You are on page 1of 4

1

สรุปสอบปลายภาค สังคม ม.4 เทอมต้น


เมืองไทย รัฐ เหนือรัฐ
รัฐธรรมนูญ 2560 องค์ประกอบ รัฐอื่นๆ ในโลก
- รัฐธรรมนูญ คือ กติกาที่ประชาชนตกลงกันว่าจะแบ่ง - รัฐ คือ ชุมชนทางการเมือง แต่ละยุคแต่ละพืน้ ที่มเี นื้อหาไม่ - ในโลกของการเมือง กระบวนการ “ดีล” อานาจมันมีหลายวิธีมาก ดังนัน้
อานาจกันยังไง เหมือนกับในห้องเรียนก็ต้องมีกติกา แต่ เหมือนกัน ระบอบการปกครองก็เลยมีให้เลือกเต็มไปหมด
จะเขียนขึ้นมาชัดๆ หรือเปล่าก็อกี เรื่อง - รัฐสมัยใหม่ (นิยามนี้ใหม่ใช้กันทั้งโลก) คือ ต้องมี (ก) พื้นที่ชัดเจน (ข) - ข้อคิดคานึงก็คือ ถ้านิสยั ระบอบไม่ตรงกับลักษณะนิสยั ของประชาชน ระบอบก็ไม่
- แต่ในระดับชาติ ใครคือ “ประชาชน” ก็อีกเรือ่ งเหมือนกัน พลเมืองที่มีสัญชาติชัดเจน (ค) รัฐบาลที่ชัดเจน (ง) มีอานาจอธิปไตย – น่าจะอยู่ได้สบายๆ
- รัฐธรรมนูญไทย (พ.ศ.2475 - ปัจจุบนั ) มีรวมกัน 20 ฉบับ แต่เป็นเอกราชหรือไม่ก็อกี เรื่องหนึ่ง - บางที่ชอบให้ผู้ปกครองมีอานาจเต็ม ยิง่ มีอานาจเยอะยิ่งดี ประเทศเหล่านี้เป็น “เผด็จ
แสดงว่ากติกาของประเทศนี้ไม่หนักแน่นพอ - ในหลายพื้นที่ที่โลกมีความขัดแย้งกันรุนแรง เช่น ใน แอฟริกาบางโซน รัฐ การ” ผูน้ าอาจมาจากหัวหน้ากองทหาร หรือกลุ่มการเมืองอะไรสักอย่าง หรือจะเป็น
- เนื้อหามีเยอะมากจนต้องแบ่งเป็นหมวด ฉบับ 2560 มีตั้ง 16 บางรัฐก็ล้มเหลว เพราะองค์ประกอบทัง้ สี่ข้อมันล้มเหลว ประมุขของราชวงศ์ก็ได้ ถ้าเป็นอย่างหลังเรียกว่า “สมบูรณายาสิทธิราชย์” (บรูไน ซาอุ
หมวด 279 มาตรา - เกี่ยวกับข้อ (ง) อานาจอธิปไตยเป็นเรือ่ งที่เป็นนามธรรมที่สุด และชวน ฯ โอมาน)
- เป็นรัฐธรรมนูญที่มีลกั ษณะพิเศษหลายอย่าง (ไม่ขอกล่าวใน ทะเลาะมากที่สุด เพราะทุกคนสามารถอธิบายได้ในแบบของตัวเอง เช่น - ถ้าผู้มีอานาจต้องการให้อานาจกระชับมากๆ และสืบทอดอานาจไปอีกนานแสนนาน ก็
ที่นี้) อานาจอธิปไตยเป็นของใคร ผู้ใช้อานาจนั้นจะหามาได้จากไหน ฯลฯ จะควบคุมชีวิตประชาชนเบ็ดเสร็จ เรียกระบอบนี้ว่า “เผด็จการเบ็ดเสร็จ” ปัจจุบนั ไม่
- แต่หมวดที่อยู่ยงคงกระพันมีไม่กี่หมวด เช่น รูปแบบรัฐ - ดังนั้น บางอย่างที่เรารู้สึกว่ามันสาคัญหรือ “ใหญ่” มาก ก็อาจจะไม่จาเป็น มีแล้ว
พระมหากษัตริย์ สิทธิเสรีภาพ หน้าที่ของปวงชนชาวไทย กับรัฐ (คือ วันหน้าไม่มีมนั รัฐก็อยู่ได้) เช่น ประมุข (ฝรั่งเศสเคยอยูก่ ัน - ถ้าผู้มีอานาจต้องการแค่ให้อานาจอยู่กบั ตัว กระบวนการแทรกแซงชีวิตประชาชนน่ะมี
