You are on page 1of 14

Vol.6 No.

Management of Status Epilepticus in Adult

รศ.นพ. สมศักดิ์ เทียมเก่า


สาขาประสาทวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

บทนำ� กรณีที่สามารถควบคุมการชักได้ภายใน 1 ชั่วโมง


ภาวะ status epilepticus (SE) คือภาวะ หลังจากเริม่ มีอาการชัก มีอตั ราการเสียชีวติ ไม่เกิน
ที่ ชั ก ต่ อ เนื่ อ งนานมากกว่ า 5 นาที แ ล้ ว ไม่ ห ยุ ด ร้อยละ 10 แต่ถ้าการชักนั้นไม่สามารถควบคุมได้
ชัก (practical definition) และถ้าภาวะ SE ไม่ ภายใน 1 ชัว่ โมง หรือเกิดภาวะ refractory status
สามารถควบคุมให้หยุดชักได้ภายใน 1 ชั่วโมง epilepticus จะมีอัตราการเสียชีวิตสูงถึงร้อยละ
เรียกว่าภาวะ refractory SE (RSE) สิ่งที่น่าสนใจ 50 ดังนัน้ การรักษา SE นัน้ ทีส่ �ำ คัญคือการควบคุม
คือว่า ทำ�ไมถึงเกิดภาวะ SE และ RSE เพราะการ การชักให้หยุดได้ภายใน 1 ชั่วโมงแรกหลังจากมี
ชักส่วนใหญ่จะหยุดเองภายในเวลาไม่นานเกิน 3-5 อาการ
นาที การเกิดภาวะ SE เนื่องมาจากความไม่สมดุล บทความนี้จะกล่าวถึงสาเหตุของ SE กลไก
ระหว่างกระบวนการยับยั้งและการกระตุ้นให้เกิด การเกิดภาวะ SE, RSE ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิด
ชัก กล่าวคือ กระบวนการกระตุ้นให้ชักมีมากกว่า RSE วิธการรักษา รวมทัง้ การรักษาใหม่ๆ และการ
กระบวนการยับยั้งและถ้ากระบวนการดังกล่าว พยากรณ์โรค
เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ภาวะ SE ก็จะดำ�เนินไปเป็น
RSE ซึง่ ไม่ตอบสนองต่อการรักษา ส่งผลให้มอี ตั รา สาเหตุของ SE
การเสียชีวติ สูง จากการศึกษาหลายการศึกษารวม จากการศึ ก ษาของ Tsai และคณะ
ทั้งการศึกษาจากโรงพยาบาลศรีนครินทร์ พบว่า ศึกษาสาเหตุของภาวะ SE ในผู้ป่วยใหม่ 83 ราย
อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วย status epilepticus ดังตารางที่ 1

99
Vol.6 No.3

ตารางที่ 1 แสดงสาเหตุของภาวะ SE ในผู้ป่วยที่ไม่มีประวัติโรคลมชัก


สาเหตุ จำ�นวน (ร้อยละ)
Acute symptomatic 45 (54.2)
CNS infection 16
Sepsis, metabolic disturbance 11
Stroke 9
Alcohol, drug relate 5
Hypoxia 4
Remote symptomatic 29 (34.9)
Previous stroke 22
Head injury 6
Previous CNS infection 1
Idiopathic 6 (7.2)
Progressive symptomatic 3 (3.6)
Brain tumor 2
CNS lupus 1
อีกหนึ่งการศึกษาที่รวบรวมสาเหตุของ SE ป่วยรายใหม่โดย Aminoff และคณะ รายงาน
ทั้งผู้ป่วยที่มีประวัติเป็นโรคลมชักมาก่อนและผู้ สาเหตุของภาวะ SE ดังตารางที่ 2
ตารางที่ 2 แสดงสาเหตุของภาวะ SE
สาเหตุ จำ�นวน (ร้อยละ)
Anticonvulsant noncompliance 29
Alcohol relate 26
CNS infection 8
Refractory epilepsy 6
Trauma 6
Tumor related 6
Acute stroke 6
Metabolic disorders 4
Acute hypoxic ischemic encephalopathy 4
Undeterminate 6

