You are on page 1of 12

หมวดเบ็ดเตล็ด

1. ลมกองละเอียด เกิดจาก เหนื่อยมาก การอดนอน เศร้าโศรก อากาศไม่พอหายใจ


2. ลมกองหยาบ เกิดจาก ลมมากในกระเพาะอาหารและสาไส้
3. ลมบาดทะยัก เกิดจาก ถูกเสี้ยนหนาม ตะปูตา ทาให้ชักกระตุก หลังแข็ง คางแข็ง
หรือเกิดจากบาดแผล
4. ลมบาดทะจิต เกิดจากความดันโลหิตต่า เลือดเลี้ยงสมองไม่พอ
5. ลมตติยาวิโรช (มีพิษร้าย ) กระทาให้ตัวเย็น ท้องเดิน ลิ้นกระด้าง คางแข็ง
6. ไข้กาเดา (เปลวแห่งความร้อน ) ปวดหัว ตัวร้อน ไข้สูง หน้าแห้ง ฟันแห้ง คลั่งเพ้อ ตาแดงแห้ง
7. ไข้ปิตตะ นอนซมซึมเซา เพ้อคลั่ง ไม่ได้สติสมปฤดี ปวดศรีษะ เป็นพรรดึก ตาเขียวดังใบไม้
8. ไข้เสมหะ เนื้อตัวหนัก ซืมหงอยเหงา ตาเชื่อมมัว เจ็บอก เจ็บคอ เจ็บแสบในท้อง
ตาเหลืองดังขมิ้น
9. ไข้วาตะ จุกเสียด แน่นอก หายใจขัด ปวดเมื่อยทั่วร่างกาย อุจจาระปัสสาวะขัด ตาขุ่ นคล้า
10. ไข้โลหิต ปวดศรีษะ ตัวร้อนเจ็บแสบที่ร่างกาย เป็นจุดจ้าขึ้นตามตัว นัยน์ตาแดง
11. ยาประคบเส้นขอด ไพล ใบมะขาม ใบส้มป่อย ว่านชักมดลูก ว่านน้า การบูร
ว่านชักมดลูก ไม่มีใช้หัวบานเย็นขาว เสมอภาคทาลูกประคบ

อาการกาเริบ หย่อน พิการ ของธาตุ 4


ก. วาโยธาตุ (ธาตุลม )
(1) หทัยวาตะ (ลิ้นหัวใจ)
กาเริบ = หัวใจสั่น หัวใจรั่ว หายใจไม่ทั่วท้อง
หย่อน = เลือดเลี้ยงสมองไม่พอ ความดันโลหิตสูง ความดันโลหิตต่า
พิการ = หัวใจล้มเหลว
(2) สุมนาวาตะ (ลมจับหัวใจ ลิ้นปี่ลูกกระเดือก)
กาเริบ = หัวใจสั่น เจ็บแน่น หน้าอก
หย่อน = เลือดไม่ขึ้นสมอง มึนงง เดินเซ หนักศรีษะ
พิการ = หัวใจวาย
(3) สัตถกวาตะ (ลมเสียดแทง)
กาเริบ = เสียดแทง เจ็บกล้ามเนื้อ
หย่อน = เจ็บปวด นอนกลิ้ง ร้องครวญคราง
พิการ = ลมไม่วิ่ง เกิดเป็นเหน็บชา เป็นตะคริว

ข. เตโชธาตุ (ธาตุไฟ)
(1) พัทธปิตตะ (ดีในฝัก ดีในถุงน้าดี)
กาเริบ = ตัวเหลือง ตาเหลือง ปัสสาวะเหลือง
หย่อน = ผอมแห้ง แรงน้อย ขึ้นเป็นตุ่ม เป็นวงสีดา
พิการ = นิ่วในถุงน้าดี
(2) อพัทธปิตตะ (ดีนอกฝัก)
กาเริบ = โรคการะเพาะ ลาไส้อักเสบ กรดเป็นแก๊ส
หย่อน = ท้องขึ้น อืดเฟ้อ อาหารไม่ย่อย
พิการ = อาหารไม่ย่อย อุจจาระไม่ออก แข็งเป็นพรรดึก
(3) กาเดา (เปลวแห่งความร้อน)
กาเริบ = ไข้สูง ตัวร้อนจัด
หย่อน = ไข้เชื่องซืม แน่นิ่ง
พิการ = เลือดลมไม่วิ่งขึ้นสมอง เป็นโรคประสาท