อานาจรัฐ แบบไม่มีประมุข) กองทัพ (คอสตาริกาไม่มีกองทัพ) รัฐสภา (ไทย/ซาอุ/ เหมือนกัน แต่ไม่มีประสิทธิภาพมาก เรียก “เผด็จการอานาจนิยม” เช่น ไทย
- หน้าที่บางอย่างก็ชัดเจนอยู่แล้วแม้เปลีย่ นรัฐธรรมนูญ เช่น เมื่อ บรูไนก็ไม่มี) - ถ้าผู้มีอานาจเชื่อว่าตนเองควรจะถูกจากัดอานาจไม่ให้มีมากเกินไป ก็จะทาสัญญากับ
อายุถึงก็ต้องไปรายงานตัวเป็นทหารกองเกิน (18 ปี) และรับ - รัฐบาลในฐานะผู้ใช้อานาจรัฐ ต้องควบคุมควบคุมพื้นที่ (ผ่านเจ้าหน้าที่ฝ่าย ประชาชนที่เรียกว่ารัฐธรรมนูญ และพยายามหาความสนับสนุนบางอย่างจากประชาชน
การคัดเลือก (20 ปี) ทาบัตรประชาชน (7 ปี) ความมั่นคง)และพลเมือง (ผ่านมหาดไทย) ของตนเองให้อยู่หมัด กลไกนี้ ในการเข้าสู่อานาจ
- บางอย่างดูเหมือนหน้าที่แต่จริงๆ แล้วเป็นสิทธิ เช่น การไป เรียกอย่างเหมารวมง่ายๆ ว่า “การปกครอง” - ถ้าประชาชน เลือกผู้แทน ผู้แทนเลือกนายก (ผู้นาฝ่ายบริหาร) – ระบบรัฐสภา เช่น
เลือกตั้ง การลงคะแนนประชามติ - จะปกครองกันยังไงเป็นสิ่งที่ “ดีล” กันได้ ถ้าประเทศหนึ่งๆ มีท้องถิน่ ที่ ญี่ปุ่น อังกฤษ
ทรงพลังหรือมีความเป็นอยู่แตกต่างกันมาก ๆ ก็อาจจะต้องยอมให้มี - ถ้าประชาชน เลือกประธานาธิบดี (ประมุข) เรียก – ระบบประธานาธิบดี เช่น
องค์กรตามรัฐธรรมนูญ 2560 รัฐบาลหลายกลุม่ ด้วยการแปลงสภาพให้เป็น “รัฐรวม” คือ มีรัฐบาล สหรัฐฯ ฟิลิปปินส์ พม่า
- รัฐธรรมนูญต้องรองรับผูม้ ีบทบาททางการเมืองให้ครบ ถ้า ท้องถิ่นและมีรัฐบาลกลาง งานสาคัญๆ ส่วนกลางทาเอง คือ การคลัง การ - ถ้าประธานาธิบดีที่มาจากการเลือกตั้ง ตั้งนายกฯ เอง เรียก – ระบบกึ่งประธานาธิบดี
ไม่รับรองใครแสดงว่าโดนถีบออกจากวงเรียบร้อยแล้ว ต่างประเทศ การทหาร เช่น มาเลเซีย สหรัฐฯ อินเดีย รัสเซีย เช่น ฝรั่งเศส
- รัฐไทย เป็นรัฐเดีย่ ว (มาตรา 1 ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักร - เมืองไทยเป็น “รัฐเดี่ยว” มีรัฐบาลศูนย์กลางที่เดียว รัฐที่ กทม. ใช้อานาจ - มีอานาจตุลาการและองค์กรอิสระต่าง ๆ ควบคุมการใช้อานาจ
อันหนึ่งอันเดียว จะแบ่งแยกมิได้) ปกครองรอบๆ “กระจาย/แบ่งอานาจ” ให้ แต่ไม่ได้มีฐานะเป็นรัฐบาล
- มีรัฐบาล ศาล รัฐสภา เรื่อยไปถึงองค์กรอิสระ องค์การระหว่างประเทศ – สิ่งที่มีอานาจยิ่งกว่ารัฐซะอีก
- รัฐสภา มีสองสภาซ้อนอยู่ข้างใน คือ (ก) สภาผู้แทนราษฎร ระบอบประชาธิปไตย - สงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นเหตุการณ์สาคัญทีใ่ ห้กาเนิดอะไรหลายๆ อย่างที่เห็นๆ
