.4 2.6 1.5 -1.8

ดานการใชจาย
2561 2562 2563
Growth (%) 2561 2562
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1
การบริโภคภาคเอกชน 4.6 4.5 3.7 4.5 5.0 5.1 4.8 4.7 4.3 4.1 3.0
การอุปโภคภาครัฐบาล 3.8 2.1 2.4 2.9 2.8 2.2 3.5 1.5 1.7 -0.9 -2.7
การสะสมทุนถาวรเบื้องตน 3.8 2.1 3.3 3.7 3.8 4.3 3.2 1.9 2.7 0.8 -6.5
- ภาคเอกชน 4.1 2.8 3.3 3.3 3.9 5.7 4.3 2.1 2.3 2.6 -5.5
- ภาครัฐ 2.9 0.2 3.2 4.6 3.8 -0.3 0.0 1.5 3.7 -5.1 -9.3
การสงออกสินคาและบริการ 3.3 -2.6 6.4 6.7 -0.7 1.3 -3.5 -4.0 0.6 -3.4 -6.7
การนําเขาสินคาและบริการ 8.3 -4.4 8.9 9.5 10.3 4.6 0.1 -3.4 -5.9 -7.9 -2.5
GDP 4.2 2.4 5.0 4.6 3.2 3.8 2.9 2.4 2.6 1.5 -1.8
18 พฤษภาคม 2563 www.nesdc.go.th 4
เครื่องชี้ทางเศรษฐกิจ
การบริโภคชะลอตัวลงจากไตรมาสกอนหนาตามการลดลงของการใชจายในหมวดสินคาคงทนและกึ่งคงทน
1
สอดคลองกับการชะลอตัวของฐานรายไดในระบบเศรษฐกิจและการลดลงของความเชื่อมั่นผูบริโภค
2561 2562 Q1-62 Q2-62 Q3-62 Q4-62 Q1-63
การบริโภคภาคเอกชน (รอยละ) 4.6 4.5 4.8 4.7 4.3 4.1 3.0

การบริโภคภาคเอกชน
การใชจายในหมวดสินคาคงทนลดลงรอยละ 8.8 หมวดสินคากึ่งคงทนลดลงรอยละ 4.4
การบริโภคภาคเอกชน (แกนซาย) หมวดสินคาไมคงทนเพิ่มขึ้นรอยละ 2.8 และหมวดบริการเพิ่มขึ้นรอยละ 9.3
%YoY ดัชนี
ดัชนีความเชื่อมั่นผูบริโภคเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจโดยรวม (แกนขวา)
8 80 ปริมาณจําหนายรถยนตนั่งลดลงรอยละ 24.8 เทียบกับลดลงรอยละ 16.4 ใน Q4/62
6 75 ดัชนีปริมาณการนําเขาสินคาหมวดสิ่งทอเครื่องนุงหมลดลงรอยละ 1.2 เทียบกับลดลง
4 70 รอยละ 1.2 ใน Q4/62
2 65
0 การใชจายสินคาอาหารและเครื่องดื่มเพิ่มขึ้น ปลาทูนากระปอง (+50.5%) บะหมี่
-2 60 สําเร็จรูป (+9.1%) และน้ําดื่มบริสุทธิ์ (+9.1%)
-4 55
-6 50 ดัชนีปริมาณคาปลีกสินคากึ่งคงทนลดลงรอยละ 5.5 เทียบกับลดลงรอยละ 4.1 ใน Q4/62
Q1/56 Q1/57 Q1/58 Q1/59 Q1/60 Q1/61 Q1/62 Q1/63 ความเชื่อมั่นผูบริโภคเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจโดยรวมอยูที่ระดับ 49.7 ลดลงจากระดับ
ที่มา: สศช. และมหาวิทยาลัยหอการคาไทย 56.8 ใน Q4/62
18 พฤษภาคม 2563 www.nesdc.go.th 5
เครื่องชี้ทางเศรษฐกิจ
การลงทุนรวมปรับตัวลดลงตามการลดลงของการลงทุนในหมวดเครื่องมือเครื่องจักร
2 และการลงทุนในภาคการกอสราง
2561 2562 Q1-62 Q2-62 Q3-62 Q4-62 Q1-63
การสะสมทุนถาวรรวม (รอยละ) 3.8 2.1 3.2 1.9 2.7 0.8 -6.5
การลงทุนภาครัฐ (รอยละ) 2.9 0.2 0.0 1.5 3.7 -5.1 -9.3
การลงทุนภาคเอกชน (รอยละ) 4.1 2.8 4.3 2.1 2.3 2.6 -5.5

(%YoY) การลงทุนภาคเอกชน ดัชนี การลงทุนรวมลดลงรอยละ 6.5 เทียบกับขยายตัวรอยละ 0.8 ใน Q4/62