ค. อาโปธาตุ (ธาตุน้า)
(1) ศอเสมหะ (เสมหะในคอ)
กาเริบ = เป็นหวัดน้ามูกไหล ไอ
หย่อน = ไอ หอบ เจ็บคอ
พิการ = ไอเป็นมองคร่อ คออักเสบ บวม โต
(2) อุระเสมหะ (เสมหะในทรวงอก)
กาเริบ = เจ็บคอ แสบอก
หย่อน = ปวดเสียวที่อก เจ็บปวดที่อก จุกอก
พิการ = เป็นโรคหอบหืด ฝี วัณโรคปอด
(3) คูถเสมหะ (เสมหะในคูถทวาร)
กาเริบ = เจ็บแสบท้อง ปวดท้อง
หย่อน = แน่นท้อง จุกท้อง เป็นพรรดึก เป็นเถาเป็นดาน
พิการ = อาหารไม่ย่อยอุจจาระพิการเป็นสีต่างๆ เป็นริดสีดวง

ง. ปถวีธาตุ (ธาตุดิน)
(1) หทัยวัตถุ (หัวใจ)
กาเริบ = เจ็บปวดหัวใจ อารมณ์หงุดหงิด
หย่อน = หัวใจเต้นแรงผิดปกติ เสียวหัวใจ
พิการ = หัวใจโต หัวใจบวม หัวใจอักเสบ
(2) อุทรียะ (อาหารใหม่)
กาเริบ = ปวดท้อง อาเจียน ท้องขึ้น อืด เฟ้อ
หย่อน = แน่นท้อง จุกเสียด เหม็นคาวคอ
พิการ = อาหารไม่ย่อย กินอาหารไม่อยู่ท้อง
(3) กรีสัง (อาหารเก่าหรือคูถ)
กาเริบ = ลงท้อง ท้องเดิน ท้องเสีย
หย่อน = เป็นบิด บิดมูกเลือด
พิการ = ถ่ายเป็นเลือด เป็นหนอง มีกลิ่น ดังซากศพ กลิ่นปลาเน่า หญ้าเน่า ข้าวบูด

ตรีธาตุ กาเริบ หย่อน พิการ


ก. ปิตตะ
กาเริบ = ตัวร้อน สวิงสวาย จิตใจไม่สบาย อารมณ์เดี๋ยวร้าย เดี๋ยวดี
หย่อน = ตัวเย็น ท้องขึ้นอืดเฟ้อ พะอืดพะอมเป็นพรรดึก
พิการ = อวัยวะภายในระส่าระสาย ถ่ายปัสสาวะอุจจาระขัด อุจจาระมีสีและกลิ่นผิดปกติ ถ่ายเป็นมูกเลือด
ข. วาตะ
กาเริบ = เจ็บทั่วร่างกาย กระวนกระวาย ละเมอเพ้อคลั่ง ชัก มือกาเท้าหงิกงอ
หย่อน = เซื่องซืม สลบไสล หายใจไม่สะดวก เป็นลมชัก แน่นิ่ง บางทีลิ้นกระด้าง คางแข็ง
พิการ = หายใจช้า แน่นอก เจ็บปวด ร้องครวญคราง แล้วนอนนิ่งไปไม่รู้สึกตัว
ค. เสมหะ
กาเริบ = น้าในร่างกาย น้ามูกมาก (เสมหะเฟ้อ) มีอาการปวดศรีษะ หนักศรีษะ น้ามูกไหล
หย่อน = คอแห้ง เจ็บคอ กลืนน้าลายไม่ได้ เจ็บอก แสบอก ไอ หายใจขัด
พิการ = เป็นหวัดเรื้อรัง โพรงจมูกอักเสบ (ไซนัส)