100
Vol.6 No.3

การศึกษาในประเทศโดย ปิยะเดช วลีพทิ กั ษ์เดชและสมศักดิ์ เทียมเก่า พบสาเหตุของ SE ดังตาราง


ที่ 3 และ 4

ตารางที่ 3 สาเหตุอาการชักต่อเนื่องรุนแรง (รพ. หนองคาย)


ทั้งหมด เสียชีวิต (22 ราย) รอดชีวิต (30 ราย)
ปัจจัย
(52 ราย) (ร้อยละ 42.0) (ร้อยละ 57.7)
Cerebral infarction 18 8 (36.3) 10 (33.3)
CNS infection 10 5 (22.7) 5 (16.6)
Systemic infection 0 4 (10.1) 1 (3.3)
Hypertensive encephalopathy 3 1 (4.5) 2 (6.6)
Uremia 3 1 (4.5) 2 (6.6)
Intracerebral hemorrhage 2 1 (4.5) 1 (3.3)
Subdural hematoma 2 1 (4.5) 1 (3.3)
Organnophosphate poisoning 2 2 (6.6)
Mushroom poisoning 1 1 (3.3)
Hepatic encephalopathy 1 1 (3.3)
Post cardiac arrest 1 1 (4.5)
Compression skull bone 1 1 (3.3)
Obstructive hydrocephalus 1 1 (3.3)
CNS vasculitis 1 1 (3.3)
Electrolyte imbalance (hypona- 1 1 (3.3)
tremia)

101
Vol.6 No.3

ตารางที่ 4 สาเหตุของ SE (รพ.ศรีนครินทร์)


Cause/precipitating causes จำ�นวน (ร้อยละ)
Acute symptomatic 21 (52.5)
Encephalitis 6 (15)
Cerebral infarction 3 (7.5)
Meningitis 3 (7.5)
Hypertensive encephalopathy 2 (5)
Head injury 1 (2.5)
Craniotomy 1 (2.5)
Post-cardiac arrest 1 (2.5)
Intracerebral hemorrhage 1 (2.5)
Cerebral venous sinus thrombosis 1 (2.5)
Septic encephalopathy 1 (2.5)
Remote symptomatic 3 (7.5)
Post-cerebral infarction 1 (2.5)
Post-head injury 1 (2.5)
Post-intracerebral hemorrhage 1 (2.5)
AEDs withdrawal 10 (25)
Alcohol related 6 (15)
สาเหตุของ RSE ที่พบได้ไม่บ่อย ได้แก่ an- กลไกการเกิดภาวะ SE
ti-NMDA receptor limbic encephalitic, anti การเกิดการชักต่อเนื่องจากการเสียสมดุล
-glutamate receptor limbic encephalitic, ระหว่างกระบวนการยับยั้งการชักและการกระตุ้
paraneoplastic limbic encephalitic, limbic นการชัก ซึ่งโดยทั่วไปแล้วเมื่อเกิดการชัก ร่างกาย
encephalitics, Hashimoto’s encephalopa- จะมีกระบวนการหยุดชักภายใน 2-3 นาที แต่
thy, SLE และ anti-glycolipid autoantibody ภาวะ SE คือการชักอย่างต่อเนื่องนานมากกว่า
syndrome 5-10 นาที เนือ่ งจากการลดลงของ post-synaptic
GABA-A receptor ในขณะเดียวกันมีการเพิ่ม
ขึ้นของ post-synaptic glutamatergic ส่งผล

102
Vol.6 No.3

ให้เกิดการเสียหน้าที่ของ synaptic inhibition ผลให้มี neuronal injury และ neuronal death