10 55 การลงทุนภาครัฐลดลงรอยละ 9.3 เทียบกับการลดลงรอยละ 5.1 ใน Q4/62
50 - รัฐวิสาหกิจ (+12.1%)
5
45
- รัฐบาล (-22.1%) (อัตราเบิกจายรายจายลงทุนรอยละ 10.5 เทียบกับรอยละ 18.2
0 ใน Q1/62)
40 การลงทุนภาคเอกชนลดลงรอยละ 5.5 เทียบกับขยายตัวรอยละ 2.6 ใน Q4/62
-5 การลงทุนภาคเอกชน กอสราง 35 หมวดเครื่องมือเครื่องจักรลดลงรอยละ 5.7 และหมวดกอสรางลดลงรอยละ 4.3
เครื่องมือเครื่องจักร ดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจ (แกนขวา) มูลคาการขอรับสงเสริมการลงทุน 71.4 พัน ลบ. ลดลงรอยละ 44.0 เทียบกับลดลงรอยละ
-10 30 16.3 ใน Q4/62 (ใน EEC 47.6 พัน ลบ. ลดลงจาก 276.8 พัน ลบ. ใน Q4/62)
Q1/59 Q1/60 Q1/61 Q1/62 Q1/63
ที่มา: สศช. และธนาคารแหงประเทศไทย ดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจ อยูที่ระดับ 45.1 เทียบกับระดับ 46.9 ใน Q4/62
18 พฤษภาคม 2563 www.nesdc.go.th 6
เครื่องชี้ทางเศรษฐกิจ
3 การใชจายเพื่อการอุปโภคของรัฐบาลปรับตัวลดลงจากไตรมาสกอนหนา
2561 2562 Q1-62 Q2-62 Q3-62 Q4-62 Q1-63
รอยละ 2.6 1.4 3.5 1.5 1.7 -0.9 -2.7
ร้อยละ การเบิกจายงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ 2563
80
Q2/FY2563
60
การใชจายอุปโภคของรัฐบาลลดลงรอยละ 2.7 เทียบกับการลดลง
รอยละ 0.9 ใน Q4/62
40
- รายจายซื้อสินคาและบริการ ลดลงรอยละ 10.4
20
- การโอนเงินเพื่อสวัสดิการสังคมที่ไมใชตัวเงิน เพิ่มขึ้นรอยละ 10.0
0
- คาตอบแทนแรงงาน (คาจาง เงินเดือน) เพิ่มขึ้นรอยละ 1.1
-20
- คาเสื่อมราคาทรัพยสินถาวร ทรงตัว
-40
55 56 57 58 59 60 61 62 63
อัตราเบิกจายงบประมาณรายจายประจําปใน Q2/FY2563 อยูที่รอยละ 25.3
อัตราการเบิกจายรวม อัตราการเบิกรายจายประจํา
สูงกวารอยละ 22.3 ใน Q2/FY2562
อัตราการขยายตัวของการเบิกรายจายประจํา
ที่มา: GFMIS
18 พฤษภาคม 2563 www.nesdc.go.th 7
เครื่องชี้ทางเศรษฐกิจ
การสงออกรวมลดลงตามการสงออกบริการที่ปรับตัวลดลงมาก แตการสงออกสินคากลับมาขยายตัว
4 2561 2562 Q1-62 Q2-62 Q3-62 Q4-62 Q1-63
ปริมาณการสงออกสินคาและบริการ (รอยละ) 3.3 -2.6 -3.5 -4.0 0.6 -3.4 -6.7
มูลคาการสงออกสินคาในรูป USD (รอยละ) 7.5 -3.2 -3.8 -4.2 0.0 -4.9 1.5
มูลคาการสงออกบริการ (รอยละ) 4.0 1.7 0.8 -0.4 4.2 2.0 -29.7
2561 2562 2563
(%YoY)
ทั้งป ทั้งป Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 มูลคาการสงออกสินคาในรูปเงิน USD เพิ่มขึ้นรอยละ 1.5 เทียบกับการลดลง
ดัชนีปริมาณการสงออกสินคา (%YoY) 3.9 -3.5 -4.2 -4.4 -0.4 -5.3 1.9
ดัชนีราคาสินคาสงออก (%YoY) 3.4 0.3 0.4 0.2 0.4 0.4 -0.4 รอยละ 4.9 ใน Q4/62
มูลคาการสงออกสินคา (ลานดอลลาร สรอ.) 251,108 242,981 59,979 60,538 63,295 59,169 60,867 - ปริมาณการสงออกเพิ่มขึ้นรอยละ 1.9
สินคาสงออกสําคัญ (%YoY)
ยานยนต 7.9 -3.3 -2.8 -3.5 -0.5 -6.3 -7.2 - ราคาสงออกลดลงรอยละ 0.4
- รถยนตนั่ง 2.6 -8.0 -8.2 -12.9 -4.4 -6.3 -11.1 การสงออกไปยังตลาด อาเซียน (9) (+4.3%) และตะวันออกกลาง (15) (+0.4%)
- รถกระบะและรถบรรทุก 8.3 -4.0 11.1 -4.3 0.5 -22.6 -27.4
- ชิ้นสวนและอุปกรณยานยนต 10.3 -0.7 -0.9 1.0 0.3 -3.1 0.7 ขณะที่ตลาดUS (-2.7%) หักอาวุธ,ยานพาหนะซอมรบ (+14.8%)
คอมพิวเตอร 17.9 22.0 42.7 21.1 26.4 6.6 11.0 จีน (-0.9%) ญี่ปุน (-5.5%) EU (15) (-4.6%) และออสเตรเลีย (-3.3%)
ชิ้นสวนและอุปกรณคอมพิวเตอร 5.9 -9.4 -18.9 -12.1 -10.6 5.2 15.0
เครื่องปรับอากาศ 10.4 4.4 -3.3 10.7 4.0 8.2 14.8 มูลคาสินคาสงออกที่เพิ่มขึ้น : น้ําตาล (+16.2%) คอมพิวเตอร (+11.0%)
ปโตรเคมี 16.0 -8.7 -6.2 -10.2 -9.2 -9.3 -10.7 ชิ้นสวนและอุปกรณคอมพิวเตอร (+15.0%) เครื่องปรับอากาศ (+14.8%)
ผลิตภัณฑปโตรเลียม 30.0 -21.8 -9.3 -14.4 -29.3 -30.7 -4.4 ชิ้นสวนเครื่องใชไฟฟา (+12.4%) อาหารสัตว (+10.6%)
ขาว 9.4 -25.9 -10.6 -23.9 -35.1 -33.3 -25.0
ยาง -23.6 -10.0 -8.9 -11.8 -3.9 -15.2 -2.7 และผลิตภัณฑยาง (+7.2%)
มันสําปะหลัง 7.0 -21.7 -14.2 -8.5 -27.3 -37.7 -19.0 มูลคาสินคาสงออกลดลง : ขาว (-25.0%) ยาง (-2.7%) มันสําปะหลัง (-19.0%)
น้ําตาล 11.1 1.1 -15.1 -19.6 5.1 51.1 16.2
ทองคําที่ยังไมขึ้นรูป -22.8 84.9 7.6 68.2 348.2 -16.4 223.5 รถยนตนั่ง (-11.1%) รถกระบะและรถบรรทุก (-27.4%) เคมีภัณฑ (-14.0%)
ที่มา: ธนาคารแหงประเทศไทย ปโตรเคมี (-10.7%) ผลิตภัณฑปโตรเลียม (-4.4%) และเครื่องจักรและอุปกรณ (-8.9%)
เครื่องชี ท
้ างเศรษฐกิ
สาขาเกษตรกรรม

การผลิตสาขาเกษตรกรรมลดลงตอเนื่อง ตามการลดลงของผลผลิตพืชเกษตร
5 การปาไม เนื่องจากไดรับผลกระทบจากภัยแลง
และการประมง
2561 2562 Q1-62 Q2-62 Q3-62 Q4-62 Q1-63
การผลิตสาขาเกษตรกรรม 5.5 -0.2 1.7 -1.4 2.7 -2.5 -5.7
การปาไม และการประมง
ดัชนีราคาสินคาเกษตร -5.4 1.9 -0.7 2.4 2.3 3.5 8.8
ดัชนีรายไดเกษตรกร 2.6 1.2 1.0 2.1 3.7 -0.4 2.0
ผลผลิต ราคาพืชผลสําคัญ และรายไดเกษตรกร การผลิตสาขาเกษตรกรรมฯ ลดลงรอยละ 5.7 เทียบกับการลดลงรอยละ 2.5 ใน Q4/62
(%YoY) GDP ภาคเกษตร ดัชนีราคาสินคาเกษตร ดัชนีผลผลิตสินคาเกษตรลดลงรอยละ 6.3 เทียบกับการลดลงรอยละ 3.8 ใน Q4/62
18 ดัชนีผลผลิตสินคาเกษตร - ผลผลิตที่ลดลง : ขาวเปลือก (-29.4%) ขาวโพด (-29.2%) กุงขาวแวนนาไม (-8.3%)
ออย (-12.7%) ปาลมน้ํามัน (-19.1%)
8.8 - ผลผลิตที่เพิ่มขึ้น : ไกเนื้อ (+7.0%) ยางพารา (+1.1%) ไขไก (+1.9%) สุกร (+0.5%)
8 ดัชนีราคาสินคาเกษตรเพิ่มขึ้นรอยละ 8.8 เรงขึ้นจากการขยายตัวรอยละ 3.5 ใน Q4/62
- ราคาเพิ่มขึ้น : ปาลมน้ํามัน (+123.2%) กลุมไมผล (+23.4%) ขาวเปลือก (+6.7%)
-2 ออย (+17.3%) ไกเนื้อ (+8.2%)
-6.3 - ราคาลดลง : ยางพารา (-9.0%) มันสําปะหลัง (-11.8%) กุงขาวแวนนาไม (-12.3%)
-5.7
-12 ขาวโพด (-10.0%)
Q1/59 Q1/60 Q1/61 Q1/62 Q1/63 ดัชนีรายไดเกษตรกรโดยรวมเพิ่มขึ้นรอยละ 2.0 ปรับตัวดีขึ้นจากการลดลงรอยละ 0.4 ใน Q4/62
ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร และสํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ภาคเหนือ (-22.2%) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (-17.4%) ภาคใต (+ 4.1%)
18 พฤษภาคม 2563 www.nesdc.go.th 9
เครื่องชี้ทางเศรษฐกิจ การผลิตอุตสาหกรรมลดลงตอเนื่อง อยางไรก็ดีการผลิตในอุตสาหกรรม
สาขาการผลิต
6 สินคาอุตสาหกรรม กลุมการผลิตเพื่อการสงออกกลับมาขยายตัวครั้งแรกในรอบหกไตรมาส
2561 2562 Q1-62 Q2-62 Q3-62 Q4-62 Q1-63
สาขาการผลิตสินคาอุตสาหกรรม 3.2 -0.7 0.2 0.1 -0.8 -2.2 -2.7
อัตราการใชกําลังการผลิตเฉลีย่ 69.2 66.0 70.8 65.0 64.8 63.3 66.7

(%YoY) GDP สาขาการผลิตสินคาอุตสาหกรรม สาขาการผลิตสินคาอุตสาหกรรมลดลงรอยละ 2.7 เทียบกับการลดลงรอยละ 2.2 ใน Q4/62


