You are on page 1of 40

แบบทดสอบอิงมาตรฐาน

เนนการคิด
การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีจุดมุงหมายเพื่อใหผูเรียนอานออก เขียนได คิดคํานวณเปน มุงใหเกิดทักษะการเรียนรูตลอดชีวิต
เตรียมตัวเปนพลเมืองที่มีคุณภาพ และมีความสามารถในการแขงขันไดในอนาคต การจัดการเรียนรูที่สอดคลองกับจุดมุงหมายดังกลาว
จึงควรใหผูเรียนฝกฝนการนําความรูไปประยุกตใชในชีวิตจริง สามารถคิดวิเคราะหและแกปญหาได ดังนั้นเพื่อเปนการเตรียมความพรอม
ของผูเรียน ทางโครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด จึงไดจัดทําแบบทดสอบอิงมาตรฐาน เนนการคิด
โดยดําเนินการวิเคราะหสาระการเรียนรูที่สําคัญตามที่ระบุไวในมาตรฐานและตัวชี้วัดชั้นป แลวนํามากําหนดเปนระดับพฤติกรรมการคิด
เพื่อสรางแบบทดสอบที่มีคุณสมบัติ ดังน�้
1 วัดผลการเรียนรู 2 เนนใหผูเรียนเกิดการคิด ผูสอนสามารถนําแบบทดสอบน�้ไปใชเปนเครื่องมือวัด
และประเมินผล รวมทั้งเปนเครื่องบงชี้ความสําเร็จและรายงาน
คุณภาพของผูเรียนแตละคน เพื่อเปนการเตรียมความพรอม
ของนักเรียนใหมีความสามารถในดานการใชภาษา ดานการ
คิดคํานวณ และดานเหตุผล สําหรับรองรับการประเมินผลผูเ รียน
สอดคลองกับมาตรฐาน ตามระดับพฤติกรรมการคิด ในระดับประเทศ (O-NET) และระดับนานาชาติ (PISA) ตอไป
ตัวชี้วัดชั้นปทุกขอ ที่ระบุไวในตัวชี้วัด

แบบทดสอบ
แบบทดสอบอิงมาตรฐาน เนนการคิด ที่จัดทําโดย โครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด ประกอบดวย
แบบทดสอบ 3 ชุด แตละชุดมีทั้งแบบทดสอบปรนัย และแบบทดสอบอัตนัย โดยวิเคราะหมาตรฐานตัวชี้วัด และระดับพฤติกรรมการคิด
ที่สัมพันธกับแบบทดสอบไวอยางชัดเจน เพื่อใหผูสอนนําไปใชเปนเครื่องมือวัดและประเมินผลผูเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ

โครงการบูรณาการ
ตารางวิเคราะหแบบทดสอบ
ตารางวิเคราะหมาตรฐานตัวชี้วัด ตารางวิเคราะหระดับพฤติกรรมการคิด
ระดับ ขอของแบบทดสอบที่สัมพันธกับ
ชุดที่ มาตรฐาน ตัวชี้วัด ขอของแบบทดสอบที่สัมพันธกับตัวชี้วัด พฤติกรรม ระดับพฤติกรรมการคิด รวม
การคิด
1 1-4 A ความรู ความจํา 3, 9, 11, 20 - 21, 33 - 34 7
2 5-8 B ความเขาใจ 4 - 7, 22, 26, 32, 35, 40 9
3 9 - 10 C การนําไปใช 8, 10 2
ว 1.2 4 31 - 36 D การวิเคราะห 1 - 2, 12 - 13, 15 - 18, 23 - 25, 27 - 31, 20
36 - 39
5 37 - 39 E การสังเคราะห 14 1
6 40 F การประเมินคา 19 1
1 11 - 14
1 ว 2.1 2
3
15 - 18
19
4 20
1 21 - 24
2 25
3 26 - 27
ว 2.2 4 28
5 29
6 30
หมายเหตุ : มีเฉลยและคําอธิบายเชิงวิเคราะห อยูทายแบบทดสอบชุดที่ 3
(1) โครงการวัดและประเมินผล
ตารางวิเคราะหแบบทดสอบ
ตารางวิเคราะหมาตรฐานตัวชี้วัด ตารางวิเคราะหระดับพฤติกรรมการคิด
ระดับ ขอของแบบทดสอบที่สัมพันธกับ
ชุดที่ มาตรฐาน ตัวชี้วัด ขอของแบบทดสอบที่สัมพันธกับตัวชี้วัด พฤติกรรม ระดับพฤติกรรมการคิด รวม
การคิด
1 1-2 A ความรู ความจํา 1 - 2, 10, 21, 31, 33 - 34 7
2 3-9 B ความเขาใจ 3, 7, 28, 32, 37 - 39 7
3 10 C การนําไปใช 30 1
ว 1.2 4 31 - 36 D การวิเคราะห 4 - 6, 8 - 9, 11 - 13, 15 - 17, 19 - 20, 23
22 - 27, 29, 35, - 36, 40
5 37 - 38 E การสังเคราะห 14 1
6 39 - 40 F การประเมินคา 18 1
1 11 - 13
2 ว 2.1
2 14 - 17
3 18
แบบทดสอบ

4 19-20
1 21 - 24
2 25
3 26 - 27
ว 2.2
4 28
5 29
โครงการบูรณาการ

6 30
1 1-2 A ความรู ความจํา 1 - 3, 21, 33 - 35, 39 8
2 3-7 B ความเขาใจ 4, 8 - 10, 13, 17, 19 - 20, 29, 32, 37 - 38 12
3 8-10 C การนําไปใช 30 1
ว 1.2 4 31 - 37 D การวิเคราะห 5 - 6, 11 - 12, 15 - 16, 18, 22 - 28, 31, 17
36, 40
5 38 E การสังเคราะห 14 1
6 39-40 F การประเมินคา 7 1
1 11 - 13
3 ว 2.1
2 14 - 16, 18
3 17
4 19-20
1 21 - 24
2 25
3 26 - 27
ว 2.2
4 28
5 29
6 30

โครงการวัดและประเมินผล (2)
แบบทดสอบว�ชา ว�ทยาศาสตร เลม 1
ชุดที่ 1
¤Ðá¹¹·Õè ä´Œ
¤Ðá¹¹ÃÇÁ
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 50

ชื่อ …………………………………………………………………………………………………….. นามสกุล ……………………………………………………………………………………………..


เลขประจําตัวสอบ ……………………………………………………………………. โรงเรียน …………………………………………………………………………………………….
สอบวันที่ …………………….. เดือน ………………………………………………… พ.ศ. ………………………………………..
โครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด

ตอนที่ 1 แบบปรนัย 4 ตัวเลือก แตละขอมีคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว ¤Ðá¹¹·Õè ä´Œ


¤Ðá¹¹àµçÁ
จํานวน 40 ขอ ขอละ 1 คะแนน 40

อานขอความที่กําหนดให แลวตอบคําถามขอ 1. 2. เพราะเหตุ


เพราะเห ใดจึงตองใชกลองจุลทรรศนในการศึกษาเกีย่ วกับ

แบบทดสอบ
D โครโมโซม
“ภายในนิ ว เคลี ย สจะมี เ ส น ใยขนาดเล็ ก มากจน
สังเกตเห็นไดไมชัดเจน เรียกเสนใยนี้วา โครมาทิน 1. โครโมโซมมีสีขาวใส จึงทําใหสามารถมองเห็นไดยาก
ซึง่ เมือ่ มีการแบงเซลล โครมาทินจะหดตัวสัน้ มีลกั ษณะ 2. เพื่อจะชวยใหสามารถนําโครโมโซมมาจัดเรียงกัน
เปนแทง เรียกวา โครโมโซม” เปนคูไดงาย

โครงการบูรณาการ
3. เพื่อใชศึกษารายละเอียด จํานวน และรูปรางของ
1. เหตุใดนักวิทยาศาสตรจึงมักศึกษาลักษณะของโครโมโซม
D ในขณะที่มีการแบงเซลล โครโมโซม
1. ทําใหเห็นโครโมโซมจํานวนมาก 4. โครโมโซมมีขนาดเล็กมากจนไมสามารถมองเห็นได
2. ทําใหเห็นโครโมโซมไดอยางชัดเจน ดวยตาเปลา
3. ทําใหเห็นโครโมโซมมีสีสันสวยงาม 3. มนุษยเพศหญิงและเพศชายมีโครโมโซมแตกตางกัน
4. ทําใหเห็นโครโมโซมมีขนาดใหญกวาปกติ A อยางไร
อานขอความที่กําหนดให แลวตอบคําถามขอ 2. 1. เพศหญิงมีโครโมโซมเพศเปน XY สวนเพศชาย
“สิ่งมีชีวิตแตละชนิดจะมีจํานวนโครโมโซมตางกัน มีโครโมโซมเพศเปน XX
โครโมโซมเป น ที่ อ ยู  ข องหน ว ยพั น ธุ กรรมหรื อ ยี น 2. เพศหญิงมีโครโมโซมเพศเปน XX สวนเพศชาย
โครโมโซมมีขนาดเล็กมากจนทําใหไมสามารถมองเห็น มีโครโมโซมเพศเปน XY
ไดดวยตาเปลา การศึกษารายละเอียด จํานวน และ 3. เพศหญิงมีโครโมโซมเพศเปน XO สวนเพศชาย
รูปรางของโครโมโซมนั้น นักวิทยาศาสตรมักจะนํา มีโครโมโซมเพศเปน YO
โครโมโซมมาจัดเปนคูๆ เรียงกัน เรียกวา แคริโอไทป 4. เพศหญิงมีโครโมโซมเพศเปน XXX สวนเพศชาย
ซึ่งในการศึกษาจะตองอาศัยกลองจุลทรรศน” มีโครโมโซมเพศเปน XXY

ความรู ความจํา ความเขาใจ การนําไปใช การวิเคราะห การสังเคราะห การประเมินคา


A B C D E F

(3) โครงการวัดและประเมินผล
อานขอความที่กําหนดให แลวตอบคําถามขอ 4. อานขอความที่กําหนดให แลวตอบคําถามขอ 8.
“โครโมโซมเป น ที่ อ ยู  ข องหน ว ยพั น ธุ กรรมที่ ทํ า “ดีเอ็นเอ (deoxyribonucleic acid : DNA) เปน
หนาที่ควบคุมและถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพันธุกรรมในนิวเคลียส ทีท่ าํ หนาทีค่ วบคุมลักษณะ
ของสิ่งมีชีวิต ซึ่งสิ่งมีชีวิตตางชนิดกันจะมีจํานวน ของสิ่งมีชีวิต ดังนั้น DNA จึงเปรียบเสมือนวาเปน
โครโมโซมแตกต า งกั น โดยโครโมโซมมี ลั ก ษณะ ประวัตสิ ว นตัวของแตละบุคคลทีถ่ กู กําหนดขึน้ นับตัง้ แต
เปนแทง ประกอบดวยแขน 2 ขาง ที่มีจุดเชื่อมตอกัน วินาทีแรกที่เกิดการปฏิสนธิในครรภ เพราะ DNA ใน
เรียกวา เซนโทรเมียร ซึ่งตําแหนงจุดเชื่อมที่ตางกัน แตละบุคคลจะไมเหมือนกัน เนื่องจากจะไดรับลักษณะ
ทําใหโครโมโซมมีรูปรางหลายแบบ” ทางพันธุกรรมมาจากพอและแมอยางละครึ่ง แลวมา
รวมกันเปน DNA ของลูกนั่นเอง”
4. ขอความใดสรุปไมถูกตองเกี่ยวกับโครโมโซม
B 1. โครโมโซมเปนที่อยูของหนวยพันธุกรรมหรือยีน 8. เพราะเหตุใดการตรวจดีเอ็นเอจึงสามารถระบุความสัมพันธ
2. สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันมีจํานวนโครโมโซมแตกตางกัน C ของแมลูกได
3. โครโมโซมทําหนาที่ควบคุมและถายทอดลักษณะทาง 1. เนื่องจากแตละคนมีดีเอ็นเอตางกัน
พันธุกรรม 2. เนื่องจากทุกคนมีดีเอ็นเอเหมือนกัน
แบบทดสอบ

4. โครโมโซมมีรปู รางหลายแบบขึน้ อยูก บั ตําแหนงทีเ่ ชือ่ ม 3. เนื่องจากลูกจะไดรับดีเอ็นเอมาจากพอและแม


ติดกันของแขนทั้งสองขาง 4. เนื่องจากลูกจะมีดีเอ็นเอเหมือนแมทุกประการ
5. ขอใดเปนลักษณะทางพันธุกรรม 9. โรคทางพันธุกรรมใดเกิดจากความผิดปกติของออโตโซม
B 1. เอมีลักยิ้มเหมือนพอ A 1. กลุมอาการคริดูชาต
2. กลุมอาการเทอรเนอร
2. บีมีผมยาวเหมือนแม
โครงการบูรณาการ

3. กลุมอาการดับเบิลวาย
3. ซีมีแผลเปนเหมือนพี่ชาย
4. กลุมอาการไคลนเฟลเตอร
4. ดีชอบอาหารรสจัดเหมือนพอ
10. ความรูเ กีย่ วกับโรคทางพันธุกรรมนําไปใชประโยชนดา นใด
6. ลักษณะใดเปนความแปรผันทางพันธุกรรมแบบตอเนือ่ ง
C ไดมากที่สุด
B 1. สีตา
1. การวางแผนครอบครัว
2. ความสูง
2. การปองกันและรักษาโรค
3. ลักษณะเสนผม
3. การพิสูจนความสัมพันธระหวางบุคคล
4. จํานวนชั้นของตา 4. การตรวจพิสูจนหลักฐานทางนิติเวชศาสตร
7. ฮีโมฟเลียเปนโรคทางพันธุกรรมที่มียีนดอยอยูบน 11. ระบบนิเวศประกอบดวยโครงสรางใดบาง
B โครโมโซม X ถาชายคนหนึ่งเปนโรคฮีโมฟเลียแตงงาน A 1. กลุมสิ่งมีชีวิตเพียงอยางเดียว
กับหญิงปกติและไมเปนพาหะของโรค ชายและหญิงคูนี้ 2. กลุมสิ่งมีชีวิต และแหลงที่อยู
จะมีลักษณะของยีนเปนอยางไร 3. กลุมสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดลอม
เมื่อกําหนดให แทนยีนดอย แทนยีนเดน 4. กลุมสิ่งมีชีวิต แหลงที่อยู และสิง่ แวดลอม
1. X Y XX 12. สิ่งมีชีวิตในขอใดแสดงบทบาทตางจากสิ่งมีชีวิตในขออื่น
2. X Y XX D 1. มอส
2. ชวนชม
3. X Y XX 3. เห็ดนางฟา
4. X Y XX 4. สาหรายหางกระรอก

โครงการวัดและประเมินผล (4)
13. สิ่งมีชีวิตในขอใดมีรูปแบบความสัมพันธแบบเดียวกัน 17. จากสายใยอาหารที่กําหนดให สิ่งมีชีวิตใดนาจะเปนผูผลิต
D 1. ดอกไมกับแมลง ไลเคน D
2. นกเอี้ยงกับควาย พลูดางกับตนไมใหญ E F
3. ฉลามกับเหาฉลาม กลวยไมกับตนมะมวง
4. เสือกับกวาง เสือกับสิงโตทีล่ า เหยือ่ ตัวเดียวกัน C
14. สํารวจสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศแหงหนึ่ง พบวาประกอบดวย A D
E หญา นก หนอน และงู สามารถเขียนความสัมพันธของ
B
สิ่งมีชีวิตดังกลาวในรูปของโซอาหารไดอยางไร
1. หญา นก หนอน งู
1. A
2. หญา หนอน นก งู
2. B
3. งู นก หนอน หญา
3. C
4. งู หญา นก หนอน
4. D
15. เมื่อพลังงานในสารอาหารถูกถายทอดจากผูผลิตไปยัง
D ผูบริโภคลําดับตอๆ ไปไดเพียง 10% ถาไกตัวหนึ่งกิน 18. จากพีระมิดพลังงานที่กําหนดให A B และ C ควรเปน
D สิ่งมีชีวิตใดตามลําดับ

แบบทดสอบ
ขาวเปลือกจํานวน 2,500 เมล็ดตอวัน ปริมาณพลังงานที่
ไกตวั นีส้ ามารถใชสรางเปนเนือ้ เยือ่ เทียบไดกบั ขาวเปลือก
จํานวนเทาใด C
1. 25 เมล็ด 2. 250 เมล็ด
3. 2,500 เมล็ด 4. 25,000 เมล็ด B

โครงการบูรณาการ
A
กราฟ จํานวนสิ่งมีชีวิต 4 ชนิด ในโซอาหาร จาก
ชวงเวลา A ถึง F
1. ผูผลิต ผูบริโภคพืช ผูยอยสลาย
หญา 2. ผูผลิต ผูบริโภคลําดับที่ 1 ผูยอยสลาย
จํานวนสิ่งมีชีวิต

3. ผูผลิต ผูบริโภคลําดับที่ 1 ผูบริโภคลําดับสุดทาย


หนอน
ไก 4. ผูผลิต ผูบริโภคลําดับที่ 2 ผูบริโภคลําดับสุดทาย
งู 19. หากปราศจากวัฏจักรนํ้า จะสงผลตอสิ่งมีชีวิตอยางไร
F 1. ไมมีผลใดๆ ตอสิ่งมีชีวิต
A B C D E F 2. สิ่งมีชีวิตจะขาดแคลนแหลงที่อยู
ชวงเวลา 3. สิ่งมีชีวิตจะไมสามารถสืบพันธุ ได
เขียนความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตทั้ง 4 ชนิด 4. สิ่งมีชีวิตจะไมสามารถดํารงชีวิตอยูได
ในรูปของโซอาหารได ดังนี้ 20. ปจจัยใดบางทีม่ ผี ลตอการเปลีย่ นแปลงขนาดของประชากร
หญา หนอน ไก งู A 1. อัตราการเกิดเทานั้น
2. อัตราการตายเทานั้น
16. จากกราฟ ชวงเวลาใดที่มีอาหารของไกอยูนอยที่สุด 3. อัตราการเกิด อัตราการตาย และอัตราการอพยพเขา
D 1. A ถึง B 2. B ถึง C 4. อัตราการเกิด อัตราการตาย อัตราการอพยพเขา และ
3. C ถึง D 4. E ถึง F อัตราการอพยพออก

(5) โครงการวัดและประเมินผล
21. ขอใดอธิ
ใดอ บายความหมายของคําวา “สิ่งแวดลอม” 27. การกระทํ
กา าใดที่ชวยเพิ่มรายไดใหตนเองโดยยึดหลัก
A ไดถูกตองที่สุด D การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ
1. สิ่งตางๆ ที่อยูรอบตัวเรา 1. จับมานํ้ามาตากแหงขาย
2. สิ่งตางๆ ที่มีความเหมาะสมตอมนุษย 2. เก็บกลวยไมและเฟนจากปามาขาย
3. ทุกสิ่งที่ประกอบกันเปนโลกและสภาพแวดลอม 3. เก็บขวดพลาสติกที่มีคนทิ้งไวขางทางมาขาย
ที่เกี่ยวกับปาไม ดิน นํ้า และอากาศ 4. เก็บเปลือกหอยตามชายหาดมาประดิษฐเปน
4. ทุกสิ่งที่อยูรอบตัวเรา ทั้งที่มองเห็นและมองไมเห็น ของที่ระลึกขาย
ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและที่มนุษยสรางขึ้น 28. “บอยมีอาชีพจับปูทะเลขาย เมื่อเขาจับปูที่มีไขมาได เขา
22. สิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติมีความสัมพันธกัน D จะอนุบาลไวและนําไขที่ไดไปปลอยกลับคืนสูธรรมชาติ”
B อยางไร จากขอความขางตน แสดงใหเห็นวาบอยปฏิบตั ติ นตามหลัก
1. สิ่งแวดลอมเปนสวนหนึ่งของทรัพยากรธรรมชาติ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยคํานึงถึงขอใด
2. ทรัพยากรธรรมชาติเปนสวนหนึ่งของสิ่งแวดลอม 1. ความมีเหตุผล
3. ทั้งสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติมีความหมาย 2. ความไมประมาท
เหมือนกัน 3. ความพอประมาณ
แบบทดสอบ

