You are on page 1of 21

บทนำ

“วัด” เป็ นคำเรียกชื่อศาสนสถานแบบคำไทย โดยที่มาของคำ


ว่า “วัด” ยังไม่มีข้อยุติ ด้วยบางคนอธิบายว่า มาจากคำว่า “วตวา”
ในภาษาบาลี แปลว่า เป็ นที่สนทนาธรรม บ้างก็ว่ามาจาก “วัตร”
อันหมายถึงกิจปฏิบัติหรือหน้าที่ของพระภิกษุที่พึงกระทำ หรือแปล
อีกอย่างว่าการจำศีล ซึ่งวัด (วัตร) ตามนัยยะนีจ
้ ึงน่าจะหมายถึง
สถานที่ซึ่งพระภิกษุสงฆ์ใช้เป็ นที่จำศีลภาวนา หรือสถานที่ที่พระ
ภิกษุสงฆ์ใช้ปฏิบัติภารกิจที่พึงกระทำนั่นเอง แต่ก็มีบางคน
สันนิษฐานว่ามาจากคำว่า “วัดวา” อันหมายถึงการกำหนดขอบเขต
ของดินแดนที่สร้างเป็ นศาสนสถาน เพราะวัดกับวามีความหมาย
อย่างเดียวกัน คือการสอบขนาด หรือปริมาณของสิ่งต่างๆ เช่น
ความยาว ความกว้าง เป็ นต้น
และเป็ นที่ร้ก
ู ันว่า ในทางกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ วัด คือ “นิ
ติบุคคล” ซึ่งการทำนิติกรรมเกี่ยวกับที่ดินวัดนัน
้ จึงไม่เหมือนการทำ
นิติกรรมที่ดินของบุคคลทั่วไป และในหนังสือเล่มนี ้ จัดทำขึน
้ เพื่อ
เสนอความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการ บริหารที่ดินวัด ซึ่งทาง
ราชการเรียกว่า “ศาสนสมบัติ” ว่าด้วยเรื่องการออกโฉนดที่ดินวัด
และการระวังชีแ
้ นวเขตุที่ดินวัด ตามระเบียบประมวลกฎหมายที่ดิน
เพื่ออธิบายชีแ
้ จงข้อปฏิบัติและแนวทางในการดำเนินการเกี่ยวกับ
การจัดการที่ดินวัด ให้เป็ นไปอย่างถูกต้องตามกฎหมายเพื่อไม่ให้เกิด
ข้อขัดแย้งและการฟ้ องร้องตามมาในภายหลัง
คณะผู้จัดทำ หวังว่าเนื้อหาและบทความในหนังสือเล่มนี ้ จะ
นำพาความรู้ให้แก่ผู้อ่าน ไม่ว่าจะเป็ นท่านที่เป็ นนิสิต นักศึกษา หรือ
บุคคลทั่วไป รวมถึงพระคุณเจ้าที่สนใจหรือมีความจำเป็ นต้องดำเนิน
การเกี่ยวกับการออกโฉนดที่ดินวัด และการชีร้ ะวังแนวเขตที่ดินวัด
ได้นำความรู้ที่คณะผู้จัดทำได้อธิบายไว้ในหนังสือเล่มนีไ้ ปใช้ให้เกิด
ประโยชน์ได้สูงสุดกับตัวผู้อ่านและพระพุทธศาสนาสืบไป

จัดทำโดย

พระกฤษดา จิร
วฑฺฒโน

การออกโฉนดที่ดินวัด

ความหมายของวัด
“วัด” ที่จะกล่าวต่อไปนี ้ หมายเฉพาะวัดในพระพุทธศาสนา
เท่านัน
้ แม้ว่า “วัด” นัน
้ จะหมายรวมถึงวัดตามศาสนาอื่นๆ ได้ด้วย
เช่น วัดในคริสต์ศาสนา บางนิกาย
หากพิจารณา คำว่า “วัด” ในประมวลกฎหมายที่ดิน คำว่า
“วัด” มีการกล่าวถึง เฉพาะคำว่า “วัดวาอาราม” ไว้ในการกำหนด
สิทธิในที่ดินเพื่อการศาสนาตาม มาตรา ๘๔ แห่งประมวลกฎหมาย
ที่ดินเท่านัน

ดังนัน
้ ก่อนที่จะศึกษา รายละเอียดในเรื่องหลักเกณฑ์และวิธี
การในการออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินของวัดนัน
้ ควรได้ศึกษา ถึง
ชนิดหรือประเภทที่ดินของวัดเสียก่อน

เดิม คำว่า “วัด” ในความหมายของกรมการศาสนา กระทรวง


ศึกษาธิการนัน
้ หมายถึง

สถานที่ทางศาสนา ตามปกติแล้ว จะมีเสนาสนะและอาคาร


วัตถุต่างๆ เป็ นที่พำนักอยู่อาศัย ศึกษา ปฏิบัติธรรมิวนัย และ
ประกอบศาสนกิจของพระภิกษุสงฆ์ ตลอดจนเป็ นที่บำเพ็ญกุศล
ต่างๆ ของพุทธบริษัทโดยทั่วไป

นอกจากคำว่า “วัด” แล้ว ตามภาษาบาลีที่ไทยรับมาใช้ ยังมี


คำที่มค
ี วามหมายเช่นเดียวกัน และตรงกับคำว่า “วัด” อีก ๓ คำ คือ
คำว่า

1. อาราม ซึง่ แปลว่า สวน เนื่องด้วยในสมัยพุทธกาล


พุทธศาสนิกชนนิยมถวายสวนให้เป็ นที่ประทับของ
พระพุทธเจ้า และพระสงฆ์ เช่น สวนเชตวันเชตะวัน
วนาราม
2. อาวาส ซึ่ง แปลว่า ที่อยู่ หมายถึงที่อยู่ของภิกษุสงฆ์
3. วิหาร ซึง่ แปลว่า ที่อยู่ เช่นกัน คล้ายกับอาวาส แต่หมาย
เอาสิ่งปลูกก่อสร้างเป็ นหลังตามพจนานุกรมฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้ให้ความหมายว่า
วัด หมายถึง สถานที่ทางศาสนาโดยปกติมีโบสถ์ วิหาร และที่
อยู่ของสงฆ์หรือนักบวช เป็ นต้น