สมาชิกเรียกว่า ส.ส. มาจากการเลือกตั้ง เอาไว้ผ่านกฎหมาย - เป็นระบอบที่ (ตามทฤษฎี) ให้ประชาชนเป็นเจ้าของอานาจอธิปไตย เสียง กันอยู่ในปัจจุบัน ตอนนัน้ ยุโรปไม่สามารถกลับมาเป็นผู้นาโลกได้อีกเพราะความย่อย
(ข) สมาชิกวุฒิสภา เอาไว้กรองกฎหมาย มาจากการหากันเอง ข้างมากปกครอง แต่เคารพเสียงข้างน้อยด้วย นั่นหมายความว่าต่อให้มี ยับในสงคราม อเมริกาและโซเวียตผงาดขึ้นมาแทน บรรดาผู้ชนะสงครามครั้งนั้น
จนได้ 200 คน ฐานะต่าต้อยแค่ไหนก็เท่าเทียมกับคนรวยและคนมีอานาจ ฟังดูมันก็ดีไม่ใช่ ประกาศตั้ง “องค์การสหประชาชาติ” (UN) เพื่อเป็นศูนย์กลางการเมืองระหว่าง
หรือ? – คือว่าในทางปฏิบัติมนั มีปัญหา...
2
สรุปสอบปลายภาค สังคม ม.4 เทอมต้น
เมืองไทย รัฐ เหนือรัฐ
- ศาล มีหลายศาล ถ้าศาลทั่วๆไปที่เราเข้าใจ เรียก ศาลยุติธรรม - เกี่ยวกับโครงสร้างประชาธิปไตยไทย สถาบันที่อยูย่ งคงกระพันในการ ประเทศแห่งใหม่ เจตนาคือ การที่รัฐจะทะเลาะกันมันห้ามไม่ได้ แต่ถ้ามีพนื้ ที่มีกติกาที่
มีสามชั้น ชั้นต้น ชั้นอุทธรณ์ ชั้นฎีกา ถ้าฎีกาตัดสินแล้วก็ว่าไป เมืองไทยมีอยู่ไม่กี่กลุ่ม ได้แก่ สถาบันประมุข (องค์การ = ยุติธรรมให้ก็น่าจะทาให้สันติภาพดารงอยู่ได้
ตามนั้น พระมหากษัตริย์) สถาบันอานาจบริหาร (องค์การ = คณะรัฐมนตรี) - ไทย เกือบไม่ได้เข้าร่วม เพราะมีปัญหากับสหภาพโซเวียต โชคดีได้เส้นสหรัฐฯ ช่วยไว้
- ศาลรัฐธรรมนูญ เวลาสับสนก็เอาไว้ตีความรัฐธรรมนูญ สถาบันอานาจตุลาการ (องค์การ = ศาล) สถาบันอานาจนิติบัญญัติ - ที่ UN ก็ให้กาเนิดองค์กรยิบย่อยอีกมากมายเพื่อปกครองโลกให้ครบในทุกมิติ เช่น
- ศาลปกครอง เอาไว้ตัดสินคดีที่เกิดขึ้นในการปกครอง ส่วนใหญ่ (องค์การ = รัฐสภา) เศรษฐกิจ มีองค์การการค้าโลก (WTO) ธนาคารโลก ด้านสังคม มี UNESCO กับ
มักเกิดจากหน่วยงานทะเลาะกันเอง หรือไม่ก็ทะเลาะกับ - (ตามทฤษฎี) ประชาชนเป็นเจ้าของอานาจอธิปไตย จึงตั้งกติกาที่ชื่อว่า สารพัดกฎหมายปกป้องสิ่งแวดล้อม RAMSAR CITES ฯลฯ
ชาวบ้าน “รัฐธรรมนูญ” ไว้ แต่พระมหากษัตริยเ์ ป็นผู้ตรา และใช้อานาจนัน้ ผ่านทาง - ทั้งนี้ UN ไม่ได้ห้าม ถ้าประเทศต่างๆ จะตั้ง “กลุ่ม” กันเองนอกเหนือ UN เงื่อนไข
- ศาลทหาร เอาไว้ตัดสินคดีที่ทหารเป็นจาเลย แต่ปจั จุบันศาล องค์การทั้งสาม (คณะรัฐมนตรี ฯลฯ) ซึ่งผูกพันกันตามทฤษฎีแบ่งแยก มีแค่ห้ามตั้งกลุม่ ตีรนั ฟันแทง หลังจากตั้งองค์การการค้าโลก (WTO) ตั้งแล้ว องค์การ
ทหารมีอานาจมากหน่อย อานาจ แล้วก็มีองค์กรอิสระที่ผุดขึ้นมาอีกเพื่อทาการตรวจสอบความ นี้ไม่สนับสนุนการฮั้วทุกรูปแบบ ก็เลยไม่อนุญาตให้ตั้งกลุ่มที่เอาไว้ฮั้วราคาสินค้ากันเอง