4. สิ่งแวดลอมกับทรัพยากรธรรมชาติไมมีสวนเกี่ยวของ
4. การเตรียมความพรอมกับการเปลี่ยนแปลง
สัมพันธกัน
อานขอความตอไปนี้ แลวตอบคําถามขอ 29.
23. ปรากฏการณใดที่มีผลทําใหเกิดปญหาสิ่งแวดลอมและ
D ทรัพยากรธรรมชาติมากที่สุด “บานหลังหนึ่งอยู ใกลกับแหลงกําจัดขยะที่มีขยะ
1. พายุ 2. ไฟปา กองอยูจํานวนมาก ซึ่งทําใหดินบริเวณนั้นเสื่อมสภาพ
โครงการบูรณาการ

3. นํ้าทวม 4. แผนดินไหว และขยะสงกลิ่นเหม็น สวนบานอีกหลังหนึ่งอยูใกลกับ


24. ปจจัยสําคัญทีก่ อ ใหเกิดปญหาวิกฤตการณดา นสิง่ แวดลอม โรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งจะปลอยนํ้าเสียลงสูแหลงนํ้า
D และทรัพยากรธรรมชาติ คือขอใด ธรรมชาติ และปลอยควันพิษสูอากาศ”
1. มนุษย
2. นักการเมือง 29. บริเวณบานทั้ง 2 หลัง ประสบปญหามลพิษใดเหมือนกัน
3. ภัยธรรมชาติ D 1. มลพิษทางดิน
4. ความกาวหนาของเทคโนโลยี 2. มลพิษทางนํ้า
25. การดูแลรักษาสภาพแวดลอมมีผลตอระบบนิเวศอยางไร 3. มลพิษทางเสียง
D 1. ชวยใหระบบนิเวศมีขนาดใหญ 4. มลพิษทางอากาศ
2. ชวยรักษาสมดุลของระบบนิเวศ 30. การดูแลและอนุรักษสิ่งแวดลอมในทองถิ่นเปนหนาที่ของ
3. ชวยใหระบบนิเวศมีความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต D บุคคลใด
4. ชวยใหระบบนิเวศมีสภาพเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา 1. นักเรียน 2. ผูปกครอง
26. ขอใดกลาวถึงการอนุรักษไดถูกตองที่สุด 3. ครู อาจารย 4. ทุกคนในทองถิ่น
B 1. การใชทรัพยากรธรรมชาติใหนอยที่สุด 31. สาเหตุสําคัญที่ทําใหเกิดความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
2. การเพิ่มพูนทรัพยากรธรรมชาติใหไดมากที่สุด D คือขอใด
3. การรักษาทรัพยากรธรรมชาติไวใหคงอยูตลอดไป 1. การปรับตัว 2. การสืบพันธุ
4. การใชทรัพยากรธรรมชาติใหเกิดประโยชนมากที่สุด 3. การดํารงเผาพันธุ 4. การอยูรวมกันเปนสังคม

โครงการวัดและประเมินผล (6)
32. การที่สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันมีหลายสายพันธุ จัดเปน 37. การกระทําใดของมนุ
ใด ษยที่สงผลใหเกิดการสูญเสีย
B ความหลากหลายทางใด D ความหลากหลายทางชีวภาพมากที่สุด
1. ความหลากหลายทางกายภาพ 1. การตัดไมทําลายปา
2. ความหลากหลายทางชนิดพันธุ 2. การใชไฟฟาอยางฟุมเฟอย
3. ความหลากหลายทางพันธุกรรม 3. การใชนํ้าบาดาลแทนนํ้าประปา
4. ความหลากหลายทางระบบนิเวศ 4. การใชแกสธรรมชาติแทนนํ้ามัน
33. ขอใดเรียงลําดับการจัดจําแนกสิง่ มีชวี ติ จากขอบเขตทีก่ วาง 38. การกระทําในขอใดทําใหเกิดผลกระทบตอความหลากหลาย
A ไปยังขอบเขตที่แคบลงเรื่อยๆ ไดถูกตอง D ทางชีวภาพ
1. อาณาจักร ไฟลัม ออรเดอร คลาส
1. ใชแมลงกําจัดแมลงศัตรูพืช
2. อาณาจักร ไฟลัม คลาส ออรเดอร
2. ใชยาฆาแมลงกําจัดแมลงศัตรูพืช
3. ออรเดอร คลาส ไฟลัม อาณาจักร
4. ออรเดอร คลาส อาณาจักร ไฟลัม 3. ใชสารชีวภาพกําจัดแมลงศัตรูพืช
4. ใชสารสกัดจากพืชกําจัดแมลงศัตรูพืช
34. การจัดจําแนกสิง่ มีชวี ติ ตามแนวคิดของรอเบิรต วิตเทเกอร
A แบงสิ่งมีชีวิตออกเปนกี่อาณาจักร 39. มนุษยไดรับประโยชนทางตรงจากความหลากหลายทาง
D ชีวภาพในลักษณะใด

แบบทดสอบ
1. 3 อาณาจักร 2. 4 อาณาจักร
3. 5 อาณาจักร 4. 6 อาณาจักร 1. เปนแหลงอาหาร
35. แพรวาจัดสิ่งมีชีวิตออกเปน 2 กลุม ไดแก 2. เปนแหลงทองเที่ยว
B 1) ฟองนํ้า แมงกะพรุน หอย และหมึก 3. เปนแหลงตนนํ้าลําธาร
2) ปลาหางนกยูง โลมา ไก และสุนัข 4. เปนแหลงพักผอนหยอนใจ

โครงการบูรณาการ
แพรวาใชสิ่งใดเปนเกณฑในการจัดจําแนกสิ่งมีชีวิต 40. การสรางลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต เพื่อใหได
1. แหลงที่อยู 2. แหลงกําเนิด B สิ่งมีชีวิตที่มีคุณสมบัติตามตองการ ใชหลักการใด
3. ลักษณะลําตัว 4. กระดูกสันหลัง 1. การทํากิฟต
36. ขอใดเปนพืชใบเลี้ยงเดี่ยวทั้งหมด 2. พันธุวิศวกรรม
D 1. ออย มะลิ 2. ขาว กุหลาบ 3. การถายฝากตัวออน
3. เข็ม มะมวง 4. กลวย มะพราว 4. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

(7) โครงการวัดและประเมินผล
ตอนที่ 2 แบบอัตนัย จํานวน 5 ขอ ขอละ 2 คะแนน ¤Ðá¹¹·Õè ä´Œ
¤Ðá¹¹àµçÁ
10

1. จงอธิบายความสัมพันธระหวางโครโมโซม ดีเอ็นเอ และยีน และอธิบายวาโครโมโซมมีความสําคัญตอการถายทอดลักษณะ


F ทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตอยางไร
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................

2. ตูเลี้ยงปลาที่ประกอบไปดวยสิ่งมีชีวิตหลายชนิด จัดเปนระบบนิเวศหรือไม อยางไร


D ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
แบบทดสอบ

..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................

3. จงเขียนโซอาหารและสายใยอาหารของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศหนึ่งๆ ที่นักเรียนสนใจ
E ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
โครงการบูรณาการ

..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................

4. ใหนักเรียนเขียนรายงานวาในชีวิตประจําวันของนักเรียนไดนําสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติมาใชประโยชนอยางไรบาง
C (แยกประเภทของสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ ไดแก ดิน นํ้า อากาศ ปาไม สัตวปา)
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................

5. ใหนักเรียนสํารวจปญหามลพิษทางสิ่งแวดลอมในทองถิ่นของตนเอง โดยถายภาพมลพิษนั้นๆ วิเคราะหวาเกิดจากสาเหตุใด


D มีผลตอประชาชนอยางไร และเสนอแนะวิธีการแกไขปญหา
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................

โครงการวัดและประเมินผล (8)
แบบทดสอบว�ชา ว�ทยาศาสตร เลม 1
ชุดที่ 2
¤Ðá¹¹·Õè ä´Œ
¤Ðá¹¹ÃÇÁ
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 50

ชื่อ …………………………………………………………………………………………………….. นามสกุล ……………………………………………………………………………………………..


เลขประจําตัวสอบ ……………………………………………………………………. โรงเรียน …………………………………………………………………………………………….
สอบวันที่ …………………….. เดือน ………………………………………………… พ.ศ. ………………………………………..
โครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด

ตอนที่ 1 แบบปรนัย 4 ตัวเลือก แตละขอมีคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว ¤Ðá¹¹·Õè ä´Œ


¤Ðá¹¹àµçÁ
จํานวน 40 ขอ ขอละ 1 คะแนน 40

อานขอความที่กําหนดให แลวตอบคําถามขอ 1. 3. กําหนดให


แบบทดสอบ
B ก. ตาบอดสี ข. ตาเปนตอ
“เซลลเปนหนวยพืน้ ฐานของสิง่ มีชวี ติ ทีม่ ขี นาดเล็ก
ค. สีของตา ง. ชั้นของหนังตา
ทีส่ ดุ ภายในเซลลมนี วิ เคลียส ในนิวเคลียสมีเสนใยเล็กๆ
พันกันอยู เรียกเสนใยเหลานีว้ า โครมาทิน ซึง่ เมือ่ มีการ ขอใดเปนลักษณะที่ถายทอดทางพันธุกรรม
แบงเซลล เสนใยโครมาทินจะหดตัวสัน้ จนมีลกั ษณะเปน 1. ก. และ ข. 2. ก. และ ค.
3. ก. ค. และ ง. 4. ก. ข. ค. และ ง.

โครงการบูรณาการ
แทง เรียกวา โครโมโซม”
4. ขอใดเรียงลําดับจากหนวยทีเ่ ล็กไปยังหนวยใหญไดถกู ตอง
1. เมือ่ มองเซลลผา นกลองจุลทรรศนในขณะทีม่ กี ารแบงเซลล D 1. ดีเอ็นเอ ยีน โครโมโซม โครมาทิน
A จะพบโครงสรางใด
2. ดีเอ็นเอ ยีน โครมาทิน โครโมโซม
1. โครมาทิด 2. โครมาทิน
3. โครโมโซม 4. เซนโทรเมียร 3. ยีน ดีเอ็นเอ โครมาทิน โครโมโซม
4. ยีน โครมาทิน โครโมโซม ดีเอ็นเอ
อานขอความที่กําหนดให แลวตอบคําถามขอ 2.
5. ญาญาทดลองผสมพันธุถั่วลันเตาที่มีประวัติเมล็ดสีเหลือง
“โครโมโซมจะประกอบดวยดีเอ็นเอและโปรตีน D ทุกรุนกับถั่วลันเตาเมล็ดสีเขียว ปรากฏวาไดถั่วลันเตา
โดยแตละชวงของดีเอ็นเอ จะมียีนที่ทําหนาที่ควบคุม รุนลูกมีเมล็ดสีเหลืองทั้งหมด ขอใดสรุปไมถูกตอง
ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต” 1. ถั่วลันเตาเมล็ดสีเหลืองเปนลักษณะเดน
2. หนวยพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตที่ทําหนาที่ควบคุมลักษณะ 2. หากนํารุนลูกผสมกัน รุนหลานจะมีเมล็ดสีเขียว
A ทางพันธุกรรมและถายทอดจากรุนหนึ่งไปสูรุนหนึ่ง คือ 3. หากนํารุนลูกผสมกัน รุนหลานจะมีเมล็ดสีเขียว
ขอใด มากกวาสีเหลือง
1. ยีน 2. ดีเอ็นเอ 4. หากนํารุนลูกผสมกัน รุนหลานจะมีเมล็ดสีเหลือง
3. โปรตีน 4. นิวเคลียส มากกวาสีเขียว

ความรู ความจํา ความเขาใจ การนําไปใช การวิเคราะห การสังเคราะห การประเมินคา


A B C D E F

(9) โครงการวัดและประเมินผล
6. หากนําพืชทีม่ จี โี นไทป AA ผสมพันธุก บั พืชทีม่ จี โี นไทป Aa อานขอความที่กําหนดให แลวตอบคําถามขอ 11.
D โอกาสทีจ่ ะไดลูกที่มีจีโนไทป Aa มีรอยละเทาใด
“ระบบนิเวศประกอบไปดวยองคประกอบ 2 กลุม
1. 25
ไดแก องคประกอบทางกายภาพ ซึ่งเปนองคประกอบ
2. 50
ที่ไมมีชีวิต แตจะมีความเกี่ยวของกับการดํารงชีวิต
3. 75
ของสิ่งมีชีวิต และองคประกอบทางชีวภาพ ซึ่งเปน
4. 100 องคประกอบที่มีชีวิต ซึ่งจะมีความเกี่ยวของสัมพันธ
อานขอความที่กําหนดให แลวตอบคําถามขอ 7. - 8. กับสิง่ มีชวี ติ ชนิดอืน่ ๆ และสัมพันธกบั สิง่ ไมมชี วี ติ ดวย”
“ยีนที่ควบคุมลักษณะตาบอดสี เปนยีนดอยที่พบ 11. ขอใดเปนองคประกอบทางกายภาพของระบบนิเวศ
อยูบนโครโมโซม X ซึ่งชายคนหนึ่งไมเปนตาบอดสี A 1. ดิน นํ้า จุลินทรีย
แตงงานกับหญิงที่เปนพาหะของโรค” 2. ดิน นํ้า แสงแดด
7. ชายและหญิงคูนี้จะมีลักษณะของยีนเปนอยางไร 3. พืช สัตว แสงแดด
B เมื่อกําหนดให แทนยีนดอย แทนยีนเดน 4. พืช สัตว ความชื้น
1. X Y XX 12. สิ่งมีชีวิตในขอใดแสดงบทบาทตางจากสิ่งมีชีวิตในขออื่น
แบบทดสอบ

D 1. เห็ด รา 2. ชาง กวาง


2. X Y XX
3. หนอน แรง 4. สิงโต ฉลาม
3. X Y XX
13. กาฝากบนตนไม ฉลามกับเหาฉลาม โพรโทซัวในลําไส
4. X Y XX D ปลวก ขอใดกลาวถึงความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตขางตน
8. ลูกของชายและหญิงคูดังกลาว จะมีลักษณะอยางไร ตามลําดับไดถูกตอง
โครงการบูรณาการ

D 1. ไมเปนตาบอดสีเลย 1. ภาวะอิงอาศัย ภาวะปรสิต ภาวะปรสิต


2. เปนตาบอดสีทั้งหมด 2. ภาวะปรสิต ภาวะอิงอาศัย ภาวะปรสิต
3. เปนตาบอดสีรอยละ 50 และไมเปนตาบอดสีรอยละ 50 3. ภาวะปรสิต ภาวะอิงอาศัย ภาวะพึ่งพา
4. เปนตาบอดสีรอยละ 25 และไมเปนตาบอดสีรอยละ 75 4. ภาวะพึ่งพา ภาวะปรสิต ภาวะอิงอาศัย
9. ถ า ลั ก ษณะทางพั น ธุ กรรมลั ก ษณะหนึ่ ง ถู ก ควบคุ ม ด ว ย 14. “หนอน นก หญา งู” พบในระบบนิเวศแหงหนึ่ง จะเขียน
D ยีนดอยที่อยูบนโครโมโซม X การถายทอดลักษณะทาง E ความสัมพันธในรูปโซอาหารไดอยางไร
พันธุกรรมลักษณะนี้จะเปนอยางไร 1. หญา หนอน งู นก
1. พบลักษณะนี้ในเพศหญิงเทานั้น 2. หญา หนอน นก งู
2. ไมสามารถพบลักษณะนี้ในเพศหญิง 3. หญา นก หนอน งู
3. พบลักษณะนี้ในเพศหญิงมากกวาเพศชาย 4. หญา งู นก หนอน
4. พบลักษณะนี้ในเพศชายมากกวาเพศหญิง 15. ขอใดไมถกู ตองเกีย่ วกับการถายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
10. บุคคลหนึง่ เปนโรคทางพันธุกรรม โดยเปนผูช ายทีม่ ลี กั ษณะ D 1. ผูผลิตเปนจุดเริ่มตนของโซอาหารทุกชนิด
A บางอยางคลายผูห ญิง เชน มีเตานมโต สะโพกผาย เปนตน 2. ระบบนิเวศใดที่มีสายใยอาหารซับซอนมาก แสดงวา
และเปนหมัน บุคคลนี้จะมีโครโมโซมเพศในลักษณะใด ระบบนิเวศนั้นมีความสมดุล
1. XO 3. จุลินทรียมีบทบาทในการยอยสลายสารอินทรีย
2. XXX แตไมไดมีสวนในการถายทอดพลังงาน
3. XXY 4. โซอาหารที่มีจํานวนสิ่งมีชีวิตมาก สิ่งมีชีวิตทายๆ
4. XYY โซอาหารยิ่งไดรับพลังงานนอยลง

โครงการวัดและประเมินผล (10)
กราฟ จํานวนสิ่งมีชีวิต 4 ชนิด ในโซอาหาร จาก 19. การศึกษาประชากรในระบบนิเวศแหงหนึง่ พบวา อัตราการ
ชวงเวลา A ถึง F D เกิดและอัตราการตายในระบบนิเวศแหงนี้ไมแตกตางกัน
ขอใดสรุปไดถูกตอง
จํานวนสิ่งมีชีวิต หญา 1. ประชากรมีขนาดคงที่
หนอน 2. ประชากรมีขนาดลดลง
นก 3. ประชากรมีขนาดเพิ่มขึ้น
งู 4. ยังสรุปไมได
20. ตาราง สายพันธุของหอยที่พบในปาชายเลนที่มี
A B C D E F
ชวงเวลา D ความหนาแนนของตนไมแตกตางกัน
เขียนความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตทั้ง 4 ชนิด ความหนาแนนของตนไม สายพันธุของหอยที่พบ
ในรูปของโซอาหารได ดังนี้ (จํานวนตนตอไร)
หญา หนอน นก งู 970 ABCD
390 AC
16. จากกราฟ ชวงเวลาใดที่มีอาหารของนกอยูนอยที่สุด
120 AD

แบบทดสอบ
D 1. A ถึง B 2. B ถึง C
3. C ถึง D 4. E ถึง F ถาปามีความหนาแนนของตนไมลดลง จะสงผลตอหอย
17. จากพีระมิดจํานวนที่กําหนดให A ควรเปนสิ่งมีชีวิตใด สายพันธุใดเปนอันดับแรก
D 1. A 2. B
3. C 4. D
C