1. อภิญญาเบญจกูล แก้อภิญญาณธาตุ ธาตุอุจจาระ มีสี 4 สี คือ ดา แดง ขาว เขียว


2. อสุรินธัญญาณธาตุ แก้อสุรินธัญญาณธาตุ คือ ธาตุอุจจาระ มีกลิ่น 4 กลิ่น คือ ศพเน่า ปลาเน่า ข้าวบูด
และ หญ้าเน่า
3. ยาแก้ตกเลือด ดอกคาฝอย 1 บาท ไส้ต้นหมาก หรือรากหมาก หรือเปลือกลูกหมาก 2 บาท สารส้ม
2 บาท ว่านชักมดลูก 2 บาท เติมน้า 5 ส่วน เคี่ยวให้เหลือ 2 ส่วน ถึงจะนามารับประทานได้
4. ยาให้เด็กกินข้าวได้ ฝนรากเจตพังคี กับ น้าอุ่น เติมน้าตาลทรายกรวด ผสมข้าวให้เด็กกิน
5. ดีนกยูง กินทาให้หัวใจหยุดเต้น
6. ลมจับโปง เกิดจากไข้พิษ ไข้กาฬ เคลื่อนไหวไม่ได้ ปวดทุกข้อ กลายเป็นโณคเรื้อน
7. ลมชิวหาสดมภ์ หาวเรอ ขากรรไกรแข็ง ลิ้นแข็ง
8. ลมตะคริว เกิดจากถูกเย็นมาก เสียเลือดมาก ชอกช้ามาก ถ่ายมาก ชักมือกาเท้าหงิกงอ จับสิ่งของไม่ได้
จับในท้อง กระเพาะ ลาไส้
9. โรคปวดข้อ (รูมาตอยย์ , รูมาติค ) เริ่มฝ่ามือเท้าแดง เจ็บ แล้วปวดตามข้อใหญ่ๆ หัวเข่า ข้อมือ ข้อเท้า
10. หัดกับเหือด หัดเป็นกับเด็ก เป็นเม็ด เป็นจุดตามแขนขา หัวแหลม เหือด มีก้อนน้าเหลือง เจ็บคอ หัวไม่
แหลม ขึ้นใต้คาง และคอ
11. สุกใสกับไข้ทรพิษ สุกใส เป็นเม็ดใสเท่าเมล็ดงา แล้วโตเท่าหัวไม้ขีด ถั่วเขียว เมล็ดข้าวโพด ออกทั่วตัว
ส่วนไข้ทรพิษ เป็นไข้สูง เป็นเม็ดพองโต มีหนองมียอดสีดา แผลยุบมีรอยเป็นแผลเป็น
12. ไข้หัวลม คือ ไข้เกิดจากการเปลี่ยนอากาศ เช่น จากฝนเป็นหนาว
13. ยาแก้หวัด ใช้ พริกหอม ขิงแก่ ดอกดีปลี ลูกชักพลู ขมิ้นอ้อย เสมอภาคบดผงกิน
14. โรคกลาก ขึ้นเป็นขอบกลม เป็นเม็ดคัน เกลื้อน เป็นจุดเล็กๆ ขาวเป็นเชื้อรา หิดเป็นเม็ดขึ้นในที่ต่าหรือ ตาม
นิ้วมือนิ้วเท้าคันมาก
15. วัณโรคกับไข้รากสาก วัณโรคเจ็บหน้าอก ไอจาม ไอมีเลือดสาดออกมา น้าหนักตัวลด ติดต่อทางหายใจ ส่วน
ไข้รากสาด ไข้สูง ผมร่วง หัวโกร๋น ปวดหัวตัวร้อน ปวดท้อง ติดต่อทางเดินอาหาร
16. ไข้ตรีโทษณกับตรีทูต
ไข้ตรีโทษ คือ โทษ 3 อย่าง รวมกัน คือ บิตตะ วาตะ เสมหะ , หรือ กาเดา ลม เสมหะ กาเดา ลม โลหิต
, กาเดา เสมหะ โลหิต เกิดจาก บิตตะ วาตะ เสมหะ ครบ 29 วัน วันที่ 30 เป็นสันนิบาต
ตรีทูต เป็นไข้หนัก เกิดจาก กาเดา เสมหะ โลหิต และ ลม รวมกัน ให้โทษ คือ ตัวแข็ง หายใจขัด ชัก
คางแข็ง ลิ้นแข็ง เรียกอีกอย่างคือ มรณชวร
17. ลมกาฬสิงคลี เป็นเม็ด ดาแดง ขาวเขียว เหลืองขึ้นตามหน้าท้อง หน้าอก ไม่รู้สึกตัว หมดสติ
18. ลมมหาสดมภ์ เกิดจาก ความดันโลหิตสูง เส้นโลหิตแตก สมองประสาทมี เนื้องอก หรือเกิดจากโรคหัวใจเป็นลม
