You are on page 1of 70

ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 1

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

คำชี้แจงกำรใช้

ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ เรื่อง พลังงำนไฟฟ้ำ


ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้ำเบื้องต้น

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ประกอบด้วยทั้งหมด 6 ชุด ดังนี้
ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้ำเบื้องต้น
ชุดที่ 2 เรื่อง วงจรไฟฟ้าในบ้าน
ชุดที่ 3 เรื่อง พลังงานไฟฟ้าและกาลังไฟฟ้า
ชุดที่ 4 เรื่อง วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
ชุดที่ 5 เรื่อง การต่อวงจรอิเล็กทรอนิกส์
ชุดที่ 6 เรื่อง พลังงานทดแทน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้ำเบื้องต้น
ประกอบด้วย
 คาชี้แจงเกี่ยวกับการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
 ลาดับขั้นตอนการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
 คาชี้แจงเกี่ยวกับการใช้ชุดกิการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สาหรับครู
 คาชี้แจงเกี่ยวกับการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สาหรับนักเรียน
 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/สาระสาคัญ
 จุดประสงค์การเรียนรู้
 สื่อการเรียนรู้
 แบบทดสอบก่อนเรียน
 ใบความรู้/ใบกิจกรรม
 แบบทดสอบหลังเรียน
 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน
 เฉลยใบกิจกรรม

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 2
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ลำดับขั้นตอนกำรใช้

ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ เรื่อง พลังงำนไฟฟ้ำ


ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้ำเบื้องต้น

อ่ำนคำชี้แจง

ทำแบบทดสอบก่อนเรียน

ศึกษำใบควำมรู้/ปฏิบัติกิจกรรมระหว่ำงเรียน

ทาใบกิจกรรม

ทาแบบทดสอบหลังเรียน ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน

ผ่านเกณฑ์การประเมิน

ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดถัดไป

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 3
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

คำชี้แจงสำหรับครู

ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ เรื่อง พลังงำนไฟฟ้ำ


ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้ำเบื้องต้น

1. ครูศึกษาคาชี้แจงและเนื้อหาของชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า


กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ให้ละเอียดครบถ้วนทุกเนื้อหา
2. ครูศึกษาองค์ประกอบและรูปแบบการจัดกิจกรรม ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เรื่อง พลังงานไฟฟ้า กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน
ประกอบแผนจัดการเรียนรู้
3. ครูศึกษาส่วนประกอบของใบกิจกรรม และกิจกรรมระหว่างเรียน เรื่อง พลังงานไฟฟ้า กลุ่ม
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และนาไปใช้ประโยชน์
4. ครูจัดเตรียมชุ ดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ให้ครบตามจานวนนักเรียน
5. ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยครูผู้สอนใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) ดังนี้
5.1 ขั้นสร้างความสนใจ (E1 = Engagement)
5.2 ขั้นสารวจและ ค้นหา (E2 = Exploration)
5.3 ขั้นอภิปรายผลและลงข้อสรุป (E3 = Explanation)
5.4 ขั้นขยายความรู้ (E4 = Elaboration)
5.5 ขั้นประเมิน (E5 = Evaluation)
6. ครูชี้แจงให้นักเรียนทราบเกี่ยวกับบทบาทของนักเรียนในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ เรื่ อง พลังงานไฟฟ้ า กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 การวัดและ
ประเมินผลการเรียนรู้

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 4
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

คำชี้แจงสำหรับนักเรียน

ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ เรื่อง พลังงำนไฟฟ้ำ


ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้ำเบื้องต้น

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์


ชั้น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 สร้ างขึ้ น เพื่ อ ให้นั ก เรี ย นได้ศึ ก ษาด้ ว ยตนเอง โดยนั ก เรี ย นจะได้ ป ระโยชน์
จากบทเรียนตามจุดประสงค์ที่ตั้งไว้ นักเรียนควรปฏิบัติอย่างเคร่งครัด ดังนี้
1. นักเรียนอ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ก่อนลงมือทาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เรื่อง พลังงานไฟฟ้า
2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน 10 ข้อ
3. ศึกษาและทาความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหาจากใบความรู้ทุกครั้งก่อนลงมือทาใบกิจกรรม
4. ทาใบกิจกรรมที่ 1-4 อย่างตั้งใจและรอบคอบ เน้นความซื่อสัตย์
5. ตรวจคาตอบจากเฉลย
6. ทาแบบทดสอบหลังเรียน
7. ตรวจคาตอบของแบบทดสอบหลังเรียน
8. เมื่อเรียนจบในแต่ละเรื่อง บันทึกผลที่ได้ลงในแบบกรอกคะแนนเพื่อทราบ
ผลการเรียนและการพัฒนา
9. เห็นคุณค่าทางวิทยาศาสตร์ มีคุณลักษณะทางวิทยาศาสตร์ มีค่านิยมที่ดีงาม ใช้ความรู้
และกระบวนการทางวิ ทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีใ นการดารงชีวิ ต การศึ กษาหาความรู้ เพิ่ มเติ ม
ทาโครงงานหรือสร้างชิ้นงานตามความสนใจ

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 5
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

สำระ/มำตรฐำนกำรเรียนรู้/ตัวชี้วัด

ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ เรื่อง พลังงำนไฟฟ้ำ


ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้ำเบื้องต้น

สำระที่ 5 พลังงำน

มำตรฐำน ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนรูป


พลังงานปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม
มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์

ตัวชี้วัด

ว 5.1 ม.3/2 ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ กระแสไฟฟ้า


ความต้านทาน และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์

สำระสำคัญ

ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไ ฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า การใช้


โวลต์มิ เ ตอร์ แอมมิ เ ตอร์ ในการต่ อเข้ ากั บ วงจรไฟฟ้า เพื่อ วั ดค่ า ความต่ า งศั ก ย์ กระแสไฟฟ้า และ
การคานวณหาค่าความต่างศักย์ กระแสไฟฟ้า และความต้านทานโดยใช้กฎของโอห์ม

สำระกำรเรียนรู้

- กระแสไฟฟ้า
- ความต่างศักย์ไฟฟ้า
- ความต้านทานไฟฟ้า
- ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้ากับกระแสไฟฟ้า

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 6
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

จุดประสงค์กำรเรียนรู้

ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ เรื่อง พลังงำนไฟฟ้ำ


ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้ำเบื้องต้น

1. ด้ำนควำมรู้ (Knowledge: K)

1.1 บอกความหมายและประเภทของวงจรไฟฟ้าได้
1.2 อธิบายการต่อวงจรไฟฟ้าแต่ละแบบและคุณสมบัติได้
1.3 บอกความหมายของพลังงานและพลังงานไฟฟ้าได้
1.4 อธิบายการเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานรูปแบบอื่น ๆ ได้
1.5 คานวณหาความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้ากับกระแสไฟฟ้าได้
1.6 อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานไฟฟ้ากับกระแสไฟฟ้าได้

2. ด้ำนทักษะกระบวนกำร (Process: P)

2.1 ทดลองและอธิบายวิธีการต่อหลอดไฟ 2 หลอด เช้าในวงจรไฟฟ้าเบื้องต้นแบบต่าง ๆ ได้


2.2 เปรียบเทียบความสว่างของหลอดไฟในการต่อแต่ละแบบได้
2.3 ทดลองและอธิบายพลังงานไฟฟ้าของแหล่งกาเนิดไฟฟ้ามีความสัมพันธ์กับความต่างศักย์
ของแหล่งกาเนิดไฟฟ้าได้
2.4 ทดลองและอธิบายวิธีการวัดกระแสไฟฟ้าได้
2.5 ทดลองและสรุปความสัมพันธ์ระหว่างความสว่างของหลอดไฟและกระแสไฟฟ้าที่ผ่าน
หลอดไฟฟ้าได้
2.6 ทักษะกระบวนการกลุ่ม

3. ด้ำนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude: A)

3.1 ใฝ่เรียนรู้
3.2 มุ่งมั่นในการทางาน

4. ด้ำนสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

4.1 ความสามารถในการคิด
4.2 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 7
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

สื่อกำรเรียนรู้

ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ เรื่อง พลังงำนไฟฟ้ำ


ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้ำเบื้องต้น

รำยกำรสื่อกำรเรียนรู้ ทั้งหมด 11 รำยกำร


1. แบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น
2. ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น
3. กิจกรรมการทดลองที่ 1 เรื่อง การต่อเครื่องใช้ไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้า
4. ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น
5. ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง พลังงานไฟฟ้า
6. กิจกรรมการทดลองที่ 2 เรื่อง พลังงานไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้า
7. ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง พลังงานไฟฟ้า
8. ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การวัดค่ากระแสไฟฟ้า
9. กิจกรรมการทดลองที่ 3 เรื่อง การวัดค่ากระแสไฟฟ้า
10. ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่อง การวัดค่ากระแสไฟฟ้า
11. ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์กับกระแสไฟฟ้า
12. แบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 8
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

แบบทดสอบก่อนเรียน

ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ เรื่อง พลังงำนไฟฟ้ำ


ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้ำเบื้องต้น

คำชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้มี 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน


2. แบบทดสอบนี้เป็นแบบเลือกตอบ
3. ให้นักเรียนทาเครื่องหมายลงในกระดาษคาตอบ โดยเลือกตัวอักษร ก ข ค และ ง ที่ถูก
ที่สุดเพียงข้อเดียว

1. ภวภพต้องการจะวัดกระแสไฟฟ้าในวงจร ต้องใช้เครื่องมือชนิดใดและต่ออย่างไร
ก. แอมมิเตอร์ ต่อแบบขนาน
ข. โวลต์มิเตอร์ ต่อแบบขนาน
ค. แอมมิเตอร์ ต่อแบบอนุกรม
ง. โวลต์มิเตอร์ ต่อแบบอนุกรม
2. ภูวนัยต้องการวัดความต่างศักย์ของกระแสไฟฟ้า ต้องใช้เครื่องมือชนิดใดและต่ออย่างไร
ก. แอมมิเตอร์ ต่อแบบขนาน
ข. โวลต์มิเตอร์ ต่อแบบขนาน
ค. แอมมิเตอร์ ต่อแบบอนุกรม
ง. โวลต์มิเตอร์ ต่อแบบอนุกรม
3. ไฟฟ้ากระแสตรงและไฟฟ้ากระแสสลับมีความแตกต่างกันอย่างไร
ก. ทิศทางการไหล
ข. ความเข็มของแสง
ค. แหล่งกาเนิดไฟฟ้า
ง. ปริมาณกระแสไฟฟ้า
4. คุณสมบัติของมอเตอร์ไฟฟ้า ตรงกับข้อใด
ก. เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานกล
ข. เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานจลน์
ค. เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานความร้อน
ง. เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานแสงอาทิตย์

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 9
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

5. ตาราง กาลังไฟฟ้าและความต่างศักย์ของเครื่องใช้ไฟฟ้าต่าง
ชนิดของ
กำลังไฟฟ้ำ (วัตต์) ควำมต่ำงศักย์ (โวลต์)
เครื่องใช้ไฟฟ้ำ
หลอดไฟฟ้ำ 60 220
ตู้เย็น 320 220
หม้อหุงข้ำว 700 220
เตำรีดไฟฟ้ำ 850 220

เมื่อใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าในตารางชนิดใดที่มีปริมาณกระแสไฟฟ้าไหลผ่านมากที่สุดและน้อยที่สุด
ก. หม้อหุงข้าว ตู้เย็น
ข. ตู้เย็น หลอดไฟฟ้า
ค. หลอดไฟฟ้า เตารีดไฟฟ้า
ง. เตารีดไฟฟ้า หลอดไฟฟ้า
6. วัตถุในข้อใดเป็นตัวนาไฟฟ้าทั้งหมด
ก. ผ้า เหล็ก เชือกฟาง และพลาสติก
ข. เงิน ตะกั่ว ทองแดง และคาร์บอน
ค. เหล็ก ทองแดง อากาศ และสังกะสี
ง. ตะกั่ว สังกะสี ทองแดง และยางรถยนต์
7. กฎของโอห์มจะเกิดขึ้นได้จะต้องประกอบด้วยค่าพื้นฐานในข้อใดบ้าง
ก. กระแส แรงดัน และกาลังไฟฟ้า
ข. กระแส แรงดัน และความต้านทาน
ค. แรงดัน ความต้านทาน และกาลังไฟฟ้า
ง. กระแส ความต้านทาน และกาลังไฟฟ้า
8. ข้อใดเป็นการกดสวิตซ์เปิดไฟ
ก. การทาให้วงจรปิด มีกระแสไฟฟ้าไหล
ข. การทาให้วงจรเปิด มีกระแสไฟฟ้าไหล
ค. การทาให้วงจรปิด ไม่มีกระแสไฟฟ้าไหล
ง. การทาให้วงจรเปิด ไม่มีกระแสไฟฟ้าไหล

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 10
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

9. ไฟฟ้าเกิดขึ้นได้อย่างไร
ก. ไฟฟ้าเกิดจากวัตถุ 2 ชนิดมาประทะกัน
ข. ไฟฟ้าเกิดจากการทางานของเครื่องยนต์
ค. ไฟฟ้าเกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน
ง. ไฟฟ้าเกิดจากการเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้า
10. ข้อใดคือ เครื่องมือที่ใช้วัดความต่างศักย์ไฟฟ้า
ก. แอมมิเตอร์
ข. โวลต์มิเตอร์
ค. โอห์มมิเตอร์
ง. กัลป์วานแอมมิเตอร์

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 11
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

กระดำษคำตอบแบบทดสอบก่อนเรียน

ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ เรื่อง พลังงำนไฟฟ้ำ


ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้ำเบื้องต้น

ชื่อ………………………………………………………...... นำมสกุล ……………………………………………….


ชั้น …………………… เลขที่ ………………..

ข้อ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

คะแนนทีไ่ ด้

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 12
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ใบควำมรู้ที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้ำเบื้องต้น

วงจรไฟฟ้าเป็นการนาเอาสายไฟฟ้าหรือตัวนาไฟฟ้าที่เป็น
เส้นทางเดินให้กระแสไฟฟ้าสามารถไหลผ่านต่อถึงกันได้นั้นเราเรียกว่า
วงจรไฟฟ้ำ การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนที่อยู่ภายในวงจรจะเริ่มจากแหล่งจ่ายไฟไปยังอุปกรณ์ไฟฟ้า
ดังการแสดงการต่อวงจรไฟฟ้าเบื้องต้น โดยการต่อแบตเตอรี่ต่อเข้ากับหลอดไฟหลอดไฟฟ้าสว่างได้
เพราะว่ า กระแสไฟฟ้ า สามารถไหลได้ ต ลอดทั้ ง วงจรไฟฟ้ า และเมื่ อ หลอดไฟฟ้ า ดั บ ก็ เ พราะว่ า
กระแสไฟฟ้าไม่สามารถไหลได้ตลอดทั้งวงจรเนื่องจากสวิตซ์เปิดวงจรไฟฟ้าอยู่นั่นเอง

ประเภทของวงจรไฟฟ้ำ

วงจรไฟฟ้าแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ วงจรเปิดและวงจรปิด


1. วงจรเปิด คือ วงจรที่กระแสไฟฟ้าไม่สามารถไหลได้ครบวงจร ซึ่งเป็นผลทาให้เครื่องใช้ไฟฟ้า
ที่ต่ออยู่ในวงจรไม่สามารถจ่ายพลังงานออกมาได้ สาเหตุของวงจรเปิดอาจเกิดจากสายหลุด
สายขาด สายหลวม สวิตซ์ไม่ต่อวงจร หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าชารุด เป็นต้น
2. วงจรปิด คือ วงจรที่กระแสไฟฟ้าไหลได้ครบวงจร ทาให้โหลดหรือเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ต่ออยู่ใน
วงจรนั้น ๆ ทางาน

วงจรปิด วงจรเปิด

ภาพที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น
ที่มา: http://www.kksci.com/elreaning/phi/page/phi_1.htm

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 13
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ส่วนประกอบสำคัญของวงจรไฟฟ้ำ

1. แหล่งกำเนิดไฟฟ้ำ หมายถึง แหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้าไปยังวงจรไฟฟ้า เช่น แบตเตอรี่


2. ตัวนำไฟฟ้ำ หมายถึง สายไฟฟ้าหรือสื่อที่จะเป็นตัวนาให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไปยัง
เครื่องใช้ไฟฟ้า ซึ่งต่อระหว่างแหล่งกาเนิดกับเครื่องใช้ไฟฟ้า
3. เครื่องใช้ไฟฟ้า หมายถึง เครื่องใช้ที่สามารถเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานรูปแบบ
อื่นๆ ซึ่งจะเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า โหลด สาหรับสวิตซ์ไฟฟ้านั้นเป็นส่วนหนึ่งของวงจรไฟฟ้า มีหน้าที่ใน
การควบคุมการทางานให้มีความสะดวกและปลอดภัยมากยิ่งขึ้น ถ้าไม่มีสวิตซ์ไฟฟ้าก็จะไม่มีผลต่อการ
ทางานวงจรไฟฟ้าใด ๆ เลย

ก. แหล่งกาเนิดไฟฟ้า ข. ตัวนาไฟฟ้า

ค. เครื่องใช้ไฟฟ้า

ภาพที่ 2 แหล่งกาเนิดไฟฟ้า
ที่มา https://th.pngtree.com/freepng/cartoon-hand-painted-electrical-vector-
material_3235908.html

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 14
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

กำรต่อวงจรไฟฟ้ำสำมำรถแบ่งวิธีกำรต่อได้ 3 แบบ ดังนี้

การต่อวงจรแบบอนุกรม

การต่อวงจรแบบอนุกรม เป็นการนาเอาเครื่องใช้ไฟฟ้าหรือโหลดหลาย ๆ อันมาต่อเรียง


กันไปเหมือนลูกโซ่ กล่าวคือ ปลายของเครื่องใช้ไฟฟ้าตัวที่ 1 นาไปต่อกับต้นของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ตัวที่ 2 และต่อเรียงกันไปเรื่อย ๆ จนหมด แล้วนาไปต่อเข้ากับแหล่งกาเนิด การต่อวงจร
แบบอนุกรมจะมีทางเดินของกระแสไฟฟ้าได้ทางเดียวเท่านั้น ถ้าเกิดเครื่องใช้ไฟฟ้าตัวใด
ตัวหนึ่งเปิดวงจรหรือขาดจะทาให้วงจรทั้งหมดไม่ทางาน