โปร่งใสของการใช้อานาจรัฐ ทักษิณเคยจะทากลุม่ ตั้งราคาข้าวบ้างก็เลยทาไม่ได้ แต่มีอยู่กลุม่ เดียวที่ไม่กล้าเล่นด้วย
องค์กรอิสระ - พระมหากษัตริยม์ ีบทบาทที่ค่อนข้างพิเศษ เมื่อเทียบกับประเทศอื่น เพราะ คือ OPEC ซึ่งกาหนดราคาน้ามัน ใครจะกล้า?
- บางทีงานศาลก็ไม่ครอบคลุม ที่นี่ ไอเดียเกีย่ วกับการพัฒนารับของในหลวงมาปฏิบตั ิ (ที่อื่นเขาไม่ค่อยมี - องค์การการค้าโลก มีไว้เพื่อสนับสนุนการค้าเสรี ทลายทุกกาแพงภาษีหรือมาตรการ
- ปปช. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ แบบนี้) ป้องกันธุรกิจ ตลอดจนไว้ตัดสินกรณีพิพาททางการค้ารหว่างประเทศ องค์การนี้เชื่อว่า
ไว้ปราบทุจริต นักการเมือง ข้าราชการ ฯลฯ ถ้ารัฐไม่อุ้มธุรกิจ ธุรกิจในประเทศก็จะแข็งแรงเพราะต้องเลีย้ งตนเองให้ได้ จนเกิดการ
- สตง. สานักการตรวจเงินแผ่นดิน ไว้ตรวจสอบบัญชีหน่วยงาน การปกครอง ปรับปรุงการผลิต ในทางปฏิบัติมกั ไม่เป็นแบบนั้นและมักทาให้องค์กรนี้โดนด่าประจา
ของรัฐ - การปกครองมีหลายระดับ - อาเซียน (ASEAN) มีอายุนอ้ ยกว่า UN มาก เกิดจากการรวมกลุม่ กันเองของ
- ผผ. ผู้ตรวจการแผ่นดิน ไว้ให้ชาวบ้านร้องเรียนเวลาเจ้าหน้าที่ - การปกครองส่วนกลาง คือ ระบบการบริหารที่ส่วนกลางของประเทศ เป็น ประเทศในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพื่อต้านคอมมิวนิสต์ โดยตั้งกันที่กรุงเทพฯ
สร้างความเดือดร้อนหรือไม่เป็นธรรม กลไกของรัฐบาลในการกาหนดนโยบาย กลไกพวกนีป้ กครองกันเป็นลาดับ นี่เอง
- กกต. คณะกรรมการเลือกตั้ง ไว้จัดการเลือกตั้งให้บริสุทธิ์ ขั้นแบบพีระมิด หน่วยงานระดับท็อปๆ คือ กระทรวง ทบวง และกรม
- กสม. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ไว้ดูแลเรื่องการ ตามลาดับ ต่ากว่านั้นก็กอง แผนก ฯลฯ สิทธิมนุษยชน
ละเมิดสิทธิมนุษยชน - การปกครองส่วนกลางมีข้อดีคือมีเอกภาพ แต่ข้อเสียคืออุ้ยอ้ายเหลือทน ถ้า - แนวคิดนี้ “ป๊อป” หลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 เพราะในระหว่างสงคราม มีการ
จะปกครองทั้งประเทศแบบสั่งการอย่างเดียวก็คงไม่ไหว แม้รัฐมนตรีมกั จะ ละเมิด “ความเป็นมนุษย์” สูงมาก
ระบบกฎหมายไทย มาจากการเลือกตั้ง แต่ต่ากว่ารัฐมนตรีคือปลัดกระทรวงนั้นมาจากการ - สหประชาชาติ (UN) ออก “ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน” เพื่อคุ้มครอง
- กฎหมายมีหลายระบบ บางอย่างพูดแต่สาระ เรียก “สาร แต่งตั้ง ไม่ให้เกิดอะไรแบบในระหว่างสงครามโลกอีก เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ต่อมา