โครงการบูรณาการ
21. ขอใดอธิบายความหมายของคําวา “ทรัพยากรธรรมชาติ”
B
A ไดถูกตองที่สุด
A 1. สิ่งตางๆ ที่อยูรอบตัวเรา
2. สิ่งตางๆ ที่มีความเหมาะสมตอมนุษย
1. หญา 2. หนอน 3. ทุกสิ่งที่ประกอบกันเปนโลกและสภาพแวดลอม
3. ตั๊กแตน 4. นกกระจอก 4. สิ่งที่มีอยูในธรรมชาติที่มนุษยสามารถนํามาใช
อานขอความที่กําหนดให แลวตอบคําถามขอ 18. ประโยชน ได
“คารบอนเปนองคประกอบสําคัญของสารอินทรีย อานขอความที่กําหนดให แลวตอบคําถามขอ 22.
ที่ พ บในร า งกายสิ่ ง มี ชี วิ ต ทุ ก ชนิ ด สิ่ ง มี ชี วิ ต จะได
รับคารบอนจากอาหารที่กินเขาไป ซึ่งคารบอนจะ “สิ่งแวดลอม หมายถึง สิ่งตางๆ ที่อยูรอบตัวเรา
หมุนเวียนกลับคืนสูสิ่งแวดลอม โดยการหายใจออก ทั้งที่มีชีวิตและไมมีชีวิต ทั้งที่สามารถมองเห็นไดและ
ของสิ่งมีชีวิต และเมื่อสิ่งมีชีวิตตายลง คารบอนที่เปน มองเห็นไมได ซึง่ อาจเปนสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ เองตามธรรมชาติ
องคประกอบในรางกายก็จะกลับสูสิ่งแวดลอม” หรือสิ่งที่เกิดจากฝมือมนุษย”
18. หากปราศจากวัฏจักรคารบอน จะสงผลตอสิง่ มีชวี ติ อยางไร 22. จริงหรือไมที่มนุษยไมสามารถสรางสิ่งแวดลอมได
F 1. ไมมีผลใดๆ ตอสิ่งมีชีวิต D 1. จริง เพราะสิ่งแวดลอมมีวัฏจักรหมุนเวียน
2. สิ่งมีชีวิตจะขาดแคลนแหลงที่อยู 2. จริง เพราะสิ่งแวดลอมเปนสิ่งที่เกิดเองตามธรรมชาติ
3. สิ่งมีชีวิตจะไมสามารถสืบพันธุได 3. ไมจริง เพราะสิ่งแวดลอมเปนสิ่งที่นํากลับมาใชใหมได
4. สิ่งมีชีวิตไมสามารถดํารงชีวิตอยูได 4. ไมจริง เพราะสิง่ แวดลอมคือทุกสิง่ ทุกอยางทีอ่ ยูร อบตัว

(11) โครงการวัดและประเมินผล
23. สาเหตุ
สาเห สําคัญที่สุดของปญหาวิกฤตการณดานสิ่งแวดลอม 29. แหลงชุมชนที่มีการปลอยนํ้าทิ้งซึ่งมีสารอินทรียปนเปอน
D และทรัพยากรธรรมชาติ คือขอใด D อยูมากลงไปในแหลงนํ้า นักเรียนคิดวาจะสงผลกระทบ
1. การเพิ่มขึ้นของประชากร โดยตรงตอสิ่งใด
2. การขยายตัวทางเศรษฐกิจ 1. ออกซิเจนที่ละลายในนํ้าจะเพิ่มขึ้น
3. ภัยธรรมชาติและอุบัติเหตุ 2. พืชนํ้าจะเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว
4. ความเจริญทางดานเทคโนโลยี 3. สัตวนํ้าจะเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว
24. เพราะเหตุใดปจจุบันสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ 4. สิ่งมีชีวิตไมสามารถอาศัยในแหลงนํ้าได
D จึงมีลักษณะเสื่อมโทรมลงอยางรวดเร็ว 30. ขอใดเปนแนวทางในการแกไขปญหาสิ่งแวดลอมที่ดีที่สุด
1. สิ่งมีชีวิตมีความหลากหลายเพิ่มขึ้น C 1. การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ
2. ขาดการจัดการที่ดีในดานการใชทรัพยากร 2. ลดปริมาณการใชนํ้ามันเชื้อเพลิง
3. วิถีชีวิตของมนุษยมีความหลากหลายเพิ่มขึ้น 3. ใหการศึกษาดานสิ่งแวดลอมแกประชาชน
4. เกิดความเสื่อมโทรมของดินและแหลงนํ้าที่ใชในการ 4. กําหนดบทลงโทษอยางจริงจังเกี่ยวกับการทําลาย
เพาะปลูก สิ่งแวดลอม
25. การใชทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืนมีผลตอระบบนิเวศ 31. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบ

D อยางไร A 1. เปนความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน
1. ชวยใหระบบนิเวศมีขนาดใหญ 2. เปนความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตและไมสิ่งมีชีวิต
2. ชวยรักษาสมดุลของระบบนิเวศ 3. เปนความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในแหลงที่อยูตางๆ
3. ชวยใหระบบนิเวศมีความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต 4. เปนความหลากหลายของสิ่งไมมีชีวิตในแหลงที่อยู
4. ชวยใหระบบนิเวศมีสภาพเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา เดียวกัน
โครงการบูรณาการ

26. ทรัพยากรธรรมชาติหลายชนิด เมือ่ นํามาใชแลวจะหมดไป 32. การที่ในแตละบริเวณจะมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยูตางกัน จัดเปน


D ขอใดคือแนวทางทีด่ ที สี่ ดุ ในการอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติ B ความหลากหลายทางใด
เหลานั้นใหคงอยูไดนานที่สุด 1. ความหลากหลายทางกายภาพ
1. การใชซํ้า 2. ลดการใช 2. ความหลากหลายทางชนิดพันธุ
3. การหาสิ่งอื่นทดแทน 4. การปรับปรุงคุณภาพ 3. ความหลากหลายทางพันธุกรรม
27. การกระทําในลักษณะใดที่จัดไดวาเปนการนําทรัพยากร- 4. ความหลากหลายทางระบบนิเวศ
D ธรรมชาติกลับมาใชใหม 33. ขอใดเรียงลําดับการจัดจําแนกสิง่ มีชวี ติ จากขอบเขตทีแ่ คบ
1. การใชกระดาษทั้งสองหนา A ไปยังขอบเขตที่กวางขึ้นเรื่อยๆ ไดถูกตอง
2. การเลือกซื้อนํ้ายาลางจานชนิดถุงเติม 1. จีนัส สปชีส แฟมิลี ออรเดอร
3. การนํากลองนมมาทําเปนกระเปาใสของ 2. จีนัส สปชีส ออรเดอร แฟมิลี
4. การนําถุงพลาสติกใบเกาไปใสของจากรานคา 3. สปชีส จีนัส แฟมิลี ออรเดอร
28. ขอใดไมใชหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงที่สามารถนํามา 4. สปชีส จีนัส ออรเดอร แฟมิลี
B ใชกับการใชทรัพยากรธรรมชาติ 34. มนุษยยุคปจจุบันมีชื่อวิทยาศาสตรวาอะไร
1. ความไมประมาท A 1. Homo sapiens
2. การใชอยางคุมคา 2. Homo erectus
3. ความพอประมาณ 3. Homo sapiens idaltu
4. การยึดทางสายกลาง 4. Homo neanderthalensis

โครงการวัดและประเมินผล (12)
35. หากพิจารณาถึงกระดูกสันหลังเปนเกณฑ สิ่งมีชีวิต 38. ความหลากหลายทางชีวภาพมีประโยชนตอมนุษยอยางไร
D ในขอใดแตกตางจากขออื่น B 1. เปนอาหาร
1. กิ้งกือ 2. ฟองนํ้า 2. เปนยารักษาโรค
3. ลิ่นทะเล 4. ซาลาแมนเดอร 3. เปนแหลงที่อยูอาศัย
36. กําหนดให 4. เปนแหลงของปจจัยสี่
D A ดอกมี 3 กลีบ 39. ขอใดจัดวาเปนเทคโนโลยีชีวภาพ
B ดอกมี 5 กลีบ B 1. การผลิตถานดูดกลิ่น
C เสนใบขนาน 2. การผลิตตะไครหอมไลยุง
D เสนใบเปนรางแห 3. การผลิตแอลกอฮอลจากออย
E ทอลําเลียงกระจายทั่วลําตน 4. การผลิตนํ้ายาลางจานจากมะกรูด
F ทอลําเลียงเรียงเปนวงรอบลําตน 40. ขอใดจัดเปนสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
ตนมะมวงจะมีลักษณะตามขอใด D 1. แตงโมที่มีผลขนาดใหญ
1. A C E 2. A D E 2. ดอกไมที่ไดจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
3. B D F 4. B C F 3. แบคทีเรียที่สามารถผลิตฮอรโมนอินซูลิน

แบบทดสอบ
37. ขอใดสงผลใหเกิดการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ 4. กลวยไมพันธุใหมที่ไดจากการฉายรังสีแกมมา
B นอยที่สุด
1. ภูเขาไฟปะทุ
2. การตัดไมทําลายปา
3. การสรางพื้นที่เกษตรกรรม

โครงการบูรณาการ
4. การขยายพื้นที่เพื่อที่อยูอาศัย

(13) โครงการวัดและประเมินผล
ตอนที่ 2 แบบอัตนัย จํานวน 5 ขอ ขอละ 2 คะแนน ¤Ðá¹¹·Õè ä´Œ
¤Ðá¹¹àµçÁ
10

1. การศึกษาจํานวนโครโมโซมของสิ่งมีชีวิตมีความสําคัญอยางไร
F ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................

2. การใชสารเคมีกําจัดศัตรูพืชจนทําใหเกิดสารตกคางจํานวนมาก สงผลตอระบบนิเวศอยางไร
D ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
แบบทดสอบ

..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................

3. การเพิ่มขึ้นของประชากรมนุษยสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมอยางไร
D ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
โครงการบูรณาการ

..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................

4. ความหลากหลายทางชีวภาพมีประโยชนและโทษตอมนุษยอยางไร
A ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................

5. เทคโนโลยีชีวภาพมีประโยชนตอการดํารงชีวิตของมนุษยอยางไร
F ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................

โครงการวัดและประเมินผล (14)
แบบทดสอบว�ชา ว�ทยาศาสตร เลม 1
ชุดที่ 3
¤Ðá¹¹·Õè ä´Œ
¤Ðá¹¹ÃÇÁ
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 50

ชื่อ …………………………………………………………………………………………………….. นามสกุล ……………………………………………………………………………………………..


เลขประจําตัวสอบ ……………………………………………………………………. โรงเรียน …………………………………………………………………………………………….
สอบวันที่ …………………….. เดือน ………………………………………………… พ.ศ. ………………………………………..
โครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด

ตอนที่ 1 แบบปรนัย 4 ตัวเลือก แตละขอมีคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว ¤Ðá¹¹·Õè ä´Œ


¤Ðá¹¹àµçÁ
จํานวน 40 ขอ ขอละ 1 คะแนน 40

อานขอความที่กําหนดให แลวตอบคําถามขอ 1. 4. ขอใดไมใชลักษณะทางพันธุกรรม

แบบทดสอบ
B 1. สีผิว
“เซลลเปนหนวยพืน้ ฐานของสิง่ มีชวี ติ ทีม่ ขี นาดเล็ก
2. ลักยิ้ม
ทีส่ ดุ ภายในเซลลมนี วิ เคลียส ในนิวเคลียสมีเสนใยเล็กๆ
3. ชั้นตา
พันกันอยู เรียกเสนใยเหลานีว้ า โครมาทิน ซึง่ เมือ่ มีการ
4. แผลเปน
แบงเซลล เสนใยโครมาทินจะหดตัวสัน้ จนมีลกั ษณะเปน
5. กําหนดให A แทน ยีนเดนที่ควบคุมลักษณะผิวปกติ

โครงการบูรณาการ
แทง เรียกวา โครโมโซม”
D a แทน ยีนดอยที่ควบคุมลักษณะผิวเผือก
1. ขณะที่มีการแบงเซลล โครโมโซมจะมีลักษณะอยางไร สามี - ภรรยาที่มีลักษณะยีนในคูใดที่ลูกของพวกเขา
A 1. มีลกั ษณะเปนแทง มีโอกาสแสดงลักษณะผิวเผือกรอยละ 50
2. ขดไปมาอยูในนิวเคลียส 1. AA × aa
3. จับกันเปนคูๆ ชัดเจน 23 คู 2. Aa × Aa
4. ไมปรากฏโครโมโซมใหเห็น 3. Aa × aa
2. โครโมโซมของมนุษยเปนไปตามขอใด 4. AA × Aa
A 1. เปนออโตโซม 46 คู และเปนโครโมโซมเพศ 1 คู 6. ลักยิ้มเปนลักษณะทางพันธุกรรมที่มียีนอยูบนออโตโซม
2. เปนออโตโซม 45 คู และเปนโครโมโซมเพศ 1 คู D หากชายคนหนึ่งมีลักยิ้ม ซึ่งมียีนแบบ Aa แตงงานกับ
3. เปนออโตโซม 23 คู และเปนโครโมโซมเพศ 1 คู หญิงคนหนึ่งที่ไมมีลักยิ้ม ซึ่งมียีนแบบ aa ลูกแตละคนจะ
4. เปนออโตโซม 22 คู และเปนโครโมโซมเพศ 1 คู มีโอกาสมีลักยิ้มรอยละเทาใด
3. การถายทอดลักษณะของสิ่งมีชีวิตจากรุนหนึ่งไปสูอีก 1. 25
A รุนหนึ่ง เปนความหมายของคําในขอใด 2. 50
1. พันธุกรรม 2. พันธุศาสตร 3. 75
3. พันธุวิศวกรรม 4. โรคทางพันธุกรรม 4. 100
ความรู ความจํา ความเขาใจ การนําไปใช การวิเคราะห การสังเคราะห การประเมินคา
A B C D E F

(15) โครงการวัดและประเมินผล
อานขอความที่กําหนดให แลวตอบคําถามขอ 7. 12. สิ่งมีชีวิตในขอใดแสดงบทบาทต
ใ างจากสิ่งมีชีวิตในขออื่น
D 1. เห็ด 2. เฟน
“โครโมโซมพบอยู ในนิวเคลียส ซึ่งโครโมโซมจะ
ประกอบดวยดีเอ็นเอและโปรตีน โดยแตละชวงของ 3. หญา 4. สาหราย
ดีเอ็นเอมีหนวยพันธุกรรมหรือยีนที่ทําหนาที่ควบคุม 13. “ไลเคน” เปนการอยูร ว มกันของสิง่ มีชวี ติ ทีม่ คี วามสัมพันธ
ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต” B กันแบบใด
1. ภาวะแขงขัน
7. เหตุใดโครโมโซมจึงมีความสําคัญตอการถายทอดลักษณะ 2. ภาวะลาเหยื่อ
F ทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต
3. ภาวะอิงอาศัย
1. ภายในโครโมโซมมียีนอยู
2. โครโมโซมอยูภายในเซลล 4. ภาวะพึ่งพากัน
3. ภายในโครโมโซมมีนิวเคลียส 14. สิ่งมีชีวิต 4 ชนิด ที่สํารวจพบในระบบนิเวศทุงหญา ไดแก
4. โครโมโซมอยูภายในนิวเคลียส E หญา หนู ตั๊กแตน และเหยี่ยว เขียนความสัมพันธของ
8. บุคคลที่เปนโรคทางพันธุกรรมในขอใดสามารถมีบุตรได สิ่งมีชีวิตในรูปของโซอาหารไดอยางไร
B 1. ตนมีอาการดับเบิลวาย 1. หญา หนู ตั๊กแตน เหยี่ยว
แบบทดสอบ

2. เมยมีอาการเทอรเนอร 2. หญา ตั๊กแตน หนู เหยี่ยว


3. เกามีอาการไคลนเฟลเตอร 3. หญา เหยี่ยว ตั๊กแตน หนู
4. ทั้ง 3 คนไมสามารถมีบุตรได 4. หญา เหยี่ยว หนู ตั๊กแตน
9. ลักษณะทางพันธุกรรมใดที่มียีนควบคุมอยูบน 15. เมื่อพลังงานในสารอาหารถูกถายทอดจากผูผลิตไปยัง
B โครโมโซมเพศ D ผูบริโภคลําดับตอไปไดเพียง 10% ถาหนอนตัวหนึ่งกิน
โครงการบูรณาการ

1. ผิวเผือก 2. ตาบอดสี ใบพืชจํานวน 10 กรัมตอวัน ปริมาณพลังงานที่หนอน


3. ธาลัสซีเมีย 4. ลักษณะนิ้วเกิน สามารถใชสรางเปนเนือ้ เยือ่ เทียบไดกบั ใบพืชจํานวนเทาใด
10. ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับโรคธาลัสซีเมีย 1. 0.1 กรัม 2. 1 กรัม
B 1. เกิดจากความผิดปกติของยีน 3. 10 กรัม 4. 100 กรัม
2. ไมสามารถรักษาใหหายขาดได
16. จากสายใยอาหารที่กําหนดให สิ่งมีชีวิตใดนาจะเปนมนุษย
3. เซลลเม็ดเลือดแดงผิดปกติ แตกสลายงาย
D
4. บุคคลปกติทั่วไปอาจมียีนธาลัสซีเมียแฝงอยู E F
อานขอความที่กําหนดให แลวตอบคําถามขอ 11.
C
“ระบบนิเวศประกอบไปดวยองคประกอบ 2 กลุม
A D
ไดแก องคประกอบทางกายภาพ ซึ่งเปนองคประกอบ
ที่ไมมีชีวิต แตจะมีความเกี่ยวของกับการดํารงชีวิต
B
ของสิ่งมีชีวิต และองคประกอบทางชีวภาพ ซึ่งเปน
องคประกอบที่มีชีวิต ซึ่งจะมีความเกี่ยวของสัมพันธ 1. C 2. D
กับสิง่ มีชวี ติ ชนิดอืน่ ๆ และสัมพันธกบั สิง่ ไมมชี วี ติ ดวย” 3. E 4. F
11. ขอใดเปนองคประกอบทางชีวภาพของระบบนิเวศ 17. วัฏจักรสารใดที่จะเกิดขึ้นไดสมบูรณตองอาศัยจุลินทรีย
D 1. ดิน นํ้า จุลินทรีย 2. ดิน นํ้า แสงแดด B 1. นํ้า 2. คารบอน
3. พืช สัตว แสงแดด 4. พืช สัตว จุลินทรีย 3. ไนโตรเจน 4. ฟอสฟอรัส

โครงการวัดและประเมินผล (16)
18. จากพีระมิดจํานวนที่กําหนดให C ควรเปนสิ่งมีชีวิตใด 24. ปจจัยสําคัญที่ทําใหเกิดวิกฤตการณดานสิ่งแวดลอมและ
D D ทรัพยากรธรรมชาติของโลก คือขอใด
1. ความเจริญของชุมชนเมือง
C
2. ความเจริญของอุตสาหกรรม
B 3. ความกาวหนาของเทคโนโลยี
A 4. การเพิ่มจํานวนประชากรมนุษย
25. ขอใดเปนแนวทางในการชวยรักษาสมดุลของระบบนิเวศ
1. หญา 2. หนอน D 1. การดูแลรักษาสภาพแวดลอม
3. ตั๊กแตน 4. นกกระจอก 2. การใชทรัพยากรธรรมชาติอยางฟุมเฟอย
19. ขอใดตรงกับความหมายของคําวา “ประชากร” 3. การใชทรัพยากรธรรมชาติเพียงอยางเดียว
B 1. มีชางปา 80 ตัว ในอุทยานแหงชาติ 4. การใชทรัพยากรธรรมชาติอยางหลากหลาย
2. สํารวจพบโลมา 20 ตัว ในทะเลอาวไทย 26. การทําโตะเรียนจากกลองนม เปนการจัดการใช
3. เมื่อเดือนกรกฎาคม 2556 สํารวจพบกระทิง 50 ตัว D ทรัพยากรใหเกิดประโยชนสูงสุดโดยยึดหลักใด
4. มีกวาง 100 ตัว ในปาเขาใหญ เมือ่ เดือนสิงหาคม 2556 1. การใชซํ้า