หมดสติ อาจถึงตาย
19. ลมทักขิณาโรธ เป็นไข้ แล้วเป็นลมคล้ายสันนิบาต
20. ลมซิวหาสดมภ์ลิ้นแข็ง อ้าปากไม่ขึ้น นอนกัดฟัน
21. ลมอินธนู ชักกระตุก แยกเขี้ยว กัดฟัน
22. ลมอัศวมุขี อ้าปาก ร้อง กระสับกระส่าย คล้ายลมบ้าหมู
23. ลมราทยักษ์ พุทธยักษ์ กุมภัณฑยักษ์ ชักกระตุก แยกเขี้ยว กัดฟัน ตาเหลือก ลมมีพิษหรือลมร้าย
เกิดจาก โรคประสาท ความดันโลหิตสูง สมองผิดปกติ (เนื้องอก) ความคิดฟุ้งซ่าน
24. ลมอัมพาต เกิดจากลมพัดขึ้นเบื้องบน กับ ลมพัดลงเบื้องต่าสวนกัน ทาให้เลือดร้อน เส้นแตกเส้นเสีย สาเหตุ
ความดันโลหติสูง เส้นตีบตัน ไขมันมากในเส้นเลือด สมองอักเสบ
25. อาเจียน เกิดจาก อาหารเป็นพิษ กินมาก เมารถ ไส้ติ่งอักเสบ มีครรภ์ เห็นของสกปรก พิษไข้
26. ท้องมาน เกิดจาก ธาตุวิปริต น้าเหลือง เข้าไปในท้อง กระเพาะลาไส้ ท้องโตบวม กินน้าส้มสายชู
ยาขับปัสสาวะจะยุบ
27. ลมตุราลาก หายใจขัด อึกอัก เม็นคาวคอ (ปัจจุบัน เกิดจากต่อมไร้ท่อ หรือ คอพอก )
28. ลมป่วง เกิดจากอาหารเป็นพิษ อาหารไม่ย่อย คลื่นเหียน อาเจียน ชักกระตุก ท้องเดิน เป็นลมตะคริว
29. ลมบ้าหมู เกิดจาก ประสาทของสมอง มีเนื้องอกจะต้องเจาะไขสันหลัง จะทาให้มีการชัก ลมบ้าหมู
เบาหวาน ความดันเป็นกรรมพันธุ์
30. สันนิบาติหน้าเพลิง เกิดกับสตรีผู้คลอดบุตร เป็นไข้ระหว่างอยู่ในเรือนไฟ
31. สันนิบาติสองคลอง มีอาการทั้งลงและราก เกิดจากโรคอหิวาต์ เหรือป่วงงู
32. อาหารใหม่ให้โทษกับป่วง อาการคล้ายกัน ป่วงไม่มีเชื้อ ส่วนอหิวาตกโณค มีเชื้อโรค รุนแรง กว่า ป่วงก็มี
ความรุนแรงไม่น้อยไปกว่าอหารใหม่ด้วยเหมือนกัน
33. ฝีสบาย คือ ต่อมถุงน้าดีมันโต(ซีด) เป็นก้อนโตตามผิวเนื้อกลิ้งไปมา โตตามตัว
34. เส้นเอ็นพิการ คือ เส้นขาด(อ่อนเพลีย) ตึง(สวิงสวาย) หย่อน (เหนื่อยอ่อน) ตีบตัน(ปวดทั่วร่างกาย)
35. เยื่อในกระดูกหรือไขกระดูก ผลิตเม็ดโลหิตแดง 100% เลี้ยงร่างกาย และเม็ดโลหิตขาว 3% ภูมิต้านทานโรค
36. ฝีเส้น (ไม่มีหนอง) ฝีประจาร้อย (คันทมาลา) เป็นที่คอ ฝีคัณฑสูตร เป็นที่ก้น
37. ม้าม เป็นสุสานของเลือด ทาลายเลือดที่ใช้แล้ว
38. แดกขึ้นแดกลง แน่นอก แน่ท้อง
39. ตับ มี 2 อย่าง คือ
(1) ตับอ่อน มีหน้าที่ ช่วยย่อยอาหารให้น้าดีไหลลงสู่ลาไส้เล็ก (น้าดี คือ อพัทธปิตตะ ดีนอกฝัก) พิการ
ธาตุธาตุเสีย อาหารไม่ย่อย ท้องขึ้นอืดเฟ้อ ซูบซีด
(2) ตับแก่ มีหน้าที่ สะสมอาหารไว้คราวจาเป็นสะสมน้าตาล ทาลายพิษ เหล้า บุหรี่ ผลิตน้าดี ไว้ในถุงเพื่อ