ร่วมกับ GABA-A receptor ไม่ตอบสนองต่อ ส่งผลให้เกิดภาวะ RSE ในที่สุด สุดท้ายผู้ป่วยก็
GABA-A ทีป่ ลดปล่อยออกมาจาก pre-synaptic จะเสียชีวิตจากภาวะแทรกซ้อน เช่น metabolic
(desensitization) ซึ่งกระบวนการข้างต้นเกิดขึ้น acidosis, rhabdomyolysis และภาวะติดเชื้อ
อย่างต่อเนื่องยิ่งส่งผลให้เกิดการชักอย่างต่อเนื่อง เนือ่ งจากผูป้ ว่ ยหมดสติ ได้แก่ ภาวะติดเชือ้ ในปอด
ภาวะติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ และภาวะติดเชื้อใน
กลไกการเกิดภาวะ RSE กระแสเลือด
ภาวะ SE ถ้าไม่รีบรักษาอย่างรวดเร็ว หรือ
ภายใน 1 ชัว่ โมงแรกกระบวนการยับยัง้ การชักก็จะ กลไกการดื้อยาในภาวะ SE
เสียไปเรือ่ ยๆ เนือ่ งจากมีการลดลงของ GABA-A การชักส่วนใหญ่เมือ่ ให้ยาหยุดชักกลุม่ ben-
receptor, desensitization และ การเคลื่อน zodiazepine หรือยากันชัก ก็จะสามารถควบคุม
ย้ายของ GABA-A receptor subunit บางชนิด การชักให้หยุดชักได้ แต่ทำ�ไมในผู้ป่วย SE และ
บริเวณ synapse (trafficking of GABA-A RSE ถึงไม่ตอบสนองต่อยาที่ให้ จากการศึกษา
receptors) นอกจากนี้ยังพบ over-expression พบว่า เนือ่ งจากมีการเพิม่ ขึน้ ของ P-glycoprotein
ของ P-glycoprotein บริเวณ hippocampus ในกรณี SE ซึ่ง P- glycoprotein จะทำ�ให้ยาผ่าน
และ cortex การลดลงของ GABA-A subunit เข้า blood brain barrier (BBB) ลดลง และทำ�ให้
alpha1,2,3,4,5, beta 2/3 และ gamma 2 กระบวนการนำ�ยาออกจาก blood brain barrier
ในส่ ว นของกระบวนการกระตุ้ น การชั ก สูงขึน้ (enhanced BBB efflux) รวมกับการลดลง
(excitation) ผ่าน glutamatergic ได้แก่ NMDA ของ GABA-A receptor subunit ข้างต้น ส่งผล
(N-methyl-D-aspartate), AMPA และ kinate ให้ควบคุมการชักได้ยากขึ้น เนื่องจากได้ยาแล้วก็
ซึ่งกระบวนการดังกล่าวข้างต้น 2 กระบวนการ ไม่ตอบสนองจึงส่งผลให้เกิดภาวะ SE อย่างต่อ
ดำ�เนินการสวนทางกัน กล่าวคือ กระบวนการ เนื่อง และดำ�เนินสู่ภาวะ RSE
การยั บ ยั้ ง สู ญ เสี ย หน้ า ที่ ไ ปเรื่ อ ยๆ ในขณะที่ Neurotransmitter ทีเ่ กีย่ วข้องกับการเกิด
กระบวนการกระตุ้นกลับเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่ง SE แสดงในตารางที่ 5

103
Vol.6 No.3

ตารางที่ 5 Initiation and maintenance of SE


Initiators Blockers of initiation phase Blockers of
maintenance phase
Low Na , High K
+ +
Na channel blockers
+
NMDA antagonists
GABAA antagonists GABAA agonists Tachykinin antago-
nists
Glutamate agonists : NMDA, NMDA antagonists, high Mg++ Galanin
AMPA, kainate, low Mgo++, low
Ca++, stimulation of glutamater-
gic pathways
Cholinergic muscarinic ago- AMPA/kainate antagonists Dynorphin
nists, stimulation of muscarinic
pathway
Tachykinins (SP, NKB) Cholinergic muscarinic anta-
gosists
Galanin antagonists SP, Neurokinin Bantagonists
Opiated agonists Galatin
Opiate k antagonists Somatostatin
NPY
Opiate d agonists
Dynorphin (k antagonists)
AMPA, Aa-amino-3hydroxy-
5-methylisoxazole-4-propionic
acid; g-aminobutyric acid; NKB,
neurokinin B; NMDA, N-methyl-
D-asparate; NPY, neuropeptide
Y; SP, substance P.
ปัจจัยทำ�นายการเกิด RSE หรือผู้ป่วยที่ชักนานเกิน 24 ชั่วโมง, ชักชนิด non
ผู้ป่วย SE บางส่วนจะเกิดภาวะ RSE โดย –convulsive SE และผู้สูงอายุมากกว่า 65 ปี นาย
พบบ่อยในผู้ป่วย meningo-encephalitics, แพทย์ปิยะเดช วลีพิทักษ์เดช ได้ศึกษาปัจจัยที่มี
hypoxic ischemic encephalopathy, sepsis ผลต่อการเกิด RSE แสดงดังตารางที่ 6