ภาพที่ 3 การต่อวงจรแบบอนุกรม
ที่มา https://www.omsschools.com

คุณสมบัติของกำรต่อวงจรแบบอนุกรม
 กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านเท่ากันตลอดวงจร
 แรงดันไฟฟ้าตกคร่อมส่วนต่าง ๆ ของวงจร เมื่อนามารวมกันแล้วจะเท่ากับแรงดันไฟฟ้าที่
แหล่งกาเนิด
 ความต้านทานรวมของวงจร จะมีค่าเท่ากับผลรวมของความต้านทานแต่ละตัวในวงจร
รวมกัน

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 15
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

การต่อวงจรแบบขนาน

การต่อวงจรแบบขนาน เป็นการนาเอาต้นของเครื่องใช้ไฟฟ้าทุก ๆ ด้านต่อรวมกัน และ


ต่อเข้ากับแหล่งกาเนิดที่จุดหนึ่ง นาปลายสายของทุก ๆ ด้านมาต่อรวมกันและนาไปต่อ
กับแหล่งกาเนิดอีกจุดหนึ่งที่เหลือ ซึ่งเมื่อเครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละอันต่อเรียบร้อยแล้วจะกลาย
เป็นวงจรย่อย กระแสไฟฟ้าที่ไหลจะสามารถไหลได้หลายทาง ขึ้นอยู่กับตัวของเครื่องใช้
ไฟฟ้าที่นามามาต่อขนานกัน ถ้าเกิดในวงจรมีเครื่องใช้ไฟฟ้าตัวหนึ่งขาดหรือเปิดวงจร
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เหลือก็ยังสามารถทางานได้ ในบ้านเรือนที่อยู่อาศัยปัจจุบันจะเป็น
การต่อวงจรแบบนี้ทั้งสิ้น

ภาพที่ 4 การต่อวงจรแบบขนาน
ที่มา https://www.omsschools.com

คุณสมบัติของกำรต่อวงจรแบบขนำน
 กระแสไฟฟ้ารวมของวงจรขนาน จะมีค่าเท่ากับกระแสไฟฟ้าย่อยที่ไหลในแต่ละสาขาของ
วงจรรวมกัน
 แรงดันไฟฟ้าตกคร่อมส่วนต่าง ๆ ของวงจรจะเท่ากับแรงดันไฟฟ้าที่แหล่งกาเนิดในวงจร
 ความต้านทานรวมของวงจร จะมีค่าน้อยกว่าความต้านทานตัวที่น้อยที่สุดที่ต่ออยู่ในวงจร

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 16
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

การต่อวงจรแบบผสม

การต่อวงจรแบบผสม เป็นวงจรที่นาเอาวิธีการต่อแบบอนุกรมและวิธีการต่อแบบขนาน
มารวมให้เป็นวงจรเดียวกัน ซึ่งสามารถแบ่งตามลักษณะของการต่อได้ 2 ลักษณะ ดังนี้
วงจรผสมแบบอนุกรม-ขนาน เป็นการนาเครื่องใช้ไฟฟ้าหรือโหลดไปต่อกันอย่าง
อนุกรมก่อน แล้วจึงนาไปต่อกันแบบขนานอีกครั้งหนึ่ง
วงจรผสมแบบขนาน-อนุกรม เป็นการนาเครื่องใช้ไฟฟ้าหรือโหลดไปต่อกันอย่าง
ขนานก่อน แล้วจึงนาไปต่อกันแบบอนุกรมอีกครั้งหนึ่ง

ภาพที่ 5 การต่อวงจรแบบผสม
ที่มา https://www.omsschools.com
คุณสมบัติของกำรต่อวงจรแบบผสม
เป็นการนาคุณสมบัติของวงจรอนุกรมและคุณสมบัติของวงจรขนานมารวมกัน หมายความว่า
ถ้าตาแหน่งที่มีการต่อแบบอนุกรม ก็เอาคุณสมบัติของวงจรการต่อแบบอนุกรมมาพิจารณาตาแหน่งใด
ที่มีการต่อแบบขนานก็เอาคุณสมบัติของวงจรการต่อแบบขนานมาพิจารณาไปทีละขั้นตอน

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 17
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ควำมหมำยทำงไฟฟ้ำ

แรงดันไฟฟ้า หรือแรงเคลื่อนไฟฟ้า หมายถึงแรงที่ดันให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านความ


ต้านทานของวงจรไปได้ ใช้แทนด้วยตัว E มีหน่วยวัดเป็นโวลต์ (V)

กระแสไฟฟ้า หมายถึง การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระจากอะตอมหนึ่งไปยัง


อะตอมหนึ่งจะไหลมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความต้านทานของวงจร ใช้แทนด้วยตัว I มีหน่วย
วัดเป็นแอมแปร์ (A)

ความต้านทานไฟฟ้า หมายถึง ตัวที่ต้านการไหลของกระแสไฟฟ้าให้ไหลในจานวน


จากัด ซึ่งอยู่ในรูปของเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิด เช่น แผ่นลวดความร้อนของเตารีด หม้อหุงข้าว
หลอดไฟฟ้า เป็นต้น เครื่องใช้ไฟฟ้าเหล่านี้ต้านการไหลของกระแสไฟฟ้าให้ไหลในจานวน
จากัด ใช้แทนด้วยตัว R มีหน่วยวัดเป็นโอห์ม (Ω)

กาลังงานไฟฟ้า หมายถึง อัตราการเปลี่ยนแปลงพลังงาน หรืออัตราการทางาน


ได้จากผลคูณของแรงดันไฟฟ้ากับกระแสไฟฟ้า ใช้แทนด้วยตัว P มีหน่วยวัดเป็นวัตต์ (W)

พลังงานไฟฟ้า หมายถึง กาลังไฟฟ้าที่นาไปใช้ในระยะเวลาหนึ่ง มีหน่วยวัดเป็นวัตต์


ชั่วโมง (Wh) หรือยูนิต ใช้แทนด้วยตัว W

ไฟฟ้าลัดวงจรหรือไฟฟ้าช็อต หมายถึง การที่ไฟฟ้าไหลผ่านจากสายไฟฟ้าเส้นหนึ่ง


ไปยังอีกเส้นหนึ่ง โดยไม่ผ่านเครื่องใช้ไฟฟ้าหรือโหลดใด ๆ สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากฉนวน
ของสายไฟฟ้าชารุด และมาสัมผัสกันจึงมีความร้อนสูง มีประกายไฟทาให้เกิดเพลิงไหม้ได้
ถ้าบริเวณนั้นมีวัสดุไวไฟ

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 18
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ไฟฟ้าดูด หมายถึง การที่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกาย ซึ่งจะทาให้เกิดอาการ


กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง หัวใจทางานผิดจังหวะ เต้นอ่อนลงจนหยุดเต้น และเสียชีวิตในที่สุด
แต่อย่างไรก็ตามความรุนแรงของอันตรายจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณของกระแส
เวลาและเส้นทางที่กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน

ไฟฟ้ารัว่ หมายถึง สายไฟฟ้าเส้นที่มีไฟจะไหลไปสู่ส่วนที่เป็นโลหะของ


เครื่องใช้ไฟฟ้า ถ้าไม่มีสายดินก็จะทาให้ได้รับอันตราย แต่ถ้ามีสายดินก็จะทาให้กระแสไฟฟ้า
ที่ไหลอยู่นั้นไหลลงดินแทน

ไฟฟ้าเกิน หมายถึง การใช้ไฟฟ้าเกินกว่าขนาดของอุปกรณ์ตัดตอนทางไฟฟ้า


ทาให้มีการปลดวงจรไฟฟ้า อาการนี้สังเกตได้คือจะเกิดหลังจากที่ได้เปิดใช้ไฟฟ้าสักครู่
หรืออาจนานหลายนาทีจึงจะตรวจสอบเจอ

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 19
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ใบกิจกรรมกำรทดลองที่ 1

เรื่อง กำรต่อเครื่องใช้ไฟฟ้ำเข้ำในวงจรไฟฟ้ำ

กลุ่มที่ …………………..
สมาชิกลุ่ม
1. ชื่อ……………………………………………………………………………………………เลขที่………………..
2. ชื่อ……………………………………………………………………………………………เลขที่………………..
3. ชื่อ……………………………………………………………………………………………เลขที่………………..
4. ชื่อ……………………………………………………………………………………………เลขที่………………..
5. ชื่อ……………………………………………………………………………………………เลขที่………………..