เลี้ยงร่างกาย พิการ
- ตับโต ตัวเหลือง ตาเหลือง
- ตับพอง กินมันจัด
- ตับทรุด ไข้มาลาเรีย ไข้ป้าง
- ตับแข็ง กินเหล้ามาก สูบบุหรี่มาก
- ตับเหี่ยว ขาดน้าตาลมาก
- อากาศชื้นที่ตับ ไวรัสลงตับ
40. นิ่วในไต เกิดจาก คนกินหมากมาก กินน้าบ่อ กินน้าตามภูเขา อาการ เจ็บเอว ขัดอก แน่นอก เบื่อ
อาหารลงท้อง ปัสสาวะเหลือง ปวดในลาลึงค์ ปัสสาวะที่ละน้อย
41. ฉทิโรค คือ การอาเจียน เกิดแต่โรค 6 อย่าง
( ดีพิการ ลมพิการ เสมหะพิการ เป็นไข้ ได้กลิ่นเหม็น แพ้ท้องหรือแพ้อากาศ)
42. สรุเภพ โรคไอเสียงแหบแห้ง
43. ดินสุทธิ ดินขาว
44. มะเขือฝรั่ง มะเขือเทศ
45. ลมอัณฑพาธ กล่อนลงฝัก
46. ผักชีละว้า ผักชีกระเหรียง
47. เจตมูลหนาม บอระเพ็ด
48. ลมเปรียวดา หรือ เกลียวดา คล้ายลมตะคริว เกิดจากความเย็นมาก
49. ทธิ นมส้ม
50. กระสารส้ม สารส้มสะตุ
51. เฉลว จิ้งเหลน
52. อัณฑะอุ้ง อัณฑะบวม
53. คนทีสอดา คนที่เขมา
54. ดอกคา ดอกคาไทย
55. สมออัพยา สมอไทย
56. สมอวิลันดา สมอเทศ
57. แก่นประคา ลูกประคาดีควาย
58. พันธุธหมาบ้า กระทุ้งหมาบ้า
59. ปูนฝง ปูนขาว
60. ลูกมะแหน สมอพิเภก
61. รากพิษงูงอก เถานาคราช
62. รากสะดึงช้างเผือก ขี้กาแดง
63. ร้องขาน เจ็บปวด
64. กระฟังอาต พญามือเหล็ก
65. ขี้โคที่เขาทาข้างท้อง คือ ขี้วัวดินผสมกับภาชนะบรรจุข้าวเปลือก
66. กระชับ ความเสื่อมโทรมของธาตุ 4 การเครียดตึงรัด ทาให้ร่างกายผอม
67. วุฒิกโรค โรคคนแก่ วุทธิโรค โรคอัณฑะโต
68. อุปปาติกโรค โรคเกิดขึ้นเอง
69. ระวิงระไว อาการไอและจาม
70. มองคร่อ หลอดลมโป่งพอง
71. ลมจับโปง ลมทาให้ปวดเมื่อยตามข้อต่างๆ
72. ไข้กาฬ ไข้ที่มีผื่นและเปลี่ยนแปลงทางผิวหนัง เม็ดเล็กถึงเม็ดใหญ่ ผิวหนังผื่นขึ้น
73. จุกกระเทียม ตั้นกระเทียมแห้ง
74. เสมหะกลัดเข้า เป็นก้อนกลมรวมกันเข้า
75. หิงค์ยางโพ มหาหิงค์อย่างดี
76. เบี้ยแก้ เบี้ยสีน้าตาลเป็นจุด
77. เบี้ยโป่ง เบี้ยโตขนาดกามือ
78. เบี้ยพองลม เปลือกบาง ข้างในกลวง
79. ไข้ชรา ไข้เรื้อรัง
80. กระถินแดง กระถินป่า
81. มาศ กามะถัน
82. สุรทะ ฤดูใบไม้ร่วง
83. ศศิระ ฤดูเยือกเย็น (หนาวจัด)
84. ลม 12 จาพวก คือ ลมอัมพฤกษ์ ลมอัมพาต ลมอุทธังคมาวาต ลมบาทยักษ์ ลมอัศวมุขี ลมปัสส
ฆาต ลมสันตฆาต ลมชิวหาสดุมภ์ ลมกระตุ้นฟ้า ลมไชยพฤกษ์ ลมกรรมชวาต ลมอัณฑพฤกษ์
85. ลมกาเดา วิงเวียน ศรีษะหนักซุน (เดินหัวทิ่ม)
86. ลมประโคมหิน บวมทุกข้อ มีพิษไหวตัวไม่ได้ ร้องไห้ทั้งกลางวัน กลางคืน
ตรีธาตุ (คัมภีร์ อายุรเวช )
ปิตตะ วาตะ เสมหะ