104
Vol.6 No.3

ตารางที่ 6 ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อพยากรณ์โรคภาวะชักต่อเนือ่ ง โดยวิเคราะห์ทลี ะปัจจัย (univariate analysis)


ปัจจัย OR 95%CI P-value
อายุ
มากกว่าหรือเท่ากับ 65 ปี 2.25 0.68-6.71 0.10
น้อยกว่า 65 ปี 1
เพศ
ชาย 1.25 0.40-4.03 0.672
หญิง 1
ระยะเวลาเริ่มการรักษา (Time to treatment)
น้อยกว่าหรือเท่ากับ 1 ชั่วโมง 1.25 0.33-3.45 0.92
มากกว่า 1 ชั่วโมง 1
อาการชัก (Seizure type)
Generalized convulsion (GC) - 0.23
Complex partial seizure (CP) - 0.17
Simple partial seizure (SP) 1
ระยะเวลาชักต่อเนื่อง (SE duration)
> 24 ชั่วโมง 6.75 1.68-32.05 0.002*
1-2 ชั่วโมง 3.12 0.60-17.40 0.109
< 1 ชั่วโมง 1
ประวัติโรคลมชัก (History of epilepsy)
มี 0.009 0.00-0.69 0.008*
ไม่มี 1
การกลับเป็นซํา้ ของภาวะชักต่อเนือ่ ง (Recurrent SE)
มี 3.08 1.04-9.25 0.022*
ไม่มี 1
คะแนน Glasgow Coma Score (GCS)
< 5 30.40 3.82-13141.18 0.000*
5-10 7.50 0.71-369.14 0.046*
11-15 1

105
Vol.6 No.3

หลักการรักษา SE ตามแนวทางการรักษา SE การแก้ไขปัจจัยกระตุน้


จากความรูด้ า้ นกลไกการเกิด SE, RSE และ ต่างๆ เพือ่ ลดระยะเวลาการชักก่อนการควบคุมได้
การดื้อยา หลักสำ�คัญของการรักษาคือ การรีบให้ ให้สั้นที่สุด
ยาและแก้ไขปัจจัยกระตุ้นให้เร็วที่สุด เพราะจาก ดังนั้นแพทย์จึงควรให้มีการวินิจฉัย SE
การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการเกิด RSE ได้แก่ อย่ า งรวดเร็ ว และเริ่ ม รั ก ษาทั น ที โดยยึ ด ตาม
ระยะเวลาทีเ่ ริม่ รักษาหลังจากเกิดการชัก การรักษา แนวทางการรักษาอย่างเคร่งครัดดังรูปที่ 1