รอยละ
6.0 80
63.3 66.7 70
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมลดลงรอยละ 6.6 เทียบกับการลดลงรอยละ 6.8 ใน Q4/62
4.0
60 - สัดสวนสงออกระหวางรอยละ 30 - 60 (-19.0%) เทียบกับ (-15.5%) ใน Q4/62
2.0
50 - สัดสวนสงออกนอยกวารอยละ 30 (-2.2%) เทียบกับ (-4.7%) ใน Q4/62
0.0
40 - สัดสวนสงออกมากกวารอยละ 60 (+0.8%) เทียบกับ (-1.6%) ใน Q4/62
-2.0 GDP สาขาการผลิตสินคาอุตสาหกรรม -2.2 30 อัตราการใชกําลังการผลิตเฉลี่ยอยูที่รอยละ 66.7 เทียบกับรอยละ 70.8 ใน Q1/62
-4.0 -2.7
ผลผลิตอุตสาหกรรม 20 อุตสาหกรรมที่ลดลง ไดแก ยานยนต (-18.8%) น้ําตาล (-37.7%) ผลิตภัณฑปโตรเลียม (-4.3%)
-6.0 CapU (แกนขวา) 10 น้ํามันปาลม (-30.5%) และผลิตภัณฑยางอื่น ๆ (-6.3%) เปนตน
-6.6
-8.0 -6.9 0 อุตสาหกรรมที่ขยายตัว ไดแก เครื่องจักรอื่น ๆ (เครื่องปรับอากาศ) (+13.0%) คอมพิวเตอร
1Q59 1Q60 1Q61 1Q62 1Q63
และอุปกรณตอพวง (+6.9%) ผลิตภัณฑสัตวน้ําสดแชเย็น หรือแชแข็ง (+12.7%)
ที่มา: สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม และสํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และเภสัชภัณฑ (+13.4%) เปนตน
18 พฤษภาคม 2563 www.nesdc.go.th 10
เครื่องชี้ทางเศรษฐกิจ สาขาที่พักแรมและบริการดานอาหารปรับตัวลดลงตามการลดลงของจํานวน
สาขาที่พักแรม
7 และบริ นักทองเที่ยวตางประเทศ เนื่องจากไดรับผลกระทบจากการแพรระบาดของโรคโควิด 19
การดานอาหาร 2561 2562 Q1-62 Q2-62 Q3-62 Q4-62 Q1-63
การผลิตสาขาที่พักแรมและบริการดานอาหาร 7.6 5.5 5.0 3.6 6.7 6.8 -24.1
จํานวนนักทองเที่ยวตางประเทศ (รอยละ) 7.3 4.2 2.1 1.4 7.2 6.4 -38.0
รายรับจากนักทองเที่ยวตางประเทศ (รอยละ) 2.5 3.1 2.3 2.3 5.8 1.9 -40.4

ลานลานบาท รายรับจากนักทองเที่ยวตางประเทศ การผลิตสาขาที่พักแรมและบริการดานอาหาร ลดลงรอยละ 24.1 เทียบกับการขยายตัว


30.0 มาตรการ
การจัดระเบียบ
ทัวรผิดกฎหมาย
VOA มาตรการ รอยละ 6.8 ใน Q4/62
20.0 อุบัติเหตุเรือลม VOA
จ.ภูเก็ต จํานวนนักทองเที่ยวตางประเทศ 6.69 ลานคน ลดลงรอยละ 38.0 (ครั้งแรกในรอบ 13 ไตรมาส)
10.0
จีน (-60.0%) มาเลเซีย (-32.4%) ญี่ปุน (-32.6%) อินเดีย (-41.9%) และเกาหลีใต (-51.6%)
0.0
-10.0 Q1/59 Q1/60 Q1/61 Q1/62 Q1/63 รายรับจากนักทองเที่ยวตางประเทศ 0.332 ลานลานบาท ลดลงรอยละ 40.4
-20.0 ระเบิด จีน (-64.0%) มาเลเซีย (-37.3%) ญี่ปุน (-34.7%) อินเดีย (-45.4%) และเกาหลีใต (-54.2%)
7 จังหวัด ภาคใต รายรับจากนักทองเที่ยวชาวไทย 0.183 ลานลานบาท ลดลงรอยละ 33.6
-30.0
โควิด 19
-40.0 รายรับรวมจากการทองเที่ยว 0.515 ลานลานบาท ลดลงรอยละ 38.2 (ครั้งแรกในรอบ 6 ไตรมาส)
-50.0 GDP สาขาที่พักแรมและบริการดานอาหาร % (Y-o-Y) อัตราการเขาพักเฉลี่ยอยูที่รอยละ 51.50 ลดลงจากรอยละ 71.26 ใน Q4/62 และลดลงจาก
รายรับจากนักทองเที่ยวตางประเทศ % (Y-o-Y)
รอยละ 78.62 ใน Q1/62
ที่มา: กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา และสํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
18 พฤษภาคม 2563 www.nesdc.go.th 11
เครื่องชี้ทางเศรษฐกิจ
8 สาขาการขายสง การขายปลีก สาขาการขายสง การขายปลีกฯ ชะลอตัวลงจากไตรมาสกอนหนา ตามการชะลอตัวของ
การซอมยานยนตและจักรยานยนต การใชจายภาคครัวเรือนและการลดลงของจํานวนนักทองเที่ยวตางประเทศ
2561 2562 Q1-62 Q2-62 Q3-62 Q4-62 Q1-63
การผลิตสาขาการขายสง การขายปลีก
การซอมยานยนตและจักรยานยนต 6.6 5.7 6.7 5.5 5.3 5.2 4.5

ดัชนีการขายสง การขายปลีก และการซอมแซม


(%YoY)
12.0 GDP สาขาการขายสง การขายปลีก และการซอมแซม
การผลิตสาขาการขายสง การขายปลีก และการซอมแซมฯ ขยายตัวรอยละ 4.5
ชะลอลงจากการขยายตัวรอยละ 5.2 ใน Q4/62
10.0 ดัชนีการขายสง การขายปลีก และการซอมแซม
ดัชนีการขายสง (ยกเวนยานยนตและจักรยานยนต) ขยายตัวรอยละ 4.9
8.0
- หมวดการขายสงของใชในครัวเรือน (+9.9%)
6.0 4.5 - หมวดการขายสงสินคาทั่วไป (+30.0%)
4.0 ดัชนีการขายสงและการขายปลีก การซอมยานยนตและจักรยานยนตลดลงรอยละ 15.0
2.0 - หมวดการขายยานยนต (-18.3%)
0.0 - หมวดการขายชิ้นสวนและอุปกรณเสริมของยานยนต (-7.7%)
-2.0 -1.2 ดัชนีการขายปลีก (ยกเวนยานยนตและจักรยานยนต) ลดลงรอยละ 3.2
Q1/59 Q1/60 Q1/61 Q1/62 Q1/63 - หมวดรานขายปลีกอุปกรณอื่น ๆ ชนิดใชในครัวเรือน (-12.5%)
ที่มา: กรมสรรพากร และสํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ - หมวดรานขายปลีกเชื้อเพลิงยานยนต (-13.4%)
18 พฤษภาคม 2563 www.nesdc.go.th 12
เครื่องชี้ทางเศรษฐกิจ
สาขาการขนสง สาขาการขนสงและสถานที่เก็บสินคาปรับลดลง
9 และสถานที่เก็บสินคา ตามการลดลงของบริการขนสงผูโ ดยสาร โดยเฉพาะการขนสงทางอากาศ
ซึ่งสอดคลองกับการลดลงของจํานวนนักทองเที่ยวตางประเทศ
2561 2562 Q1-62 Q2-62 Q3-62 Q4-62 Q1-63
การผลิตสาขาการขนสง
และสถานที่เก็บสินคา 4.4 3.4 3.7 3.0 3.1 3.9 -6.0