ธาตุ ตาแหน่ง
1 ปิตตะ (เตโช อัคนี ไฟ)
1.1 ปาจกะ (ย่อยอาหาร) อยู่ระหว่างลาไส้และกระเพาะ
1.2 รนชกะ (รสธาตุ) ตับ ม้าม
1.3 สาธกะ (ชีวิต จิตใจ) หัวใจ
1.4 อาโลกะ (นัยน์ตา) เยื่อในนัยน์ตา
1.5 ภราชกะ (ผิวพรรณ) หนัง

2 วาตะ ( วายุ วาโย ลม )


2.1 ปราณะ (อันทรีย์ โลหิต จิต) หัว คอ อก
2.2 อุทานะ (พูด) อก คอ ท้องส่วนบน
2.3 สมาน (ย่อยอาหาร) ท้องส่วนสะดือ กลางท้อง
2.4 วรยานะ (เส้น รู้สึก เคลื่อน หัวใจ ร่างกายทั่วไป
2.5 อปาน (ขับถ่าย มูละ) อุ้งเชิงกราน ส่วนล่างลงไป

3 เสมหะ ( อาโป น้า )


3.1 ถเลทกะ (ย่อยของแข็ง ) ปาก กระเพาะอาหาร
3.2 อวลัมพกะ (ช่วยหัวใจ) อก
3.3 โพธตะ (รู้รส) ปาก ลิ้น
3.4 ตรปตะ (เลี้ยงเบญจอินทรีย์) ศรีษะ
3.5 ศเลษตะ (ยึดอริยวะ) ข้อต่อกระดูก
1. ปิตตะ (พัทธปิตตะ ดีในฝัก อพัทธปิตตะ ดีนอกฝัก )
1.1 ย่อยอาหารจาก ต่อมน้าลาย ต่อมในกระเพาะทาน้าย่อย ตับอ่อนทาน้า ตับอ่อน ต่อมในลาไส้เล็ก
ตับทาน้าดี
1.2 ย่อยอาหารสัปตธาตุ ให้เป็น รสธาตุ (น้าย่อยอาหารหรือน้าเหลือง) รักธาตุ มางสะธาตุ (เนื้อหรือ
กล้ามเนื้อ) เมทธาตุ (เนื้อมันหรือไขมัน) อัมพิธาตุ (กระดูก) มัชธาตุ(ไขกระดูก) ศุกรธาตุ(น้าอสุจิ)
คือเป็น ไฟของสปตธาตุ
1.3 ลักษระของปิตตะ ข้นเหนียวเล็กน้อย ว่องไว ร้อน เบา มีกลิ่นคาวเลือด ซึมซาบเร็ว เหลว มีรสขม
ร้อน ดิบสีเขียว สุกสีเหลือง
1.4 อาการพิการของปิตตะ (ตามคัมภีร์อายุรเวช) มี 40 ประการ
ตามคัมภีร์แพทย์ศาสตร์ ได้กล่าวถึง อาการพิการของโรคปิตตะ เช่น
พัทธปิตตะพิการ เกิดจากดีซึม ดีพลุ่ง ดีล้น ดีรั่ว หาสติไม่ได้ อุจจาระ ปัสสาวะขัด เพ้อคลั่ง กิน
อาหารไม่อยู่ท้อง โลดโผนกระโจนไป กระพายน้า น้าลาย เหนียว มือเท้าเย็น แน่นอก ท้องลัน ร้อนใน
อก ร้อนตามท้อง อุจจาระสีแดง ปากแห้ง บริโภคอาหารไม่รู้รส ปัสสาวะเหลือง
อพัทธปิตตะ เป็นโรคกระเพาะ เจ็บปวดท้อง ร้อนในท้อง เป็นพรรดึก ท้องเป็นเถาดาน ตัวเหลือง
ตาเหลือง อุจจาระปัสาวะเหลือง ปวดหัวตัวร้อน เหลื่อไหล ร้อนในปาก ในคอในจมูก