จุดประสงค์

1. ทดลองและอธิบายวิธีการต่อหลอดไฟ 2 หลอด เช้าในวงจรไฟฟ้าเบื้องต้นแบบต่าง ๆ ได้


2. เปรียบเทียบความสว่างของหลอดไฟในการต่อแต่ละแบบได้

วัสดุ/อุปกรณ์

1. หม้อแปลงไฟฟ้าโวลต์ต่า จานวน 1 เครื่อง/กลุ่ม


2. หลอดไฟฟ้าขนาด 6 โวลต์ จานวน 2 หลอด/กลุ่ม
3. ฐานหลอดไฟ จานวน 2 อัน/กลุ่ม
4. สวิตซ์ จานวน 1 อัน/กลุ่ม
5. สายไฟฟ้า จานวน 6-8 เส้น/กลุ่ม

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 20
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

วิธีการทดลอง

1. ให้นักเรียนต่อวงจรไฟฟ้า ซึ่งประกอบด้วยหม้อแปลงไฟฟ้าโวลต์ต่า หลอดไฟฟ้าขนาด


6 โวลต์ จานวน 1 หลอด และสวิตซ์ ดังภาพที่ 2 กดสวิตซ์ (วงจรปิด) สังเกตความสว่างของ
หลอดไฟฟ้า
2. ให้นักเรียนต่อหลอดไฟฟ้าขนาด 6 โวลต์ อีก 1 หลอด ด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การต่อแบบอนุกรม
และการต่อแบบขนานเข้ากับวงจรไฟฟ้าในข้อ 1 กดสวิตซ์ (วงจรปิด) สังเกตความสว่างของ
หลอดไฟฟ้า พร้อมทั้งวาดวงจรไฟฟ้าประกอบ

ภาพที่ 5 การต่อเครื่องใช้ไฟฟ้าเข้าในวงจรไฟฟ้า
ที่มา https://physicskruadd.wordpress.com

3. บันทึกผลการสังเกตความสว่างของหลอดไฟฟ้า พร้อมทั้งวาดภาพวงจรไฟฟ้าลงในแบบบันทึก
กิจกรรม

แบบบันทึกผลการทดลอง

…………………………………………………………………..………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………..………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………..………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………..………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………..………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………..………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………..………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………..…………………………………………………………………………

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 21
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ภาพวาดวงจรไฟฟ้า

คาถามท้ายกิจกรรมทางทดลอง

1. จากการทากิจกรรมที่ 1 นักเรียนนาหลอดไฟฟ้า 2 หลอด มาต่อกันแบบใดบ้าง


……………………………………………………….……………………………………………………….………………………
……………………………………………………….……………………………………………………….………………………
2. เมื่อกดสวิตซ์ ให้กระแสไฟฟ้าเคลื่อนที่เข้าไปในวงจรไฟฟ้าแต่ละแบบที่มีหลอดไฟฟ้า 2 หลอด
ความสว่างของหลอดไฟฟ้าในแต่ละวงจรเป็นอย่างไร
……………………………………………………….……………………………………………………….………………………
……………………………………………………….……………………………………………………….………………………
3. การต่อเครื่องใช้ไฟฟ้าแบบขนานเข้าในวงจรไฟฟ้ามีข้อดีอย่างไร
……………………………………………………….……………………………………………………….………………………
……………………………………………………….……………………………………………………….………………………

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 22
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

สรุปผลการทดลอง

……………………………………………………….……………………………………………………….…………………………….
……………………………………………………….……………………………………………………….…………………………….
……………………………………………………….……………………………………………………….…………………………….
……………………………………………………….……………………………………………………….…………………………….
……………………………………………………….……………………………………………………….…………………………….
……………………………………………………….……………………………………………………….…………………………….
……………………………………………………….……………………………………………………….…………………………….

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 23
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้ำเบื้องต้น

คำชี้แจง : ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง (10 คะแนน)

1. วงจรที่กระแสไฟฟ้าไหลได้ครบวงจร ทาให้โหลดที่ต่ออยู่ในวงจรนั้นทางาน คือ


………………………..
2. เส้นทางที่กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไปได้ครบรอบ หมายถึง
…………………………………………………………
3. วงจรเปิด คือ
……………………………………………………………………………………………………………………
4. การต่อหลอดไฟในบ้าน ควรต่อ…………………………………. เพราะทาให้หลอดไฟแต่ละหลอดได้รับ
ความต่างศักย์ไฟฟ้าเท่ากัน
5. การต่อวงจร…………………………………. ทาให้ความต้านทานรวมในวงจรเพิ่มขึ้น
6. แหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้าไปยังวงจรไฟฟ้า เช่น แบตเตอรี่ คือ
……………………………………………………
7. การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระจากอะตอมหนึ่งไปยังอะตอมหนึ่ง มีหน่วยวัดเป็น แอมแปร์
หมายถึง ………………………………………………………………………………………………………………………………
8. ………………………………….. หมายถึง การที่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกาย ทาให้เกิดอาการ
กล้ามเนือ้ แข็งเกร็ง หัวใจทางานผิดจังหวะและเสียชีวิตในที่สุด
9. ตัวต้านการไหลของกระแสไฟฟ้าให้ไหลในจานวนจากัด อยู่ในรูปของเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิด เช่น
หม้อหุงข้าว หลอดไฟฟ้า คือ ……………..…………………………………………………………………………………
10. วงจรที่นาเอาวิธีการต่อแบบอนุกรมและวิธีการต่อแบบขนานมารวมให้เป็นวงจรเดียวกัน คือ
……..……………………………………………………………………………………………………………………………………

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 24
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ใบควำมรู้ที่ 2 เรื่อง พลังงำนไฟฟ้ำ

พลังงำน คือ ความสามารถในการทางานมีอยู่หลายรูปแบบ


สามารถแบ่งได้เป็น 2 ใหญ่ ๆ ได้แก่ พลังงานที่ทางานได้ลพลังงาน
ที่เก็บสะสมไว้พลังงานที่ทางานได้ที่สาคัญได้แก่พลังงานไฟฟ้า พลังงานแสงและพลังงานเสียง
ส่วนพลังงานที่เก็บสะสมไว้ประกอบด้วย พลังงานเคมี หมายถึง พลังงานที่เก็บสะสมไว้ในสสารต่าง ๆ
พลังงานนิวเคลียร์ หมายถึง พลังงานที่เก็บสะสมไว้ในธาตุและพลังงานศักย์ หมายถึง พลังงานที่มีอยู่
ในวัตถุซึ่งขึ้นอยู่กับตาแหน่งของวัตถุนั้น ๆ แบ่งออกเป็นพลังงานศักย์โน้มถ่วงและพลังงานศักย์
ยืดหยุ่น

พลังงานไฟฟ้า (Electrical Energy) หมายถึง พลังงานรูปแบบหนึ่ง ซึ่งสามารถ


เปลี่ยนไปเป็นพลังงานอีกรูปแบบหนึ่งได้ เกิดจากแหล่งกาเนิดหลายประเภท ซึ่งการนาพลังงาน
ไฟฟ้ามาใช้จะต้องมีการเชื่อมต่อแหล่งกาเนิดไฟฟ้าเข้ากับสิ่งที่จะนาพลังงานไฟฟ้าไปใช้เรียกว่า
วงจรไฟฟ้า โดยพลังงานไฟฟ้าที่ได้ก็จะถูกเปลี่ยนรูปไปเป็นพลังงานรูปแบบต่าง ๆ
เช่น พลังงานกล พลังงานความร้อนพลังงานเสียง พลังงานแสง เป็นต้น พลังงาน
ไฟฟ้ามีหน่วยเป็น จูล (J) พลังงานไฟฟ้าใช้สัญลักษณ์ตัว “W”

แหล่งกาเนิดไฟฟ้าเป็นส่วนที่ทาให้กระแสไฟฟ้าไหลเข้าสู่เครื่องใช้ไฟฟ้าในวงจร
เพื่อให้เครื่องไฟฟ้าเหล่านั้นทางานได้โดยแหล่งกาเนิดไฟฟ้ามีอยู่หลายแหล่ง
ซึ่งแต่ละแหล่งมีหลักการทาให้เกิดและนามาใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกัน ดังนี้

1. ไฟฟ้าจากการขัดสี เกิดจากการนาวัสดุต่างชนิดกันมาขัดถูแล้วทาให้เกิดอานาจอย่างหนึ่ง
ขึ้นมาและสามารถดูดวัตถุอื่น ๆ ที่เบาบางได้ เราเรียกอานาจนั้นว่า ไฟฟ้าสถิต ซึ่งเมื่อเกิดขึ้นแล้วจะ
อยู่ในวัตถุได้ชั่วขณะหนึ่งแล้วหลังจากนั้นก็จะค่อย ๆ เสื่อมลงไปจนสุดท้ายก็หมดไปในที่สุด
2. ไฟฟ้าจากปฏิกิริยาเคมี การเกิดปฏิกิริยาเคมีจะทาให้ประจุไฟฟ้าในสารเคมีนั้น
เคลื่อนที่ผ่านตัวนา ทาให้เกิดเป็นไฟฟ้ากระแสขึ้นได้เรานาหลักการนี้ไปประดิษฐ์
ถ่านไฟฉายและแบตเตอรี่รถยนต์