106
Vol.6 No.3

ยากันชักชนิดฉีดทางหลอดเลือดดำ� การฉีดเข้าทางกล้ามเนือ้ และผลแทรกซ้อนตํา่ กว่า


ยากันชักชนิดฉีดทางหลอดเลือดดำ�ทีแ่ พทย์ จะไม่ขอกล่าวโดยละเอียด เพราะโรงพยาบาลส่วน
ใช้บ่อยในปัจจุบันได้แก่ phenytoin, phenobar- ใหญ่ยังไม่มียาชนิดนี้ใช้
bital และ sodium valproate ประสิทธิภาพของ 2. ยา phenobarbital ขนาด loading
ยาดังกล่าวเป็นที่ทราบกันดีว่ามีประสิทธิภาพดี dose 20 มก./กก. ผสมใน 5 D/W อัตราเร็ว
จากประสบการณ์ของผู้เขียนมีข้อสังเกตว่าแพทย์ ประมาณ 100-150 มก./นาที ถ้าผู้ป่วยยังมีอาการ
ส่วนใหญ่ยังมีความไม่มั่นใจในวิธีการใช้ยา เช่น ชักอีก สามารถให้ได้อกี ทุกๆ ครัง้ ทีช่ กั (very high
ขนาดของยาที่ loading การ maintenance : ขอ dose phenobarbital ) การ maintenance dose
สรุปดังนี้ ควรเริ่มให้หลังจาก loading dose ประมาณ 12
1. ยา phenytoin ขนาด loading dose ชั่วโมง ขนาดของ maintenance ประมาณ 300
15-20 มก./กก ผสมใน 0.9 NSS อัตราเร็วไม่เกิน มก./วัน ให้วนั ละ 1 ครัง้ โดยการผสมใน 5 % dex-
50 มก./นาที ถ้าผูป้ ว่ ยไม่หยุดชักให้ซาํ้ ได้อกี ขนาด trose water 100 ซีซี ให้มางหลอดเลือดดำ�ภายใน
ยาสูงสุดในการ loading ไม่เกิน 30 มก./กก./วัน 1-2 ชั่วโมง และถ้าผู้ป่วยอาการดีขึ้นสามารถลด
เมื่อ loading แล้ว ควรเริ่มให้ maintenance ขนาดยาลงได้เหลือ 180 มก./วัน ในผู้ใหญ่
dose หลังจาก loading dose ประมาณ 6-8 3. ยา sodium valproate ขนาด loading
ชั่วโมง การให้ยา maintenance สามารถให้ได้ทั้ง dose 20-25 มก./กก. ให้ในระยะเวลาประมาณ
แบบ 300 มก./วัน วันละครั้ง หรือ 100 มก.ทุก 8 20-30 นาที ถ้าผู้ป่วยยังมีอาการชัก สามารถให้ซํ้า
ชัว่ โมงก็ได้ ให้ผลการรักษาไม่แตกต่างกัน และเมือ่ ได้อีก 2-3 ครั้ง ขนาดสูงสุดในการ loading อาจ
ผู้ป่วยอาการดีขึ้นเริ่มให้อาหารเหลวได้ ก็สามารถ สูงถึง 140 มก./กก. การ maintenance dose ใช้
ให้ยา phenytoin suspension ได้ ที่ต้องระวัง ยาขนาดเดียวกัน โดยมีวิธีการให้ 2 แบบ คือ แบบ
ในการให้ยา phenytoin suspension ในผู้ป่วย ต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง หรือ แบ่งเป็น 2 ครั้ง/วัน โดย
ที่ให้อาหารเหลว คือต้องให้ยาและอาหารห่างกัน เริม่ ให้ยา maintenance 6-8 ชัว่ โมงหลัง loading
อย่างน้อย 2 ชั่วโมง เพราะยา phenytoin จะจับ dose ส่วนใหญ่นิยมให้ยาแบบต่อเนื่องทั้งวัน
กับโปรตีนสูงมาก ส่งผลให้ระดับยาในเลือดตํ่าไม่ ส่วนการรักษา RSE นั้นมียากันชักให้ใช้
สามารถควบคุมอาการชักได้ หลายชนิด ดังแผนรูปที่ 1 แต่ผลการรักษาส่วน
ในปัจจุบันในบางโรงพยาบาลมีการนำ�ยา ใหญ่ได้ผลไม่ดี ด้วยเหตุผลที่กล่าวแล้วข้างต้น
fosphenytoin มาใช้ ยาดังกล่าวมีข้อดีกว่ายา เมือ่ ผูป้ ว่ ยสามารถควบคุมการชักได้แล้ว 24 ชัว่ โมง
phenytoin หลายประการ คือ สามารถให้ยาได้ ต้องค่อยๆ ลดขนาดยากันชักชนิดทีใ่ ห้ใหม่หลังสุด
ด้วยความเร็วถึง 150 มก./ นาที สามารถให้ได้ดว้ ย

