You are on page 1of 3

ประมวลรายวิชา

การคิดเชิงระบบ (System Thinking)

1. สถาบัน วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา
มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา
คณะ ศึกษาศาสตร์
ภาควิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา
2. ชื่อวิชาที่เสนอ (ระบุทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)
ภาษาไทย การคิดเชิงระบบ
ภาษาอังกฤษ System Thinking
3. ข้อมูลผู้รับผิดชอบรายวิชา (หลัก)
ชื่อ-นามสกุล ดร.ภูเบศ เลื่อมใส
ตาแหน่ง อาจารย์
เบอร์ติดต่อ / email 0925452664/ phuedtech@gmail.com
มหาวิทยาลัย/สถาบันของผู้รับผิดชอบ มหาวิทยาลัยบูรพา
รายวิชา
ภาควิชา / คณะ ของผู้รับผิดชอบรายวิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
4. ประเภทรายวิชา
 ไม่ใช่รายวิชาในหลักสูตร
 เป็นหนึ่งในหลักสูตร รายวิชา การคิดเชิงระบบกับการแก้ปัญหา
5. เหตุผล ความจาเป็น ที่ควรสนับสนุนการพัฒนารายวิชานี้เป็นรายวิชาในระบบ Thai MOOC
การดารงชีวิตของผู้คนในสังคมดาเนินไปด้วยความท้าทายและซับซ้อนทาให้ต้องหาวิธีการต่างๆเพื่อนาพา
ตนเองให้ดาเนินชีวิตอยู่ได้ในสังคม สิ่งที่เห็นได้ชัดคือปัญหาต่างๆที่มากระทบทั้งตัวบุคคลและสังคม แต่ก็ดู
เหมือนยิ่งแก้ปัญหา ยิ่งไปสร้างปัญหาอื่นตามมา ส่งให้เกิดผลตามมาไม่จบสิ้น การคิดเชิงระบบจะเป็นเครื่องมือ
ในการนาพาผู้คน(ผู้เรียน)เข้าไป เข้าใจเหตุผลของสิ่งที่เกิดขึ้น เข้าใจความแตกต่างการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
วิเคราะห์อดีตเข้าใจปัจจุบันเข้าใจคุณลักษณะของระบบ เข้าใจ สภาพการณ์ รูปแบบ โครงสร้าง รวมถึง ความ
เชื่อมโยงสัมพันธ์ของตัวแปรที่เป็นสาเหตุของปัญหา และคาดการณ์ในอนาคตได้ ซึ่งจะนาไปสู่การเปิดเผย
โครงสร้างของระบบ ทาให้ผู้คน(ผู้เรียน)สามารถวิเคราะห์มองเห็นภาพรวมทั้งระบบ นาไปสู่การคิดแก้ปัญหาได้
ในที่สุด
2

6. คาอธิบายรายวิชา (นาเสนอรายละเอียดเนื้อหาของรายวิชาอย่างย่อ)
การคิดเชิงระบบ (Systems Thinking )
ความหมาย หลักการ คุณค่า แนวคิด ที่มา และธรรมชาติของการคิดเชิงระบบ การคิดเชิงระบบกับ
องค์กรการเรียนรู้ การคิดเชิงระบบกับการแก้ปัญหา การนาหลักการคิดเชิงระบบไปใช้กับสาขาวิชาต่างๆ
ประยุกต์การคิดเชิงระบบกับการแก้ปัญหาลักษณะต่างๆ
7. วัตถุประสงค์การเรียนรู้เชิงพฤติกรรม (เขียนเป็น Behavioral objectives ตาม Bloom’s taxonomy
หลักๆ ไม่เกิน 5 ข้อ)
LO1 : ผู้เรียนสามารถอธิบายความหมาย หลักการ ความสาคัญ และธรรมชาติของการคิดเชิงระบบได้
LO2 : ผู้เรียนสามารถอธิบายแนวคิดทฤษฎีระบบได้
LO3 : ผู้เรียนสามารถพัฒนากระบวนการคิดเชิงระบบได้
LO4 : ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์สภาพการณ์ปัจจัยสาเหตุของปัญหา ค้นหารูปแบบ และความเชื่อมโยง
ระหว่างสาเหตุ กับผลของปัญหาได้
LO5 : ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้หลักการคิดเชิงระบบในการแก้ปัญหาในลักษณะต่างๆได้

