You are on page 1of 3

อาหารพืน้ บ้ านภาคใต้

อาหารไทยที่อร่ อยไม่แพ้ชาติใดในโลก โดยเฉพาะอย่างยิง่ อาหารใต้ หรื อ อาหาร ปักษ์


ใต้ ( ปั๊ก-ตั้ยย) ด้วยรสชาติที่เป็ นเอกลักษณ์ เข้มข้น เผ็ดจัดจ้าน ถึงใจ กลิ่นสมุนไพรที่คละคลุง้ ไม่วา่
ใครที่ได้ลิ้มลองอาหารปักษ์ใต้ วันนี้ เราจะมาพูดถึงเอกลักษณ์ และประวัติความเป็ นมาของอาหารใต้
บ้านเรากัน

อาหารใต้มีรสชาติโดนเด่นเป็ นเอกลักษณ์ รสหลักๆ 3 รส คือเปรี้ ยว เค็ม เผ็ด และด้วย


ทางภูมิประเทศที่ติดทะเลทำให้อาหารหลักในการดำรงชีวิตของชาวใต้คืออาหารทะเล และด้วยใน
อดีตที่ภาคใต้เคยเป็ นศูนย์กลางในการเดินเรื อค้าขายของทั้งพ่อค้าชาวจีนและชาวอินเดีย ทำให้
อาหารใต้ได้รับอิทธิพลและต้นตำรับการปรุ งเครื่ องเทศมาจากชาวอินเดีย โดยเฉพาะชาวอินเดียใต้
และประกอบกับเครื่ องเทศนั้นสามารถดับคาวจากอาหารทะเลได้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ขมิ้น ที่กลาย
เป็ นสมุนไพรปรุ งรสหลักของอาหารใต้ ทำให้สีของอาหารใต้มกั มีสีออกเหลืองทุกจานไป
เอกลักษณ์อีกอย่างที่ปรากฏเด่นชัดคือความเผ็ด ที่ทำให้อาหารใต้มีรสชาติเผ็ดกว่า
อาหารภาคอื่นๆ เพราะเนื่องจากสภาพอากาศที่ร้อนชื้ นตลอดทั้งปี ทำให้เครื่ องแกงและเครื่ องจิ้ม
ต่างๆมีรสชาติเผ็ดจัดจ้าน เพราะเชื่อว่าความเผ็ดจะช่วยอบอุ่นร่ างกายและป้ องกันความเจ็บป่ วย และ
ความเผ็ดจากพริ กขี้หนูจะช่วยดับกลิ่นคาวของปลา

อีกลักษณะเด่นของอาหารใต้ที่สงั เกตได้คือ ผักเหนาะ หรื อ ผักสด ด้วยภาคใต้มีฝนตก


ชุกตลอดทั้งปี และมีฝนมากกว่าภาคอื่นของประเทศ ฉะนั้นจึงทำให้ภาคใต้อุดมสมบูรณ์ไปด้วยผัก
พื้นบ้าน ที่ปลูกเอง กินเอง ทำให้ชาวใต้นิยมทานผักควบคู่ไปกับการทานแกงรสจัด น้ำพริ ก ถือ
เป็ นการแกล้มด้วยผักสดลดความเผ็ด ผักที่นิยมนำมาทานเป็ รผักเหนาะ คือ ใบมันปู ใบบัวบก ยอด
มะกอก ลูกเหนียง สะตอ แตงกวา ถัว่ ฝักยาวเป็ นต้น

คนใต้นิยมประกอบอาหารประเภทแกงเผ็ดเป็ นหลัก ซึ่งเป็ นการปรุ งอาหารแบบที่ นำ


ส่ วนผสมหลากหลายรวมกับน้ำ แล้วต้มให้สุก พิเศษคือเครื่ องแกงของชาวใต้น้ ันเป็ นเครื่ องแกงที่ใช้
สมุนไพรพื้นบ้านมาเป็ นส่ วนประกอบในการทำเครื่ องแกงส้ม แกงเผ็ด แกงคัว่ โดยนิยมตำมือตาม
ตำราภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สืบทอดกันมา

เมนูอาหารใต้ที่แพร่ หลายและเป็ นที่คุน้ เคยและหาทานได้ตามร้านอาหารใต้ที่เปิ ดกัน


มากมาย ไม่วา่ จะเป็ น คัว่ กลิ้งหมู แกงเหลือง สะตอผัดกะปิ ผัดใบเหลียง แกงไตปลา แกงคัว่ หมู
ข้าวยำ แกงเลียง และอีกมากมาย

You might also like