107
Vol.6 No.3

นอกจากแนวทางการรักษาข้างต้นแล้ว ยัง 6. การรักษาด้วย magnesium ในผู้ป่วย


พบว่ามีการรายงานถึงการรักษาภาวะ SE ด้วยวิธี RSE จาก POLG-1 mutation
ต่างๆ ดังนี้ 7. การรั ก ษาด้ ว ย electroconvulsive
1. High dose oral phenobarbital load- therapy (ECT)
ing ในผู้ป่วย RSE 8. การรักษาด้วย music therapy ผู้ป่วย
2. Non-parenteral lacosamide ในผู้ refractory NCS
ป่วย RSE 9. การรักษาด้วยยา levetiracetam
3. Oral pregabalin add-on ในผูป้ ว่ ย SE ชนิด IV form
4. Oral topiramate ในผู้ป่วย RSE คุณสมบัติของยากันชักที่เหมาะสมในการ
5. Ketogenic diet ในผูป้ ว่ ย severe RSE รักษา SE แสดงดังตารางที่ 7

ตารางที่ 7 Ideal intravenous antiepileptic drug (AED) characteristic


DZP LZP PHT FosPHT PB VPA LEV
Ease of administration X X X X X X
Rapid onset of action X X X X X* ?
Intermediate to long duration X X X X X X
Broad spectrum X X X X X
Minimal morbility X X X
Useful as maintenance AED X X X X X
i.v. solution compatibility X X X
DZP, diazepam; Fosphenytoin; i.v., itravenous; LEV, levetiracetam; LZP, lorazepam; PB,
Phenobarbital; PHT, phrnytoin, VPA, valproate.
*
Based on animal studies and limited clinical observations.

108
Vol.6 No.3

ข้อผิดพลาดที่พบบ่อยในการรักษาผู้ป่วย บรรณานุกรม
SE ได้แก่ การวินิจฉัยล่าช้า การส่งผู้ป่วยไปตรวจ 1. ปิยะเดช วลีพทิ กั ษ์เดช. Prognosis and pre-
CT scan brain ในขณะที่ผู้ป่วยมีอาการชัก การ dictors of status epilepticus in Nongkai
ให้ยาผิดขนาด ให้ยาผิดวิธี ให้ยาด้วยอัตราเร็วที่ hospital.North-Eastern Thai Journal of
ช้าเกินไป ผสมยา phenytoin ใน 5% dextrose Neuroscience.2010;5:141-53.
water และการไม่ได้ให้ยา maintenance อีก 2. Abend NS, Dlugos DJ. Treatment of
ประเด็ น หนึ่ ง ที่ สำ � คั ญ คื อ การประเมิ น ผู้ ป่ ว ยว่ า refractory status epilepticus : literature
ควบคุมอาการชักได้หรือไม่ ถ้าดีที่สุดต้องตรวจ review and a proposed protocol. Pediatr
คลื่นไฟฟ้าสมอง เพราะผู้ป่วยบางรายเกิดภาวะ Neurol 2008;38:377-390.
non-convulsive seizure status epilepticus 3. Agan K, Afsar N,Midi I, et al. Predictiors
แต่โรงพยาบาลส่วนใหญ่ไม่มเี ครือ่ งมือดังกล่าว จึง of refractoriness in a Turkish status epi-
ต้องอาศัยการดูแลและสังเกตุผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด lepticus data bank. Epilepsy&Behavior
สังเกตุว่าผู้ป่วยมีการกระตุกของแขน ขา ใบหน้า 2009;14:651-4.
หรือตามี nystagmus หรือไม่ ดังนัน้ ในทางปฏิบตั ิ 4. Aranda A, Foucart G, Ducasse JL, et al.
เมื่อมีผู้ป่วย SE ในโรงพยาบาลชุมชนควรส่งตัว Generalized convulsive status epilep-
เพื่อรับการรักษาต่อที่โรงพยาบาลจังหวัด ปัญหา ticus management in adults : A cohort
ทีส่ �ำ คัญอีกข้อหนึง่ คือโรงพยาบาลชุมชนไม่มยี ากัน study with evaluation of professional
ชักชนิดฉีดทางหลอดเลือดดำ� ส่งผลให้ผู้ป่วยไม่ practice. Epilepsia 2010;-:1-9.
ได้รับการรักษาที่เหมาะสมตั้งแต่ต้น ส่งผลให้การ 5. Bankstahl PJ, Hoffmann K, Bethmann
รักษา SE ในประเทศไทยมีการพยากรณ์โรคทีไ่ ม่ดี K, et al.Glutamate is critically involved
in seizure-indued overexpression of
สรุป P-glycoprotein in the brain. Neurophar-
กลไกการเกิด RSE เนือ่ งจากการเสียสมดุล macology 2008;54:1006-16.
ของกระบวนการยับยั้งการชักและกระบวนการ 6. Bankstahl PJ, Loscher W. Resistance
กระตุ้นการชักอย่างต่อเนื่องจนเกิดการดื้อต่อยา to antiepileptic drug and expression
ทีใ่ ช้รักษา การรีบให้การวินิจฉัยและรักษาภาวะ SE of P-glycoprotein in two rat models of
อย่างเร่งด่วนและดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด จะลด status epilepticus. Epilepsy Research
โอกาสการเกิด RSE และลดอัตราการเสียชีวติ ลงได้ 2008;82:70-85.