20(%YoY)
GDP สาขาการขนสงและสถานที่เก็บสินคา สาขาการขนสงและสถานที่เก็บสินคาลดลงรอยละ 6.0 เทียบกับ
15 การขยายตัวรอยละ 3.9 ใน Q4/62
10 การบริการขนสง (บก อากาศ น้ํา) ลดลงรอยละ 6.4
5
4.7 - การขนสงทางบก (-4.2%)
0 - การขนสงทางน้ํา (+2.2%)
-5 -6.4
- การขนสงทางอากาศ (-20.8%)
-6.0
-10 การบริการสนับสนุนการขนสงลดลงรอยละ 2.4
Q1/59 Q1/60 Q1/61 Q1/62 Q1/63
GDP สาขาการขนสงและสถานทีเ่ ก็บสินคา RHS การบริการขนสง บริการไปรษณีย การบริการไปรษณียข ยายตัวรอยละ 4.7

ที่มา: สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
18 พฤษภาคม 2563 www.nesdc.go.th 13
เครื่องชี้ทางเศรษฐกิจ
10 สาขาไฟฟา กาซ การผลิตสาขาไฟฟา กาซ และระบบปรับอากาศกลับมาขยายตัว
และระบบปรับอากาศ ตามการขยายตัวของกิจกรรมการผลิตไฟฟา และกิจกรรมโรงแยกกาซ
2561 2562 Q1-62 Q2-62 Q3-62 Q4-62 Q1-63
การผลิตสาขาไฟฟา
กาซ และระบบปรับอากาศ 2.2 4.7 6.9 9.1 3.2 -1.2 1.1

(% YoY)
20.0
GDP สาขาไฟฟา กาซ และระบบปรับอากาศ สาขาไฟฟา กาซฯ ปรับตัวเพิ่มขึ้นรอยละ 1.1 เทียบกับลดลงรอยละ 1.2 ใน Q4/62
15.0 การผลิตไฟฟาขยายตัวรอยละ 0.9 ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากการลดลงรอยละ 1.7 ใน Q4/62
10.0 - การใชไฟฟาภาคครัวเรือน (+5.8%)
2.7
5.0 - การใชไฟฟาของภาคธุรกิจ (+3.0%)
1.1
0.0 0.9 - การใชไฟฟาภาคอุตสาหกรรม (-0.6%)
-5.0
โรงแยกกาซธรรมชาติขยายตัวรอยละ 2.7 เทียบกับการขยายตัวรอยละ 3.1 ใน Q4/62
-10.0
Q1/59 Q1/60 Q1/61 Q1/62 Q1/63
GDP สาขาไฟฟา กาซฯ กิจกรรมโรงแยกกาซ การผลิตไฟฟา RHS
ที่มา: สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
18 พฤษภาคม 2563 www.nesdc.go.th 14
เครื่องชี้ทางเศรษฐกิจ
11 สาขาการกอสราง การผลิตสาขากอสรางลดลงทั้งการกอสรางภาครัฐและภาคเอกชน
2561 2562 Q1-62 Q2-62 Q3-62 Q4-62 Q1-63
การผลิต
สาขากอสราง 2.4 1.9 3.0 3.4 2.7 -2.1 -9.9

(%YoY) GDP สาขาการกอสรางและ สาขาการกอสรางลดลงรอยละ 9.9 เทียบกับการลดลงรอยละ 2.1 ใน Q4/62


15 ดัชนีการจําหนายวัสดุกอสรางในประเทศ
การกอสรางภาครัฐลดลงรอยละ 13.4 เทียบกับการลดลงรอยละ 6.1 ใน Q4/62
- การกอสรางรัฐบาล (-29.6%) เทียบกับ (-17.4%) ใน Q4/62
5 - การกอสรางรัฐวิสาหกิจ (+20.8%) เทียบกับ (+15.2%) ใน Q4/62
การกอสรางภาคเอกชนลดลงรอยละ 4.3 เทียบกับการขยายตัวรอยละ 2.9 ใน
-0.9
-5 Q4/62 ทั้งนี้ การกอสรางอาคารที่อยูอาศัย การกอสรางอาคารที่มิใชที่อยูอาศัย
และสิ่งกอสรางอื่น ๆ ลดลงตามการลดลงของอุปสงคภายในประเทศ
-9.9
-15 GDP สาขาการกอสราง ดัชนีการจําหนายวัสดุกอ สรางในประเทศ ดัชนีราคาวัสดุกอสรางลดลงรอยละ 2.2 ตามการลดลงของราคาหมวดเหล็ก
และผลิตภัณฑเหล็ก (-8.5%) และหมวดซีเมนต (-0.3%) เปนสําคัญ
Q1/59 Q1/60 Q1/61 Q1/62 Q1/63
ที่มา: ธนาคารแหงประเทศไทย และสํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
18 พฤษภาคม 2563 www.nesdc.go.th 15
เครื่องชี้ทางเศรษฐกิจ
สาขาการเงินและ การผลิตสาขาการเงินและการประกันภัยเรงขึน้
12 ทั้งดานการเงินและการประกันภัย
การประกันภัย
2561 2562 Q1-62 Q2-62 Q3-62 Q4-62 Q1-63
การผลิตสาขาการเงิน
และการประกันภัย 6.4 3.4 2.0 1.8 3.8 3.4 4.5