บัญญัติ” บางอย่างพูดถึงวิธีการ เรียก “วิธสี บัญญัต”ิ - การปกครองส่วนภูมิภาค จึงเกิดขึ้น โดยหลักการ “แบ่งอานาจ” คือ แบ่ง ประกาศให้วันนี้เป็นวันสิทธิ ฯ สากล
- รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด อะไรขัดกับมันถือว่าใช้ไม่ได้ อานาจบางส่วนออกไปตั้งเป็นหน่วยงานในภูมภิ าค เช่น กระทรวงศึกษาก็มี - ไทยเป็นสมาชิกของ UN เลยต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขนี้ด้วย โดยใส่ไว้ใน
มันกาหนด “แก่นสาร” แต่มันก็มีส่วนที่พูดถึงกระบวนการด้วย เขตพื้นที่การศึกษากระจายทั่วประเทศ ของพรหมาฯ อยู่ในเขตมัธยมที่ 10 รัฐธรรมนูญ แต่ในทางปฏิบัตนิ ั้นจะทาตามหรือไม่ก็อีกเรื่องหนึ่ง
เช่นนั้น จะให้มันเป็นอะไรดี? ถ้าของมหาดไทยก็มจี ังหวัด อาเภอ ตาบล ข้าราชการก็มีตาแหน่งเป็นผู้ว่าฯ - เป็นสิทธิที่ติดตัวมากับมนุษย์ตั้งแต่กาเนิด (ได้มาตามธรรมชาติ)
- รองจากรัฐธรรมนูญลงไปคือ (พ.ร.บ.)พระราชบัญญัติ (พ.ร.ก.) นายอาเภอ และกานันตามลาดับ คนพวกนี้มาจากการแต่งตั้ง - เพราะรัฐบาลกับ (ทุกสมัย) ไม่คอยแคร์เรื่องสิทธิฯ เท่าไหร่ในทางปฏิบัติ เลยต้อง
พระราชกาหนด (พ.ร.ฎ.) พระราชกฤษฎีกา และกฎที่ - แต่การปกครองส่วนภูมิภาคแม้จะใกล้ชิดกับประชาชนมากขึ้น แต่ก็ไม่ได้ มีองค์กรอิสระขึ้นมาอีกหนึง่ ชุด ชื่อ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.)
หน่วยงานต่างๆ ตั้งขึ้นเอง สะท้อนความต้องการที่แท้จริงแต่ประการใด
3
สรุปสอบปลายภาค สังคม ม.4 เทอมต้น
เมืองไทย รัฐ เหนือรัฐ
- พ.ร.บ. ที่กระทบกับชีวิตเรามากที่สุดอันหนึ่ง คือ ประมวล - โดยใช้หลัก “กระจายอานาจ” เลยมี การปกครองส่วนท้องถิ่น ในแต่ละ - แนวคิดของสิทธิมนุษยชน ต่อต้านการเหมารวมและเหยียดเชื้อชาติ ศาสนา การ
กฎหมายอาญา (ป.อ.) ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ท้องที่ก็จะตั้ง องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) องค์การบริหารส่วน จัดการปัญหาของรัฐในปัจจุบันจึงต้องเคารพต่อหลักการนี้ด้วย และต้องปฏิบตั ิต่อ
(ป.พ.) และประมวลรัษฎากร (ป.ฎ.) พวกนี้ส่วนมากเป็น ตาบล (อบต.) ขึ้นมา และมีการปกครองส่วนท้องถิ่นแบบพิเศษ คือ พัทยา มนุษย์ด้วยความมีเมตตาธรรม (เช่น โรฮิงยา การทรมานผู้ต้องหา ฆ่าตัดตอน
กฎหมายวิธีสบัญญัติ คือ บอกกระบวนการชัดเจนมากว่าต้อง กับกทม. ปราบผู้ชมุ นุม ฯลฯ)
ทาอะไรและไม่ต้องทาอะไร - หน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่นมีการแบ่งสัดส่วนภายใน มีองค์การฝ่าย