2. วาตะ (เป็นธาตุลม 3 กอง )
2.1 ลักษณะ แห้ง เบา เย็น ขรุขระ แลไม่เห็นเคลื่อนไหว วาตะ มีรสฝาด
2.2 หน้าที่ ทาให้จิตใจปกติและไม่ปกติ มีหน้าที่เกี่ยวกับ เบญจอินทรีย์ อยู่ใน ศรีษะ อก หู ลิ้น ปาก
จมูก มีหน้าที่ควบคุมการเดินของโลหิต การหายใจ และการกลืนอาหาร มีหน้าที่ควบคุมการย่อยอาหาร อยู่ตาม
ท่อของต่อมเหงื่อ ควบคุมความร้อนของร่างกาย ควบคุมกระเพาะและลาไส้เล็ก ร่วมกับธาตุไฟ ถ้าพิการทาให้
เป็นบิด มีหน้าที่ ควบคุมการขับถ่าย อยู่ที่หัวเหน่า กระเพาะปัสสาวะ ลูกอัณฑะ สะดือ สะเอว โคนขา ทวาร
หนัก ทาและหลังน้ากาม อุจจาระ ปัสสาวะ ขับโลหิตระดูสตรี และลมเบ่ง มีหน้าที่ ควบคุมเส้นหรือท่อโลหิต
ความรู้สึกและความเคลื่อนไหว มีอยู่ทั่วร่างกาย ควบคุมการไหลของเลือด น้าเหลือง ขับเหงื่อ การยืดหดของ
กล้ามเนื้อ การกะพริบตา และการอื่นๆ มีหน้าทีในการพูด อยู่ที่บริเวณสะดือ อก คอ
2.3 ถ้าพิการ ลมพิการ (ตามคัมภีร์ อายุรเวชมี 80 ) ตามคัมภีร์ศาสตร์ มีอาการตามชื่อของลมต่างๆ
หรือมีอาการตามที่สิงอยู่ในอวัยวะทั้งปวง หรือตามที่สิงในธาตุ 4 ประการ เช่น ปวดตามข้อตามหัวเหน่า ทาให้
แผลเปื่อย ดากออก ขี้แตก ปวดบวม เสียจริต แน่นอก เจ็บอก คอเอียงแข็ง เสียงแหบแห้ง ลมทาให้ตาพร่า
หูอื้อ จมูกไม่ได้กลิ่น ลิ้นไม่รู้รส ทาให้เป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต ทาให้ชัก ทาให้สลบ ทาให้ปวดทั่วร่างกาย ทาให้
อาเจียน ทาให้ท้องขึ้นอื่ดเฟ้อ เป็นต้น
3. เสมหะ (ศอเสมหะ อุระเสมหะ คูถเสมหะ )
3.1 ลักษณะ เหนียวมาก เย็น หน้า แช่มช้า อ่อน ลื่น สถิตย์นิ่ง ดิบมีรสเค็ม สุกมีรสหวาน
3.2 ที่ตั้งมีอยู่ทั่วไปในร่างกาย แต่ที่สาคัญอยู่ที คอ(ศอเสมหะ) อก(อุระเสมหะ) คูถทวาร (คูถเสมหะ)
หรือ ที่หัว(หลอดลม) ข้อกระดูก กระเพาะอาหาร รสธาตุ(น้าหนอง) เมทธาตุ(ไขมันหรือเนื้อมัน) จมูก ลิ้น
เป็นต้น
3.3 หน้าที่ อยู่ในหัวใจ ในอก ข้อต่อ ช่วยเลี้ยงหัวใจ ช่วยความชุ่มชื้นแก่ อวัยวะทั่วไป