8. จานวนชั่วโมงการเรียนรู้ออนไลน์ (ชั่วโมงการเรียนรู้ออนไลน์ หมายถึง จานวนระยะเวลาที่ผู้เรียนใช้ในการ


เรียน
จนจบรายวิชา /กาหนดให้ 1 รายวิชามีเนื้อหาไม่มากกว่า 12 ชั่วโมงการเรียนรู้ และสัปดาห์เรียนไม่มากกว่า 6
สัปดาห์)
จานวนชัว่ โมงการเรียนรู้ทั้งหมด 12 ชั่วโมงการเรียนรู้
จานวนชั่วโมงการเรียนรู้ต่อสัปดาห์ 2 ชั่วโมงการเรียนรู้/ต่อสัปดาห์
9. ภาษาที่ใช้ในการสอนผ่านระบบออนไลน์
ภาษาไทย  ภาษาอังกฤษ  ภาษาอื่น ๆ (ระบุ) ..............................................
10. ระดับของเนื้อหารายวิชา (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
 ประถมศึกษา  มัธยมต้น มัธยมปลาย  ปริญญาตรี ปริญญาโท  ปริญญาเอก
ความรู้ทั่วไป วิชาชีพ (ระบุ) ..........................................................
 เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา (ระบุ)..........การคิดเชิงระบบกับการแก้ปัญหา................................
11. ระดับความยากของเนื้อหารายวิชา
 เบื้องต้น  ขั้นกลาง  ขั้นสูง

มหาวิทยาลัยบูรพา
3

12. กลุ่มผู้เรียนเป้าหมายของรายวิชา
ระบุกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจน ...นิสิต/นักศึกษาระดับปริญญาตรี ในภูมิภาคตะวันออก...
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
ประมาณการจานวนผู้เรียนกลุ่มเป้าหมาย ……………………250……………………………………………… คน
13. การนาผลการเรียนรูไ้ ปใช้ประโยชน์ (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
 สามารถนาไปนับเป็นหน่วยกิตศึกษาต่อเนื่องวิชาชีพ ............................................................................
 เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาในหลักสูตรปกติ วิชา .....การคิดเชิงระบบกับการวิเคราะห์ปัญหา
 เรียนเพื่อเข้าสู่การประเมินคุณวุฒิวิชาชีพ วิชาชีพ ......................................................... ระดับ ............
 เรียนเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ส่วนบุคคล
 อื่น ๆ (โปรดระบุ) ……………………………………………………………………………………….................................

14. ความรู้พื้นฐานที่ผู้สนใจเรียนวิชานี้ต้องมีมาก่อน (หากมี)


…………………………………………………………………………...................................................................................
……………………………………………………………………………………….....................................................................…
………………………………………………………………………………........................…………………………………………………
…………………………………….............................................……………........................………………………………………
15. กิจกรรมในรายวิชา การวัดผลและประเมินผล /เกณฑ์การให้คะแนนเพื่อรับใบประกาศนียบัตร
แบบทดสอบก่อนเรียน 0% แบบทดสอบระหว่างเรียนทุกบท 80%
กิจกรรม Discussion 0 % แบบทดสอบหลังเรียน (Final Exam) 20%
ผู้เรียนมีคะแนนรวมทั้งหมดไม่ต่ากว่า 70% ถือว่าผ่านเกณฑ์เพื่อรับประกาศนียบัตรในระบบได้

ลงชื่อ ……....................................................... ผู้รับผิดชอบรายวิชา


(นายภูเบศ เลื่อมใส)
วันที่ …….......................................................

มหาวิทยาลัยบูรพา

You might also like