แบบทดสอบ
20. ขอใดเปนความหมายของ “ความหนาแนนของประชากร” 2. การนํากลับมาใชใหม
B 1. อัตราสวนระหวางจํานวนประชากรของสิ่งมีชีวิต 3. การใชใหเกิดประโยชนสูงสุด
ทุกชนิดตอหนวยพื้นที่ 4. การฟนฟูและปรับปรุงคุณภาพ
2. อัตราสวนระหวางจํานวนประชากรของสิ่งมีชีวิต 27. ขอใดไมถือวาเปนการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ
ชนิดหนึ่งตอหนวยพื้นที่ D 1. นอยหนาใชนํ้าซักผามารดตนไม

โครงการบูรณาการ
3. อัตราสวนระหวางจํานวนประชากรของสิง่ มีชวี ติ ทุกชนิด 2. สมศักดิ์กําจัดวัชพืชโดยการไถกลบแทนการเผา
ตอหนวยเวลา 3. ดุสิตรับซื้อกระปองอะลูมิเนียมมาหลอมเพื่อใชใหม
4. อัตราสวนระหวางจํานวนประชากรของสิ่งมีชีวิต 4. สมศรีใชปุยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรในสวน
ชนิดหนึ่งตอหนวยเวลา 28. ขอใดไมใชหลักการใชทรัพยากรธรรมชาติตามปรัชญา
21. ขอใดเปนทรัพยากรธรรมชาติที่จัดอยูในกลุมเดียวกัน D เศรษฐกิจพอเพียง
A 1. นํ้า ปาไม 1. ควบคุมการใชทรัพยากรอยางเหมาะสม
2. ดิน อากาศ 2. ใชทรัพยากรอยางหลากหลายในปริมาณมากๆ
3. นํ้ามัน แรธาตุ 3. ใชทรัพยากรในปริมาณไมมากหรือนอยเกินไป
4. ทราย ถานหิน 4. ใชทรัพยากรอยางพอดี โดยไมใชเกินความจําเปน
22. ปจจัยใดมีอิทธิพลมากที่สุดในการทําใหเกิดความแตกตาง 29. ปญหามลพิษใดทีส่ ง ผลใหมนุษยมคี วามเสีย่ งตอการเปนโรค
D ของสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติในแตละชุมชน B เกี่ยวกับทางเดินหายใจ
1. มนุษย 2. เศรษฐกิจ 1. มลพิษทางดิน 2. มลพิษทางนํ้า
3. เทคโนโลยี 4. การประกอบอาชีพ 3. มลพิษทางเสียง 4. มลพิษทางอากาศ
23. ขอใดไมไดเปนสาเหตุที่ทําใหเกิดปญหาสิ่งแวดลอม 30. ขอใดเปนแนวทางในการแกไขปญหาสิ่งแวดลอมที่ดีที่สุด
D 1. การทําไรเลื่อนลอย C 1. รณรงคลดการใชเชื้อเพลิง
2. การเพิ่มขึ้นของวัชพืช 2. รถยนตเปลี่ยนมาใชแกสแทนนํ้ามัน
3. การเพิ่มขึ้นของประชากร 3. ปลูกจิตสํานึกใหประชาชนรักสิ่งแวดลอม
4. การขาดจิตสํานึกตอสวนรวม 4. ออกกฎหมายลงโทษเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมอยางรุนแรง

(17) โครงการวัดและประเมินผล
31. ขอใดตอไปนี้ไมมีผลตอความหลากหลายทางชีวภาพ 36. กําหนดให
D 1. วิวัฒนาการ D A ดอกมี 3 กลีบ
2. สิ่งแวดลอม B ดอกมี 5 กลีบ
3. การกลายพันธุ C เสนใบขนาน
4. การกินอาหาร D เสนใบเปนรางแห
32. การทีล่ งิ แสมกับลิงกังมีลกั ษณะคลายกัน แตทจี่ ริงแลวเปน E ทอลําเลียงกระจายทั่วลําตน
B ลิงตางชนิดกัน จัดเปนความหลากหลายทางใด F ทอลําเลียงเรียงเปนวงรอบลําตน
1. ความหลากหลายทางกายภาพ ตนกลวยจะมีลักษณะตามขอใด
2. ความหลากหลายทางชนิดพันธุ 1. A C E 2. A D E
3. ความหลากหลายทางพันธุกรรม 3. B D F 4. B C F
4. ความหลากหลายทางระบบนิเวศ 37. ปรากฏการณทางธรรมชาติในขอใดที่ไมเปนสาเหตุใหเกิด
B การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ
33. การจัดจําแนกสิ่งมีชีวิตตามแนวคิดของนักวิทยาศาสตร
A ทานใด ที่เปนที่นิยมในปจจุบัน 1. แผนดินไหว 2. ภูเขาไฟปะทุ
3. ตนไมใหญโคนลม 4. นํ้าแข็งขั้วโลกละลาย
1. อาริสโตเติล
แบบทดสอบ

2. เอิรนสต แฮคเกล 38. ความหลากหลายทางชีวภาพมีโทษตอมนุษยอยางไร


B 1. ทําใหเกิดโรค
3. รอเบิรต วิตเทเกอร
2. ทําใหเกิดมลพิษ
4. เฮอรเบิรต โคปแลนด
3. ทําใหประชากรมนุษยลดลง
34. ขอใดเขียนชื่อวิทยาศาสตรของมนุษยไดถูกตองที่สุด 4. ทําใหประชากรมนุษยเพิ่มขึ้น
โครงการบูรณาการ

A 1. Homo sapiens
39. ขอใดเปนประโยชนของเทคโนโลยีชวี ภาพดานเกษตรกรรม
2. Homo sapiens A 1. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
3. Homo Sapiens 2. การใชจุลินทรียบําบัดนํ้าเสีย
4. homo sapiens 3. การผลิตสารเคมีจากจุลินทรียบางชนิด
35. สัตวในกลุมใดมีความหลากหลายมากที่สุด 4. การตรวจเอกลักษณบุคคลจากลายพิมพดีเอ็นเอ
A 1. หอย 40. หลักฐานในขอใดที่ไมสามารถใชตรวจหาฆาตกรโดยวิธี
2. แมลง D ตรวจลายพิมพดีเอ็นเอ
3. สัตวเลื้อยคลาน 1. เสนผม 2. ลายนิ้วมือ
4. สัตวเลี้ยงลูกดวยนํ้านม 3. คราบอสุจิ 4. คราบเลือด

โครงการวัดและประเมินผล (18)
ตอนที่ 2 แบบอัตนัย จํานวน 5 ขอ ขอละ 2 คะแนน ¤Ðá¹¹·Õè ä´Œ
¤Ðá¹¹àµçÁ
10

1. หากนักเรียนมีลักยิ้มเหมือนพอ ผมตรงเหมือนแม มีติ่งหูเหมือนยาย หอลิ้นไดเหมือนปู นักเรียนคิดวาเพราะเหตุใดจึงเปน


D เชนนั้น
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................

2. วัฏจักรของสารตางๆ มีความสําคัญตอระบบนิเวศอยางไร
F ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................

แบบทดสอบ
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................

3. ใหนักเรียนอธิบายความสัมพันธระหวางสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ พรอมทั้งยกตัวอยางประกอบ
B ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................

โครงการบูรณาการ
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................

4. ใหนักเรียนสรุปประโยชนของความหลากหลายทางชีวภาพในรูปของแผนผังความคิด ตาราง หรือรูปแบบอื่นที่เขาใจงายและ


E นาสนใจ
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................

5. เพราะเหตุใดจึงควรมีการอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพ
D ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................

(19) โครงการวัดและประเมินผล
เฉลยแบบทดสอบ ชุดที่ 1

ตอนที่ 1
1. ตอบ ขอ 2. ในขณะทีเ่ ซลลยงั ไมมกี ารแบงเซลล จะเห็นเสนใยเล็กๆ เรียกวา โครมาทิน (chromatin) แตเมือ่ มีการแบงเซลล
เกิดขึน้ เสนโครมาทินจะหดตัวสัน้ มีลกั ษณะเปนแทง เรียกวา โครโมโซม (chromosome) ซึง่ นักวิทยาศาสตร
มักจะศึกษาลักษณะของโครโมโซมในขณะที่มีการแบงเซลล เนื่องจากจะเห็นโครโมโซมไดชัดเจน
2. ตอบ ขอ 4. โครโมโซมมีขนาดเล็กมากจนไมสามารถมองเห็นไดดวยตาเปลา ดังนั้นการศึกษาเกี่ยวกับโครโมโซมจึงตอง
อาศัยกลองจุลทรรศน
3. ตอบ ขอ 2. มนุษยมีโครโมโซม 46 แทง หรือ 23 คู ซึ่งเปนออโตโซม 22 คู และเปนโครโมโซมเพศ 1 คู โดยเพศหญิง
มีโครโมโซมเพศเปน XX สวนเพศชายมีโครโมโซมเพศเปน XY
4. ตอบ ขอ 2. โครโมโซมเปนที่อยูของหนวยพันธุกรรม ที่ทําหนาที่ควบคุมและถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตางๆ ของ
สิ่งมีชีวิต ซึ่งสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันจะมีจํานวนโครโมโซมเทากัน โครโมโซมมีลักษณะเปนแทงประกอบดวย
แบบทดสอบ

แขน 2 ขาง ที่มีจุดเชื่อมตอกัน เรียกวา เซนโทรเมียร ซึ่งตําแหนงจุดเชื่อมตอที่ตางกัน ทําใหโครโมโซม


มีรูปรางหลายแบบ
5. ตอบ ขอ 1. ลักษณะทางพันธุกรรมเปนลักษณะทีส่ ามารถถายทอดจากรุน สูร นุ ผานทางเซลลสบื พันธุข องพอและแม เชน
การมีลักยิ้ม ติ่งหู หรือแมแตการหอลิ้น อยางไรก็ตาม ใชวาทุกลักษณะของสิ่งมีชีวิตจะเปนลักษณะทาง
โครงการบูรณาการ

พันธุกรรม เพราะบางลักษณะอาจเกิดจากสภาพแวดลอม เชน รอยแผลเปน เปนตน


6. ตอบ ขอ 2. ความแปรผันทางพันธุกรรมแบบตอเนือ่ ง เปนลักษณะที่ไดรบั อิทธิพลจากสิง่ แวดลอม ลักษณะทางพันธุกรรม
จะไมสามารถแยกความแตกตางไดชัดเจน เชน ความสูงของคน ถาไดรับสารอาหารถูกตองตามหลัก
โภชนาการ และมีการออกกําลังกายสมํ่าเสมอ ก็จะทําใหมีรางกายสูงไดแมพอแมจะไมสูงก็ตาม
7. ตอบ ขอ 4. ฮีโมฟเลียเปนโรคทางพันธุกรรมที่มียีนดอยอยูบนโครโมโซม X ถาชายคนหนึ่งเปนโรคฮีโมฟเลีย จะมียีน
แบบ X Y สวนหญิงที่ปกติและไมเปนพาหะของโรค จะมียีนแบบ X X
8. ตอบ ขอ 3. ลูกจะมีดเี อ็นบางสวนเหมือนพอ และบางสวนเหมือนแม ซึง่ ไดรบั มาจากการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ดังนั้น การตรวจดีเอ็นเอจึงสามารถระบุความสัมพันธของแมลูกได และยังสามารถใชตรวจพิสูจนหลักฐาน
ทางนิติเวชศาสตรไดอีกดวย
9. ตอบ ขอ 1. ความผิดปกติของออโตโซม คือ ความผิดปกติของโครโมโซมรางกายนั่นเอง โดยแบงออกเปน 2 ลักษณะ
คือ การเพิม่ ของโครโมโซมและการขาดหายไปของโครโมโซม ซึง่ ตัวเลือกที่ 1. กลุม อาการคริดชู าต เกิดจาก
สวนของแขนขางสั้นของโคโมโซมคูที่ 5 หายไป 1 โครโมโซม สวนตัวเลือกที่ 2. - 4. เปนกลุมอาการที่เกิด
จากความผิดปกติของโครโมโซมเพศ
10. ตอบ ขอ 1. ความรูเกี่ยวกับโรคทางพันธุกรรมมีประโยชนอยางมากในการวางแผนครอบครัว ซึ่งหากคูสามีภรรยาคิดจะ
มีบตุ ร ก็ควรตรวจรางกายวาตนเองเปนโรคทางพันธุกรรมหรือเปนพาหะของโรคหรือไม เพราะยีนทีค่ วบคุม
ลักษณะของโรคจะสามารถถายทอดไปยังลูกได ซึง่ หากตรวจพบวามีความเสีย่ งก็ควรหาวิธกี ารปองกันแกไข
เนื่องจากโรคทางพันธุกรรมบางโรคจะสงผลตอการดํารงชีวิตของบุคคลเปนอยางมาก

โครงการวัดและประเมินผล (20)
11. ตอบ ขอ 4. โครงสรางของระบบนิเวศประกอบดวยกลุมสิ่งมีชีวิต แหลงที่อยู และสิ่งแวดลอม
12. ตอบ ขอ 3. ทั้งมอส ชวนชม และสาหรายหางกระรอกเปนผูผลิตในระบบนิเวศ สวนเห็ดนางฟาเปนผูยอยสลาย
13. ตอบ ขอ 3. เนื่องจากสิ่งมีชีวติ ตางๆ ที่กําหนดให มีความสัมพันธกัน ดังนี้
สิ่งมีชีวิต ลักษณะความสัมพันธ
ดอกไมกับแมลง ไดประโยชนรวมกัน
ไลเคน พึ่งพา
นกเอี้ยงกับควาย ไดประโยชนรวมกัน
พลูดางกับตนไมใหญ อิงอาศัย
ฉลามกับเหาฉลาม อิงอาศัย
กลวยไมกับตนมะมวง อิงอาศัย
เสือกับกวาง การลาเหยื่อ

แบบทดสอบ
เสือกับสิงโตที่ลาเหยื่อตัวเดียวกัน แกงแยง
14. ตอบ ขอ 2. โซอาหารเปนความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศที่มีการกินตอกันเปนทอดๆ และมักเริ่มตนดวย
ผูผ ลิตเสมอ ซึง่ การเขียนโซอาหารนิยมใหผถู กู กินหรือเหยือ่ อยูท างซายมือ และผูก นิ หรือผูล า อยูท างขวามือ
โดยมีลูกศรอยูระหวางผูลาและเหยื่อ สวนหัวลูกศรจะชี้ไปทางผูกินหรือผูลาเสมอ ดังนั้น จึงเขียนโซอาหาร
ไดดังนี้ หญา หนอน นก งู

โครงการบูรณาการ
15. ตอบ ขอ 2. การถายทอดพลังงานในโซอาหารแตละลําดับขั้น จะมีพลังงานเพียง 10% เทานั้น ที่สิ่งมีชีวิตจะนําไปสราง
เปนเนื้อเยื่อได สวนอีก 90% จะสลายไปในรูปของพลังงานอื่นๆ หากกําหนดใหขาวเปลือก 2,500 เมล็ด
เปรียบไดกับพลังงาน 100% ดังนั้น พลังงานที่ไกตัวนี้สามารถนําไปสรางเปนเนื้อเยื่อได จะมีคาเทากับ
2,500 × (10/100) = 250 เมล็ด
16. ตอบ ขอ 3. จากโซอาหารทีก่ าํ หนดให ทําใหทราบวาหนอนเปนอาหารของไก ซึง่ เมือ่ พิจารณาจากกราฟ พบวาชวงเวลา
ที่หนอนมีปริมาณนอยที่สุด คือ ชวง C ถึง D
17. ตอบ ขอ 1. ผูผลิตเปนจุดเริ่มตนของพลังงานในระบบนิเวศ การเขียนโซอาหารและสายใยอาหาร มักเริ่มตนที่ผูผลิต
ซึ่งจะถูกผูบริโภคลําดับที่หนึ่งกิน เมื่อพิจารณาจากแผนภาพ สามารถสรุปไดวา สิ่งมีชีวิต A เปนผูผลิต
18. ตอบ ขอ 3. การเขียนพีระมิดถายทอดพลังงาน จะเขียนโดยใหผูผลิตอยูที่ฐาน แลวตอดวยผูบริโภคลําดับที่ 1 ผูบริโภค
ลําดับที่ 2 ตามลําดับ และที่ยอดของพีระมิดจะเปนผูบริโภคลําดับสุดทาย
19. ตอบ ขอ 4. หากปราศจากวัฏจักรนํา้ จะไมมฝี น ไมมคี วามชืน้ ในอากาศ ซึง่ หากไมมนี าํ้ สิง่ มีชวี ติ จะไมสามารถดํารงชีวติ
อยูได เนื่องจากนํ้าเปนปจจัยสําคัญในการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต เชน เปนอาหาร ที่อยูอาศัย เปนตน
20. ตอบ ขอ 4. ปจจัยที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงขนาดประชากร ไดแก อัตราการเกิด อัตราการตาย อัตราการอพยพเขา
และอัตราการอพยพออก
21. ตอบ ขอ 4. สิ่งแวดลอม หมายถึง สิ่งตางๆ ที่อยูรอบตัวเรา ประกอบดวยสิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิต อาจมองเห็นไดหรือ
มองไมเห็น และอาจเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือเกิดจากการที่มนุษยสรางขึ้น

(21) โครงการวัดและประเมินผล
22. ตอบ ขอ 2. สิ่งแวดลอม คือ สิ่งตางๆ ที่อยูรอบตัวเรา ซึ่งอาจเปนสิ่งมีชีวิตหรือสิ่งไมมีชีวิต สามารถมองเห็นไดหรือ
มองเห็นไมได แตลวนมีความสัมพันธเกี่ยวของกับเราทั้งสิ้น เชน คน สัตว แสงแดด อากาศ บาน รถยนต
เปนตน สวนทรัพยากรธรรมชาติ คือ สิ่งที่มีอยูในธรรมชาติที่มนุษยสามารถนํามาใชประโยชน ได เชน ดิน
นํ้า ตนไม อากาศ เปนตน ซึ่งทรัพยากรธรรมชาติเปนสวนหนึ่งของสิ่งแวดลอม
23. ตอบ ขอ 2. ปรากฏการณทางธรรมชาติทั้ง 4 อยางนั้น ลวนมีผลตอสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติทั้งสิ้น แตเมื่อ
พิจารณาถึงความรุนแรงแลว ไฟปานับเปนตัวการทําลายสิง่ แวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติอยางมหาศาล
ทั้งทรัพยากรปาไม สัตวปา ดิน อินทรียวัตถุตางๆ นอกจากนี้ยังกอใหเกิดมลพิษทางอากาศจากเถาถาน
ฝุนละอองและแกสพิษ ซึ่งเปนอันตรายตอระบบหายใจของสิ่งมีชีวิตอีกดวย
24. ตอบ ขอ 1. มนุษยเปนตัวการสําคัญที่กอใหเกิดปญหาวิกฤตการณดานสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ เนื่องจาก
มนุษยนําทรัพยากรมาใชอยางฟุมเฟอยและไมรูคุณคา
25. ตอบ ขอ 2. การดูแลรักษาสภาพแวดลอมเปนแนวทางหนึง่ ในการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ เนือ่ งจากเมือ่ สภาพแวดลอม
ไมเปลี่ยนแปลงหรือเปลี่ยนแปลงนอยมาก ระบบนิเวศบริเวณนั้นๆ ก็จะสามารถรักษาสมดุลไวได
26. ตอบ ขอ 4. การอนุรักษ (conservation) คือ การรักษาสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติใหคงสภาพเดิมไดมากที่สุด
แบบทดสอบ