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 25
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

3. ไฟฟ้าจากสนามแม่เหล็ก เกิดขึ้นได้เมื่อมีการหมุนหรือเคลื่อนที่ผ่านขดลวดตัดกับ
สนามแม่เหล็กทาให้เกิดกระแสไฟฟ้าในขดลวดซึ่ง เรานาหลักการนี้ไ ปสร้างเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
ที่เรียกกว่า ไดนาโม ซึ่งสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ทั้งไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลับ
4. ไฟฟ้ า จากแรงกดดั น แร่ ธ าตุ บ างชนิ ด เมื่ อ ได้ รั บ แรงกดดั น มาก ๆ จะปล่ อ ย
กระแสไฟฟ้าออกมาได้ ซึ่งเรานาแร่ธาตุเหล่านี้มาใช้ประโยชน์ในการทาไมโครโฟน หัวเข็มของ
เครื่องเล่นแผ่นเสียง เป็นต้น
5. กระแสไฟฟ้าจากสัตว์บางชนิด สัตว์น้าบางชนิดมีกระแสไฟฟ้าอยู่ในตัว เมื่อเรา
ถูกต้องตัวสัตว์เหล่านั้นจะถูกไฟฟ้าจากสัตว์เหล่านั้นดูดได้ เช่น ปลาไหลไฟฟ้า เป็นต้น
6. กระแสไฟฟ้าจากความร้อน เป็นกระแสไฟฟ้าที่ได้จากการนาโลหะไปเผาให้ร้อน

การเปลี่ยนรูปพลังงาน โดยปกติพลังงานสามารถเปลี่ยนรูปเป็นพลังงานอีกรูปแบบหนึ่งได้
ซึ่งเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านเป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานเสียง เป็นต้น บางครั้งเครื่องใช้ไฟฟ้าบางชนิด
ยังสามารถเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานรูปอืน่ ได้หลายรูปในเวลาเดียวกัน

1. การเปลี่ยนรูปเป็นพลังงานแสงสว่าง เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็น
พลังงานแสงสว่าง คือ หลอดไฟฟ้า ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ หลอดธรรมดา หรือหลอด
แบบมีไส้ ซึ่งมีลักษณะเป็นรูปกระเปาะแก้วใสภายในมีไส้หลอดขดเป็นสปริงบรรจุอยู่ ปัจจุบัน
นั้น
ทาด้วยโลหะทังสเตนกับออสเมียม ภายในหลอดบรรจุแก๊สไนโตรเจนและอาร์กอน
เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านไส้หลอดที่มีความต้านทานสูง ไส้หลอดจะร้อนจน
เปล่งแสงออกมาได้ และหลอดฟลูออเรสเซนต์เป็นหลอดเรืองแสงที่บุคลทั่วไป
เรียกว่า หลอดนีออน มีหลายรูปแบบภายในเป็นสุญญากาศบรรจุไอปรอทไว้เล็กน้อย
ผิวด้านในฉาบไว้ด้วยสารเรืองแสง เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านไอปรอทอะตอมของ
ปรอทจะคายรังสีอัตราไวโอเลตออกมา และเมื่อรังสีนี้กระทบกับสารเรืองแสง
จะเปล่งแสงสว่าง ปัจจุบันมีการผลิตออกมาหลายรูปแบบ เช่น หลอดซุปเปอร์
หรือหลอดผอม หลอดตะเกียบ ซึ่งช่วยประหยัดไฟฟ้าได้ดี

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 26
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

2. การเปลี่ยนรูปเป็นพลังงานความร้อน เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน
ภายในจะมีอุปกรณ์สาคัญ คือ ขดลวดต้านทานหรือขดลวดความร้อนติดตั้งอยู่ เมื่อไฟฟ้า
ไหลผ่านขดลวดนี้จะทาให้เกิดความร้อนขึ้น ขดลวดที่นิยมใช้มากที่สุด คือ ขดลวดนิโครม
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อนได้แก้ เตารีดไฟฟ้า หม้อหุงข้าวไฟฟ้า กาต้มน้าร้อน
ไฟฟ้า เครื่องปิ้งขนมปัง ไดร์เป่าผม เป็นต้น

3. การเปลี่ยนเป็นพลังงานกล เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล เรียกว่า มอเตอร์ ซึ่งมี


ส่วนประกอบที่สาคัญ คือ ไดนาโมแต่จะทางานตรงข้ามกับไดนาโมนั้น คือ มอเตอร์จะ
เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานกล เช่น พัดลม เครื่องปั่น เครื่องดูดฝุ่น เครื่องเล่นวีซีดี
ตู้เย็น เครื่องปรับอากาศ เครื่องซักผ้า เป็นต้น
4. การเปลี่ยนพลังงานเลียง เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานเลียงมีอยู่มากมาย เช่น
เครื่องรับวิทยุ เครื่องบันทึกเสียง เครื่องขยายเสียง เป็นต้น

การวัดความต่างศักย์ไฟฟ้าหรือความต่างกันของพลังงานไฟฟ้าระหว่างจุด 2 จุดในวงจรไฟฟ้า
ใช้เครื่องมือที่เรียกว่า โวลต์มิเตอร์ หน่วยที่ใช้วัดผ่านโวลต์มิเตอร์ เรียกว่า โวลต์ เวลาใช้วัดต้องต่อ
แบบขนานเข้ากับวงจร โดยนาโวลต์ มิเตอร์มาต่อคร่อม 2 จุด ที่ต้องการวัด ความต่างศักย์ในโวลต์
มิเตอร์มีความต้านทานสูงมาก การใช้โวลต์มิเตอร์ ต้องคานึกถึง การต่อขั้วไฟฟ้าทั้ง 2 ขั้ว ต้อต่อให้
ถูกต้อง คือ ต่อขั้วลบของวงจรไฟฟ้ากับขั้วลบของโวลต์มิเตอร์ ขั้วบวกของวงจรไฟฟ้าต่อเข้ากับขั้วบวก
ของโวลต์มิเตอร์ และการใช้โวลต์มิเตอร์ต้องให้มีค่าความต่างศักย์ไม่เกินค่าความต่างศักย์สูงสุดของ
โวลต์ มิ เ ตอร์ การวั ด ความต่ า งศั ก ย์ ข องถ่ า นไฟฉายมี ค่ า ความ ต่ า งศั ก ย์ ป ระมาณ 1.5 โวลต์
ส่วนแบตเตอรี่ในรถยนต์มีความต่างศักย์ประมาณ 12 โวลต์ และความต่างศักย์ของพลังงานไฟฟ้าที่ใช้
ตามบ้ายเรือนมีค่ามากถึง 220 โวลต์ ค่าความต่างศักย์ที่มีมากขึ้นแสดงว่ามีพลังงานไฟฟ้ามากขึ้นและ
จะเป็นอันตรายต่อชีวิตมากขึ้น
นอกจากค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าแล้วยัง มีปริมาณไฟฟ้าอื่นอีก คือ กระแสไฟฟ้า เพราะเมื่อมี
วงจรไฟฟ้ า กระแสไฟฟ้ า จะไหลหรื อ เคลื่ อ นที่ จ ากขั้ ว บวกผ่ า นวงจรไฟฟ้ า ไปยั ง ขั้ ว ลบ ปริ ม าณ
กระแสไฟฟ้าที่ไหลในวงจรสามารถวัดได้โดยใช้เครื่องวัดกระแสไฟฟ้าหรือแอมมิเตอร์

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 27
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ภาพที่ 6 การต่อวงจรเพื่อวัดค่ากระแสไฟฟ้า
ที่มาภาพ : https://www.youtube.com/watch?v=c7K0G8l9LxM

ภาพที่ 7 โวลต์มิเตอร์เครื่องมือวัดความต่าง ภาพที่ 8 แอมมิเตอร์ เครื่องมือวัดกระแสไฟฟ้า


ศักย์ไฟฟ้าในวงจร ที่มาภาพ : https://www.youtube.com
ที่มาภาพ : http://www.maceducation.com

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 28
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ใบกิจกรรมกำรทดลองที่ 2

เรื่อง พลังงำนไฟฟ้ำในวงจรไฟฟ้ำ

กลุ่มที่ …………………..
สมาชิกลุ่ม
1. ชื่อ……………………………………………………………………………………………เลขที่………………..
2. ชื่อ……………………………………………………………………………………………เลขที่………………..
3. ชื่อ……………………………………………………………………………………………เลขที่………………..
4. ชื่อ……………………………………………………………………………………………เลขที่………………..
5. ชื่อ……………………………………………………………………………………………เลขที่………………..