อาราม หมายถึง วัด , สวนเป็ นที่น่ารื่นรมย์

วิหาร หมายถึง วัด , ที่อยู่ของสงฆ์ , ที่ประดิษฐานพระพุทธรูป


, คู่กับ โบสถ์

ดังนัน
้ จึงอาจกล่าวโดยรวมได้ว่า วัดคือ สถานที่ทางศาสนา
เป็ นที่ใช้ประกอบศาสนกิจและเป็ นที่พำนักของพระภิกษุสงฆ์

และหากพิจารณาตามประมวลกฎหมายที่ดิน มีที่กล่าวเกี่ยว
กับ วัด โดยได้บัญญัติไว้ในเรื่องกำหนดสิทธิใ์ นที่ดินเพื่อการศาสนา
เท่านัน

ประเภทของวัด

แม้ว่าวัดทางกฎหมายจะมีฐานะเท่าเทียมกัน คือเป็ นนิติบค


ุ คล
เหมือนกันก็ตาม แต่ตาม มาตรา ๓๑ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์
พ.ศ. ๒๕๐๕ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๓๕ แบ่งวัดออกเป็ น ๒ ประเภท คือ

(1)วัดที่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา
(2)สำนักสงฆ์
(๑) วัดที่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา นัน
้ หมายถึงวัด
ที่ม ีอ ุโ บสถเป็ นที่ทำ สัง ฆกรรม ซึ่ง หมายถึง เขตที่พ ระมหากษัต ริย ์
พระราชทานแก่สงฆ์เพื่อใช้เป็ นที่สร้างโบสถ์ หรือ อุโบสถ
ตามกฎกระทรวงฉบับ ที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๐๗) ออกตามความใน
พระราชบัญ ญัต ิค ณะสง ฆ์ พ .ศ. ๒๕๐๕ หมวด ๖ ก ารขอรับ
พ ระ ราชทา นวิส ุง ค ามส ีม า ข ้อ ๑๑ ว ัด ท ี่ไ ด ้ร ับ พ ร ะ ร าช ทา น
วิสุงคามสีมา ต้องประกอบด้วยลักษณะดังนี ้
- สร้างหรือปฏิสังขรณ์ขน
ึ ้ เป็ นหลักฐานถาวร
- มีพ ระภิก ษุส งฆ์พำ นักอยู่ไ ม่น ้อยกว่า ๕ รูป ติด ต่อ กัน
เป็ นเวลาไม่น้อยกว่า ๕ ปี แต่ระยะเวลา ๕ ปี มิให้ใช้บังคคับแก่วัด ที่
ได้ส ร้า งอุโ บสถเสร็จ เรีย บร้อ ยแล้ว และกระทรวงศึก ษาธิก ารเห็น
สมควรขอพระราชทานวิสุงคามสีมา
- เมื่อได้รับ ความเห็น ชอบจากเจ้า คณะตำบล เจ้าคณะ
อำ เภอ เจ้า คณะจัง หวัด และเจ้า คณะภาพแล้ว เสนอให้ก รมการ
ศาสนาพิจ ารณา เมื่อ กรมการศาสนาเห็น สมควรแล้ว ให้ก ราบทูล
สมเด็จพระสัง ฆราชเพื่อ ทรงอนุมัต ิแ ล้วเสนอกระทรวงศึก ษาธิก าร
เพื่อนำถวายกราบบังคมทูลขอพระราชทานวิสุงคามสีมาต่อไป
- เมื่อ พระราชทานวิส ุง คามสีม าแก่ว ัด ใดแล้ว ให้น าย
อำเภอท้องที่ที่วัดนัน
้ ตัง้ อยู่ดำ เนินการปั กหลักหมายเขตที่ดินตามที่
พระราชทานต่อ ไป รวมทัง้ “อาราม” ตามที่ไ ด้เ คยบัญ ญัต ิไ ว้ใ น
มาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติปกครองคณะสงฆ์ ร.ศ. ๑๒๑ เป็ นวัด
ที่เลื่อนฐานะมาจากสำนักสงฆ์โ ดยได้รับ พระราชทานวิสุง คามสีม า
แล้ว
(๒) สำนักสงฆ์ หมายถึง วัดที่ตงั ้ โดยชอบด้วยกฎหมาย
แต่ยังไม่ได้พระราชทานวิสุงคามสีมา จึงไม่มีอุโบสถและหมายถึง วัด
ที่กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศตัง้ วัดแล้ว ได้รับพระบรมราชานุ
ญาตให้ส ร้า งขึน
้ ตามความใน มาตรา ๙ แห่ง พระราชบัญ ญัต ิ
ปกครองคณะสงฆ์ ร.ศ. ๑๒๑ ด้ว ย และยัง มิไ ด้ร ับ พระราชทาน
วิส ุง คามสีม า แต่ส ามารถใช้เ ป็ นที่พำ นัก อยู่อ าศัย สำหรับ พระภิก ษุ
สงฆ์ได้ ฐานะทางกฎหมายเป็ นนิติบุคคลแล้ว แต่ฐานะทางพระวินัย
ยังไม่เป็ นที่กระทำสังฆกรรมตามพระวินัยทุกประการได้ เพราะยังไม่
ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา
วัด ที่ไ ด้ร ับ พ ระ ร าช ทานวิส ุง ค มส ีม าแ ล ะ สำ นัก ส ง ฆ์เ ป็ น
นิติบ ค
ุ คลตามกฎหมายแพ่ง และพาณิช ย์ มาตรา ๗๒ จึง มีส ิท ธิถ ือ
ครองหรือได้ม าซึ่ง ที่ด ิน ได้ ไม่ว่า จะเป็ นการได้ม าโดยทางนิต ิก รรม
หรือได้มาโดยทางอื่น
(อำนาจหน้าที่ของกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ ตาม
กฎกระทรวงฉบับ ที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๐๗) ฯ นี ้ ปั จจุบ ัน เป็ น อำ นาจ
หน้าที่ของสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ)
นอกจากนี ้ การแบ่ง ประเภทของวัดยังอาจแบ่งได้ต ามสภาพ
ฐานะ เป็ น ๓ ประเภท คือ
๑. พระอารามหลวง หมายถึง วัด ที่พ ระมหากษัต ริย ์ห รือ
พระบรมวงศานุวงศ์ เช่นสมเด็จพระราชินี สมเด็จพระยุพราช ทรง
สร้า ง หรือ ทรงบูร ณปฏิส ัง ขรณ์เ ป็ นการส่ว นพระองค์ หรือ เพื่อ
พระราชทานเพื่อเป็ นเกรียรติยศ แก่ผ ู้ต ่ำศัก ดิล์ งมา หรือ แก่วัด เอง
หรือมีผู้สร้าง หรือปฏิสังขรณ์น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายเป็ นพระ
อารามหลวง หรือ วัด ที่ร าษฎรสร้า งหรือ บูร ณปฏิส ัง ขรณ์แ ล้ว ขอ
พระราชทานให้ทรงรับไว้เป็ นพระอารามหลวงด้วย เช่นวัดอรุณราช
วรมหาวิหาร
พระอารามหลวง นัน
้ แบ่งได้ลำ ดับความสำคัญออกเป็ น
๓ ชัน
้ คือ
1. ชัน
้ เอก ได้แ ก่วัด ที่มีเ จดียสถานสำคัญ วัด ที่บ รรจุอ ัฐิ
ห ร ือ ว ัด ท ี่ม ีเ ก ีย ร ต ิอ ย ่า ง ส ูง ม ี ๓ ช น ิด ค ือ ร า ช
วรมหาวิหาร ราชวรวิหาร และวรมหาวิหาร
2. ชัน
้ โทร ได้แ ก่ว ัด ที่ม ีเ จดีย สถานสำ คัญ หรือ วัด ที่ม ี
เกียรติ มี ๔ ชนิด คือ ราชวรมหาวิห าร ราชวรวิห าร
วรมหาวิหาร และวรวิหาร
3. ชัน
้ ตรี ได้แก่วัดที่มีเกียรติ วัดประจำหัวเมือง หรือวัด
สามัญ มี ๓ ชนิด คือ ราชวรวิห าร วรวิห าร และ
สามัญ.