หน้าที่ อยู่ในกระเพาะช่วยย่อยอาหารแข็ง ให้เป็นของเหลว
หน้าที่ อยู่ที่ลิ้นช่วยทาให้รู้รสอาหาร
หน้าที่ อยู่ในศรีษะ ช่วยบารุงเลี้ยงเบญอินทรีย์ (ประสาททั้ง5)
หน้าที่ ตามข้อกระดูก ช่วยยึดอวัยวะให้กระชับ
3.4 เสมหะ กาเริบ หย่อน พิการ มีอาการ
- เสมหะกาเริบ มึนงง หนาวสั่น น้าลายมาก ไอ หอบ หืด นอนหลับกลางวัน ขี้เกียจมาก
อยากินอาหารที่หนัก หรือที่ย่อยยาก อยากอาหาร หวานจัด เปรี้ยวจัด เค็มจัด ชอบกินจุกจิก ชอบอาหาร
แป้งต่างๆ ที่ทาด้วยน้าอ้อย ชอบเนื้อสัตว์ เมล็ดบัว เป็นต้น เซื่องซึมซบเซา
- เสมหะหย่อน หนังแห้ง หน้ามืด ร้อนในร่างกาย กระหายน้า หัวใจสั่น กระดูกหลวม
อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ (คัมภีร์อายุระวชมี 20 ประการ )
- เสมหะพิการ เนื้อตัวเป็นมัน แข็ง มึนงง ขี้เกียจ คันตามร่างกาย นอนหลับมาก ไฟธาตุไม่
ย่อยอาหาร บวม บางแห่ง เชื่องช้า เคลื่นไหวช้า ไม่ว่องไว ชา บวม รู้สึกเหมือนมีอะไรมารัดร่างกาย
ในปากรู้สึกหวานเค็ม
4. โลหิต (โลหิตแดง โลหิตดา โลหิตขาว )
โลหิตพิการ ปวดศรีษะ ตาแดง ปัสสาวะแดงเป็นสายโลหิต หนักหน้าผาก ผุดขึ้นภายนอก เป็นวง
แดง เขียว เหลือง เป็นเม็ด เป็นผื่นเป็นแผ่น เป็นปึ้น เป็นฝี เป็นหนอง กระทาพิษให้ลงเป็นโลหิต
อาเจียน คลุ้มคลั่ง ละเมอ เพ้อ ชักมือ กาเท้ากา ผิวหนังแดง ผิวหนังอักเสบ เป็นไฟลามทุ่ง เป็นไข้
พิษไข้กาฬ เป็นโรคฝี เป็นโรคเรื้อน ไอ เยี่ยวเป็นเลือด โรคเลือดออก เป็นก้อนทูมนในท้อง เป็นเม็ด
เป็นก้อน ที่ลาไส้ใหญ่ เงือกอักเสบเลือดออกตามเหงือก เป็นฝ้าตกกระด่างดา ตามใบหน้า หรือเป็นแผ่น
ตัวแดง เขียว เหลืองตามร่างกาย ปากแห้ง น้าลายเหนียว
5. กาเดา ( เปลวแห่งความร้อน )
อาการปวดหัวหนัก ตัวร้อน หน้าแดง นัยน์ตาแดง ดั่งโลหิต เจ็บตามผิวหนัง ร้อนในกระวนกระวาย
ลงท้อง กระหายน้า เจ็บในปากในคอ อาเจียน นอนไม่หลับ จิตฟุ้งซ่าน ปากขม ผิวหนังแตกระแหง
ตัวเหลือง คลุ้มคลั่ง จิตหวัน่ ไหว ปัสสาวะแดง ฟันแห้ง

You might also like