109
Vol.6 No.3

7. Bethmann K, Fritschy MJ, Brandt C, et 13. Drislane WF, Blum SA, Lopez RM, et
al. Antiepileptic drug resistant rats dif- al. Duration of refractory status epilep-
fer from drug responsive rats in GABAA ticus and outcome: loss of prognostic
receptor subunit expression in a model utility after several hours.Epilepsia
of temporal lobe epilepsy. Neurobiology 2009;6:1566-71.
of Disease 2008;31:169-87. 14. Goodkin PH, Kapur J. The impact of
8. Bleck TP, MD FCCM .Less common diazepam’s discovery on the treatment
etiologies of status epilepticus. Current and understanding of status epilepti-
review in clinical science. Epilepsy cur- cus. Epilepsia 2009;9:2011-8.
rents 2010;10:31-3. 15. Jan de Haan G, Van der Geest P, Doel-
9. Chakir A, Fabene PF, Ouazzani R, et man G,et al. A comparison of mid-
al. Drug resistance and hippocampal azolam nasal spray and diazepam rectal
damage after delayed treatment of solution for the residential treatment
pilocarpine-induced epilepsy in the rat. of seizure exacerbations. Epilepsia
Brain Research Bullentin 2006; 71:127-38. 2010;3:478-82.
10. Claassen J, Hirsch JL, Emerson GR, et 16. Jimenez-Mateos ME, Hatazaki S,
al. Treatment of refractory status epi- Johnson BM, et al. Hippocampal tran-
lepticus with pentobarbital,propofol,or scriptome after status epilepticus in
midazolam:A systemic review.Epilep- mice rendered seizure damage-tolerant
sia 2002;2:146-53. by epileptic preconditioning features
11. Cooper DA, Britton WJ, Rabinstein AA. suppresses calcium and neuronal ex-
Functional and cognitive outcome in citability pathways. Neurobiology of
prolonged refractory status epilepticus. Disease 2008;32:442-53.
Arch Neurol 2009;12:1505-9. 17. Kalita J, Nair PP, Misra KU. A clini-
12. Deshpande SL, Blair ER, Nagarkatti N, et cal, radiological and outcome study of
al. Development of pharmacoresistance to status epilepticus from India. J Neurol
benzodiazepines but not cannabinoids in 2010;257:224-9.
the hippocampal neuronal culture model 18. Kamel H, Cornes BS, Hegde M, et al.
of status epilepticus. Experimental Neu- Electroconvulsive therapy for refrac-
rology 2007;204:705-13.