จุดประสงค์

1. ทดลองและอธิบายพลังงานไฟฟ้าของแหล่งกาเนิดไฟฟ้ามีความสัมพันธ์กับความต่างศักย์
ของแหล่งกาเนิดไฟฟ้าได้

วัสดุ/อุปกรณ์

1. หม้อแปลงไฟฟ้าโวลต์ต่า จานวน 1 เครื่อง/กลุ่ม


2. โวลต์มิเตอร์ จานวน 1 เครื่อง/กลุ่ม
3. หลอดไฟฟ้าขนาด 6 โวลต์ จานวน 1 หลอด/กลุ่ม
4. สวิตซ์ จานวน 1 อัน/กลุ่ม
5. สายไฟฟ้า จานวน 4 เส้น/กลุ่ม

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 29
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

วิธีการทดลอง

1. นักเรียนแต่ละกลุ่มต่อวงจรไฟฟ้า ซึง่ ประกอบด้วยโวลต์มิเตอร์ หลอดไฟฟ้า ขนาด 6 โวลต์


และหม้อแปลงไฟฟ้าต่า ดังภาพ

ภาพที่ 9 การต่อวงจรไฟฟ้า
ที่มา: กระทรวงศึกษาธิการ,2558,หน้า 56.
2. ต่อวงจรไฟฟ้าโดยใช้ความต่างศักย์ของหม้อแปลงไฟฟ้าโวลต์ต่า 2 โวลต์ กดสวิตซ์ (วงจรปิด)
สังเกตความสว่างของหลอดไฟฟ้า และอ่านค่าจากโวลต์มิเตอร์ บันทึกผลและยกสวิตซ์ขึ้น (วงจรเปิด)
3. ทาซ้าข้อ 2 โดยใช้ความต่างศักย์ของหม้อแปลงไฟฟ้าโวลต์ต่า 4 โวลต์และ 6 โวลต์ตามลาดับ
สังเกตความสว่างของหลอดไฟฟ้าฟ้าและอ่านค่าโวลต์มิเตอร์แต่ละค่า บันทึกผลลงในแบบบันทึก
กิจกรรม

บันทึกผลการทดลอง

………………………………………………………………….…………………………………………………………………………
….………………………………………………………………….………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………….……………………………………………………………………
………………………………………………………………………….…………………………………………………………………
………….………………………………………………………………….………………………………………………………………
…………….………………………………………………………………….……………………………………………………………
……………….………………………………………………………………….…………………………………………………………
………………….………………………………………………………………………………………………………………………….

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 30
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

คาถามท้ายกิจกรรมการทดลอง

1. เมื่อใช้ความต่างศักย์ของหม้อแปลงไฟฟ้าโวลต์ต่าเพิ่มขึ้น ค่าที่อ่านได้จากโวลต์มิเตอร์
เปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร
…………………………………………………..…………………………………………………..……………………………………..
……………..…………………………………………………..…………………………………………………………………………..
2. เมื่อใช้ความต่างศักย์ของหม้อแปลงไฟฟ้าโวลต์ต่าเพิ่มขึ้น ความสว่างของหลอดไฟฟ้ามีการ
เปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร
…………………………………………………..…………………………………………………..……………………………………..
……………..…………………………………………………..…………………………………………………………………………..
3. ค่าที่อ่านได้จากโวลต์มิเตอร์ มีความสัมพันธ์กับความสว่างของหลอดไฟฟ้าอย่างไร
…………………………………………………..…………………………………………………..……………………………………..
……………..…………………………………………………..…………………………………………………………………………..

สรุปผลการทดลอง

…………………………………………………..…………………………………………………..……………………………………..
……………..…………………………………………………..…………………………………………………………………………..
…………………………………………………..…………………………………………………..……………………………………..
……………..…………………………………………………..…………………………………………………………………………..
…………………………………………………..…………………………………………………..……………………………………..
……………..…………………………………………………..…………………………………………………………………………..

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 31
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง พลังงำนไฟฟ้ำ

คำชี้แจง : ให้นักเรียนเติมคาตอบต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (10 คะแนน)

1.
จงอธิบายความหมายของ “พลังงานไฟฟ้า”
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ถ่านไฟฉายและแบตเตอรี่ให้พลังงานไฟฟ้าได้เพราะเหตุใด
2.
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. เครื่องมือที่ใช้วัดความต่างศักย์ไฟฟ้า คืออะไร และถ้าต้องการใช้ความต่างศักย์ไฟฟ้าควร


ต่อวงจรไฟฟ้าแบบใด
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. พลังงานไฟฟ้าสามารถเปลี่ยนรูปเป็นพลังงานใดได้บ้าง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แหล่งกาเนิดพลังงานไฟฟ้ามาจากที่ใดบ้าง
5.
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 32
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ใบควำมรู้ที่ 3 เรื่อง กำรวัดค่ำกระแสไฟฟ้ำ

กระแสไฟฟ้าเกิดขึ้นจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนจากบริเวณ
หนึ่งไปอีกบริเวณหนึ่ง กระแสไฟฟ้าเกิดขึ้นได้หลายวิธี เช่น เกิดจาก
ความแตกต่างของพลังงานสองบริเวณ เกิดจากปฏิกิริยาเคมี เกิดจากการเหนี่ยวนาของวัตถุ เป็นต้น

กระแสไฟฟ้ำ (Electric current) เกิดจากการเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุไ ฟฟ้าเป็น


กระแสต่อเนื่องกัน ตัวนาแต่ละชนิดจะเกิดการนาด้วยประจุไฟฟ้าแตกต่างกัน เช่น ตัวนาที่มีสถานะ
เป็นของแข็ง กระแสไฟฟ้าเกิดการไหลของอิเล็กตรอน โดยอิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่จากขั้วลบไปขั้วบวก
เสมอ ถ้าสารที่มีสถานะเป็นของเหลวและแก๊ส กระแสไฟฟ้าเกิดจากการเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุ
ไฟฟ้า บวกและประจุไฟฟ้ าลบ ซึ่ง ประจุไ ฟฟ้ าบวกจะเคลื่ อนที่เ ข้าหาขั้ว ลบและประจุไ ฟฟ้า ลบจะ
เคลื่อนที่เข้าหาขั้วบวก

ภาพที่ 3 ลักษณะการเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้า
ที่มา http://webhtml.horhook.com/wbi/ec/1circuit-02.htm

เครื่องมือที่ใช้วัดกระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้า เรียกว่า
แอมมิเตอร์ (Ammeter) มีหน่วยการวัด คือ แอมแปร์
(Ampere) ใช้ตัวย่อแทนกระแสไฟฟ้าว่า (I) สัญลักษณ์ของ
แอมมิเตอร์ คือ

ภาพที่ 4 เครื่องมือวัดกระแสไฟฟ้า (แอมมิเตอร์)


ที่มา : http://gammaco.com/gammaco/th/6019515

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 33
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

วิธีใช้แอมมิเตอร์ ให้ต่อในวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม โดยการต่อเรียง


กันไปจนครบวงจรไฟฟ้า เริ่มจากต่อหลอดไฟขนาดเล็กเข้ากับแบตเตอรี่
และวัดกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน โดยนาปลายบวก (+) ของแอมมิเตอร์ผ่าน
หลอดไฟฟ้าต่อกับขั้วบวกของแบตเตอรี่ และนาปลายลบ (-) ของ
แอมมิเตอร์ต่อกับขั้วลบ (-) ของแบตเตอรี่ ดังรูป

ภาพที่ 5 การต่อแอมมิเตอร์ในวงจรไฟฟ้า
ที่มา http://www.leonics.co.th/html/th/aboutpower/elec_knowledge03.php

แอมมิเตอร์ที่ดีต้องมีค่าความต้านทานน้อย จึงจะวัดค่ากระแสไฟฟ้าได้ถูกต้อง
มากกว่าแอมมิเตอร์ที่มีความต้านทานมากเมื่อเพิ่มจานวนก้อนของถ่านไฟฉายค่าของ
กระแสไฟจะมากขึ้น หลอดไฟจึงสว่างมากขึ้น

ปัจจุบันมีเครื่องมือที่ใช้วัดกระแสไฟฟ้าและแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ โดยการคล้อง
ส่วนของมิเตอร์เข้าไว้กับสายไฟฟ้า ซึ่งเรียกเครื่องมือนี้ว่า แคลมป์มิเตอร์

ภาพที่ 6 แคลมป์มิเตอร์
ที่มา : https://www.supremelines.co.th

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 34
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

กระแสไฟฟ้ำแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ดังนี้

1. ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current :


DC) เป็นกระแสไฟฟ้าที่มีทิศทางการไหล ของ
อิเล็กตรอนในทิศทางเดียว จากขั้วลบไปยังขั้วบวก
แต่กระแสไฟฟ้าจะไหลจากขั้วบวกซึ่งมีศักย์ไฟฟ้าสูง
ไปยังขั้วลบที่มีศักย์ไฟฟ้าต่า เช่น กระแสไฟฟ้าจาก
เซลล์ไฟฟ้า (ถ่านไฟฉาย) หรือจากแบตเตอรี่ ซึ่งเกิด
จากปฏิกิริยาเคมี หรือเรียกว่า เซลล์ไฟฟ้าเคมี
ภาพที่ 7 ไฟฟ้ากระแสตรง
ที่มา : http://mail.vcharkarn.com/vcafe/181991

2. ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current :