หรือเกิดการสูญเปลานอยที่สุด หรือกลาวไดวาเปนการใชใหเกิดประโยชนมากที่สุดนั่นเอง
27. ตอบ ขอ 3. การกระทําที่ชวยเพิ่มรายไดใหตนเองโดยยึดหลักการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ คือ เก็บขวดพลาสติกที่
มีคนทิ้งไวขางทางมาขาย เนื่องจากพลาสติกนั้นอาจนําไปผานกระบวนการรีไซเคิลเพื่อนํากลับมาใชใหมได
ซึ่งการกระทํานี้นอกจากจะชวยเพิ่มรายไดแลว ยังเปนการชวยอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และชวยลด
ปริมาณขยะอีกดวย
โครงการบูรณาการ

28. ตอบ ขอ 2. การอนุบาลปูไขและปลอยกลับคืนสูธ รรมชาติ ถือไดวา เปนการสรางทรัพยากรธรรมชาติขนึ้ มาใหมเพือ่ ทดแทน


สิ่งที่ใชไป เชนเดียวกับการปลูกปาทดแทน ซึ่งเปนการใชทรัพยากรธรรมชาติโดยอยูในความไมประมาท
29. ตอบ ขอ 4. บานหลังแรกที่อยูใกลกับแหลงกําจัดขยะ ซึ่งทําใหดินบริเวณนั้นเสื่อมสภาพ นับวาทําใหเกิดมลพิษทางดิน
และการที่ขยะสงกลิ่นเหม็นนั้น จะเปนการทําใหเกิดมลพิษทางอากาศ สวนบานอีกหลังหนึ่งที่อยูใกลกับ
โรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งปลอยนํ้าเสียลงสูแหลงนํ้าธรรมชาตินั้น จะทําใหเกิดมลพิษทางนํ้า และการปลอย
ควันพิษสูอากาศ จะทําใหเกิดมลพิษทางอากาศ
30. ตอบ ขอ 4. การอนุรักษสิ่งแวดลอมในทองถิ่น ควรไดรับความรวมมือจากทุกฝาย และเปนหนาที่ของทุกคนในทองถิ่น
31. ตอบ ขอ 1. สิง่ มีชวี ติ แตละชนิดจะเลือกแหลงทีอ่ ยูท เี่ หมาะสมตอการดํารงชีวติ แตหากแหลงทีอ่ ยูม สี ภาพเปลีย่ นแปลงไป
สิ่งมีชีวิตจะตองมีการปรับตัวเพื่อใหสามารถดํารงชีวิตอยูในแหลงที่อยูนั้นๆ ได การปรับตัวดังกลาวจะนํา
ไปสูความแตกตางของสิ่งมีชีวิต เชน ขนาด รูปราง โครงสรางรางกาย จนเกิดเปนวิวัฒนาการและถายทอด
ไปสูลูกหลาน ดังนั้น การปรับตัวจึงเปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหเกิดความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
32. ตอบ ขอ 2. ความหลากหลายทางชีวภาพ แบงออกเปน 3 ประเภท ดังนี้
1. ความหลากหลายทางระบบนิเวศ เปนความหลากหลายของแหลงที่อยูที่สิ่งมีชีวิตอาศัยอยู
2. ความหลากหลายทางชนิดพันธุ เปนความหลากหลายที่เกี่ยวของกับจํานวนชนิดของสิ่งมีชีวิต
3. ความหลากหลายทางพันธุกรรม เปนความแตกตางกันของสิ่งมีชีวิตในระดับพันธุกรรม
ดังนั้น การที่สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันมีหลายสายพันธุจัดเปนความหลากหลายทางชนิดพันธุ

โครงการวัดและประเมินผล (22)
33. ตอบ ขอ 2. การจัดจําแนกสิ่งมีชีวิตโดยการคัดเลือกประเภทที่มีความใกลเคียงกันไวดวยกัน ตามแนวคิดของคาโรลัส
ลินเนียส ไดจัดลําดับการจัดจําแนกสิ่งมีชีวิตจากขอบเขตที่กวางไปยังขอบเขตที่แคบลงเรื่อยๆ ดังนี้
อาณาจักร ไฟลัม คลาส ออรเดอร แฟมิลี จีนัส สปชีส
34. ตอบ ขอ 3. การจัดจําแนกสิง่ มีชวี ติ ทีเ่ ปนทีน่ ยิ มในปจจุบนั เปนแนวคิดของรอเบิรต วิตเทเกอร ซึง่ จําแนกสิง่ มีชวี ติ ออกเปน
5 อาณาจักร คือ อาณาจักรมอเนอรา อาณาจักรโพรทิสตา อาณาจักรฟงไจ อาณาจักรพืช และอาณาจักร
สัตว
35. ตอบ ขอ 4. จากการแบงสิ่งมีชีวิตออกเปน 2 กลุมตามโจทยนั้น แสดงวาใชการมีกระดูกสันหลังเปนเกณฑในการจําแนก
36. ตอบ ขอ 4. พืชใบเลี้ยงเดีย่ วมีลักษณะสําคัญ ไดแก กลีบดอกจะมีจํานวน 3 หรือทวีคูณของ 3 ลักษณะของเสนใบจะมี
การจัดเรียงแบบขนาน ลําตนไมมีแคมเบียม ทอลําเลียงกระจัดกระจายทั่วลําตน มีระบบรากฝอย และเมล็ด
มีซีกเดียว ตัวอยางพืชกลุมนี้ เชน ขาว ออย มะพราว ปาลม ขาวโพด กลวย กก ตาล ไผ เปนตน
37. ตอบ ขอ 1. การตัดไมทําลายปาจะเปนการทําลายแหลงที่อยูอาศัยและแหลงอาหารของสิ่งมีชีวิตในปา ทําใหสิ่งมีชีวิต
มีการอพยพยายถิ่น ซึ่งสงผลใหเกิดการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพอยางมาก

แบบทดสอบ
38. ตอบ ขอ 2. การใชยาฆาแมลงกําจัดแมลงศัตรูพชื สารเคมีจะตกคางและถายทอดจากพืชไปสูส งิ่ มีชวี ติ อืน่ ๆ ในโซอาหาร
หากสิ่งมีชีวิตไดรับสารเหลานี้ปริมาณมาก อาจสงผลตอประสิทธิภาพการสืบพันธุ หรืออาจทําใหสิ่งมีชีวิต
ตายลงได ซึ่งจะสงผลกระทบตอความหลากหลายทางชีวภาพ
39. ตอบ ขอ 1. มนุษยสามารถใชประโยชนจากความหลากหลายทางชีวภาพทัง้ ทางตรงและทางออม โดยประโยชนทางตรง
คือ การนําสิ่งมีชีวิตตางๆ มาใชประโยชนในดานปจจัยสี่ ไมวาจะเปนอาหาร ที่อยูอาศัย เครื่องนุงหม และ

โครงการบูรณาการ
ยารักษาโรค สวนประโยชนทางออม คือ ความหลากหลายทางชีวภาพกอใหเกิดสถานที่ตางๆ ที่สวยงาม
ซึ่งใชเปนสถานที่ทองเที่ยวพักผอนหยอนใจ หรืออาจเปนแหลงตนนํ้าลําธาร
40. ตอบ ขอ 2. การสรางลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต เพื่อใหไดสิ่งมีชีวิตที่มีคุณสมบัติตามตองการ เปนวิธีการดาน
พันธุวศิ วกรรม (genetic engineering) ซึง่ เปนการสรางลักษณะทางพันธุกรรมทีต่ อ งการใหสามารถถายทอด
เขาสูสิ่งมีชีวิตได โดยใชเทคนิคตางๆ เพื่อนําสารพันธุกรรมจากสิ่งมีชีวิตหนึ่งไปถายฝากใหกับสิ่งมีชีวิต
อีกชนิดหนึ่ง

(23) โครงการวัดและประเมินผล
ตอนที่ 2
1. แนวตอบ หนวยพืน้ ฐานของสิง่ มีชวี ติ คือ เซลล ภายในเซลลประกอบดวยไซโทพลาซึมและนิวเคลียส ภายในนิวเคลียส
มีโครโมโซมอยู ซึ่งแตละโครโมโซมจะประกอบดวยดีเอ็นเอและโปรตีน โดยแตละชวงของดีเอ็นเอจะมี
หนวยพันธุกรรมหรือยีนที่ทําหนาที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต ดังนั้น โครโมโซมจึงมีความ
สําคัญตอการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต เนื่องจากภายในโครโมโซมมียีนอยู
2. แนวตอบ ตูเลี้ยงปลาที่ประกอบไปดวยสิ่งมีชีวิตหลายชนิด จัดเปนระบบนิเวศที่มนุษยสรางขึ้น เนื่องจากภายในตูมี
กลุมสิ่งมีชีวิตที่ตางก็มีความสัมพันธกัน เชน พืชนํ้า ปลาหลากหลายชนิด หอย เปนตน อีกทั้งสิ่งมีชีวิต
ตางๆ นั้นก็มีความสัมพันธตอสิ่งแวดลอมภายในตูดวย
3. แนวตอบ พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน โดยอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน
4. แนวตอบ พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน โดยอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน
5. แนวตอบ พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน โดยอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน ซึ่งแตละชุมชน หรือแตละโรงเรียน
อาจมีปญหาสิ่งแวดลอมที่แตกตางกัน เชน ปญหานํ้าเนาเสีย ปญหาขยะมูลฝอย ปญหาดินเสื่อมโทรม
แบบทดสอบ

ปญหามลพิษในอากาศ เปนตน โดยแตละปญหาลวนสงผลตอทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอมบริเวณรอบๆ


แตกตางกันไป สวนแนวทางในการแกไขปญหานั้นจะตองไดรับความรวมมือจากทุกคนในทองถิ่น
โครงการบูรณาการ

โครงการวัดและประเมินผล (24)
เฉลยแบบทดสอบ ชุดที่ 2

ตอนที่ 1
1. ตอบ ขอ 3. เมือ่ มองเซลลผา นกลองจุลทรรศนในขณะทีเ่ ซลลยงั ไมมกี ารแบงเซลล จะเห็นเสนใยเล็กๆ เรียกวา โครมาทิน
แตเมื่อมีการแบงเซลลเกิดขึ้น เสนใยโครมาทินจะหดตัวสั้นมีลักษณะเปนแทง เรียกวา โครโมโซม ซึ่งแตละ
โครโมโซมประกอบดวยแขนสองขาง เรียกวา โครมาทิด ที่มีจุดเชื่อมติดกัน เรียกวา เซนโทรเมียร
2. ตอบ ขอ 1. หนวยพันธุกรรมของสิง่ มีชวี ติ ทีท่ าํ หนาทีค่ วบคุมลักษณะทางพันธุกรรม และถายทอดจากรุน หนึง่ ไปสูร นุ หนึง่
คือ ยีน (gene) ซึ่งอยูบนโครโมโซม
3. ตอบ ขอ 3. ลักษณะทางพันธุกรรมจะสามารถถายทอดจากรุน หนึง่ ไปสูอ กี รุน หนึง่ เชน ตาบอดสี สีของตา ชัน้ ของหนังตา
เปนตน สวนตาเปนตอเปนโรคที่เกิดจากพฤติกรรมการใชสายตาอยางไมถูกตอง
4. ตอบ ขอ 3. ลักษณะทางพันธุกรรมถูกควบคุมโดยยีนที่จัดเรียงอยูบนดีเอ็นเอ โดยดีเอ็นเอเปนสายนิวคลีโอไทด 2 สาย

แบบทดสอบ
บิดรวมเปนเกลียวคู พันรวมกันกับหนวยของโปรตีนไดเปนเสนใยที่เรียกวา โครมาทิน ซึ่งอยูในนิวเคลียส
โดยเมื่อเริ่มมีการแบงเซลล เสนใยโครมาทินจะหดตัวสั้นมีลักษณะเปนแทง เรียกวา โครโมโซม
5. ตอบ ขอ 3. ลักษณะที่ปรากฏในทุกรุน เรียกวา ลักษณะเดน สวนลักษณะที่ปรากฏในบางรุน เรียกวา ลักษณะดอย จาก
กฎของเมนเดล เมือ่ นําถัว่ ลันเตาทีม่ เี มล็ดสีเหลืองทุกรุน ผสมกับถัว่ ลันเตาเมล็ดสีเขียว จะไดถวั่ ลันเตารุน ลูก
มีเมล็ดสีเหลืองทัง้ หมด และเมือ่ นําถัว่ ลันเตารุน ลูกผสมกันเอง จะไดรนุ หลานมีเมล็ดสีเหลืองมากกวาสีเขียว

โครงการบูรณาการ
ในอัตราสวน 3:1
6. ตอบ ขอ 2. หากนําพืชที่มีจีโนไทป AA ผสมพันธุกับพืชที่มีจีโนไทป Aa รุนลูกจะมีลักษณะ ดังนี้
AA Aa

รุนลูก (F1) AA Aa AA Aa
จะเห็นวารุน F1 มีจีโนไทปเปน Aa จํานวน 2 ใน 4 หรือคิดเปนรอยละ 50
7. ตอบ ขอ 2. ตาบอดสีเปนโรคทางพันธุกรรมทีม่ ยี นี ดอยอยูบ นโครโมโซม X หากชายคนหนึง่ ไมเปนตาบอดสี จะมียนี แบบ
X Y สวนหญิงที่เปนพาหะของโรค จะมียีนแบบ X X
8. ตอบ ขอ 4. เมื่อชายมียีนแบบ X Y และหญิงมียีนแบบ X X ลูกจะมีลักษณะ ดังนี้
XY XX

รุนลูก X X XX XY XY
จะเห็นวาลูกมีโอกาสเปนพาหะของโรค 25% มีโอกาสเปนโรค 25% และมีโอกาสไมเปนโรค 50%

(25) โครงการวัดและประเมินผล
9. ตอบ ขอ 4. ลักษณะทางพันธุกรรมนี้ถูกควบคุมดวยยีนดอยที่อยูบนโครโมโซม X ดังนั้น จะพบลักษณะนี้ในเพศชาย
มากกวาเพศหญิง เพราะเพศชายมีโครโมโซม X เพียงหนึ่งโครโมโซม ซึ่งหากเปนโครโมโซมที่มียีนดอยอยู
ลักษณะนั้นก็จะปรากฏออกมาทันที สวนในเพศหญิงมีโครโมโซม X สองโครโมโซม ซึ่งหากไดรับโครโมโซม
X ที่มียีนดอยอยูเพียงโครโมโซมเดียว ก็จะไมแสดงลักษณะนั้นออกมา แตจะเปนเพียงพาหะเทานั้น
10. ตอบ ขอ 3. โรคทางพันธุกรรมที่พบในเพศชาย ซึ่งจะมีลักษณะบางอยางคลายเพศหญิง เชน มีเตานมโต สะโพกผาย
เปนตน และเปนหมัน คือ โรคที่เรียกวา กลุมอาการไคลนเฟลเตอร ซึ่งเกิดจากมีโครโมโซม X เกินจากปกติ
11. ตอบ ขอ 2. องคประกอบของระบบนิเวศแบงออกเปน 2 กลุม คือ องคประกอบทางกายภาพ ซึ่งเปนสิ่งไมมีชีวิต เชน
ดิน นํ้า แสงแดด แรธาตุ ความชื้น เปนตน และองคประกอบทางชีวภาพ ไดแก สิ่งมีชีวิตตางๆ
12. ตอบ ขอ 1. เห็ดและราเปนผูย อ ยสลายในระบบนิเวศ สวนในตัวเลือกที่ 2. - 4. เปนผูบ ริโภค โดยชางและกวางเปนผูบ ริโภค
พืช หนอนและแรงเปนผูบริโภคซากสัตว สวนสิงโตและฉลามเปนผูบริโภคสัตว
13. ตอบ ขอ 3. - กาฝากบนตนไม กาฝากไดประโยชนขณะที่ตนไมเสียประโยชน จึงเปนความสัมพันธแบบภาวะปรสิต
- ฉลามกับเหาฉลาม เหาฉลามไดประโยชน โดยไดกินเศษอาหารจากฉลาม ขณะที่ฉลามเองไมไดและ
ไมเสียประโยชน จึงเปนความสัมพันธแบบภาวะอิงอาศัย
แบบทดสอบ

- โพรโทซัวในลําไสปลวก ทั้งโพรโทซัวและปลวกตางไดประโยชนรวมกัน โดยสิ่งมีชีวิตทั้งสอง จะตองอยู


รวมกัน ซึ่งเปนความสัมพันธแบบภาวะพึ่งพา
14. ตอบ ขอ 2. โซอาหารเปนความสัมพันธของสิง่ มีชวี ติ ในระบบนิเวศทีม่ กี ารกินตอกันเปนทอดๆ และมักเริม่ ตนดวยผูผ ลิต
ซึ่งการเขียนโซอาหารนิยมใหผูถูกกินหรือเหยื่ออยูทางซายมือ และผูกินหรือผูลาอยูทางขวามือ โดยมีลูกศร
โครงการบูรณาการ

อยูระหวางผูลาและเหยื่อ สวนหัวลูกศรจะชี้ไปทางผูกินหรือผูลาเสมอ ดังนั้น จึงเขียนโซอาหารได ดังนี้


หญา หนอน นก งู
15. ตอบ ขอ 2. การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศจะผานสิ่งมีชีวิตโดยการกินตอกันเปนทอดๆ ในรูปของโซอาหารและ
สายใยอาหาร เริ่มตนจากผูผลิตไปยังผูบริโภคลําดับตางๆ ซึ่งยิ่งผูบริโภคลําดับสูงขึ้นจะยิ่งไดรับพลังงาน
นอยลงตามกฎสิบเปอรเซ็นต และในโซอาหารนั้นผูยอยสลายจะไมมีสวนในการถายทอดพลังงาน โดย
โซอาหารและสายใยอาหารไมสามารถบอกถึงความสมดุลของระบบนิเวศได
16. ตอบ ขอ 3. จากโซอาหารทีก่ าํ หนดให ทําใหทราบวาหนอนเปนอาหารของนก ซึง่ เมือ่ พิจารณาจากกราฟ พบวาชวงเวลา
ที่หนอนมีปริมาณนอยที่สุด คือ ชวง C ถึง D
17. ตอบ ขอ 1. การเขียนพีระมิดถายทอดพลังงาน จะเขียนโดยใหผูผลิตอยูที่ฐาน แลวตอดวยผูบริโภคลําดับที่ 1 ผูบริโภค
ลําดับที่ 2 ตามลําดับ และที่ยอดของพีระมิดจะเปนผูบริโภคลําดับสุดทาย ดังนั้น A คือ สิ่งมีชีวิตที่เปนผูผลิต
18. ตอบ ขอ 4. หากปราศจากวัฏจักรคารบอน สิ่งมีชีวิตจะไมสามารถดํารงชีวิตอยูได เนื่องจากคารบอนเปนองคประกอบ
สําคัญของสารอินทรียซึ่งพบในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด
19. ตอบ ขอ 4. การศึกษาขนาดของประชากรในระบบนิเวศ สามารถศึกษาไดจากอัตราการอพยพเขา อัตราการอพยพออก
อัตราการเกิด และอัตราการตายของประชากรในระบบนิเวศนั้นๆ จากโจทยมีขอมูลเพียงอัตราการเกิดและ
อัตราการตาย ซึ่งยังไมสามารถสรุปขนาดของประชากรได เนื่องจากไมทราบอัตราการอพยพเขาและอัตรา
การอพยพออกวามีมากนอยเพียงใด