(%YoY) GDP สาขาการเงินและการประกันภัย


12.0 สาขาการเงินและการประกันภัยขยายตัวรอยละ 4.5 เรงขึ้นจาก
9.0 การขยายตัวรอยละ 3.4 ใน Q4/62
6.0 4.5
บริการทางการเงินขยายตัวในเกณฑสูงตามการใชสินเชื่อบัตรเครดิต
3.4 และสินเชื่ออุปโภคบริโภคของผูประกอบธุรกิจบัตรเครดิต
3.0
ที่มิใชสถาบันการเงิน
0.0
การประกันภัยขยายตัวตอเนื่องจากประกันชีวิตและประกันวินาศภัย
Q1/59 Q1/60 Q1/61 Q1/62 Q1/63 Q1/67
ที่มา: ธนาคารแหงประเทศไทย และสํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
18 พฤษภาคม 2563 www.nesdc.go.th 16
ในไตรมาสที่หนึ่งของป 2563 เศรษฐกิจโลกเริ่มไดรับผลกระทบจากการแพรระบาดของโรคโควิด 19 สงผลให
เศรษฐกิจชะลอตัวหรือปรับตัวลดลงต่ําสุดในรอบหลายปนับตั้งแตวิกฤตการณทางการเงินในป 2552
GDP มูลคาการสงออกสินคา
%YoY 2561 2562 2563 ต่ําสุดในรอบ 2561 2562 2563
ทั้งป Q3 Q4 ทั้งป Q1 (ไตรมาส) ทั้งป Q3 Q4 ทั้งป Q1
สหรัฐฯ 2.9 2.1 2.3 2.3 0.3 41 7.8 -1.7 -1.4 -1.3 -3.3
ยูโรโซน 1.9 1.3 1.0 1.2 -3.2 42 8.7 -1.4 -0.9 -2.6 -4.6
สหราชอาณาจักร 1.3 1.3 1.1 1.4 -1.6 41 10.2 -12.1 5.1 -3.6 -10.2
ออสเตรเลีย 2.7 1.8 2.2 1.8 - - 11.3 7.8 -0.8 5.3 -6.4
ญี่ปุน 0.3 1.7 -0.7 0.7 -2.0 41 5.7 -1.3 -4.4 -4.4 -4.4
จีน 6.7 6.0 6.0 6.1 -6.8 113 9.9 -0.3 2.0 0.5 -13.3
อินเดีย 6.8 5.1 4.7 5.3 - - 8.7 -3.8 -1.0 0.1 -12.8
เกาหลีใต 2.7 2.0 2.3 2.0 1.3 42 5.4 -12.3 -11.8 -10.4 -1.7
ไตหวัน 2.7 3.0 3.3 2.7 1.5 16 5.9 -0.9 1.8 -1.4 3.7
ฮองกง 2.8 -2.8 -3.0 -1.2 -8.9 185 6.8 -6.3 -2.6 -4.1 -8.8
สิงคโปร 3.5 0.7 1.0 0.7 -2.2 44 10.3 -7.8 -3.5 -5.2 -3.6
อินโดนีเซีย 5.2 5.0 5.0 5.0 3.0 73 6.6 -6.9 -3.8 -7.0 2.8
มาเลเซีย 4.8 4.4 3.6 4.3 0.7 42 14.2 -3.5 -3.2 -4.3 -0.9
ฟลิปปนส 6.3 6.3 6.7 6.0 -0.2 85 0.9 2.2 6.2 2.3 -5.2
เวียดนาม 7.1 7.5 7.0 7.0 3.8 44 13.3 10.5 8.5 8.4 7.6
ที่มา: CEIC รวบรวมโดย สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) ณ วันที่ 18 พฤษภาคม 2563
18 พฤษภาคม 2563 www.nesdc.go.th 17
เงื่อนไขความไมแนนอนที่สําคัญ ๆ 100,000
ผูปวยติดเชื้อสะสมยอนหลัง 14 วัน ประเทศตาง ๆ
10,000 1,000
(1) การระบาดในประเทศสําคัญ ๆ รุนแรงและยืดเยื้อเพียงใด จีน เกาหลีใต ฮองกง
กลับมาระบาดในระลอกที่สองหรือไม ลักษณะและความ
เขมขนของมาตรการ Lockdown เปนอยางไร
(2) ขีดความสามารถของรัฐบาลประเทศสําคัญ ๆ ในการ 0 0 0
ดําเนินมาตรการใหธุรกิจอยูรอดในชวงที่การระบาดรุนแรง
และมาตรการ Lockdown มีความเขมขน และมีความ 100,000 100,000 100,000
พรอมในการกลับมาในชวงที่การระบาดของไวรัสและ เยอรมนี ฝรั่งเศส อิตาลี
มาตรการ Lockdown ผอนคลายลง และขีดความสามารถ
ในการควบคุมไมใหปญหาลุกลามไปสูภาคการเงิน
(3) ความคืบหนาในการพัฒนาวัคซีนหรือยารักษาโรคโควิด 19 0 0 0
ไดอยางมีประสิทธิภาพกอนสิน้ ปไดหรือไม 5,000 10,000 ญี่ปุน
มาเลเซีย 100,000 อังกฤษ
(4) การตอบสนองของเชื้อไวรัสตอการเปลี่ยนแปลงสภาพ
อากาศ และนําไปสูการระบาดรุนแรงในระลอกที่สองหรือไม
(5) การผอนคลายมาตรการของประเทศสําคัญๆ ที่เปนแหลง 0 0 0
ตนทางและแหลงปลายทางของนักทองเที่ยวใหประชาชน
เดินทางระหวางประเทศ ทั้งเพื่อการติดตอธุรกิจ และเพื่อ 500,000 สหรัฐฯ 20,000
สิงคโปร 200,000 รัสเซีย
การทองเที่ยวไดเมื่อไหร มากนอยเพียงใด และภายใต
วิธีการควบคุมอยางไร
0 0 0
18 พฤษภาคม 2563 www.nesdc.go.th 18
สมมติฐานการประมาณการเศรษฐกิจป 2563
ขอมูลจริง ประมาณการป 2563
2561 2562 ณ 17 ก.พ. 2563 ณ 18 พ.ค. 2563
การขยายตัวของเศรษฐกิจโลก (%) 3.8 3.1 3.2 -2.8
สหรัฐอเมริกา 2.9 2.3 2.1 -6.0
ยูโรโซน 1.9 1.2 1.3 -7.4
ญี่ปุน 0.3 0.7 0.6 -4.9
จีน 6.7 6.1 5.7 2.0
ปริมาณการคาโลก (%) 4.0 1.5 2.4 -10.0
อัตราแลกเปลี่ยน (บาท/ดอลลาร สรอ.) 32.3 31.0 30.7 – 31.7 31.8 – 32.8
ราคาน้ํามันดิบดูไบ (ดอลลาร สรอ./บารเรล) 69.5 63.3 57.0 - 67.0 33.0 - 43.0
ราคาสงออก ดอลลาร สรอ. (%) 3.4 0.3 (-0.6) – 0.4 (-2.5) – (-1.5)
ราคานําเขา ดอลลาร สรอ. (%) 5.6 0.2 (-0.6) – 0.4 (-4.0) – (-3.0)
รายรับจากนักทองเที่ยวตางชาติ (ลานลานบาท) 1.82 1.88 1.73 0.59
ที่มา: สศช.
1. เศรษฐกิจโลกและปริมาณการคาโลก ในป 2563 คาดวาจะลดลงรอยละ 2.8 และรอยละ 10.0 เทียบการขยายตัวรอยละ 3.2 และรอยละ 2.4 ในสมมติฐานประมาณการครั้งกอน เนื่องจากการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโค
วิด-19 มีความรุนแรงและขยายขอบเขตไปสูประเทศตางๆ อยางเปนวงกวางในลักษณะ Pandemic (มากกวา 213 ประเทศ) อยางไรก็ดี ในกรณีฐานคาดวาการแพรระบาดจะลดความรุนแรงลงเขาสูวงจํากัดไดตั้งแตในชวง Q3
2. เงินบาทเทียบกับ USD ในป 2563 คาดวาจะอยูที่เฉลี่ย 32.3 THB:USD ออนคาลงจากคาเฉลี่ย 31.0 บาทตอดอลลาร สรอ. ในป 2562 และออนคาลงเล็กนอยจากคาเฉลี่ย 31.2 บาทตอดอลลาร สรอ. ในการประมาณการ
ครั้งกอน เนื่องจากสถานการณการระบาดของโควิด-19 ที่ขยายขอบเขตและมีแนวโนมที่จะสงผลกระทบตอเศรษฐกิจโลกอยางรุนแรงทําใหนักลงทุนมีความวิตกกังวลและหันมาถือครองดอลลาร สรอ. มากขึ้น
3. ราคาน้ํามันดิบดูไบ เฉลี่ยในป 2563 คาดวาจะอยูที่เฉลี่ย 38.0 USD/BBL. ต่ํากวาราคาเฉลี่ยที่ 63.3 USD/BBL. ในป 2562 และปรับลดจากเฉลี่ย 62.0 USD/BBL. ในสมมติฐานประมาณการครั้งกอน โดยมีสาเหตุหลัก
มาจาก (1) การแพรระบาดของโรคโควิด 19 ที่สงผลใหความตองการใชน้ํามันทั่วโลก (2)การเพิ่มขึ้นของปริมาณน้ํามันดิบคงคลังของสหรัฐฯ ซึ่งสูงสุดในรอบกวา 3 ป ซึ่งสะทอนอุปทานสวนเกินในตลาดโลก
4. ราคาสงออกและราคานําเขาสินคา ในป 2563 คาดวาจะลดลงรอยละ 2.0 และรอยละ 3.5 เทียบกับการเพิ่มขึ้นรอยละ 0.3 และรอยละ 0.2 ตามลําดับ ในป 2562 ปรับลดจากสมมติฐานครั้งกอนที่คาดวาทั้งราคาสินคา
สงออกและราคาสินคานําเขาจะลดลงเล็กนอยรอยละ 0.1 สอดคลองกับการปรับลดสมมติฐานราคาน้ํามันดิบจากเดิมที่คาดวาจะลดลงรอยละ 2.1 เปนการลดลงรอยละ 40.0 และแนวโนมการปรับตัวลดลงของราคาสินคา
โภคภัณฑทั้งราคาวัตถุดิบและราคาสินคาอุตสาหกรรมสําคัญ ๆ จากผลกระทบของโรคโควิด 19 ประกอบกับการปรับสมมติฐานการออนคาของคาเงินบาทเมื่อเทียบกับการประมาณการครั้งกอน
5. รายรับและจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติ ในป 2563 คาดจะอยูที่ 0.59 ลานลานบาท (ลดลงรอยละ 68.7 จาก 1.88 ลานลานบาทในป 2562) และจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติคาดจะอยูที่ 12.7 ลานคน (ลดลงรอยละ 68.1
จากจํานวน 39.8 ลานคนในป 2562) ภายใตกรณีฐานที่คาดวาการแพรระบาดของโรคโควิด 19 ทั่วโลกจะเริ่มเขาสูวงจํากัดใน Q3
6. อัตราการเบิกจายงบประมาณภาครัฐ ประกอบดวย (1) งบประมาณรายจายประจําป 2563 คาดจะอยูที่รอยละ 90.5 (เทียบกับรอยละ 91.2 ในสมมติฐานประมาณการครั้งกอน) แบงเปน (i) งบลงทุนรอยละ 55.0 (เทียบกับ
รอยละ 65.0) และ (ii) งบประจํารอยละ 99.0 (เพิ่มขึ้นจากรอยละ 98.0) ขณะที่ (1) งบประมาณรายจายประจําป 2564 คาดจะอยูที่รอยละ 94.2 ) แบงเปน (i) งบประจํารอยละ 98.0 และ (ii) งบลงทุนรอยละ 80.0
ตามลําดับ (3) งบเหลื่อมป 2563 รอยละ 90 (เพิ่มขึ้นจากรอยละ 70.0) และ (4) งบลงทุนรัฐวิสาหกิจรอยละ 75 เทากับประมาณการครั้งกอน และ (5) การใชเงินภายใต พ.ร.ก.เงินกู 1 ลานลานบาท จะมีเม็ดเงินเขาสูระบบ
563,400 ลบ. ในป 2563
18 พฤษภาคม 2563 www.nesdc.go.th 19
แนวโนมเศรษฐกิจ ป 2563
ขอมูลจริง ประมาณการ ป 2563
2561 2562 ณ 17 ก.พ. 63 ณ 18 พ.ค. 63
การขยายตัวของ GDP (%) 4.2 2.4 1.5 – 2.5 (-6.0) – (-5.0)
การบริโภคภาคเอกชน 4.6 4.5 3.5 -1.7
การอุปโภคภาครัฐบาล 2.6 1.4 2.6 3.6
การลงทุนภาคเอกชน 4.1 2.8 3.2 -4.2
การลงทุนภาครัฐ 2.9 0.2 4.8 5.6
มูลคาการสงออก (รูปเงิน USD,%) 7.5 -3.2 1.4 -8.0