ที่ดินของวัดวาอาราม
ตามมาตรา ๓๓ แห่งพระราชบัญญัตค
ิ ณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕
ได้แบ่งวัด ที่ดินวัดและที่ซึ่งขึน
้ ต่อวัด โดยบัญญัติว่า “ที่ดินและที่ซึ่ง
ขึน
้ ต่อวัด” มีดังนี ้
(1) ที่วัด คือ ที่ซงึ่ ตัง้ วัดตลอดจนเขตของวัดนัน

(2) ที่ธรณ์สงฆ์ คือ ที่ซึ่งเป็ นสมบัติวัด
(3) ที่กัลปนา คือ ที่ซึ่งมีผู้อุทิศแต่ผลประโยชน์ให้วัดหรือ
พระศาสนา
ดังนัน
้ ที่ดินของวัดใดวัดหนึ่ง ตลอดจนเขตของวัดนัน
้ จึงมี
อยู่ ๓ ประเภท คือ
1. ที่วัด ได้แก่ที่ดินซึ่งเป็ นที่ตงั ้ ของวัด ตลอดจนเขตที่ดิน
ของวัด เช่นเป็ นที่ตงั ้ อุโบสถ ที่ตงั ้ วิหาร ศาลา
การเปรียญ
2. ที่ธรณีสงฆ์ ได้แก่ที่ดินที่ตกเป็ นสมบัติของวัด เป็ นที่
ทำประโยชน์ เช่นเป็ นที่สวน ไร่ นา
3. ที่กัลปนา ได้แก่ที่ดินที่วัดเก็บผลประโยชน์ แต่
์ รือสิทธิในที่ดินยังเป็ นของเจ้าของที่ดิน ยัง
กรรมสิทธิห
สงวนไว้เป็ นของตนเอง
การได้ที่ดินของวัดนัน
้ แต่เดิมมาตัง้ แต่สมัยสุโขทัย
อยุธยาเป็ นต้นมา วัดจะเข้าจับจองที่ดินเหมือนบุคคลธรรมไม่ได้ วัด
จะได้ที่ดินได้เพียงการอุทิศถวายเท่านัน
้ จนถึงในปั จจุบันวัดก็ยัง
จับจองที่ดินไม่ได้เช่นกัน แต่วัดอาจได้ที่ดินมาหลายวิธี คือ
1. มีผู้อุทิศถวายให้ โดยการทำนิติกรรมสัญญา หรือได้
มาทางดรดกเช่นการทำพินัยกรรมยกที่ดินให้วัด หรือ
ที่ดินของภิกษุที่ได้มาในระหว่างสมณเพศ ในกรณีที่มี
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา
๑๖๒๓, ๑๖๒๔ บัญญัติให้เป็ นมรดกฟแก่วัดภูมิลำเนา
2. วัดอาจได้มาทางนิติกรรม เช่น การซื้อ
3. โดยวัดได้มาโดยการครอบครอง ตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๓๖๗ หรือการ
ครอบครองปรปั กษ์ที่ดิน ตามประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิชย์ มาตรา ๑๓๘๒

หลักเกณฑ์ และวิธกีการออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน
ของวัด
หลักเกณฑ์การขอได้มาซึ่งที่ดินของวัดวาอาราม
ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ แก้ไขเพิ่มเติมโดย
พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ ได้บัญญัตห
ิ ลัก
เกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการขอได้มาและการออกหนังสือแสดงสิทธิใน
ที่ดินของวัด ดังนี ้
มาตรา ๓๓ ที่วัดและที่ขน
ึ ้ ต่อวัด มีดังนี ้
(1)ที่วัด คือที่ซึ่งตัง้ ตลอดจนเขตของววัดนัน