โครงการวัดและประเมินผล (26)
20. ตอบ ขอ 2. จากตารางที่กําหนดให สังเกตไดวา หอยสายพันธุ A สามารถอยูไดในทุกสภาพปาที่มีความหนาแนนของ
ตนไมตางกัน หอยสายพันธุ B อยูไดเฉพาะในปาที่มีตนไมหนาแนนมาก หอยสายพันธุ C อยูไดทั้งในปาที่มี
ตนไมหนาแนนปานกลางและหนาแนนมาก สวนหอยสายพันธุ D อยูไดทั้งในปาที่มีตนไมหนาแนนมากและ
หนาแนนนอย ดังนั้น หากปามีความหนาแนนของตนไมลดลง จะสงผลตอหอยสายพันธุ B เปนอันดับแรก
21. ตอบ ขอ 4. ทรัพยากรธรรมชาติ คือ สิ่งที่มีอยูในธรรมชาติที่มนุษยสามารถนํามาใชประโยชนได เชน ดิน นํ้า ตนไม
อากาศ เปนตน
22. ตอบ ขอ 4. สิ่งแวดลอม หมายถึง สิ่งตางๆ ที่อยูรอบตัวเรา ทั้งที่มีชีวิตและไมมีชีวิต ซึ่งอาจเปนสิ่งที่เกิดขึ้นเองตาม
ธรรมชาติ หรือสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น
23. ตอบ ขอ 1. สาเหตุสําคัญที่สุดของปญหาวิกฤตการณดานสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ คือ การเพิ่มขึ้นของ
ประชากร เนื่องจากเมื่อประชากรเพิ่มขึ้น ความตองการทรัพยากรก็ยอมเพิ่มขึ้น จึงสงผลใหทรัพยากรมี
ไมเพียงพอตอความตองการ
24. ตอบ ขอ 2. ปจจุบันประชากรมนุษยเพิ่มมากขึ้น ความตองการใชทรัพยากรธรรมชาติจึงเพิ่มมากขึ้น ในขณะที่ยังขาด

แบบทดสอบ
การจัดการที่ดีในการใชทรัพยากร สงผลใหสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติมีลักษณะเสื่อมโทรมลง
อยางมาก
25. ตอบ ขอ 2. การใชทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน คือ การใชทรัพยากรอยางคุมคาเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด มีการนํา
ทรัพยากรธรรมชาติมาใชเทาที่จําเปน ซึ่งนับเปนแนวทางหนึ่งในการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ เนื่องจาก
จะทําใหสภาพแวดลอมของระบบนิเวศเปลีย่ นแปลงนอยมาก ระบบนิเวศบริเวณนัน้ ๆ จึงสามารถรักษาสมดุล

โครงการบูรณาการ
ไวได
26. ตอบ ขอ 3. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใชแลวหมดไป เปนทรัพยากรทีม่ อี ยูจ าํ กัด ธรรมชาติไมสามารถสรางขึน้ มาทดแทนได
หรือตองใชระยะเวลานานมากกวาจะสรางขึ้นมาได เชน นํ้ามัน แรธาตุ ถานหิน เปนตน ดังนั้น แนวทางที่
จะอนุรักษทรัพยากรเหลานี้ไดดีที่สุด คือ การหาสิ่งอื่นมาทดแทน เชน การผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย
พลังงานลม พลังงานนํ้าแทนการผลิตจากถานหิน เปนตน
27. ตอบ ขอ 3. การกระทําที่กําหนดใหเปนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติโดยวิธีการตางๆ ดังนี้
การกระทํา การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
การใชกระดาษทั้งสองหนา การใชใหเกิดประโยชนสูงสุด
การเลือกซื้อนํ้ายาลางจานชนิดถุงเติม การใชผลิตภัณฑชนิดเติม
การนํากลองนมมาทําเปนกระเปาใสของ การนํากลับมาใชใหม
การนําถุงพลาสติกใบเกาไปใสของจากรานคา การใชซํ้า
28. ตอบ ขอ 2. หลักการจากปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่สามารถนํามาปรับใชกับการใชทรัพยากรธรรมชาติ ไดแก การยึด
ทางสายกลาง ความไมประมาท ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการเตรียมความพรอมกับความ
เปลี่ยนแปลง

(27) โครงการวัดและประเมินผล
29. ตอบ ขอ 4. หากในแหลงนํา้ มีสารอินทรียป นเปอ นอยูม าก ออกซิเจนทีล่ ะลายในนํา้ จะลดลง สงผลใหสงิ่ มีชวี ติ ไมสามารถ
ดํารงชีวิตอยูได
30. ตอบ ขอ 3. การใหการศึกษาดานสิ่งแวดลอมแกประชาชน เปนวิธีที่ทําใหประชาชนมีความรูความเขาใจถึงปญหาที่อาจ
เกิดขึ้นจากการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางไมเหมาะสม ซึ่งจะสงผลใหเกิดการสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติ
ดังนั้น หากตองการแกไขปญหาสิ่งแวดลอมและรักษาทรัพยากรธรรมชาติใหคงอยูอยางยั่งยืน จะตองมีการ
ใหความรูอยางถูกตอง เพื่อใหสามารถดําเนินการอนุรักษ ไดอยางถูกวิธี
31. ตอบ ขอ 3. ความหลากหลายทางชีวภาพ (biodiversity) หมายถึง ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตชนิดตางๆ ที่ดํารงชีวิต
อยูในแหลงที่อยูอาศัยเดียวกันหรือแตกตางกัน ซึ่งสิ่งมีชีวิตตางชนิดกันจะมีความตางกันทั้งในดานชนิดและ
จํานวน และอาจมีความแตกตางกันทางสายพันธุกรรมดวย
32. ตอบ ขอ 4. ความหลากหลายทางชีวภาพ แบงออกเปน 3 ประเภท ดังนี้
1. ความหลากหลายทางระบบนิเวศ เปนความหลากหลายของแหลงที่อยูที่สิ่งมีชีวิตอาศัยอยู
2. ความหลากหลายทางชนิดพันธุ เปนความหลากหลายที่เกี่ยวของกับจํานวนชนิดของสิ่งมีชีวิต
3. ความหลากหลายทางพันธุกรรม เปนความแตกตางกันของสิ่งมีชีวิตในระดับพันธุกรรม
แบบทดสอบ

ดังนั้น การที่ในแตละบริเวณจะมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยูตางกัน เนื่องจากสิ่งมีชีวิตแตละชนิดจะเลือกแหลงที่อยู


ที่เหมาะสมตอการดํารงชีวิต ซึ่งลักษณะดังกลาวจัดเปนความหลากหลายทางระบบนิเวศ
33. ตอบ ขอ 3. การจัดจําแนกสิ่งมีชีวิตโดยการคัดเลือกประเภทที่มีความใกลเคียงกันไวดวยกัน ตามแนวคิดของคาโรลัส
ลินเนียส ไดจัดลําดับการจัดจําแนกสิ่งมีชีวิตจากขอบเขตที่กวางไปยังขอบเขตที่แคบลงเรื่อยๆ ดังนี้
อาณาจักร ไฟลัม คลาส ออรเดอร แฟมิลี จีนัส สปชีส
โครงการบูรณาการ

34. ตอบ ขอ 1. ชื่อวิทยาศาสตรของสิ่งมีชีวิตนั้น ชื่อแรกเปนชื่อจีนัส (genus) และชื่อที่สองเปนสปชีส (species) โดยมี


หลักเกณฑในการเขียน ดังนี้
• ตัวอักษรตัวแรกของชื่อจีนัสตองเปนตัวอักษรพิมพใหญเสมอ สวนตัวอักษรตัวแรกของชื่อสปชีสจะเปน
ตัวพิมพเล็ก
• การเขียนชือ่ วิทยาศาสตรจะตองแตกตางจากอักษรตัวอืน่ ๆ เชน เขียนดวยตัวเอียง ตัวหนา หรือขีดเสนใต
โดยเสนใตของทั้งสองชื่อจะไมติดกัน
• ถาทราบชื่อของผูตั้งชื่อจะตองเขียนชื่อยอหลังชื่อวิทยาศาสตรนั้น
ซึ่งชื่อวิทยาศาสตรของมนุษยยุคปจจุบัน คือ Homo sapiens
35. ตอบ ขอ 4. ตัวเลือกที่กําหนดใหเปนสัตวทั้งหมด ซึ่งสามารถแบงไดเปน 2 กลุม คือ สัตวที่ไมมีกระดูกสันหลัง และสัตว
มีกระดูกสันหลัง โดยฟองนํ้า ลิ่นทะเล และกิ้งกือ เปนสัตว ไมมีกระดูกสันหลัง สวนซาลาแมนเดอร เปนสัตว
ที่มีกระดูกสันหลัง
36. ตอบ ขอ 3. ตนมะมวงเปนพืชใบเลี้ยงคู ซึ่งดอกจะมี 5 กลีบ เสนใบเปนรางแห และทอลําเลียงจะเรียงเปนวงรอบลําตน
37. ตอบ ขอ 3. การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพอาจเกิดมาจากปรากฏการณทางธรรมชาติ หรือจากการกระทํา
ของมนุษย ซึ่งจากตัวเลือกที่กําหนดให การสรางพื้นที่เกษตรกรรมเพิ่มขึ้น จะเปนผลดีตอความหลากหลาย
ทางชีวภาพ เนื่องจากการปลูกพืชหลากหลายชนิดจะมีสวนชวยใหสิ่งมีชีวิตอื่นๆ เขามาอาศัย เชน แมลง
จุลินทรียตางๆ เปนตน

โครงการวัดและประเมินผล (28)
38. ตอบ ขอ 4. ความหลากหลายทางชีวภาพมีประโยชนตอมนุษยในดานปจจัยสี่ ทั้งในดานอาหาร เชน นําสัตวมาบริโภค
ดานที่อยูอาศัย เชน นําไมมาสรางบานเรือน ดานเครื่องนุงหม เชน นําเสนใยพืชมาทําเสื้อผา และดาน
ยารักษาโรค เชน นําสมุนไพรมารักษาโรคตางๆ
39. ตอบ ขอ 3. เทคโนโลยีชวี ภาพ เปนเทคนิคทางวิทยาศาสตรทเี่ กีย่ วของกับสิง่ มีชวี ติ ในหลายๆ ดาน ไมวา จะเปนเทคโนโลยี
การหมัก เทคโนโลยีสิ่งแวดลอม เทคโนโลยีการสรางแหลงวัตถุดิบใหม โดยการผลิตแอลกอฮอลจากออย
จะอาศัยยีสตซึ่งเปนจุลินทรียขนาดเล็กในการเปลี่ยนนํ้าตาลใหเปนแอลกอฮอลดวยวิธีการหมัก
40. ตอบ ขอ 3. สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม คือ สิ่งมีชีวิตที่เกิดจากการตัดตอยีนดวยเทคนิคทางพันธุวิศวกรรม โดยการนํา
ยีนจากสิง่ มีชวี ติ ชนิดหนึง่ ไปใสใหกบั สิง่ มีชวี ติ อีกชนิดหนึง่ เพือ่ ใหไดสงิ่ มีชวี ติ ทีม่ คี ณ
ุ สมบัตติ รงตามตองการ
เชน พืชทนตอแมลงศัตรูพืช แบคทีเรียที่สามารถสรางสารบางอยางที่มีประโยชนทางการแพทย เปนตน

แบบทดสอบ
โครงการบูรณาการ

(29) โครงการวัดและประเมินผล
ตอนที่ 2
1. แนวตอบ สิ่งมีชีวิตแตละชนิดมีจํานวนโครโมโซมไมเทากัน ดวยเหตุผลดังกลาวจึงใชจํานวนโครโมโซมมาจําแนก
ความแตกตางระหวางสิ่งมีชีวิตแตละชนิด นอกจากนี้การศึกษาจํานวนโครโมโซมยังมีความสําคัญในการ
อธิบายสาเหตุของโรคบกพรองทางพันธุกรรม เชน พบวาคนปกติมีโครโมโซมจํานวน 23 คู แตคนในกลุม
อาการดาวนจะมีโครโมโซมคูที่ 21 เกินมา 1 โครโมโซม เปนตน
2. แนวตอบ การใชสารเคมีกําจัดศัตรูพืชในปริมาณมากๆ จะทําใหเกิดสารพิษตกคางอยูในระบบนิเวศนั้น โดยอาจแบง
การตกคางออกเปนในดินและในนํ้า กลาวคือเมื่อสารเคมีกําจัดศัตรูพืชซึมลงสูดิน ไสเดือนหรือสัตวในดิน
ที่มีประโยชน จะไดรับพิษโดยตรง ซึ่งความสูญเสียของประชากรสัตวเหลานี้ทําใหดินเสื่อมสภาพลง นํ้าซึม
ผานลงดินไดยาก สารอินทรียในดินลดลง และสงผลกระทบตอการเจริญเติบโตของพืช เมือ่ พืชซึง่ เปนผูผ ลิต
ในสายใยอาหารลดจํานวนลง ก็จะสงผลตอผูบริโภคตอไป ขณะเดียวกันสารเคมีกําจัดศัตรูพืชที่ปนเปอน
ในแหลงนํ้าอาจทําใหสัตวหลายชนิดตายลง ซึ่งสงผลตอสายใยอาหารเชนกัน
3. แนวตอบ เมือ่ ประชากรมนุษยเพิม่ ขึน้ ความตองการใชสงิ่ แวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติยอ มเพิม่ ขึน้ เชนกัน ซึง่ หาก
ไมมีวิธีการจัดการที่ดี อาจทําใหเกิดปญหาขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ และเมื่อมีการใชสิ่งแวดลอมและ
แบบทดสอบ

ทรัพยากรธรรมชาติเพิ่มมากขึ้น ยอมจะเกิดของเสียตางๆ มากขึ้น และสงผลใหเกิดปญหาสภาพแวดลอม


เสื่อมโทรมตามมา
4. แนวตอบ ความหลากหลายทางชีวภาพมีประโยชนตอมนุษยในดานปจจัยสี่ ไดแก อาหาร ที่อยูอาศัย เครื่องนุงหม
และยารักษาโรค แตความหลากหลายทางชีวภาพก็มีโทษตอมนุษย เชน จุลินทรียบางชนิดกอใหเกิดโรค
โครงการบูรณาการ

ในพืชและสัตว บางชนิดเปนพิษตอรางกายมนุษย บางชนิดทําใหอาหารเนาเสีย เปนตน


5. แนวตอบ เทคโนโลยีชีวภาพเกี่ยวของกับการดํารงชีวิตของมนุษย ซึ่งปจจุบันไดนํามาใชประโยชนหลายดาน เชน
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเพื่อการเกษตร การทํากิฟตในผูที่มีบุตรยาก การสรางสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
ที่มีลักษณะตามตองการ การใชจุลินทรียบําบัดนํ้าเสีย เปนตน

โครงการวัดและประเมินผล (30)
เฉลยแบบทดสอบ ชุดที่ 3

ตอนที่ 1
1. ตอบ ขอ 1. เมื่อมีการแบงเซลล เสนใยโครมาทินจะหดตัวสั้นมีลักษณะเปนแทง เรียกวา โครโมโซม (chromosome)
ซึ่งแตละโครโมโซมประกอบดวยแขนสองขาง เรียกวา โครมาทิด (chromatid) ที่มีจุดเชื่อมติดกัน เรียกวา
เซนโทรเมียร (centromere)
2. ตอบ ขอ 4. มนุษยมีโครโมโซม 46 แทง หรือ 23 คู ซึ่งเปนออโตโซม 22 คู และเปนโครโมโซมเพศ 1 คู
3. ตอบ ขอ 1. การถายทอดลักษณะของสิง่ มีชวี ติ จากรุน หนึง่ ไปสูอ กี รุน หนึง่ เปนความหมายของคําวา พันธุกรรม (heredity)
4. ตอบ ขอ 4. ลักษณะทางพันธุกรรม เปนลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่สามารถถายทอดจากรุนสูรุน โดยผานทางเซลลสืบพันธุ
ซึ่งแผลเปนนั้นอาจเกิดจากอุบัติเหตุ จึงไมจัดเปนลักษณะทางพันธุกรรม
5. ตอบ ขอ 3. สามี - ภรรยาที่มียีนแบบ Aa x aa จะมีลูกที่มีโอกาสเปนผิวเผือกรอยละ 50 ดังนี้

แบบทดสอบ
Aa aa

รุนลูก Aa Aa aa aa

โครงการบูรณาการ
6. ตอบ ขอ 2. ลักยิ้มเปนลักษณะทางพันธุกรรมที่มียีนอยูบนออโตโซม เมื่อชายมียีนแบบ Aa และหญิงมียีนแบบ aa
ลูกจะมีลักษณะ ดังนี้
Aa aa

รุนลูก Aa Aa aa aa
จะเห็นวา ลูกจะมีโอกาสมีลักยิ้มรอยละ 50
7. ตอบ ขอ 1. โครโมโซมประกอบดวยดีเอ็นเอและโปรตีน แตละชวงของดีเอ็นเอจะมีหนวยพันธุกรรมหรือยีนที่ทําหนาที่
ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต ดังนั้น โครโมโซมจึงมีความสําคัญตอการถายทอดลักษณะทาง
พันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต เนื่องจากภายในโครโมโซมมียีนอยู
8. ตอบ ขอ 1. จากตัวเลือก 1. - 3. เปนโรคทางพันธุกรรมจากความผิดปกติของโครโมโซมเพศ โดยกลุมอาการดับเบิลวาย
เกิดจากการมีโครโมโซมเพศเปน XYY พบในเพศชาย ซึ่งผูปวยจะมีอวัยวะเพศเจริญไดดีและไมเปนหมัน
กลุมอาการไคลนเฟลเตอร พบในเพศชาย ซึ่งมีโครโมโซม X เกินมา โดยผูปวยจะมีอัณฑะเล็กและเปนหมัน
สวนกลุมอาการเทอรเนอรพบในเพศหญิง ผูปวยจะมีโครโมโซมเพศ X หายไป 1 ตัว ซึ่งทําใหมีพัฒนาการ
ทางเพศตํ่าและเปนหมัน