เงินเฟอ (%) 1.1 0.7 0.4 – 1.4 (-1.5) – (-0.5)

ดุลบัญชีเดินสะพัด (%GDP) 5.6 7.0 5.3 4.9


ที่มา: สศช.
18 พฤษภาคม 2563 www.nesdc.go.th 20
ขอจํากัดของเศรษฐกิจในป 2563

การหดตัวรุนแรงของเศรษฐกิจโลก การลดลงรุนแรงของจํานวนและ ขอจํากัดจากการเปลี่ยนพฤติกรรม สถานการณภัยแลง


และปริมาณการคาโลก รายไดจากนักทองเที่ยว และมาตรการควบคุมและปองกัน
เศรษฐกิจและปริมาณการคาโลกมีแนวโนม 2562 2563 มาตรการรักษาระยะทางสังคม (Social ขอมูล ณ 1 พ.ค. 2563 :
หดตัวรุนแรงที่สุดนับตั้งแต Great Distancing/ Work from Home/ Online
ทั้งป Q1 ทั้งป_F learning) ปริมาณน้ําในเขื่อนและอางเก็บน้ํา
depression ป 1927 (2472) ตางประเทศมาไทย (ทั่วประเทศ)
มาตรการปองกันควบคุมและจํากัดการเดินทาง ลาน ลบ.ม.
(-16.6%YoY)
จํานวนนักทองเที่ยว 39.8 6.7 12.7 การประกาศมาตรการปองกันการแพรระบาดของ 60,000 40,454
ต่ําสุดในรอบ ตางชาติ (ลานคน) 33,757
%YoY 2561 2562 2563_f COVID-19 รวม 7 ฉบับ ภายหลังการประกาศ 40,000
(ป) %YoY 4.2 -38.0 -68.2 สถานการณฉุกเฉิน เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2563 20,000
เศรษฐกิจโลก (%) 3.8 3.1 -2.8 91 รายรั บทองเที่ยว 1.88 0.32 0.59
(ลานบาท)  ฉบับที่ 1 (25 มี.ค.) การปดสถานที่เสี่ยง 1 พ.ค. 62 1 พ.ค. 63
สหรัฐอเมริกา 2.9 2.3 -6.0 60 %YoY 2.5 -41.4 -68.8 งดกิจกรรมบางประการ
 ฉบับที่ 2 (6 เม.ย.) การหามออกจาก ปริมาณน้ําในเขื่อนและอางเก็บน้ํา
ยูโรโซน 1.9 1.2 -7.4 25 ไทยไปต างประเทศ เคหสถานเวลา 22.00-04.00 น.
รายจายทองเที่ยว ลาน ลบ.ม. (ทั่วประเทศ)
ญี่ปุน 0.3 0.7 -4.9 10 0.44 - 0.15  ฉบับที่ 3 (10 เม.ย.) ปรับปรุง (ฉบับที่ 2) 37,535 (-2.6%YoY)
(ลานบาท) 38,000
%YoY 13.4 - -65.0 การยกเวนบุคคลกรณีพิเศษ 36,567
จีน 6.7 6.1 2.0 44  ฉบับที่ 4 (29 เม.ย.) ขยายระยะเวลา
หมายเหตุ : ขอมูลรายรับและรายจายจากการทองเที่ยวเปนขอมูล 36,000
ปริมาณการคาโลก 4.0 1.5 -10.0 - บนฐานดุลการชําระเงินของธนาคารแหงประเทศไทย (ธปท.) สถานการณฉุกเฉิน
1 พ.ค. 57 1 พ.ค. 58
การระบาดในประเทศตนทางของนักทองเที่ยว  ฉบับที่ 5 (1 พ.ค.) หาม หรือจํากัด
มูลคาการสงออก 7.5 -3.2 -8.0 11 การดําเนินการกิจกรรมบางอยาง
หลายแหงยังฟนตัวลาชา ผลกระทบ GDP เกษตร
ที่มา : สศช. ความแตกตางในการคัดกรอง ติดตาม และรักษา  ป 2558 GDP ภาคเกษตรลดลงรอยละ 6.5
ของประเทศตาง ๆ  Q1/63 GDP ภาคเกษตรลดลงรอยละ 5.7
ความระมัดระวังของนักทองเที่ยว
18 พฤษภาคม 2563 www.nesdc.go.th 21
ปจจัยสนับสนุนในป 2563

การลดลงของการระบาดภายในประเทศ และการผอนคลาย
การปรับตัวดีขึ้นเศรษฐกิจและการคาโลกในครึ่งปหลัง การลดลงของการระบาดภายในประเทศ และการผอฐนคลา
มาตรการปดสถานที่และการเดินทางของภาครั
มาตรการปดสถานที่และการเดินทาง
การระบาดของ COVID-19 ในประเทศคูคาสําคัญ ๆ บางประเทศเริ่มดีขึ้น การลดลงของจํานวนผูติดเชื้อใหมภายในประเทศ
ทํ า ให ห ลายประเทศเริ่ ม ผ อ นคลายมาตรการป ด สถานที่ แ ละจํ า กั ด ผูปวยโรคโควิด 19 ภายในประเทศ
การเดินทาง 3,500
3,000
200
 ประเทศในเอเชียที่ลดลงอยางมีนัยสําคัญตอเนื่อง: จีน เกาหลีใต ไตหวัน ฮองกง 2,500 150
 ประเทศในยุโรปเริ่มปรับตัวลดลง: เยอรมนี ฝรั่งเศส อิตาลี นอรเวย 2,000 100
1,500
1,000 50
มาตรการกระตุนเศรษฐกิจดานการเงินและการคลัง 500
0 0