(2)ที่ธรณีสงฆ์ คือที่ซึ่งเป็ นสมบัติของวัด
(3)ที่กัลปนา คือที่ซึ่งมีผู้อุทิศถวายแต่ผลประโยชน์ให้วัดหรือ
ศาสนา
์ ี่วัด ที่ธรณีสงฆ์ หรือที่ศาสน
มาตรา ๓๔ การโอนกรรมสิทธิท
สมบัติกลางให้กระทำได้ก็แต่โดยพระราชบัญญัติ เว้นแต่เป็ นกรณี
ตามวรรคสอง
์ ี่วัด ที่ธรณีสงฆ์ หรือที่ศาสนสมบัติกลาง
การโอนกรรมสิทธิท
ได้แก่ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ เมื่อมหา
เถรสมาคมไม่ขัดข้อง และได้รับค่าผาติกรรมจากส่วนราชการ
รัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานนัน
้ แล้ว ให้กระทำโดยพระราชกฤษฎีกา
ห้ามมิให้บุคคลโดยอายุความขึน
้ ต่อสู้กับวัดหรือกรมการ
ศาสนา แล้วแต่กรณีในเรื่องทรัพย์สินอันเป็ นที่วัด ที่ธรณีสงฆ์ หรือที่
ศาสนสมบัติกลา
มาตรา ๓๕ ที่วัด ที่ธรณีสงฆ์ และที่ศาสนสมบัติกลาง เป็ น
ทรัพย์สินซึ่งไม่อยู่ในความรับผิดชอบแห่งการบังคับคดี
มาตรา ๓๗ เจ้าอาวาสมีหน้าที่ดังนี ้
1) บำรุงรักษาวัด จัดกิจการและศาสนสมบัติของวัดให้เป็ นไป
ด้วยดี
มาตรา ๔๐ ศาสนสมบัติแบ่งออกเป็ นสองประเภท
1) ศาสนสมบัติกลาง ได้แก่ ทรัพย์สินของพระศาสนา ซึ่งไม่ใช่
ของวัดใดวัดหนึ่ง
2) ศาสนสมบัติของวัด ได้แก่ ทรัพย์สินของวัดใดวัดหนึ่ง
การดูแลรักษาและจัดการศาสนสมบัติกลาง ให้เป็ นอำนาจ
หน้าที่ของกรมการศาสนาเพื่อการนีใ้ ห้ถือว่ากรมการศาสนาเป็ น
เจ้าของศาสนสมบัติกลางนีด
้ ้วย
การดูแลและรักษาจัดการศาสสบัติของวัดให้เป็ นไปตามวิธีการ
ทีกำ
่ หนดในกฎกระทรวง

การทำนิติกรรมเกี่ยวกับที่ดินของวัด
คำว่า “นิติกรรม” ตามความหมายที่ปรากฏในมติคณะ
สังฆมนตรี ครัง้ ที่ ๑/๒๔๙๖ เมื่อวันจันทร์ที่ ๕ มกราคม ๒๔๙๖ นัน

หมายถึง การขอรังวัดรับโฉนดที่ดิน การของสอบเขต การขอแข่ง
แยกและการขอรับรองเขตที่ดินของวัด ๔ ประการเท่านัน

มิใช่ “นิติกรรม” ตามความหมายในมาตรา ๑๑๒ แห่ง
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ดังปรากฎในมติคณะสังฆมนตรี
แต่อย่างไรก็ดี กิจการอันใดที่เกี่ยวข้องกับที่ดินซึ่งเรียกชื่อ ต่างออก
ไปบ้าง แต่มีลักษณะใกล้เคียงทำนองเดียวกับกิจการ ๔ ประการ ดัง
กล่าวข้างต้น ก็ควรจะสงเคราะห์เข้าโดยอนุโลม

การออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน
ในการออกหนังสือแสดงสิทธิใ์ นที่ดินให้แก่วัด หนังสือแสดง
สิทธิในที่ดินที่จะดำเนินการออกให้ คือโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรอง
การทำประโยชน์ ตามรายละเอียด ดังนี ้
๑. การออกโฉนดที่ดิน
๑.๑ ในการออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินให้แก่วัดให้
ดำเนินการตามมติมหาเถรสมาคมในการประชุมครัง้ ที่ ๑๖/๒๕๒๘
เมื่อวันที่ ๒๐ มิถุนายน ๒๕๒๘ ซึง่ ที่ประชุมมีมติดังนี ้
๑) ให้เจ้าอาวาสทัง้ หลายซึ่งตัง้ อยู่ในเขต
กรุงเทพมหานครก็ดี ในเขตเทศบาลหรือสุขาภิบาลก็ดี ให้ปฏิบัติตาม
มติคณะสังฆมนตรี เมื่อวันที่ ๕ มกราคม ๒๔๙๖ ในการทำนิติกรรม
เกี่ยวกับที่ดิน กล่าวคือ การขอรังวัดรับโฉนด การขอสอบเขต การ
ขอแบ่งแยก และการขอรับรองแนวเขตที่ดินของวัด ๔ ประการนี ้ ให้
เจ้าอาวาสมอบฉันทะให้กรมการศาสนา หรือตัวแทนของกรมการ
ศาสนาเป็ นผู้กระทำนิติกรรมแทนวัดแต่ข้อตกลงใดๆ ในการทำนิติ
กรรมใรนกรณีเช่นนีต
้ ้องได้รับความเห็นชอบจากเจ้าอาวาสก่อน
๒) ให้วัดทัง้ หลายที่ตงั ้ อยู่นอกเขตดังกล่าว ในข้อ
๑ โดยความรับผิดชอบของเจ้าอาวาสแห่งวัดนัน
้ เจ้าอาวาสพิจารณา
คัดเลือกทายก ทายิกาแห่งวัดนัน
้ อันอยู่ในฐานะที่ควรแก่การเชื่อถือ
มีจำนวน ๒ หรือ ๓ ท่าน ให้เป็ นผู้ดำเนินการแทนเจ้าอาวาสในการ
ทำนิติกรรมเกี่ยวกับที่ดินของวัดแต่ข้อตกลกใดๆ ในการทำนิติกรรม
ในกรณีเช่นนี ้ ต้องได้รับความเห็นชอบจากเจ้าอาวาสก่อน
(หนังสือกรมการศาสนา ที่ ศธ ๐๔๐๘/๑๐๙๕๘ ลงวันที่ ๒๖
กรกฎาคม ๒๕๒๘ เรื่อง วัดนำรังวัดออกโฉนดที่ดิน)
มติมหาเถรสมคมนี ้ กรมการศาสนาได้มีหนังสือแจ้งให้
กรมที่ดิน จังหวัด เจ้าคณะภาคและเจ้าคณะจังหวัดทราบด้วย
(กรมการศาสนา ปั จจุบันเป็ นอำนาจหน้าที่ของ
สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ)
โดยวัดจัดเตรียมหลักฐานและประสานงานกับตัวแทน
ตามมติมหาเถรสมาคมในการเตรียมการดังนี ้
เตรียมหลักฐานที่เกี่ยวข้อง เช่น ประวัติความเป็ นมา
ของวัด หลักฐานการได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ใบตราตัง้ เจ้า
อาวาส ฯลฯ
เตรียมค่าใช้จ่ายในการดำเนินการ เช่น ค่าธรรมเนียม
ต่างๆ ค่าวางมัดจำรังวัด ฯลฯ เนื่องจากวัดที่มีพระสงฆ์ทางวัดจะต้อง
เป็ นผู้ออกค่าใช้จ่ายในการดำเนินการเอง
ผู้ที่ถือค่าใช้จ่ายในการดำเนินการต่างๆ แทนวัดโดยคัด
เลือกจากไวยาวัจกร กรรมการของวัด หรือทายก ทายิกาที่ทางวัด
เชื่อถือได้ และร่วมดำเนินการกับตัวแทนตามมติมหาเถรสมาคม
อย่างน้อยวัดละ ๑ คน
ตัวแทนตามมติมหาเถรสมาคม สำนักงานพระพุทธ
ศาสนาแห่งชาติ คือเจ้าหน้าที่ฝ่ายสำรวจและรังวัดที่ดิน ตัวแทนของ
สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติในส่วนภูมิภาค ได้แก่ผู้ว่าราชการ
จังหวัด แต่ในทางปฏิบัติสำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเป็ นผู้
ดำเนินการโดยผู้ว่าราชการจังหวัดจะมอบอำนาจให้ผู้อำนวยการ
สำนักพระพุทธศาสนาจังหวัดปฏิบัติราชการแทน
ในกรณีที่วัดมอบให้ไวยาวัจกร หรือทายก ทายิกา
ดำเนินการ ผู้ดำเนินการต้องได้รับมอบอำนาจจากทางวัดในการ
ดำเนินการ โดยหนังสือมอบอำนาจที่ออกโดยเจ้าอาวาสวัด
โดยให้ย่ น
ื คำขอรังวัดออกโฉนดที่ดิน ต่อสำนักงานที่ดิน
จังหวัด/สาขา/ส่วนแยก ซึ่งที่ดินของวัดตัง้ อยู่
๒. หนังสือรับรองการทำประโยชน์
การดำเนินการขอออกหนังสือรับรองการทำประโยชน์
วัดมีพระสงฆ์สามารถที่จะดำเนินการได้เองโดยมอบให้ไวยาวัจกร
กรรมการของทางวัด หรือทายก ทายิกา ที่ทางวัดเห็นสมควร เป็ นผู้
ดำเนินการแทนวัดก็ได้โดยการขอ
๑. ขอออกหนังสือรับรอบการทำประโยชน์ (น.ส.
๓)
๒. ขอออกหนังสือรับรองการทำประโยชน์โดยใช้
ระวางรูปถ่ายทางอากาศ (น.ส. ๓ ก.)
๓. ขอออกหนังสือรับรองการทำประโยชน์ในท้อง
ที่ที่ไม่มีรวางรูปถ่ายทางอากาศ ซึ่งรัฐมนตรีได้ประกาศยกเลิกอำนาจ
หน้าที่ในการปฏิบัติการตามประมวลกฎหมายที่ดินของหัวหน้าเขต
นายอำเภอหรือปลัดอำเภอผู้เป็ นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอตามมาตรา
๔ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายที่ดิน (ฉบับที่
๔) พ.ศ. ๒๕๒๘ แล้ว (น.ส. ๓ ข.)
ในกรณีขอออกหนังสือรับรองการทำประโยชน์
เป็ นการเฉพาะรายซึ่งวัดมอบให้ไวยาวัจกร หรือกรรมการของทางวัด
ดำเนินการ โดย
- ให้เตรียมหลักฐานต่างๆ เกี่ยวกับที่ดินพร้อมด้วย
เอกสารของวัด ตามข้างต้น พร้อมทัง้ ยื่นคำขอที่สำนักงานที่ดิน
อำเภอ หรือสำนักงานที่ดินจังหวัด/สาขา/ส่วนแยก ซึ่งที่ดินของวัด
ตัง้ อยู่
- พนักงานเจ้าที่ของสำนักงานที่ดินอำเภอหรือเจ้า
พนักงานที่ดินจะเป็ นผู้นัดหมายในการดำเนินการ เช่น เงินค่าวางวัด
จำรังวัด วันกำหนดรังวัดพิสูจน์สอบสวนการทำประโยชน์และ
หนังสือแจ้งเจ้าของที่ดินข้างเคียงให้มาระวังชีแ
้ นวเขต ซึ่งจะต้อง
ดำเนินการตามกำหนดนัดหมาย
- ดำเนินการเพื่อการนำรังวัดพิสูจน์ในบริเวณที่ดิน
ให้รอบแปลง มีการตกลงแนวแขตกับเอกชนข้างเคียงจนครอบทุก
รายรอบแปลง
- รับหนังสือรับรองการทำประโยชน์ (น.ส. ๓)
(น.ส. ๓ ก.) (น.ส. ๓ ข.) ตามแต่กรณีและแจ้งให้ทางวัดทราบว่าได้
ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว

การขอออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินที่ได้มาก่อนประมวล
กฎหมายที่ดินบังคับใช้
 ในกรณีเป็ นการขอออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินเป็ นการ
เฉพาะราย
ให้ย่ น
ื คำขอรังวัดออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน ต่อสำนักงาน
ที่ดิน ซึ่งที่ดินของวัดตัง้ อยู่ โดยมีหลักฐานประกอบ เช่น แบบแจ้ง
การครอบครองที่ดิน (ส.ค.๑) หรือหลักฐานอื่น (หากมี) และเอกสาร
ประกอบดังนี ้
1.หลักฐานที่แสดงการเป็ นวัดที่มีฐานะเป็ นนิติบุคคลตาม
กฎหมาย เช่น สำเนาประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องตัง้ วัดใน
พระพุทธศาสนา หรือสำเนาประกาศสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่ง
ชาติ เรื่องแต่ตงั ้ วัดในพระพุทธศาสนา หรือสำเนาหนังสือรับรอง
สภาพวัด หรือสำเนาทะเบียนวัด หรือประวัติวัดที่รับรองโดยทาง
ราชการ หรือโดยพิจารณาการเป็ นนิติบุคคลของวัดได้จากตามนัย
ข้อ ๘ ของระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วยการได้มาซึ่งที่ดินของวัดวา
อาราม ตามมาตรา ๘๔ แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. ๒๕๕๒
ได้แก่
- วัดที่ตงั ้ ขึน
้ ตามพระราชบัญญัติลักษณะการปกครอง
คณะสงฆ์ ร.ศ. ๑๒๑ ให้ใช้หลักฐานการประกาศการ
ได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้สร้างวัด
- วัดที่ตงั ้ ขึน
้ ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๔๘๔
ให้ใช้หลักฐานการประกาศตัง้ วัดของกระทรวง
ศึกษาธิการ
- วัดที่ตงั ้ ขึน
้ ก่อนพระราชบัญญัติลักษณะปกครองคณะ
สงฆ์ ร.ศ. ๑๒๑ หรือวัดที่ตงั ้ ขึน
้ ตามพระราชบัญญัติ
ลักษณะปกครองคณะสงฆ์ ร.ศ.๑๒๑ หรือวัดที่ตงั ้ ขึน

ตามพระราชบัญญัตค
ิ ณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๔๘๔ แต่ไม่มี
หลักฐานให้ตรวจสอบ อนุโลมให้ใช้หนังสือรับรอง
สภาพวัด สำเนาทะเบียนวัด หรือประวัติวัดที่รับรอง
โดยทางราชการอย่างใดอย่างหนึ่ง
- วัดที่ตงั ้ ขึน
้ ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕
ให้ใช้หลักฐานการประกาศตัง้ วัดของกระทรวง
ศึกษาธิการ ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา
2.สำเนาหนังสือพระราชทานวิสุงคามสีมา (กรณีวัดได้รับ
พระราชทานวิสุงคามสีมา)
3.สำเนาหนังสือสุทธิเจ้าอาวาส หรือผู้รักษาการแทน
4. สำเนาตราตังเจ้
้ าอาวาส หรือผูร้ ก
ั ษาการแทน (โดยแต่งตังเจ้
้ าอาวาส
ก่อนประกาศตังวั
้ ดไม่ได้)
5.สำเนาหนังสือเลื่อนสมณศักดิ ์ (ถ้ามี) หรือหลักฐานการแต่ง
ตัง้ ฐานานุกรม
6.สำเนาทะเบียนบ้าน (วัด)
7.สำเนาหนังสือประวัติวัดที่รับรองโดยทางราชการ (ถ้ามี)
8.หนังสือมอบอำนาจ เจ้าอาวาส ลงลายมือชื่อมอบอำนาจ
9.สำเนาหนังสือแสดงสิทธิที่ดินของวัดที่มีความประสงค์จะ
ขอรังวัด (ถ้ามี) (ยกเว้นกรณีที่ดินมิได้แจ้งการครอบครอง)
10. สำเนาหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินของวัดทัง้ หมด (ถ้ามี) (ที่
ตัง้ วัดและที่ธรณีสงฆ์)
พร้อมทัง้ รายละเอียดของวัดในการครอบครองที่ดินวัด เมื่อ
รับคำขอแล้วให้วางเงินมัดจำทำการรังวัดตามกำหนด
เมื่อดำเนินการตามกระบวนการเสร็จสิน
้ จนได้รับหนังสือ
แสดงสิทธิในที่ดิน เช่น โฉนดที่ดินแล้ว ให้ทำหนังสือแสดงสิทธิใน
ที่ดินดังกล่าวไปเก็บรักษาไว้ที่สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
หรือสำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด และแจ้งทางวัดทราบ
 ในกรณีเป็ นการดำเนินสำรวจออกโฉนดที่ดิน หรือออก
หนังสือรับรองการทำประโยชน์ โดยใช้ระวางรูปถ่ายทาง
อากาศ (น.ส. ๓ ก.)
เมื่อที่ดินของวัดใดอยู่ในเขตพื้นที่ดำเนินการของโครงการเดิน
สำรวจออกโฉนดที่ดินหรือ เดินสำรวจออกหนังสือรับรองการทำ
ประโยชน์โดยใช้ระวางรูปถ่ายทางอากาศ (น.ส.๓ ก.) ซึ่งเป็ นการ
ทำการสำรวจรังวัดทำแผนที่หรือพิสูจน์สอบสวนการทำประโยชน์
ตามมาตรา ๕๘ , ๕๘ ทวิ วรรคสอง (๑) (๒) แห่งประมวลกฎหมาย
ที่ดิน กรณีวัดดำเนินการนำทำการรังวัดเอง หรือในกรณีที่มอบให้ผู้
แทน ของสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติหรือสำนักงาน
พระพุทธศาสนาจังหวัดเป็ นตัวแทน ในการดำเนินการจะดำเนินการ
ตามขัน
้ ตอนและวิธีการ ตามระเบียบการเดินสำรวจที่กำหนดไว้ โดย
การมานำทำการรังวัดหรือพิสูจน์สอบสวนการทำประโยชน์ในที่ดิน
เพื่อนำชีแ
้ นวเขตรอบแปลงและทำการตกลงแนวเขตกับที่ดินข้าง
เคียงทุกด้าน ตลอดจนให้ถ้อยคำ และส่งมอบหลักฐานที่เกี่ยวข้องให้
กับเจ้าหน้าที่ ตลอดจนรับโฉนดที่ดิน หรือหนังสือรับรองการทำ
ประโยชน์ (น.ส.๓ ก.) เมื่อเจ้าหน้าทีดำ
่ เนินการเรียบร้อยแล้วจะแจ้ง
ให้ทางวัดทราบเพื่อรับโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรอบการทำ
ประโยชน์ (น.ส.๓ ก.) ต่อไป