- วิธีการแบ่งประเภทกฎหมายอีกแบบ คือ กฎหมายมหาชน กับ บริหารและมีสภาของตัวเอง ดังนั้น นีค่ ือสนามฝึกฝนการปกครองใน
กฎหมายเอกชน กฎหมายมหาชนหลักๆ เน้นไปที่ผลประโยชน์ ระบอบประชาธิปไตยที่ดีที่สุด
สาธารณะ จึงมักเกีย่ วกับเรื่องรัฐ ขณะที่กฎหมายเอกชนเน้นไป
ที่ผลประโยชน์ของบุคคลมากกว่า ดังนัน้ รัฐธรรมนูญจึงพูดได้
ค่อนข้างเต็มปากว่าเป็นกฎหมายมหาชน

เนื้อหาประมวลกฎหมายสาหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ประมวลกฎหมายแพ่ง (และพาณิชย์)
- ตรรกะของกฎหมายอาญา คือ มีไว้เพือ่ รักษาความสงบ ใครละเมิดความสงบคนนั้นปล่อยไว้ไม่ได้ ส่วนมากก็ยอมความก็ไม่ได้อีก แบ่งออกเป็นสามฐาน คือ ชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สนิ
- เช่น ฆ่าโดยเจตนา ทาร้ายร่างกาย ข่มขืน ลักทรัพย์ (ลับหลัง) วิ่งราว/ชิง/กรรโชก (ต่อหน้า) ปล้น (3 คนขึ้นไป)
- ละเมิดอาญาต้องเจอโทษ 5 สถาน ได้แก่ ประหารชีวิต จาคุก กักขัง ปรับ ริบทรัพย์สิน อ้างว่าไม่รู้ก็ไม่ได้
ประมวลกฎหมายแพ่ง (และพาณิชย์) ประมวลกฎหมาย (แพ่งและ) พาณิชย์ ประมวลรัษฎากร
- ตรรกะของประมวลแพ่ง คือ รวมทัง้ กาหนดโครงสร้างทาง - หลักๆ พูดถึงเรื่อง “ทรัพย์” เงินๆ ทองๆ - หลักๆ พูดถึงเรื่อง ภาษี และวิธีคานวณภาษี
สังคม เช่น บุคคล ครอบครัว การแต่งงาน หย่าร้าง - ตรรกะของประมวลพาณิชย์เพื่อบอกว่าคุ้มครองกรรมสิทธิของบุคคลใน - ภาษีมีหลายแบบ ต่อไปนี้เก็บโดยส่วนกลาง เช่น
- การกระทาของบุคคลในทางกฎหมายเราเรียก “นิติกรรม” ขอ สินทรัพย์ และเพื่อคุม้ ครองให้เกิดความเป็นธรรม เช่น หนี้ เอกเทศสัญญา - ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เก็บกับบุคคลทั่วไป
แค่ไม่ขัดกับกฎหมายและเป็นไปตามสมัครใจก็ใช้ได้ ทรัพย์สนิ มรดก - ภาษีเงินได้นิติบุคคล เก็บกับนิตบิ ุคคล
- บางคนถึงสมัครใจก็ทานิติกรรมไม่ได้ นั่นก็เพื่อป้องกันการถูก - ละเมิดแพ่ง/พาณิชย์ แค่จ่ายค่าเสียหายคืนไป เพราะไม่ได้กระทาต่อรัฐ - ภาษีสรรพสามิต เก็บกับของฟุม่ เฟือย เช่น เหล้า
เอาเปรียบ คนพวกนีเ้ รียก บุคคลไร้ความสามารถ เช่น เป็นอัล (แต่รัฐเป็นคูก่ รณีได้ ถ้าจะเป็น) ดังนัน้ ในหลายครั้งจึงเกิดการ - ภาษีมูลค่าเพิม่ VAT เก็บกับกาไรของผู้ผลิต ผู้ผลิตเลยผลักภาระให้ผู้บริโภคด้วยการ
ไซเมอร์ หรือเป็นเด็กอายุยังน้อย ฯลฯ คนที่ตกอยู่ในสถานะนี้ ประนีประนอมกันได้ เอาไปใส่ไว้ในราคาสินค้าทุกชนิด 7%