31/1/63

14/2/63

21/2/63

28/2/63

13/3/63

20/3/63

27/3/63

10/4/63

17/4/63

24/4/63

15/5/63
7/2/63

6/3/63

3/4/63

1/5/63

8/5/63
การคลัง การเงิน
วงเงิน 3 ลานลานดอลลาร สรอ. • ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายเหลือรอยละ 0-0.25 สะสม รายใหม (แกนขวา)
สหรัฐฯ
(รอยละ 14 ของ GDP) • QE ไมจํากัดวงเงิน มาตรการผอนคลายของภาครัฐ
วงเงิน 1.56 แสนลานยูโร • ตั้งกองทุนเพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ  ระยะแรก (3 พ.ค. 63) สถานที่เกี่ยวของกับการดูแลสุขภาพและการออกกําลัง
เยอรมนี
(รอยละ 4.9 ของ GDP) • ค้ําประกันสินเชื่อ 7.57 แสนลานยูโร (รอยละ 25 ของ GDP) กาย รานคาปลีก รานคาสงชุมชน กิจการ/กิจกรรมที่ดําเนินการในพื้นที่เปดโลง
วงเงิน 117 ลานลานเยน • เพิ่มวงเงินเขาซื้อกองทุนและ QE ไมจํากัดวงเงิน
ญี่ปุน  ระยะที่สอง (17 พ.ค. 63) หางสรรพสินคา รานคาปลีกคาสงและตลาดขนาดใหญ
(รอยละ 21.1 ของ GDP) • ปลอยสินเชื่อไมมีดอกเบี้ย วงเงิน 23 ลานลานเยน สถานออกกําลังกายในรม
วงเงิน 2.6 ลานลานหยวน • ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย/ ลดสัดสวนเงินสํารองของสถาบันการเงิน  การขยายระยะเวลาออกนอกเคหะสถาน/ดําเนินกิจกรรม จาก 22.00-04.00 น.
จีน
(รอยละ 2.5 ของ GDP) • เพิ่มสภาพคลองใหกับสถาบันการเงิน และธุรกิจ SME เปน 23.00-04.00 น.
18 พฤษภาคม 2563 www.nesdc.go.th 22
ปจจัยสนับสนุนในป 2563

แรงขับเคลื่อนจากมาตรการภาครัฐ การผลิตและการสงออกสินคาสําคัญ ๆ ทีและการผ


การลดลงของการระบาดภายในประเทศ ่ไดประโยชน จาก
อนคลา
การเปลี่ยมาตรการป
นแปลงทิศทางการค
ดสถานที่แาและการย
ละการเดินาทาง
ยฐานการผลิต
งบประมาณรายจายประจําป 2563 วงเงิน 3.2 ลานลานบาท การสงออกสินคาสําคัญหลายรายการยังขยายตัวในเกณฑดี
 รายจายประจํา 2,587,655 ลานบาท (+5.7 %YoY)
 รายจายลงทุน 612,345 ลานบาท (+11.1 %YoY) มูลคาการสงออก 2562 2563
ในรูปดอลลาร สรอ. (%YOY) Q4 Q1 ม.ค. ก.พ. มี.ค.
งบประมาณรายจายประจําป 2564 โดยคาดวา Q1/FY64 จะสามารถเบิกจาย 28% มูลคาการสงออกตามดุลชําระเงิน 59,169 60,867 19,668 20,288 20,911
รวมกับฐานการขยายตัวที่ต่ําในชวงเดียวกันของปกอน คาดจะสงผลใหการลงทุนภาครัฐ (%YOY) -4.9 1.5 3.5 3.6 -2.2
Q4/63 ขยายตัวในเกณฑสูง ภาพรวม
มูลคาการสงออกไมรวมทองคํา 58,228 56,907 18,454 18,826 19,627
พระราชกําหนดใหอํานาจกระทรวงการคลังกูเงินเพื่อแกไขปญหา เยียวยา (%YOY) -4.7 -3.1 -1.3 -1.3 -6.5
และฟนฟูเศรษฐกิจและสังคม ที่ไดรับผลกระทบจากสถานการณการระบาด คอมพิวเตอร สวนประกอบ (สัดสวน5.7%) 5.2 15.0 1.4 11.8 31.4
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 วงเงิน 1 ลานลานบาท
ผลิตภัณฑโลหะ (สัดสวน 4.8%) -9.1 8.8 3.0 2.3 20.0
สินคาสําคัญ อาหาร (สัดสวน 6.6%) 8.0 2.3 1.4 2.0 3.3

เครื่องใชไฟฟา ชิ้นสวน (สัดสวน 1.9%) 10.8 12.4 13.0 7.1 16.8

เครื่องปรับอากาศ (สัดสวน 2.5%) 8.2 14.8 28.3 12.6 7.5


18 พฤษภาคม 2563 www.nesdc.go.th 23
ปจจัยเสี่ยงในป 2563
TrADE WAR
VS
ความยืดเยื้อของการระบาดในประเทศสําคัญ ความขัดแยงระหวางสหรัฐฯ กับจีน ความเสี่ยงจากประเทศที่มีปจจัยพื้นฐาน
ทางเศรษฐกิจออนแอ
การผอนคลาย Lockdown แตผูติดเชื้อยังสูง ความตึ งเครี ยดระหว างสหรั ฐฯกั บจี นอาจนํ าไปสู การระบาดและการ Lockdown ที่ยืดเยื้ออาจทําให
มาตรการกีดกันทางการคาที่รุนแรงขึ้น ปญหาในภาคเศรษฐกิจจริงลุกลามไปสูวิกฤตการณ
ความเสี่ยง Second wave / Winter return การเงินการคลัง
500,000 100,000 อังกฤษ
สหรัฐฯ มูลคาการสงออก USD (%YoY)
40
หนี้ หนี้ หนี้ตางประเทศ ทุนสํารองระหวาง ผลตอบแทน
ประเทศ สาธารณะ ตางประเทศ ระยะสั้น ประเทศ พันธบัตร
50,000 20
ตอ GDP ตอ GDP1/ ตอหนี้ทั้งหมด ตอมูลคานําเขา รัฐบาลระยะยาว2/
รายเดือน
0 อารเจนตินา 88.7 61.8 31.5 9.6 20.8

มิ.ย.-60

มิ.ย.-61

มิ.ย.-62
ธ.ค.-60

ธ.ค.-61

ธ.ค.-62
ก.ย.-60

ก.ย.-61

ก.ย.-62
มี.ค.-60

มี.ค.-61

มี.ค.-62

มี.ค.-63
0 0 แอฟริกาใต 62.2 52.7 18.6 6.2 10.8
-20 ศรีลังกา 86.8 67.6 14.8 4.0 10.7
200,000
รัสเซีย 100,000 US Eurozone Japan ปากีสถาน 83.5 37.5 4.9 3.1 10.0
อินเดีย China South Korea Thailand ตุรกี 33.1 58.0 28.3 4.6 9.0
Vietnam อินโดนีเซีย 30.4 36.1 11.7 8.6 8.2
100,000 50,000 เม็กซิโก 53.4 36.8 14.2 4.5 7.4
บราซิล 89.5 31.2 13.8 23.4 7.3
60 PMI ภาคอุตสาหกรรม: ประเทศพัฒนาแลว อินเดีย 71.9 19.8 20.0 10.7 6.7
0 0 ฟลิปปนส 38.6 22.2 20.6 8.4 4.4
50 ชิลี 27.9 70.1 11.1 7.2 3.1
4,000 มาเลเซีย 20,000 มาเลเซีย 57.2 62.6 41.4 5.8 2.9
สิงคโปร
เวียดนาม 42.9 46.0 - 3.7 2.9
40 ไทย 41.1 34.3 32.2 10.9 1.1
US Eurozone Germany ที่มา: CEIC, IMF และ worldgovernmentbonds
2,000
France Australia Japan หมายเหตุ 1/ หนี้ตางประเทศรวมทั้งภาครัฐบาลและเอกชน
30 China 2/ พันธบัตรรัฐบาลอายุ 10 ป หรือพันธบัตรรัฐบาลระยะยาวอื่น ๆ ในกรณีที่ไมมีขอมูลพันธบัตรรัฐบาล

01/2562 07/2562 01/2563 อายุ 10 ป


0 0
18 พฤษภาคม 2563 www.nesdc.go.th 24
แนวทางบริหารจัดการเศรษฐกิจในป 2563
01 การประสานนโยบายการเงินการคลัง 04 การเบิกจายงบประมาณภายใตมาตรการภาครัฐ