 ในกรณีเป็ นการเปลี่ยนหนังสือรับรองการทำประโยชน์โดย
ใช้ระวางรูปถ่ายทางอากาศ (น.ส.๓ ก.) เป็ นโฉนดที่ดิน
การออกโฉนดที่ดินในกรณีนี ้ เป็ นการเปลี่ยนหนังสือรับรอง
การทำประโยชน์โดยใช้ระวางรูปถ่ายทางอากาศ (น.ส.๓ ก.) เป็ น
โฉนดที่ดิน ตามมาตรา ๕๘ ตรี โดยมิต้องให้วัดมานำทำการรังวัด
เป็ นวิธีการเปลี่ยนหนังสือรับรองการทำประโยชน์โดยใช้ระวางรูป
ถ่ายทางอากาศ (น.ส.๓ ก.) ที่เดิมเป็ นชื่อของวัดอยู่แล้วเป็ นโฉนด
ที่ดิน ซึ่งพนักงานเจ้าที่ของศูนย์อำนวยการเดินสำรวจออกโฉนด
ที่ดิน จะดำเนินการเองจนเสร็จสิน
้ กระบวนการแล้ว เมื่อประกาศ
กำหนดวันแจกโฉนดที่ดิน วัดจึงรับโฉนดที่ดินโดยส่งมอบ หนังสือ
รับรองการทำประโยชน์ (น.ส.๓ ก.) คืนให้แก่เจ้าหน้าที่โดยวัดมิต้อง
เสียค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียมแต่อย่างใด

การขอออกหนังสือรับรองสิทธิในที่ดินที่ได้มาหลังประมวล
กฎหมายที่ดินบังคับใช้
หากการรังวัดออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน เช่น ขอออกโฉนด
ที่ดินหรือออกหนังสือรับรองการทำประโยชน์ของวัดเป็ นที่ดินที่วัดได้
มาหลังประมวลกฎหมายที่ดินบังคับใช้ ไม่ว่าจะเป็ นกรณีที่วัดรับ
มอบการครอบครองต่อเนื่อง หรือเป็ นกรณีที่วัดดำเนินการตาม
มาตรา ๕๘ ,๕๘ ทวิ วรรคสอง แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน การ
ดำเนินการออกโฉนดที่ดินจะเป็ นไปตามหลักฐานเอกสาร และขัน

ตอนเช่นเดียวกับที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น เว้นแต่ก่อนออกหนังสือ
แสดงสิทธิในที่ดินดังกล่าว เนื่องจากเป็ นกรณีที่วัดได้ที่ดินมาหลัง
ประมวลกฎหมายที่ดินบังคับใช้ จึงอยู่ในบังคับของการใช้อำนาจ
ตามมาตรา ๘๔ แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน จึงต้องดำเนินการตาม
ระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วยการได้มาซึ่งที่ดินของวัดวาอาราม ตาม
มาตรา ๘๔ แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ ซึ่งหากเป็ น
ที่ดินที่วัดได้มาโดยมีหลักฐาน ส.ค. ๑ ให้ดำเนินการตามหมวดที่ ๕
การออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน
ข้อ ๒๔ กรณีวัดขอออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินโดยใช้
หลักฐาน ส.ค.๑ ที่ได้มาภายหลังวันที่ประมวลกฎหมายที่ดินมีผลใช้
บังคับ เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ได้ดำเนินการออกหนังสือแสดงสิทธิใน
ที่ดิน ก่อนเสนอผู้มอำ
ี นาจลงนามในหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน ให้
พนักงานเจ้าหน้าทีดำ
่ เนินการตามหมวด ๑ แต่หากเป็ นที่ดินที่ไม่มี
หลักฐาน ให้ดำเนินการ ตาม หมวด ๑ การยื่นของและวิธีดำเนินการ
ข้อ ๑๖ กรณีที่ดินเดิมของวัด หากได้มาภายหลังวันที่
ประมวลกฎหมายที่ดินมีผลบังคับใช้ ให้พนักงานเจ้าที่ตรวจสอบว่า
ได้รับอนุญาตจากรัฐมนตรีแล้วหรือไม่ หากยังไม่ได้รับอนุญาตให้
พนักงานเจ้าหน้าที่แจ้งวัดขออนุญาตย้อนหลังให้ถูกต้องต่อไป
(๑) กรณีทีดินแปลงดังกล่าวอยู่ในเขตความรับผิด
ชอบของสำนักงานที่ดินที่วัดยื่นขอได้มาซึ่งที่ดินแปลงที่ขอใหม่ ให้
พนักงานเจ้าหน้าที่แจ้งวัดยื่นขอได้มาซึ่งที่ดินนัน
้ เพิ่มเติมในคราว
เดียวกัน โดยให้วัดแจ้งความประสงค์ไว้ในบันทึกถ้อยคำ (ท.ด.๑๖)
(ตามตัวอย่างหมายเลข ๕) แล้วสรุปเรื่องเสนอรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงมหาดไทย หรือผู้ได้รับมอบอำนาจจากรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงมหาดไทยพิจารณาสั่งการ เพื่อพิจารณาสั่งอนุญาตย้อน
หลังให้เป็ นการถูกต้องในคราวเดียวกันกับอนุญาตให้วัดได้มาซึ่งที่ดิน
แปลงใหม่
(๒) กรณีที่ดินแปลงดังกล่าวอยู่นอกเขตความรับผิด
ชอบของสำนักงานที่ดินที่วัดยื่นขอได้มาซึ่งที่ดินแปลงที่ขอใหม่ ให้
พนักงานเจ้าหน้าที่แจ้งวัดให้ดำเนินการขออนุญาต พร้อมทัง้ แจ้ง
สำนักงานที่ดินที่ที่ตงั ้ อยู่เพื่อทราบ โดยให้วัดแจ้งความประสงค์ไว้ใน
คำขอได้มาซึง่ ที่ดินย้อนหลัง (ท.ด.๙) ตามตัวอย่างหมายเลข ๖) และ
ให้สอบสวนตามระเบียบนี ้ แล้วสรุปเรื่องเสนอรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงมหาดไทย หรือผู้ได้รับมอบอำนาจจากรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงมหาดไทยพิจารณาสั่งอนุญาตย้อนหลังให้เป็ นการถูกต้อง
(๓) กรณีที่ต้องมีการดำเนินการขออนุญาตย้อนหลัง
ให้วัดได้มาซึ่งที่ดินให้พนักงานเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องชีแ
้ จงเหตุผลที่ได้
ดำเนินการจดทะเบียน หรือออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินไปโดยไม่
ได้รับอนุญาตประกอบการพิจารณาด้วย