AC) เป็นกระแสไฟฟ้าที่มีทิศทางการไหลของ
กระแสไฟฟ้ากลับไป-มา อย่างรวดเร็ว ทาให้
ศักย์ไฟฟ้าของขั้วไฟฟ้าสูง-ต่า สลับกันตลอดเวลา
เช่น กระแสไฟฟ้าที่ใช้ตามอาคารบ้านเรือน
ภาพที่ 8 ไฟฟ้ากระแสสลับ กระแสไฟฟ้าที่เกิดจากไดนาโมบางชนิด
ที่มา : https://www.pinterest.com/pin/117797346479641866

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 35
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

กำรวัดค่ำกระแสไฟฟ้ำ

การวัดค่ากระแสไฟฟ้า คือ การนาหลอดไฟมาต่อเข้ากับถ่านไฟฉาย


จากนั้นวัดกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านหลอดไฟฟ้าโดยการนาปลายชั้วบวกของ
แอมมิเตอร์ผ่านหลอดไฟฟ้าต่อกับขั้วบวกของถ่านไฟฉายและนาปลายขั้วลบ
ของแอมมิเตอร์ผ่านหลอดไฟฟ้าต่อกับขั้วลบของถ่านไฟฉายเพียงเท่านี้เราก็จะ
สามารถวัดค่ากระแสไฟฟ้าได้

ภาพที่ 11 การต่อวงจรเพื่อวัดค่ากระแสไฟฟ้า
ที่มา : https://www.youtube.com/watch?v=c7K0G8l9LxM

ข้อระวังในกำรวัดค่ำกระแสไฟฟ้ำ

1. แอมมิเตอร์ในแต่ละเครื่องมีการกาหนดขีดจากัดในการวัดกระแสไว้ ดังนั้นใน
การวั ดแต่ ละครั้ ง ควรปริ มาณของกระแสไฟฟ้ าไว้ ก่ อนเพื่ อเลื อ กใช้ แ อมมิ เ ตอร์ที่ มี ขี ดจ ากั ด ที่
เหมาะสม
2. อย่าต่อปลายขั้วบวกและขั้วลบของแอมมิเตอร์ผิดพลาดเพราะจะทาให้
เข็มของเครื่องวัดตีกลับ
3. ห้ามต่อปลายทั้งสองของแอมมิเตอร์กับขั้วทั้งสองของถ่านไฟฉาย
โดยตรงเพราะเข็มของเครื่องวัดจะตีจนสุดสเกลเพราะอาจทาให้เครื่องพังได้

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 36
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงควำมต่ำงศักย์กับกระแสไฟฟ้ำ

กฎของโอห์ม
จอร์จ ไซมอน โอห์ม (George Simon Ohm) เป็นนักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ได้ทดลอง
ศึกษาความต้านทานไฟฟ้าของลวดตัวนาหลาย ๆ ชนิด และตั้งเป็นกฎของโอห์ม โดยกล่าวว่า
“เมื่ออุณหภูมิของตัวนาคงที่ อัตราส่วนระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ปลายทั้งสองของตัวนาต่อ
การไหลของกระแสไฟฟ้าในตัวนาจะคงที่ และเท่ากับความต้านทานไฟฟ้าของตัวนั้น”

ภาพที่ 27 จอร์จ ไซมอน โอห์ม


ที่มา : https://hahohuha.wordpress.com

เมื่อ V แทน ความต่างศักย์ไฟฟ้า มีหน่วยเป็นโวลต์ (V)


I แทน กระแสฟ้า มีหน่วยเป็นแอมแปร์ (A)
R แทน ความต้านทานไฟฟ้า มีหน่วยเป็นโอห์ม (Ω) ซึ่งเป็นค่าคงที่
จากกฎของโอห์มเขียนความสัมพันธ์ของ V, I และ R ได้ดังนี้
V
=R หรือ V = IR
I

ความสัมพันธ์ตามสมการนี้เรียกว่า กฎของโอห์ม คือ


“เมื่ออุณหภูมิคงที่ อัตราส่วนระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้ากับกระแสไฟฟ้า
ของตัวนาอันหนึ่งย่อมคงที่เสมอ”

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 37
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ตัวอย่ำงที่ 1

จงคานวณค่าปริมาณกระแสไฟฟ้าของวงจรไฟฟ้าที่มีความต่างศักย์ 750 โวลต์


และมีค่าความต้านทานของวงจร 5011 โอห์ม
วิธีทำ จากสูตร V = IR
แทนค่า 500 = I x 50
750
I = 50

= 15 แอมแปร์
ตอบ ค่าปริมาณกระแสไฟฟ้าของวงจรไฟฟ้าเท่ากับ 15 แอมแปร์

กำรต่อตัวต้ำนทำนในวงจรไฟฟ้ำ มี 3 แบบ คือ

1. กำรต่อควำมต้ำนทำนไฟฟ้ำแบบอนุกรม

เป็นการต่อตัวต้านทานหลาย ๆ ตัวเรียงกันแถวเดียว โดยเอาขั้วบวกของเซลล์ข้างหนึ่งไปต่อ


กั บ ขั้ ว ลบของอี ก เซลล์ ห นึ่ ง กระแสไฟฟ้ า ที่ ไ หลผ่ า นตั ว ต้ า นทานจะมี ค่ า เท่ า กั น แต่ ค่ า ความต่ า ง
ศักย์ไฟฟ้าที่ต่อคร่อมตัวต้านทานแต่ละตัวจะมีค่าไม่เท่ากัน มีสูตรที่เกี่ยวข้องดังนี้

ภาพที่ 29 การต่อความต้านทานไฟฟ้าแบบอันดับหรือแบบอนุกรม
ที่มา https://wiki.stjohn.ac.th

Rรวม = R1 + R2 + … โดยกาหนดให้
V = ความต่างศักย์ไฟฟ้า (โวลต์)
Vรวม = V1 + V2 + … I = กระแสไฟฟ้า (แอมแปร์)
R = ค่าความต้านทาน (โอห์ม)
Iรวม = I1 + I2 + …

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 38
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ตัวอย่ำงที่ 2

จากรูปจงหาค่ากระแสไฟฟ้ารวมในวงจร หากกาหนดให้ความต่างศักย์ไฟฟ้ารวมในวงจร คือ


10V และตัวต้านทานไฟฟ้าแต่ละตัวมีค่าดังรูป
2Ω 3Ω 5Ω 6Ω

วิธีทำ จากสูตร Rรวม =


R1 + R2 + …
แทนค่า = 2+3+5+6
= 16 โอห์ม
จากสูตร V = IR
10
10 = 16
= 0.62 แอมแปร์
ตอบ ค่ากระแสไฟฟ้ารวมในวงจรเท่ากับ 0.62 แอมแปร์

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 39
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

2. กำรต่อควำมต้ำนทำนแบบขนำน

เป็นการต่อตัวต้านทานหลายแถว แถวละเซลล์ โดยเอาขั้วบวกของทุกเซลล์ไปต่อรวมกันที่


จุด ๆ หนึ่ง และจุดรวมอีกจุดหนึ่งจะเป็นขั้วลบ ซึ่งจะทาให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านในวงจรแต่ละจุดไม่
เท่ากัน มีสูตรที่เกี่ยวข้องดังนี้

ภาพที่ 29 การต่อความต้านทานไฟฟ้าแบบขนาน
ที่มา https://sites.google.com/site/apizzaip013/wngcr-fifa/baeb-wngcr-fifa
Iรวม = I1 + I2 + …
โดยกาหนดให้
V = ความต่างศักย์ไฟฟ้า (โวลต์)
Vรวม = V1 + V2 + …
I = กระแสไฟฟ้า (แอมแปร์)
R = ค่าความต้านทาน (โอห์ม)
1 1 1
= + +…
Rรวม R1 R2

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 40
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ตัวอย่ำงที่ 3

จงหาค่าความต้านทานไฟฟ้ารวมในวงจร เมื่อกาหนดให้ R1 = 15 Ω และ


R2 = 5 Ω ตามลาดับ
R1

R2
6V
+ -
+ ER + … +
1 1 1 1 1
วิธีทำ จากสูตร = +
Rรวม R1 R2 3 Rn

1 1
= +
15 5

1-3 4
= = 15
15

4
Rรวม = = 3.75 แอมแปร์
15
ตอบ ค่าความต้านทานไฟฟ้ารวมในวงจรเท่ากับ 3.75 แอมแปร์

3. กำรต่อควำมต้ำนทำนแบบผสม

เป็นการต่อตัวต้านทานแบบอนุกรมผสมกับแบบขนานในวงจรเดียวกัน นั่นคือ หลายแถว


แถวละหลายเซลล์ ดังนั้นการหาค่าตัวต้านทาน จะต้องหาความต้านทานรวมที่ต่อในวงจรแต่ละชนิด
ก่อน แล้วจึงหาความต้านทานรวมทั้งหมดในวงจรแบบผสม

ภาพที่ 29 การต่อความต้านทานไฟฟ้าแบบผสม
ที่มา https://wiki.stjohn.ac.th

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 41
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ใบกิจกรรมกำรทดลองที่ 3

เรื่อง กำรวัดกระแสไฟฟ้ำ

กลุ่มที่ …………………..
สมาชิกลุ่ม
1. ชื่อ……………………………………………………………………………………………เลขที่………………..
2. ชื่อ……………………………………………………………………………………………เลขที่………………..
3. ชื่อ……………………………………………………………………………………………เลขที่………………..
4. ชื่อ……………………………………………………………………………………………เลขที่………………..
5. ชื่อ……………………………………………………………………………………………เลขที่………………..