02 การผอนคลายมาตรการควบคูกับการปองกัน 05 การขับเคลื่อนเศรษฐกิจภายใต พ.ร.ก.เงินกู

03 การขับเคลื่อนการสงออกสินคา 06 การเตรียมรองรับความเสี่ยงที่สําคัญ ๆ

18 พฤษภาคม 2563 www.nesdc.go.th 25


แนวทางบริหารจัดการเศรษฐกิจในป 2563
01 การประสานนโยบายการเงินการคลัง
การสร า งความมั่ น ใจว า มาตรการเยี ย วยาทั้ ง ทางด า นการคลั ง และสิ น เชื่ อ ที่ ไ ด เ ริ่ ม ดํ า เนิ น ไปแล ว สามารถเข า ถึ ง
กลุมเปาหมายและเหมาะสมเพียงพอสําหรับกลุมผูเดือดรอนอยางแทจริง
ใหความสําคัญกับกลุมแรงงานและผูประกอบการในสาขาเศรษฐกิจที่การผอนคลายมาตรการที่ยังมีแนวโนมที่จะลาชา
โดยเฉพาะในกิจกรรมดานการทองเที่ยว กิจกรรมธุรกิจที่เกี่ยวของกับการรวมตัวของคนหมูมาก รวมทั้งกิจกรรมที่ไดรับ
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมผูบริโภคและวิธีการผลิตหลังการระบาดของโรคผอนคลายลง
การดูแลควบคุม และปองกันการลุกลามของปญหาในภาคการผลิตที่อาจสงผลกระทบเชื่อมโยงไปยังภาคการเงิน
การสรางสภาพแวดลอมทางการเงินที่ชวยลดผลกระทบจากการระบาดของโรคและสนับสนุนการฟนตัวการฟนตัวของ
กิจกรรมภาคการผลิตอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะดานสินเชื่อ และการปองกันความเสี่ยงจากการกลับมาแข็งคาของเงินบาท
ในชวงที่เศรษฐกิจโลกเริ่มฟนตัว

02 การผอนคลายมาตรการปดสถานที่และจํากัดการเดินทางควบคูกับมาตรการปองกันและควบคุมการระบาดของโรค
การชี้แจงแนวปฏิบัติใหแกประชาชนและภาคธุรกิจในสาขาตาง ๆ ที่เริ่มกลับมาประกอบธุรกิจ ควบคูไปกับการตรวจสอบ
ดูแลเพื่อควบคุมและปองกันการกลับมาระบาดของโรคอยางตอเนื่อง
การพิจารณาเพิ่มเติมกิจกรรมที่เหมาะสมกับเงื่อนไขสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไป เชน การจัดสรรและพัฒนาพื้นที่
สาธารณะกลางแจง การสนับสนุนชองทางการจําหนายสินคาออนไลน และบริการโลจิสติกสตนทุนต่ํา
การขอความรวมมือภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และภาคธุรกิจเอกชนในการพิจารณาวันหยุดเพิ่มเติมหลังการระบาดผอนคลายลง
โดยไมสงผลกระทบกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจเพื่อสนับสนุนการทองเที่ยวของคนไทยในประเทศ
การเรงรัดการเบิกจายงบประมาณที่เกี่ยวของกับการสัมมนาและฝกอบรมของภาครัฐในปงบประมาณ 2554 ใหสามารถ
เบิกจายและดําเนินการไดทันทีในชวงที่มีความปลอดภัยจากการระบาดของโรค
การพิจารณากลไกในระดับพื้นที่สําหรับการแกไขปญหาใหกับภาคธุรกิจที่ประสบปญหาอุปสรรคในการกลับมาประกอบธุรกิจ
การใหความสําคัญกับปญหาดานแรงงานในชวงการฟนตัวของภาคเศรษฐกิจ ทั้งในดานแนวโนมการขาดแคลนแรงงานใน
กลุมแรงงานไรฝมือและแรงงานทักษะต่ํา และปญหาการวางงานของแรงงานไทย
18 พฤษภาคม 2563 www.nesdc.go.th 26
แนวทางบริหารจัดการเศรษฐกิจในป 2563
03 การใหความสําคัญกับการขับเคลื่อนการสงออกสินคาเพื่อไมใหการผลิตภาคอุตสาหกรรมปรับตัวลดลงรุนแรง
กลุมสินคาที่ไดรับประโยชนจากการเบี่ยงเบนทิศทางทางการคาและการยายฐานการผลิตในชวงกอนหนา รวมทั้ง
กลุมสินคาที่ไดรับประโยชนเพิ่มเติมจากการระบาดของโรคและการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูบริโภคที่ทําให
ความตองการสินคาสําคัญหลายรายการเพิ่มขึ้น
การประชาสัมพันธจุดแข็งของประเทศไทยในดานขีดความสามารถในการปองกันและควบคุมการระบาดของโรค
เพื่อสนับสนุนภาพลักษณของสินคาไทยในตลาดตางประเทศ
การใหความสําคัญกับการควบคุมและปองกันการระบาดของโรคในพื้นที่ที่เปนฐานการผลิตที่สําคัญของประเทศ
การบรรเทาและแกไขปญหาภัยแลงเพื่อลดผลกระทบตอการผลิตสินคาเกษตรที่เปนที่ตองการของตลาดโลก

04 การเบิกจายงบประมาณภายใตกรอบตาง ๆ ของภาครัฐ
การเบิ กจ า ยจากงบประมาณรายจา ยประจําปงบประมาณ 2563 รอยละ 90.2 ของวงเงิ น งบประมาณ โดย
แบงเปนการเบิกจายงบประมาณรายจายประจําและรายจายลงทุนอยูที่รอยละ 99.0 และรอยละ 55 ตามลําดับ
การเบิกจายงบประมาณเหลื่อมปอยูที่รอยละ 90.0
การเบิกจายงบลงทุนรัฐวิสาหกิจรอยละ 75.0
การเบิกจายภายใต พ.ร.ก. เงินกูเพื่อแกไขปญหา เยียวยา และฟนฟูเศรษฐกิจและสังคม ที่ไดรับผลกระทบจาก
การระบาดของโรคโควิด 19

18 พฤษภาคม 2563 www.nesdc.go.th 27


แนวทางบริหารจัดการเศรษฐกิจในป 2563
05 การขับเคลื่อนการฟนฟูเศรษฐกิจภายใตพระราชกําหนดเงินกู
การขับเคลื่อนโครงการภายใตกรอบวงเงินสําหรับการฟนฟูเศรษฐกิจและสังคม วงเงิน 400,000 ลานบาท
 ตอบสนองตอการฟนฟูเศรษฐกิจในระยะเรงดวนและการสรางความพรอมสําหรับการฟนฟูเศรษฐกิจ
 มีความยืดหยุนในการรองรับสถานการณการระบาดที่ไมแนนอนสูง
 ตอบสนองตอปญหาเชิงโครงสรางที่สําคัญ อาทิ ประสิทธิภาพการผลิตที่อยูในระดับต่ํา ความยากจนและ
กระจายรายได การเขาถึงตลาด รวมทั้งความทาทายตาง ๆ อาทิ การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี รูปแบบธุรกิจ
และพฤติกรรมผูบริโภค เปนตน
ควบคูไปกับการขับเคลื่อนการสรางศักยภาพการขยายตัวทางเศรษฐกิจและเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน
ของประเทศในระยะยาวภายใตกรอบงบประมาณปกติอยางตอเนื่อง อาทิ การสนับสนุนการลงทุนภาคเอกชน การ
ขับเคลื่อนโครงสรางพื้นฐาน การปรับโครงสรางภาคการผลิตและภาคบริการที่สําคัญ ๆ

06 การเตรียมการรองรับความเสี่ยงที่สําคัญ ๆ
ความยืดเยื้อของการระบาดในประเทศสําคัญ ๆ และการกลับมาระบาดของโรคในระลอกที่สอง
การลุก ลามของป ญหาในภาคการผลิ ต ไปสู วิกฤตการณทางการเงิน การคลังในประเทศที่ มีปจจั ยพื้น ฐานทาง
เศรษฐกิจออนแอ
ความขัดแยงระหวางสหรัฐฯ กับจีน ที่อาจทําใหมาตรการกีดกันทางการคากลับมาทวีความรุนแรงมากขึ้น
ความเสี่ยงจากภาวะความตกต่ําของเศรษฐกิจโลกในระยะปานกลาง

18 พฤษภาคม 2563 www.nesdc.go.th 28

You might also like