(31) โครงการวัดและประเมินผล
9. ตอบ ขอ 2. ลักษณะทางพันธุกรรมที่มียีนควบคุมอยูบนโครโมโซมเพศ คือ ตาบอดสี โดยมียีนอยูบนโครโมโซม X
ซึ่งสามารถพบลักษณะตาบอดสีไดในเพศชายมากกวาเพศหญิง
10. ตอบ ขอ 2. โรคธาลัสซีเมีย เปนโรคทีเ่ กิดจากความผิดปกติของยีนบนออโตโซม ทีท่ าํ หนาทีค่ วบคุมการสรางเฮโมโกลบิน
ในเม็ดเลือดแดง ทําใหเม็ดเลือดแดงผิดปกติและแตกสลายงาย โดยคนปกติทวั่ ไปอาจมียนี ธาลัสซีเมียแฝงอยู
แตไมแสดงอาการใดๆ เรียกบุคคลเหลานี้วา เปนพาหะ อยางไรก็ตามโรคนี้สามารถรักษาใหหายขาดได
โดยการปลูกถายไขกระดูกและปลูกถายเซลลเม็ดเลือดจากสายสะดือ
11. ตอบ ขอ 4. องคประกอบของระบบนิเวศแบงออกเปน 2 กลุม ดังนี้
• องคประกอบทางกายภาพ (physical component) หมายถึง องคประกอบที่เปนสิ่งไมมีชีวิต ซึ่งมี
สวนสําคัญที่ทําใหเกิดความสมดุลของระบบนิเวศ โดยมีความสัมพันธและเกี่ยวของกับการดํารงชีวิตของ
สิ่งมีชีวิต หากขาดองคประกอบเหลานี้ สิ่งมีชีวิตจะไมสามารถดํารงชีวิตได เชน แสง อุณหภูมิ ความชื้น
แกสตางๆ เปนตน
• องคประกอบทางชีวภาพ (biological component) หมายถึง องคประกอบที่เปนสิ่งมีชีวิต โดยสิ่งมีชีวิต
แตละชนิดจะมีบทบาทแตกตางกัน มีความเกีย่ วของสัมพันธกบั สิง่ มีชวี ติ อืน่ และสัมพันธกบั องคประกอบ
แบบทดสอบ

ทางกายภาพดวย
12. ตอบ ขอ 1. เห็ดเปนผูยอยสลายในระบบนิเวศ สวนหญา เฟน และสาหรายเปนผูผลิต
13. ตอบ ขอ 4. ไลเคนเปนการอยูร ว มกันของรากับสาหราย โดยราไดอาหารจากทีส่ าหรายสรางขึน้ สวนสาหรายไดความชืน้
จากราเพื่อนําไปใชในกระบวนการสังเคราะหดวยแสง ซึ่งเปนความสัมพันธแบบภาวะพึ่งพากัน
14. ตอบ ขอ 2. โซอาหารเปนความสัมพันธของสิง่ มีชวี ติ ในระบบนิเวศทีม่ กี ารกินตอกันเปนทอดๆ และมักเริม่ ตนดวยผูผ ลิต
โครงการบูรณาการ

ซึ่งการเขียนโซอาหารนิยมใหผูถูกกินหรือเหยื่ออยูทางซายมือและผูกินหรือผูลาอยูทางขวามือ โดยมีลูกศร
อยูระหวางผูลาและเหยื่อ สวนหัวลูกศรจะชี้ไปทางผูกินหรือผูลาเสมอ ดังนั้น จึงเขียนโซอาหารได ดังนี้
หญา ตั๊กแตน หนู เหยี่ยว
15. ตอบ ขอ 2. การถายทอดพลังงานในโซอาหารในแตละลําดับขั้น จะมีพลังงานเพียง 10% เทานั้น ที่สิ่งมีชีวิตจะนําไป
สรางเปนเนื้อเยื่อได สวนอีก 90% จะสลายไปในรูปของพลังงานอื่นๆ หากกําหนดใหใบพืช 10 กรัม เปรียบ
ไดกับพลังงาน 100 % ดังนั้น พลังงานที่หนอนตัวนี้สามารถสรางเปนเนื้อเยื่อได มีคาเทากับ 10 x (10/100)
= 1 กรัม
16. ตอบ ขอ 4. มนุษยเปนผูบริโภคลําดับสูงสุดหรือผูบริโภคลําดับสุดทาย ซึ่งจะไมมีสิ่งมีชีวิตอื่นมากินมนุษย เมื่อพิจารณา
จากสายใยอาหารที่กําหนดให สังเกตไดวาสิ่งมีชีวิตชนิด F ไมถูกสิ่งมีชีวิตอื่นกิน ดังนั้น สิ่งมีชีวิตนี้จึงนาจะ
เปนมนุษย
17. ตอบ ขอ 3. วัฏจักรไนโตรเจน จะเริม่ จากพืชใชไนโตรเจนที่ไดจากจุลนิ ทรียน าํ ไปสรางเปนโปรตีน ซึง่ จุลนิ ทรียน นั้ สามารถ
ตรึงไนโตรเจนจากอากาศและในดินที่อยูในรูปของเกลือไนเตรต (NO3-) หรือเกลือแอมโมเนียม (NH4+) เมื่อ
สัตวกินพืชก็จะไดรับไนโตรเจนที่อยูในรูปของโปรตีน เมื่อพืชและสัตวตายลงจะถูกยอยสลายกลายเปน
เกลือแอมโมเนียมกลับคืนสูดิน เกลือแอมโมเนียมบางสวนจะถูกพืชนําไปใช และบางสวนจะถูกแบคทีเรีย
ในดินเปลี่ยนใหเปนไนเตรต ซึ่งไนเตรตบางสวนจะถูกพืชนําไปใช และบางสวนจะถูกแบคทีเรียเปลี่ยนให
เปนแกสไนโตรเจน ปลอยกลับสูอากาศ และถูกนํามาใชหมุนเวียนไปเรื่อยๆ

โครงการวัดและประเมินผล (32)
18. ตอบ ขอ 4. การเขียนพีระมิดถายทอดพลังงาน จะเขียนโดยใหผูผลิตอยูที่ฐาน แลวตอดวยผูบริโภคลําดับที่ 1 ผูบริโภค
ลําดับที่ 2 ตามลําดับ และที่ยอดของพีระมิดจะเปนผูบริโภคลําดับสุดทาย ดังนั้น C คือ สิ่งมีชีวิตที่เปน
ผูบริโภคลําดับสุดทาย
19. ตอบ ขอ 4. ประชากร คือ กลุมของสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันที่อาศัยอยูบริเวณเดียวกัน ณ ชวงเวลาหนึ่งๆ ดังนั้น การบอก
ขนาดของประชากรจึงตองบอกทั้งชนิดของสิ่งมีชีวิต จํานวนของสิ่งมีชีวิต แหลงที่อยูอาศัย และชวงเวลา
20. ตอบ ขอ 2. ความหนาแนนของประชากร คือ อัตราสวนระหวางจํานวนประชากรของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งตอหนวยพื้นที่
21. ตอบ ขอ 3. ทรัพยากรธรรมชาติแบงออกเปน 3 ชนิด ไดแก
1. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใชไมหมด เปนทรัพยากรที่มีอยูมากเกินความตองการ เนื่องจากธรรมชาติจะผลิต
ขึ้นมาไดอยางรวดเร็วและในปริมาณมาก เชน อากาศ ทราย เปนตน
2. ทรัพยากรธรรมชาติที่สามารถสรางขึ้นมาทดแทนได เปนทรัพยากรที่ธรรมชาติสามารถสรางทดแทนได
แตตองใชระยะเวลานานพอสมควร เชน ดิน นํ้า ปาไม สัตวปา เปนตน
3. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใชแลวหมดไป เปนทรัพยากรที่มีอยูจํากัด ธรรมชาติไมสามารถสรางทดแทนได
หรือสรางไดแตตองใชระยะเวลานานมาก เชน แรธาตุ ถานหิน นํ้ามัน เปนตน

แบบทดสอบ
22. ตอบ ขอ 1. สิง่ แวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติในแตละชุมชนยอมแตกตางกัน เนือ่ งจากองคประกอบพืน้ ฐาน คือ มนุษย
ซึ่งเปนผูประกอบอาชีพ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ และพัฒนาคิดคนเทคโนโลยีตางๆ ทําใหชุมชนที่มีประชากร
มนุษยอยูเปนจํานวนมาก จะเกิดการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติอยางเห็นไดชัด
ยกตัวอยางเชน ในชนบทมีประชากรมนุษย ไมมาก ดํารงชีพโดยการทําเกษตรกรรม จึงมีทรัพยากรสมบูรณ

โครงการบูรณาการ
กวาในเมืองทีม่ ปี ระชากรมนุษยอยูอ ยางหนาแนน ซึง่ ตองแยงชิงทรัพยากรทีม่ อี ยูอ ยางจํากัดและไมเพียงพอ
กับความตองการ
23. ตอบ ขอ 2. เมื่อพิจารณาตัวเลือก 1. - 4. ตัวเลือกที่ 2. การเพิ่มขึ้นของวัชพืช คําวาวัชพืช หมายถึง พืชที่ไมตองการ
ในบริเวณหนึ่งๆ แตอยางไรก็ตามวัชพืชก็ยังมีบทบาทในฐานะผูผลิตในสายใยอาหาร ดังนั้น การเพิ่มขึ้น
ของวัชพืช จึงไมทําใหเกิดปญหาสิ่งแวดลอม
24. ตอบ ขอ 4. สาเหตุหลักทีก่ อ ใหเกิดปญหาสิง่ แวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติในปจจุบนั คือ มนุษย ยิง่ ปจจุบนั ประชากร
มนุษยเพิ่มจํานวนขึ้นอยางตอเนื่อง ความตองการใชทรัพยากรยอมมากขึ้นตาม อีกทั้งมนุษยยังมีความรู
ความสามารถมากขึ้น ทําใหเกิดความเจริญกาวหนาทางอุตสาหกรรม เศรษฐกิจ และเทคโนโลยี โดยที่ไมมี
การวางแผนการใชทรัพยากร จึงสงผลใหเกิดปญหาดังกลาว และในอนาคตทรัพยากรบางชนิดอาจหมดไป
25. ตอบ ขอ 1. การใชทรัพยากรธรรมชาติอยางยัง่ ยืนและการดูแลรักษาสภาพแวดลอม เปนแนวทางหนึง่ ในการรักษาสมดุล
ของระบบนิเวศ เนื่องจากจะทําใหสภาพแวดลอมของระบบนิเวศเปลี่ยนแปลงนอย ระบบนิเวศบริเวณนั้นๆ
จึงสามารถรักษาสมดุลไวได
26. ตอบ ขอ 2. การทําโตะเรียนจากกลองนม เปนการใชประโยชนจากทรัพยากรที่เหลือทิ้ง ซึ่งนํามาแปรสภาพใหสามารถ
นํากลับมาใชใหม โดยผานกระบวนการแปรสภาพ เพื่อลดปญหาขาดแคลนทรัพยากร และลดปริมาณขยะ
ซึ่งการจัดการดังกลาวเปนวิธีการนํากลับมาใชใหม

(33) โครงการวัดและประเมินผล
27. ตอบ ขอ 4. การเพิม่ ผลผลิตเปนการเพิม่ ทรัพยากรใหเพียงพอกับความตองการ ซึง่ การใชปยุ เคมีจาํ นวนมากจะทําใหดนิ
บริเวณนัน้ เสือ่ มสภาพอยางรวดเร็ว จึงไมจดั เปนการอนุรกั ษ ดังนัน้ ควรใชปยุ ชีวภาพในการเพิม่ ผลผลิตและ
เปนการอนุรักษทรัพยากรดินอีกดวย
28. ตอบ ขอ 2. การใชทรัพยากรธรรมชาติตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงทําได ดังนี้

การยึดทางสายกลาง ทําไดโดยการใชทรัพยากรในปริมาณไมมากหรือนอยเกินไป

ความไมประมาท ทําไดโดยการควบคุมการใชทรัพยากรอยางเหมาะสม

ความพอประมาณ ทําไดโดยการใชทรัพยากรอยางพอดี โดยไมใชเกินความจําเปน

ความมีเหตุผล ทําไดโดยการพิจารณาในการใชทรัพยากรอยางมีเหตุผล วาควรใชอะไร ปริมาณมากนอย
เพียงใด
• การเตรียมความพรอมกับความเปลี่ยนแปลง ทําไดโดยการใชทรัพยากรในทองถิ่นของตนเอง โดยพึ่งพา
ทรัพยากรจากภายนอกนอยที่สุด
29. ตอบ ขอ 4. อากาศเปนปจจัยสําคัญในการหายใจของสิ่งมีชีวิต ซึ่งหากอากาศมีมลพิษจะสงผลกระทบตอระบบหายใจ
ของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด โดยเฉพาะมนุษยจะมีความเสี่ยงตอการเปนโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจได
แบบทดสอบ

30. ตอบ ขอ 3. แนวทางการแกไขปญหาสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน คือ การใหความรูแกประชาชนเกี่ยวกับการใช การดูแล


รักษาทรัพยากร และการปลูกจิตสํานึกในการรักษาสิ่งแวดลอม ซึ่งจะเปนแนวทางการอนุรักษในระยะยาว
31. ตอบ ขอ 4. สิ่งแวดลอมมีผลตอการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต ซึ่งอาจเปนสาเหตุใหสิ่งมีชีวิตเกิดการกลายพันธุ สงผลใหเกิด
ความแตกตางของสิ่งมีชีวิต เชน ขนาด รูปราง โครงสรางรางกาย จนเกิดเปนวิวัฒนาการและถายทอด
ลักษณะดังกลาวสูลูกหลาน สวนการกินอาหารไมมีผลตอความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการบูรณาการ

32. ตอบ ขอ 3. ความหลากหลายทางชีวภาพ แบงออกเปน 3 ประเภท ดังนี้


1. ความหลากหลายทางระบบนิเวศ เปนความหลากหลายของแหลงที่อยูที่สิ่งมีชีวิตอาศัยอยู
2. ความหลากหลายทางชนิดพันธุ เปนความหลากหลายที่เกี่ยวของกับจํานวนชนิดของสิ่งมีชีวิต
3. ความหลากหลายทางพันธุกรรม เปนความแตกตางกันของสิ่งมีชีวิตในระดับพันธุกรรม
ดังนั้น การที่ลิงแสมกับลิงกังมีลักษณะคลายกัน แตที่จริงแลวเปนลิงตางชนิดกัน จัดเปนความหลากหลาย
ทางพันธุกรรม
33. ตอบ ขอ 3. แนวคิดการจัดจําแนกสิง่ มีชวี ติ ทีเ่ ปนทีน่ ยิ มในปจจุบนั คือ แนวคิดของรอเบิรต วิตเทเกอร (Robert Whittaker)
ซึ่งจัดจําแนกสิ่งมีชีวิตเปน 5 อาณาจักร ไดแก อาณาจักรมอเนอรา อาณาจักรโพรทิสตา อาณาจักรฟงไจ
อาณาจักรพืช และอาณาจักรสัตว
34. ตอบ ขอ 1. ชื่อวิทยาศาสตรของสิ่งมีชีวิตนั้น ชื่อแรกเปนชื่อจีนัส (genus) และชื่อที่สองเปนสปชีส (species) โดยมี
หลักเกณฑในการเขียน ดังนี้
• ตัวอักษรตัวแรกของชื่อจีนัสตองเปนตัวอักษรพิมพใหญเสมอ สวนตัวอักษรตัวแรกของชื่อสปชีสจะเปน
ตัวพิมพเล็ก
• การเขียนชื่อวิทยาศาสตรตองแตกตางจากอักษรตัวอื่น เชน เขียนตัวเอียง ตัวหนา หรือขีดเสนใต
โดยเสนใตของทั้งสองชื่อจะไมติดกัน
• ถาทราบชื่อของผูตั้งชื่อจะตองเขียนชื่อยอหลังชื่อวิทยาศาสตรนั้น

โครงการวัดและประเมินผล (34)
35. ตอบ ขอ 2. แมลงอยูในไฟลัมอารโทรโพดา เปนสัตวที่มีจํานวนมากและมีความหลากหลายที่สุดในอาณาจักรสัตว โดยมี
ประมาณ 1,200,000 ชนิด ซึ่งสามารถพบไดทั่วไปทั้งบนบก ในนํ้า และในอากาศ
36. ตอบ ขอ 1. กลวยเปนพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ซึ่งดอกจะมี 3 กลีบ เสนใบขนานและทอลําเลียงจะกระจายทั่วลําตน
37. ตอบ ขอ 3. ปรากฏการณทางธรรมชาติทที่ าํ ใหเกิดความหลากหลายทางชีวภาพ เชน แผนดินไหว นํา้ แข็งขัว้ โลกละลาย
ภูเขาไฟปะทุ เปนตน ซึ่งสงผลใหสิ่งมีชีวิตอพยพยายถิ่น และเกิดการแบงแยกกลุมสิ่งมีชีวิต
38. ตอบ ขอ 1. ความหลากหลายทางชีวภาพมีโทษตอมนุษย ดังนี้
• เปนพิษตอรางกาย เชน พิษจากปลาปกเปาอาจทําใหเสียชีวิตได
• ทําใหอาหารเนาเสีย เชน จุลินทรียบางชนิดทําใหอาหารเนาเสีย
• กอใหเกิดโรค เชน ไวรัสกอใหเกิดโรคหวัด ไรฝุนกอใหเกิดโรคภูมิแพ
39. ตอบ ขอ 1. ประโยชนของเทคโนโลยีชีวภาพดานเกษตรกรรม เชน การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การสรางสิ่งมีชีวิตดัดแปร-
พันธุกรรม การถายฝากตัวออน เปนตน
40. ตอบ ขอ 2. การตรวจหาลายพิมพดเี อ็นเอ สามารถตรวจไดจากเศษเนือ้ เยือ่ เสนผม คราบเลือด คราบอสุจิ หรือไขกระดูก

แบบทดสอบ
สวนลายนิ้วมือไมมีสวนของเซลลอยูจึงไมสามารถนํามาตรวจได

โครงการบูรณาการ

(35) โครงการวัดและประเมินผล
ตอนที่ 2
1. แนวตอบ ลักษณะตางๆ ที่เหมือนกับบรรพบุรุษ เปนลักษณะทางพันธุกรรมซึ่งถูกควบคุมดวยสารพันธุกรรมหรือยีน
ที่อยูบนโครโมโซม ลักษณะทางพันธุกรรมเหลานี้สามารถถายทอดจากบรรพบุรุษไปสูลูกหลานไดโดยผาน
ทางเซลลสืบพันธุและการปฏิสนธิ ดวยเหตุผลดังกลาวจึงทําใหเรามีลักษณะเหมือนกับบรรพบุรุษ
2. แนวตอบ วัฏจักรของสารตางๆ ลวนเปนสวนหนึง่ ในการหมุนเวียนสารเพือ่ รักษาสมดุลของสารในระบบนิเวศ ซึง่ มีสว น
ในการรักษาสมดุลของระบบนิเวศอีกดวย เนื่องจากสารตางๆ มีความจําเปนตอการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต
ทุกชนิดในระบบนิเวศ หากสารชนิดใดชนิดหนึ่งมีปริมาณลดลงมาก ก็จะสงผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตตางๆ ได
และสงผลใหระบบนิเวศเสียสมดุลจนอาจถึงขั้นที่ไมสามารถกลับมาสูสภาพเดิมไดอีก
3. แนวตอบ สิ่งแวดลอม คือ สิ่งตางๆ ที่อยูรอบตัวเรา ซึ่งอาจเปนสิ่งมีชีวิตหรือสิ่งไมมีชีวิต สามารถมองเห็นไดหรือ
มองเห็นไมได แตลวนมีความสัมพันธเกี่ยวของกับเราทั้งสิ้น เชน คน สัตว แสงแดด อากาศ บาน รถยนต
เปนตน สวนทรัพยากรธรรมชาติ คือ สิ่งที่มีอยูในธรรมชาติที่มนุษยสามารถนํามาใชประโยชน ได เชน ดิน
นํ้า ตนไม อากาศ เปนตน ซึ่งทรัพยากรธรรมชาติเปนสวนหนึ่งของสิ่งแวดลอม
4. แนวตอบ พิจารณาจากผลงานของนักเรียน โดยอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน
แบบทดสอบ