ต้องมีผู้พิทักษ์ ตัดสินใจอะไรเองไม่ได้ยกเว้นพินัยกรรม ใน - ทรัพย์มีสองแบบ เรียกอสังหาริมทรัพย์ (เคลื่อนที่ไม่ได้) เช่น ที่ดิน บ้าน - ภาษีส่วนที่จัดเก็บโดยส่วนท้องถิ่น เช่น ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบารุงท้องที่ ภาษี
กรณีของเด็กก็คือพ่อแม่ เรียก “ผูป้ กครอง” กับ สังหาริมทรัพย์ (เคลื่อนได้) เช่น คอมพิวเตอร์ ข้าวของต่างๆ สังหา ฯ ป้าย อากรรังนกนางแอ่น
- คนที่กฎหมายให้สิทธิในการตัดสินใจด้วยตนเอง คือ บรรลุนิติ พิเศษ เช่น เรือที่ขนาดใหญ่กว่า 6 ตัน สัตว์พาหนะ เรือนแพ เคลื่อนที่ได้
ภาวะแล้ว คือมีอายุ 20 ปีบริบรู ณ์ แต่ไม่น่ามีใครเคลื่อนไหว
- พินัยกรรมเป็นนิติกรรมที่ต้องทาเอง คนอื่นทาแทนไม่ได้ และ - สังหาพิเศษ + อสังหา เพราะมีราคาสูงมาก ต้องไปจดทะเบียนเวลาซื้อขาย
ต้องทาเมื่อมีสติสมั ปชัญญะสมบูรณ์ ยกเว้นแต่คนนั้นอายุต่า
กว่า 15 ปี (กฎหมายถือว่ายังคิดเองไม่ได้)
4
สรุปสอบปลายภาค สังคม ม.4 เทอมต้น
เมืองไทย รัฐ เหนือรัฐ
ประมวลกฎหมายแพ่ง (และพาณิชย์) – ต่อ ประมวลกฎหมาย (แพ่งและ) พาณิชย์ – ต่อ
- นิติกรรมบางอย่างต้องทาเป็นสัญญาลายลักษณ์อักษร เรือ่ ง - อสังหาฯ ถ้าเราครอบครองของคนอื่นมานานเกิน 10 ปี แล้ว ขอ
จิ๊บจ๊อยหลายอย่างไม่ต้องทาเป็นสัญญาก็ได้ เช่น ไปซื้อขนมจีบ “ครอบครองปรปักษ์” ได้ คือ ยึดไปเลย เพราะกฎหมายไม่อยากให้อสังหา
ที่เซเว่น แต่เรื่องใหญ่ เช่น ถ้ายืมเงินต้องมีมูลค่าเกินกว่า มันนิ่งเกินไป
2,000 บาท จึงจะฟ้องร้องได้ ถ้าซื้อขายอสังหาฯ /สังหาพิเศษ - กิจกรรมทางธุรกิจแบบแปลกๆ กฎหมายก็ต้องตามให้ทัน
ต้องทาสัญญาและต้องจดทะเบียนต่อเจ้าหน้าที่ - ซื้อขาย : ก็ธรรมดา แต่ถ้ามูลค่ามันสูงหรือทากับอสังหาฯ ก็ต้องทาเป็น
- ชีวิตครอบครัวก็กาหนดโดยประมวลแพ่ง แต่งงานได้ตอน 17 หนังสือต่อเจ้าหน้าที่ เพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายโดยไม่เป็นธรรม
รับลูกบุญธรรมได้อายุต้องห่างกัน 15 ปี ฯลฯ - เช่าซื้อ : โดยสรุปก็คือการซื้อของเงินผ่อน
- แต่งงานกันตามกฎหมายต้องจดทะเบียน เวลาหย่าจะเกิดการ - ขายฝาก : โดยสรุปคือการขายอสังหาฯ ให้เขาไปก่อน แต่ถ้าระหว่างนี้หา
แบ่ง “สินสมรส” คือ ทรัพย์และดอกผลที่เกิดขึ้นระหว่างที่ เงินมาจ่ายเป็นงวดๆ ก็มีสิทธิได้ของคืน
แต่งงานมาด้วยกัน ทีม่ ีก่อนนั้นเรียก “สินส่วนตัว” - จานอง : จะคล้ายกับขายฝาก คือ เอาอสังหาฯ ไปค้าประกัน ถ้าไม่มีเงินไป
ไถ่คืนก็ยึดอสังหานั้นไปเลย ข้อดีคือ กรรมสิทธิในอสังหายังเป็นของเรา
- จานา : เหมือนจานอง แต่ทากับสังหาริมทรัพย์

You might also like