กรณีการขอได้มาซึ่งที่ดินของวัดเกิน ๑๐๐ ไร่ ขึน


้ ไป
ในกรณีการออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน ซึ่งเป็ นการได้มาซึ่ง
ที่ดินของวัดเกิน ๑๐๐ ไร่ ขึน
้ ไป ซึง่ เป็ นการดำเนินการตามมาตรา
๘๔ แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน กรมที่ดินได้มีบันทึกข้อตกลงว่าด้วย
ความร่วมมือในการกำหนดวิธีปฏิบัติ เกี่ยวกับการขอได้มาซึ่งที่ดิน
ของวัดเกิน ๑๐๐ ไร่ ระหว่างกรมที่ดินกับหน่วยงานของรัฐที่
เกี่ยวข้อง ลงวันที่ ๗ กันยายน ๒๕๕๔ ซึ่งเป็ นขัน
้ ตอนเกี่ยวเนื่องกับ
ระยะเวลา
- กรณีย่ น
ื ต่อสำนักงานที่ดินกรุงเทพมหานครและสาขา มี ๑๐
ขัน
้ ตอน รวมระยะเวลา ๙๐ วัน
- กรณีย่ น
ื ต่อสำนักงานที่ดินจังหวัดอื่น มี ๑๐ ขัน
้ ตอน ระยะ
เวลา ๙๑ วัน
- กรณีย่ น
ื ต่อสำนักงานที่ดินจังหวัด สาขา/ส่วนแยก มี ๑๒ ขัน

ตอน ระยะเวลา ๙๘ วัน

การระวังชีแ
้ นวเขตที่ดินของวัด

ตามทีค
่ ณะสังฆมนตรีได้ประชุมพิจารณา เมื่อวันที่ ๕ มกราคม
๒๔๙๖ มีมติว่าการทำนิติกรรมอันเกี่ยวกับที่ดินของวัด คือการขอ
รังวัดรับโฉนด การขอแบ่งแยก การขอสอบเขตและการรับรองเขต
ที่ดินของวัด ๔ ประการ ให้เจ้าอาวาสมอบฉันทะให้กรมการศาสนา
หรือตัวแทนของกรมการศาสนาเป็ นผู้กระทำนิติกรรมแทนวัด แต่ข้อ
ตกลงใดๆ ในการทำนิติกรรมในกรณีเช่นนีต
้ ้องได้รับความเห็นชอบ
จากเจ้าอาวาส และเมื่อเจ้าหน้าที่ของกรมการศาสนาจะไปรับรอง
แนวเขตที่ดินของวัดใด ต้องแจ้งให้เจ้าอาวาสวัดนัน
้ ทราบก่อนทุก
ครัง้ นัน

เนื่องจากปั จจุบันกรมที่ดินมีนโยบายที่จะขยายการออกโฉนด
ที่ดินให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ทั่วราชอาณาจักรและได้จัดทำโครงการ
พัฒนาที่ดินและเร่งรัดการออกโฉนดที่ดินทั่วประเทศขึน
้ ซึง่ กรม
ที่ดินมีความเห็นว่า ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕
บัญญัติหน้าที่ของเจ้าอาวาสว่ามีหน้าทีบำ
่ รุงรักษาจัดการกิจการและ
ศาสนสมบัติของวัด ประกอบกับเป็ นผู้ที่ทราบแนวเขตที่ดินของวัด
น่าจะเป็ นผู้ดำเนินการแทนวัดก็จะสะดวกแก่การออกโฉนดที่ดินตาม
โครงการของกรมที่ดินดังกล่าวเป็ นอย่างมาก และขอให้กรมการ
ศาสนาพิจารณาทบทวนในเรื่องนีอ
้ ีกครัง้ หนึ่ง กรมการศาสนาได้นำ
เรื่องนีเ้ สนอที่ประชุมมหาเถรสมาคมพิจารณาแล้ว ในการประชุม
ครัง้ ที่ ๑๖/๒๕๒๘ เมื่อวันที่ ๒๐ มิถุนายน ๒๕๒๘ ที่ประชุมมีมติ
ดังนี ้

๑. ให้เจ้าอาวาสวัดทัง้ หลาย ซึง่ อยู่ในเขตกรุงเทพมหานครก็ดี


ในเขตเทศบาลหรือสุขาภิบาลก็ดี ให้ปฏิบัติตามมติคณะสังฆมนตรี
เมื่อวันที่ ๕ มกราคม ๒๔๙๖ ในการทำนิติกรรมเกี่ยวกับที่ดินของวัด
กล่าวคือ การขอรังวัดรับโฉนด การขอสอบเขต การขอแบ่งแยก
และการขอรับรองแนวเขตที่ดินของวัด ๔ ประการนี ้ ให้เจ้าอาวาส
มอบฉันทะให้กรมการศาสนา หรือตัวแทนของกรมการศาสนาเป็ นผู้
กระทำนิติกรรมแทนวัด แต่ข้อตกลงใดๆ ในการทำนิติกรรมในกรณี
นีต
้ ้องได้รับความเป็ นชอบจากเจ้าอาวาสก่อน

๒. ให้วัดทัง้ หลายที่ตงั ้ อยู่นอกเขตดังกล่าวในข้อ ๑ โดยความ


รับผิดชอบของเจ้าอาวาสแห่งวัดนัน
้ ให้เจ้าอาวาสพิจารณาคัดเลือก
ทายกทายิกาแห่งวัดนัน
้ อันอยู่ในฐานะที่ควรแก่การเชื่อถือ มีจำนวน
๒ หรือ ๓ ท่าน ให้เป็ นผู้ดำเนินการแทนเจ้าอาวาสในการทำ
นิติกรรมเกี่ยวกับที่ดินของวัด แต่ข้อตกลงใดๆ ในการทำนิติกรรมใน
กรณีเช่นนี ้ ต้องได้รับความเห็นชอบจากเจ้าอาวาสก่อน

You might also like