5. แนวตอบ ความหลากหลายทางชีวภาพมีประโยชนตอการดํารงชีวิตของมนุษยทั้งในดานการเกษตร อุตสาหกรรม


การแพทย ซึง่ ปจจุบนั เนือ่ งจากประชากรมนุษยเพิม่ มากขึน้ ความตองการใชประโยชนจากความหลากหลาย
ทางชีวภาพก็มีมากขึ้นไปดวย หากไมมีการดูแลรักษาและอนุรักษ ไว อาจทําใหสูญเสียความหลากหลาย
ทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิตบางชนิดไป
โครงการบูรณาการ

โครงการวัดและประเมินผล (36)
โครงการบูรณาการ
การเร�ยนรูสูบันได 5 ขั้น
1. ชื่อโครงการ เยาวชนอนุรักษสิ่งแวดลอม
2. หลักการและเหตุผล
สิง่ แวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติเปนปจจัยพืน้ ฐานทีส่ าํ คัญในการดํารงชีวติ ของมนุษย เมือ่ ประชากรมนุษยมจี าํ นวนเพิม่ ขึน้
อยางรวดเร็ว ยอมมีความตองการใชประโยชนจากสิง่ แวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติสงู ขึน้ ซึง่ สถานการณปจ จุบนั ทรัพยากรตางๆ
ถูกใชและถูกทําลายจนเกินความสามารถทีจ่ ะฟน ตัวไดทนั จึงเปนเหตุใหสงิ่ แวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติเกิดความเสือ่ มโทรมลง
อยางรวดเร็ว ในขณะเดียวกันผลจากการบริโภคของมนุษยก็ยังกอใหเกิดปญหามลพิษตางๆ ตามมามากมาย ไมวาจะเปนปญหา
นํ้าเนาเสีย อากาศเปนพิษ ปญหาขยะมูลฝอย เปนตน ซึ่งปญหาเหลานี้สงผลกระทบตอสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชาชน
แตละทองถิ่นอาจประสบปญหาสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติที่มีลักษณะแตกตางกันออกไป แตทุกปญหานั้นลวน
สงผลตอสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยูในบริเวณนั้นๆ และสงผลตอการดํารงชีวิตของประชาชน ดังนั้นการแกไขปญหาสิ่งแวดลอมและ

แบบทดสอบ
ทรัพยากรธรรมชาติจึงควรไดรับความรวมมือจากหลายฝาย ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และทุกคนในชุมชน
การใหความรูเ ปนวิธที ที่ าํ ใหประชาชนมีความรูค วามเขาใจถึงปญหาทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางไมเหมาะสม
ซึ่งจะสงผลใหเกิดการสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติ ดังนั้น หากตองการรักษาทรัพยากรธรรมชาติใหคงอยูอยางยั่งยืน จะตองมีการ
ใหความรูอยางถูกตอง เพื่อใหสามารถดําเนินการอนุรักษ ไดอยางถูกวิธี
3. วัตถุประสงคของโครงการ

โครงการบูรณาการ
1. เพื่อใหนักเรียนสามารถวิเคราะหสภาพปญหาสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่นได
2. เพื่อใหนักเรียนสามารถเสนอแนวทางการแกไขปญหาสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่นได
3. เพื่อใหนักเรียนมีสวนรวมในการดูแลและอนุรักษสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่นไดอยางยั่งยืน
4. เปาหมาย
นักเรียนตระหนักถึงความสําคัญของสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งมีสวนรวมในการดูแลและอนุรักษสิ่งแวดลอม
และทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่นไดอยางยั่งยืน
5. ขั้นตอนการจัดกิจกรรม
คําชี้แจง ใหนักเรียนแบงกลุมเทาๆ กัน โดยใหแตละกลุมไปศึกษาถึงสภาพปญหาสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ
ในทองถิ่นของตนเอง รวมทั้งเสนอแนะวิธีการในการแกไขปญหานั้นๆ
ขั้นที่ 1 ตั้งประเด็นคําถาม
เปนขั้นที่ฝกใหนักเรียนรูจักคิด สังเกต ตั้งคําถามอยางมีเหตุผล มีความคิดสรางสรรค และมีความเปนไปไดใน
การแสวงหาคําตอบ ดังนั้น ครูควรมีบทบาทในการกระตุนใหนักเรียนเกิดความอยากรู อยากเห็น กลาแสดงความ
คิดเห็นดวยวิธีการตางๆ เชน ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายถึงเหตุการณ สถานการณ ปรากฏการณตางๆ เกี่ยวกับ
สิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ โดยครูตั้งคําถามเปนตัวอยาง เชน

(37) โครงการวัดและประเมินผล
• ในทองถิ่นของนักเรียนประสบปญหาสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติดานใดบาง
• ปญหาสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติดังกลาวนั้นมีสาเหตุมาจากอะไร
• นักเรียนมีแนวทางในการแกไขปญหานั้นๆ อยางไร
จากนัน้ ใหนกั เรียนแตละกลุม รวมกันตัง้ ประเด็นคําถามในการสํารวจสภาพปญหาสิง่ แวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ
ในทองถิ่นของตนเอง
ขั้นที่ 2 สืบคนความรู
เปนขัน้ ทีฝ่ ก ใหนกั เรียนมีการแสวงหาความรู ขอมูลหรือสารสนเทศทีเ่ กีย่ วกับประเด็นคําถามทีต่ งั้ ขึน้ โดยการสืบคน
จากแหลงเรียนรูที่หลากหลาย เชน หองสมุดของโรงเรียน อินเทอรเน็ต การสอบถามจากบุคคลในทองถิ่น การ
สํารวจสภาพสิง่ แวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติในสถานทีจ่ ริง เปนตน โดยใหนกั เรียนแตละกลุม รวมกันไปสืบคน
ขอมูลเกี่ยวกับสภาพปญหาสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น แลวบันทึกขอมูลนั้นๆ
ขั้นที่ 3 สรุปองคความรู
เปนขั้นที่ฝกใหนักเรียนนําความรูหรือสารสนเทศที่ไดจากการแสวงหาความรูมาอภิปรายรวมกัน เพื่อนําไปสูการ
สรุปองคความรู บทบาทของครูในขั้นนี้จึงควรเสนอแนะแนวทางในการสรุปองคความรู วาควรนําขอมูลที่ไดจาก
การสืบคนมาวิเคราะหและหาความสัมพันธของขอมูล จากนัน้ จึงใหนกั เรียนแตละกลุม นําขอมูลที่ไดจากการสืบคน
แบบทดสอบ

มาวิเคราะห ตีความ และเสนอแนวทางการแกปญหา


ขั้นที่ 4 การสื่อสารและนําเสนอ
เปนขั้นที่ฝกใหนักเรียนนําความรูที่ไดมาสื่อสารหรือนําเสนอใหผูอื่นรับรูไดอยางมีประสิทธิภาพ ดังนั้น ครูจึงควร
เสนอแนะวิธีการนําเสนอขอมูลที่นาสนใจ โดยอาจใชวิธีการแสดงบทบาทสมมุติ หรือใชสื่อตางๆ เขามาชวยใน
โครงการบูรณาการ

การนําเสนอ จากนั้นใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันตรวจสอบความถูกตองของขอมูลที่จะนําเสนอ แลวนําเสนอ


ผลงานหนาชั้นเรียน
ขั้นที่ 5 บริการสังคมและสาธารณะ
เปนขั้นที่สงเสริมใหนักเรียนนําความรูไปใช ไปปฏิบัติ โดยนักเรียนจะตองเชื่อมโยงองคความรูไปสูการปฏิบัติ
หรือการทําประโยชนเพื่อชุมชนและสังคมตามความเหมาะสมกับวุฒิภาวะของนักเรียน อันจะสงผลใหนักเรียน
เปนผูมีจิตสาธารณะ ดังนั้น บทบาทของครูจึงควรเสนอแนะถึงการนําความรูที่นักเรียนทําโครงการไปเผยแพร
แกสังคม โดยอาจจัดทําเปนแผนพับ จัดนิทรรศการ หรือสื่อตางๆ จากนั้นจึงใหนักเรียนแตละกลุมนําผลงานไป
เผยแพรแกนกั เรียนในโรงเรียนหรือคนในชุมชน ทัง้ นีเ้ พือ่ ใหบคุ คลเหลานัน้ ตระหนักถึงความสําคัญของสิง่ แวดลอม
และทรัพยากรธรรมชาติ รวมทัง้ มีสว นรวมในการอนุรกั ษสงิ่ แวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติในทองถิน่ อยางยัง่ ยืน

โครงการวัดและประเมินผล (38)
แบบประเมินคุณภาพการจัดทําโครงการ

ประเด็น ระดับคุณภาพ
การประเมิน ดีเยี่ยม (4) ดี (3) พอใช (2) ปรับปรุง (1)
ตั้งประเด็นคําถามในเรื่อง ตั้งประเด็นคําถามในเรื่อง ตั้งประเด็นคําถามในเรื่อง ใชคําถามที่ครูชี้แนะ
ที่สนใจไดดวยตนเอง ที่สนใจ โดยมีครูคอยชี้แนะ ที่สนใจ โดยมีีครูคอยชี้แนะ มากําหนดประเด็นคําถาม
ขอบขายประเด็นคําถาม ขอบขายประเด็นคําถาม ขอบขายประเด็นคําถาม
1. ชัดเจน ครอบคลุมขอมูล ชัดเจน ครอบคลุมขอมูล ชัดเจน แตยังไมครอบคลุม
การตั้งประเด็น ที่เกี่ยวของกับตนเอง ที่เกี่ยวของกับตนเอง ขอมูลที่เกี่ยวของกับตนเอง
คําถาม เชื่อมโยงกับชุมชน เชื่อมโยงกับชุมชน เชื่อมโยงกับชุมชน
มีความแปลกใหมและ มีความเปนไปไดในการ
สรางสรรค มีความเปน แสวงหาคําตอบ
ไปไดในการแสวงหาคําตอบ
วางแผนสืบคนขอมูล วางแผนสืบคนขอมูล วางแผนสืบคนขอมูล ไมมีการวางแผนหรือมีการ
ชัดเจน และปฏิบัติได ชัดเจน และปฏิบัติได ชัดเจน และปฏิบัติได วางแผน แตไมสามารถ
2.

แบบทดสอบ
ศึกษาคนควาหาความรูจาก ศึกษาคนควาหาความรู ศึกษาคนควาหาความรู นําไปปฏิบัติจริงได
การสืบคนความรู แหลงเรียนรูหลากหลาย จากแหลงเรียนรู จากแหลงเรียนรู ศึกษาคนควาหาความรู
มีการบันทึกขอมูลที่ หลากหลาย ไมหลากหลาย จากแหลงเรียนรู
เหมาะสม ไมหลากหลาย
วิเคราะหขอมูลโดยใช วิเคราะหขอมูลโดยใช วิเคราะหขอมูลโดยใช ไมมีการวิเคราะหขอมูล

โครงการบูรณาการ
วิธีการที่เหมาะสม วิธีการที่เหมาะสม วิธีการที่เหมาะสม หรือวิเคราะหขอมูล
สังเคราะหและสรุป สังเคราะหและสรุป สังเคราะหและสรุป ไมถูกตอง สังเคราะหและ
3. องคความรูไดอยางชัดเจน องคความรูไดอยางชัดเจน องคความรูไดอยางชัดเจน สรุปองคความรูไดไมชัดเจน
การสรุป มีการอภิปรายผลเชื่อมโยง มีการอภิปรายผลเชื่อมโยง มีการอภิปรายผลเชื่อมโยง ไมมีการนําองคความรู
องคความรู ความรูอยางสมเหตุสมผล ความรู นําองคความรูที่ได ความรูยังไมชัดเจน ไปเสนอแนวคิดวิธีการ
และนําองคความรูที่ไดไป ไปเสนอแนวคิดวิธีการ นําองคความรูที่ไดไปเสนอ แกปญหา
เสนอแนวคิดวิธีการ แกปญหาได แตยังไมเปน แนวคิดวิธีการแกปญหาได
แกปญหาอยางเปนระบบ ระบบ แตยังไมเปนระบบ
เรียบเรียงและถายทอด เรียบเรียงและถายทอด เรียบเรียงและถายทอด เรียบเรียงและถายทอด
4. ความคิดจากการศึกษา
คนควาไดอยางชัดเจน
ความคิดจากการศึกษา
คนควาไดอยางชัดเจน
ความคิดจากการศึกษาได ความคิดจากการศึกษาได
ไมคอยเปนระบบ ไมเปนระบบ นําเสนอ
การสื่อสาร เปนระบบ นําเสนอผลงาน เปนระบบ นําเสนอผลงาน นําเสนอผลงานโดยใชสื่อ ผลงานโดยไมใชสื่อประกอบ
และการนําเสนอ โดยใชสื่อที่หลากหลาย โดยใชสื่อที่ไมหลากหลาย ที่ไมหลากหลาย
อยางเหมาะสม
นําความรูจากการศึกษา นําความรูจากการศึกษา นําความรูจากการศึกษา ไมไดนําความรูจากการ
คนควาไปประยุกตใช คนควาไปประยุกตใชใน คนควาไปประยุกตใชใน ศึกษาคนควาไปประยุกต
5. ในกิจกรรมที่สรางสรรค กิจกรรมที่สรางสรรคเปน กิจกรรมที่สรางสรรค ใชในกิจกรรมที่สรางสรรค
การนําความรูไปใช เปนประโยชนตอโรงเรียน ประโยชนตอโรงเรียน ที่เปนประโยชนตอโรงเรียน ที่เปนประโยชน
และบริการ และชุมชน เผยแพรความรู และชุมชน เผยแพรความรู และเผยแพรความรู
สาธารณะ และประสบการณจากการ และประสบการณจากการ และประสบการณจากการ
ปฏิบัติผานสื่อหลากหลาย ปฏิบัติผานสื่อรูปแบบใด ปฏิบัติผานสื่อรูปแบบใด
รูปแบบ รูปแบบหนึ�ง รูปแบบหนึ�ง

(39) โครงการวัดและประเมินผล
แบบประเมินทักษะแหงศตวรรษที่ 21
คําชี้แจง : ใหผูสอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวางการปฏิบัติกิจกรรม แลวขีด ✓ลงในชองวางที่ตรงกับระดับคะแนน
ทักษะแหง รายการประเมิน ระดับคะแนน
ศตวรรษที่ 21 3 2 1
1.1 ความสามารถในการอาน
• สรุปจับใจความสําคัญของขอมูลที่อานไดครบถวน ตรงประเด็น
1. 1.2 ความสามารถในการคิดวิเคราะห
ทักษะการเรียนรู • คิดอยางมีระบบ โดยใชแหลงขอมูลและสรุปประเด็นสําคัญได
และพัฒนา • วิเคราะหขอมูล จําแนกขอมูล และแสดงการคิดเพื่อคนหาคําตอบ
ตนเอง 1.3 ความสามารถในการเขียน
• เขียนสื่อความหมายไดชัดเจน ถูกตอง
• เขียนถูกตองตามรูปแบบการเขียน และสรุปองคความรูอยางมีขั้นตอน
2.1 ความยืดหยุน และการปรับตัว
• ปรับตัวเขากับบทบาทที่แตกตาง งานที่ไดรับมอบหมาย กําหนดการที่เปลี่ยนไป
• นําผลลัพธที่เกิดขึ้นมาใชประโยชนไดอยางไดผล
2.2 การริเริ่ม และเปนตัวของตัวเอง
• กําหนดเปาหมายโดยมีเกณฑความสําเร็จที่จับตองได และที่จับตองไมได
แบบทดสอบ

• ใชเวลา และจัดการภาระงานอยางมีประสิทธิภาพ
2. • ทํางานสําเร็จไดดวยตนเอง โดยกําหนดงาน ติดตามผลงาน และลําดับความสําคัญของงาน
ทักษะชีวิต 2.3 ทักษะทางสังคม และความเขาใจความตางทางวัฒนธรรม
และการทํางาน • เคารพความแตกตางทางวัฒนธรรม และการทํางานรวมกับคนที่มีพื้นฐานแตกตางกันได
2.4 เปนผูผลิตและผูรับผิดชอบตอผลงาน
โครงการบูรณาการ

• กําหนดเปาหมาย ลําดับความสําคัญ และทําใหบรรลุเปาหมายนั้น แมจะมีอุปสรรค


• ทํางานอยางมีจริยธรรมและดวยทาทีเชิงบวก รวมถึงเคารพและเห็นคุณคาของความแตกตาง
2.5 ภาวะผูนําและความรับผิดชอบ
• ใชทักษะมนุษยสัมพันธและทักษะแกปญหาในการชักนําผูอื่นไปสูเปาหมาย
• ดําเนินการอยางมีความรับผิดชอบโดยถือประโยชนสวนรวมเปนที่ตั้ง
3.1 ความคิดสรางสรรคและนวัตกรรม
• คิดอยางเปนเหตุเปนผลหลายแบบ รวมถึงวิเคราะหเปรียบเทียบและประเมินความเห็นหลักๆ
• สังเคราะหและเชื่อมโยงระหวางสารสนเทศกับขอโตแยง
3.2 การคิดอยางมีวิจารณญาณและการแกปญหา
3. • เรียบเรียงความคิดและมุมมองไดเปนอยางดี สื่อสารออกมาใหเขาใจงายและหลายแบบ
ทักษะการเรียนรู • แสดงความรับผิดชอบในงานที่ตองทํางานเปนทีม และเห็นคุณคาของบทบาทของผูรวมทีม
และนวัตกรรม 3.3 การสื่อสารและความรวมมือ
• สรางมุมมองแปลกใหม ทั้งที่เปนการปรับปรุงเล็กนอยจากของเดิม หรือที่แหวกแนวโดยสิ้นเชิง
• เปดใจรับและตอบสนองตอมุมมองใหมๆ รวมทัง้ การประเมินผลงานจากกลุม เพือ่ นําไปปรับปรุง
• ลงมือปฏิบัติตามความคิดสรางสรรคเพื่อนําไปสูผลสําเร็จที่เปนรูปธรรม
4.1 ดานสารสนเทศ
4. • เขาถึง ใช และประเมินสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ครบถวน และรูเทาทัน
ทักษะดาน 4.2 ดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สารสนเทศ สื่อ • ใชเทคโนโลยีเพื่อวิจัย จัดระบบ ประเมิน และสื่อสารสนเทศ
และเทคโนโลยี • ใชเครื่องมือสื่อสารอยางถูกตองเหมาะสม เพื่อทําหนาที่ในฐานความรู
เกณฑการพิจารณาใหคะแนน
พฤติกรรม คะแนน ลงชื่อ……………………………………….ผูประเมิน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสมํ่าเสมอ 3 คะแนน
……………/……………/……………
พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบอยครั้ง 2 คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง 1 คะแนน

โครงการวัดและประเมินผล (40)

You might also like