110
Vol.6 No.3

tory status epilepticus : A case series. 25. Novy J, Rossetti AO.Oral pregabalin as
Neurocrit care 2010;12:204-10. an add-on treatment for status epilep-
19. Kuester G, Rios L, Ortiz A, et al. Effect of ticus. Epilepsia 2010;10:207-10.
music on the recovery of a patient with 26. Papavasiliou AS, Kotsalis C, Paraskev-
refractory nonconvulsive status epilep- oulakos E, et al. Intravenous midazolam
ticus. Epilepsy&Behavior 2010;18:491-3. in convulsive status epilepticus in chil-
20. Meierkord H, Boon P, Engelsen B. EFNS dren with pharmacoresistant epilepsy.
guideline on the management of status Epilepsy & Behavior 2009;14:661-4.
epilepticus in adults. European Journal 27. Pekcec A, Unkruer B, Stein V, et al.
of Neurology 2010 ; 17:348-55. Over-expression of P-glycoprotein in
21. Nabbout R, Mazzuca M, Hubert P, et the canine brain following spontaneous
al. Efficacy of ketogenic diet in severe status epilepticus.Epilepsy Research
refractory status epilepticus initiat- 2009;83:144-51.
ing fever induced refractory epileptic 28. Rathakrishnan R, Wilder-Smith EP.New
encephalopathy in school age children Onser Refractory Status Epilepticus
(FIRED). Epilepsia 2010;10:2033-7. (NORSE). Journal of the Neurological
22. Naylor ED, Lin H, Wasterlain GC. Sciences 2009;284:220-1.
Trafficker of GABAA receptors, loss of 29. Silveira VG, Paula Cognato G, Muller
inhibition, and a mechanism for pharma- AP, et al. Effect of ketogenic diet on
coresistance in status epilepticus. The nucleotide hydrolysis and hepatic
Journal of Neuroscience 2005;34:7724-33. enzymes in blood serum of rats in a
23. Naylor ED, Wasterlain GC. GABA syn- lithium-pilocarpine-induced status epi-
apses and the rapid loss of inhibition to lepticus. Metab Brain Dis 2010;25:211-7.
dentate gyrus granule cells after brief 30. Sinha S, Prashantha DK, Thennarasu
perforant-path stimulation. Epilepsia K, et al. Refractory status epileptics
2005;suppl.5:142-7. : A developing country perspective.
24. Novy J, Logroscio G, Rossetti OA, et at. Journal of the Neurological Science
Refractory status epilepticus : A pro- 2010;290:60-65.
spective observational study. Epilepsia
2010;2:251-6.

111
Vol.6 No.3

31. Tiamkao S, Jitpimolmard S, Chotmong- tients with de novo status epilepticus.


kol V. Status epilepticus in Srinagarind Q J Med 2009;102:57-62.
hospital. Srinagarind Med J 1997;12:64-8. 39. Ullal G, Fahnestock M, Racine R. Time-
32. Tiamkao S, Chitravas N, Jitpimolmard dependent effect of kainate-induced
S, Sawanyawisuth K. Appropriateness seizures on glutamate receptor gluR5,
of intravenous loading dose of phenyt- gluR6,and gluR7 mRNA and protein ex-
oin treatment in Srinagarind Hospital. pression in rat hippocampus.Epilepsia
J Med Assoc Thai 2005;88:1638-41. 2005;5:616-23.
33. Tiamkao S, Mayurasakorn N, Suko P, 40. Visser NA, Braun KPJ , Leijten FSS.
et al. Very high dose phenobarbital for Magnesium treatment for patiens with
refractory status epilepticus. J Med refractory status epilepticus due to
Assoc Thai 2007;90:2597-600. POLG1-mutations.J Neurol 2010; Aug
34. Tiamkao S. Current management of 29.[Epub ahead of print]
status epilepticus. Thai Journal of Phar- 41. Wasterlain CG, Chen James WY. Mech-
macology 2552;31:20-5. anistic and pharmacologic aspects of
35. Tiamkao S, Sawanyawisuth K. Predictors status epilepticus and its treatment
and prognosis of status epilepticus pa- with new antiepileptic drugs. Epilepsia
tients treated with intravenous sodium 2008;suppl.9:63-73.
valproate. Epileptic Disord 2009; 11:228-31. 42. Wheless JW, Treiman DM. The role of the
36. Tiamkao S, Suko P, Mayurasakorn N, newer antiepileptic drugs in the treat-
et al. Outcome of status epilepticus in ment of generalized convulsive status
srinagarind hospital.J Med Assoc Thai epiletics. Epilepsia 2008;suppl.9:74-8.
2010;93:420-3. 43. Wilmshurst JM, Van der Walt JS, Ack-
37. Tilz C, Resch R, Hofer T, et al. Success- ermann S, et al. Rescue therapy with
ful treatment for refractory convulsive high-dose oral phenobarbitone load-
status epilepticus by non-parenteral ing for refractory status epilepticus.
lacosamide.Epilepsia 2010;2:316-7. Journal of Paediatrics and Child Health
38. Tsai M-H, Chuang Y-C, Chang H-W, et 2010;46:17-22.
al. Factors predictive of outcome in pa-

112

You might also like