จุดประสงค์

1. ทดลองและอธิบายวิธีการวัดกระแสไฟฟ้าได้
2. ทดลองและสรุปความสัมพันธ์ระหว่างความสว่างของหลอดไฟและกระแสไฟฟ้าที่ผ่าน
หลอดไฟฟ้าได้

วัสดุ/อุปกรณ์

1. หม้อแปลงไฟฟ้าโวลต์ต่า จานวน 1 เครื่อง/กลุ่ม


2. แอมมิเตอร์ จานวน 1 เครื่อง/กลุ่ม
3. หลอดไฟฟ้าขนาด 6 โวลต์ จานวน 1 หลอด/กลุ่ม
4. สวิตซ์ จานวน 1 อัน/กลุ่ม
5. สายไฟฟ้า จานวน 4 สาย/กลุ่ม

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 42
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

การทดลอง

1. ต่อวงจรไฟฟ้าซึง่ ประกอบด้วยแอมมิเตอร์ หลอดไฟฟ้าขนาด 6 โวลต์ หม้อแปลงไฟฟ้า


โวลต์ต่าและสวิตซ์

ภาพที่ 12 การต่อวงจรไฟฟ้า
ที่มา:กระทรวงศึกษาธิการ,2558 ,หน้า 57

2. ต่อวงจรไฟฟ้าโดยใช้ความต่างศักย์ของหม้อแปลงไฟฟ้าโวลต์ต่า 2 โวลต์กดสวิตซ์
สังเกตการณ์เปลี่ยนแปลงของหลอดไฟฟ้าและแอมมิเตอร์ บันทึกผลและยกสวิตซ์ขึ้น
3. ทาซ้าข้อ 2 โดยเพิ่มความต่างศักย์ของหม้อแปลงไฟฟ้าโวลต์ต่าเป็น 4 และ 6 โวลต์
ตามลาดับ

บันทึกผลการทดลอง

……………………………………………………..……………………………………………………..………………………………..
………………………..……………………………………………………..……………………………………………………………..

สรุปผลการทดลอง
……………………………………………………..……………………………………………………..………………………………..
………………………..……………………………………………………..……………………………………………………………..
……………………………………………………..……………………………………………………..………………………………..
………………………..……………………………………………………..……………………………………………………………..
……………………………………………………..……………………………………………………..………………………………..
………………………..……………………………………………………..……………………………………………………………..

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 43
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่อง กำรวัดค่ำกระแสไฟฟ้ำ

คำชี้แจง : ให้นักเรียนนาตัวอักษรทางด้านขวามือมาเติมหน้าข้อความ
ทางซ้ายมือให้ถูกต้อง (10 คะแนน)

……………. 1. การนาขั้วบวกของแอมมิเตอร์ผ่านหลอดไฟต่อกับ ก. แอมมิเตอร์


ขั้วบวก ข. กระแสไฟฟ้า
ของถ่านไฟฉายและนาปลายขั้วลบของแอมมิเตอร์ต่อ ค. ต่อแบบอนุกรม
เข้ากับขั้วลบของถ่านไฟฉาย ง. ความต้านทาน
……………. 2. เครื่องมือที่ใช้วัดกระแสไฟฟ้าและแรงดันไฟฟ้า
กระแสสลับ โดยการคล้องส่วนมิเตอร์เข้าไว้กับสายไฟฟ้า จ. กระแสสลับ
……………. 3. แอมแปร์เป็นหน่วยของค่าใด ฉ. อิเล็กตรอน
……………. 4. กระแสไฟฟ้าจากบ้านเรือนทั่วไปให้กระแสไฟฟ้าชนิดใด ช. ไฟฟ้ากระแสตรง
……………. 5. เมื่ออุณหภูมิของตัวนาคงที่ อัตราส่วนระหว่างความ ซ. กฎของโอห์ม
ต่างศักย์ไฟฟ้าที่ปลายทั้งสองของตัวนาต่อการไหลของ ฌ. แคลมป์มิเตอร์
กระแสไฟฟ้าในตัวนาคงที่และเท่ากับความต้านทาน ญ. การวัดค่ากระแสไฟฟ้า
ไฟฟ้าของตัวนั้น
ฎ. ต่อแบบขนาน
……………. 6. กระแสไฟฟ้าเกิดขึ้นจากการเคลื่อนที่ของสิ่งจากบริเวณ
หนึ่งไปยังอีกบริเวณหนึ่ง ฏ. โวลต์มิเตอร์
……………. 7. เครื่องมือที่ใช้วัดปริมาณกระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้า
……………. 8. การต่อโวลต์มิเตอร์และแอมมิเตอร์ในวงจรอย่างไร
สามารถคานวรค่าใดได้โดยใช้ตัวเลขที่อ่านได้จาก
โวลต์มิเตอร์และแอมมิเตอร์
……………. 9. เป็นกระไฟฟ้าที่ไหลไปในทิศทางเดียวกัน
……………. 10. การใช้แอมมิเตอร์ต้องต่อแอมมิเตอร์แบบใดเข้ากับ
วงจร

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 44
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่อง ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงควำมต่ำงศักย์กับกระแสไฟฟ้ำ

คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (10 คะแนน)

1. จากรูป จงหาค่ากระแสไฟฟ้ารวมในวงจร

วิธีทำ ..................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

2. เครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดหนึ่งมีความต้านทานไฟฟ้า 11 โอห์ม เมื่อเปิดเครื่องใช้ไฟฟ้ามีกระแสไฟฟ้า


ไหลผ่าน 20 แอมแปร์ อยากทราบว่าเครื่องใช้ไฟฟ้านี้ต่อเข้ากับความต่างศักย์ไฟฟ้ากี่โวลต์

วิธีทำ ..................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 45
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

3. เตาไฟฟ้าใช้งานกับไฟในบ้าน เมื่อเปิดใช้กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน 10 แอมแปร์ เตาไฟฟ้าเครื่องนี้มี


ความต้านทานไฟฟ้าเท่าไร

วิธีทำ ..................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

4. หม้อหุงข้าวไฟฟ้ามีความต้านทานไฟฟ้า 55 โอห์ม ต่อเข้ากับไฟฟ้าในบ้าน เมื่อเปิดใช้งานจะมี


กระแสไฟฟ้าไหลผ่านเท่าใด

วิธีทำ ..................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 46
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

5. เตารีดเครื่องหนึ่งมีความต้านทานไฟฟ้า 22 โอห์ม ต่อเข้ากับความต่างศักย์ไฟฟ้า 220 โวลต์


เมื่อเปิดใช้งานจะมีกระแสฟ้าไหลผ่านเท่าใด

วิธีทำ ..................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 47
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

แบบทดสอบหลังเรียน

ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ เรื่อง พลังงำนไฟฟ้ำ


ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้ำเบื้องต้น

คำชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้มี 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน


2. แบบทดสอบนี้เป็นแบบเลือกตอบ
3. ให้นักเรียนทาเครื่องหมายลงในกระดาษคาตอบ โดยเลือกตัวอักษร ก ข ค และ ง ที่ถูก
ที่สุดเพียงข้อเดียว

1. ข้อใดคือ เครื่องมือที่ใช้วัดความต่างศักย์ไฟฟ้า
ก. แอมมิเตอร์
ข. โวลต์มิเตอร์
ค. โอห์มมิเตอร์
ง. กัลป์วานแอมมิเตอร์
2. ข้อใดเป็นการกดสวิตซ์เปิดไฟ
ก. การทาให้วงจรปิด มีกระแสไฟฟ้าไหล
ข. การทาให้วงจรเปิด มีกระแสไฟฟ้าไหล
ค. การทาให้วงจรปิด ไม่มีกระแสไฟฟ้าไหล
ง. การทาให้วงจรเปิด ไม่มีกระแสไฟฟ้าไหล
3. วัตถุในข้อใดเป็นตัวนาไฟฟ้าทั้งหมด
ก. ผ้า เหล็ก เชือกฟาง และพลาสติก
ข. เงิน ตะกั่ว ทองแดง และคาร์บอน
ค. เหล็ก ทองแดง อากาศ และสังกะสี
ง. ตะกั่ว สังกะสี ทองแดง และยางรถยนต์
4. คุณสมบัติของมอเตอร์ไฟฟ้า ตรงกับข้อใด
ก. เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานกล
ข. เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานจลน์
ค. เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานความร้อน
ง. เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานแสงอาทิตย์
5. ภวภพต้องการจะวัดกระแสไฟฟ้าในวงจร ต้องใช้เครื่องมือชนิดใดและต่ออย่างไร
ก. แอมมิเตอร์ ต่อแบบขนาน
ข. โวลต์มิเตอร์ ต่อแบบขนาน
ค. แอมมิเตอร์ ต่อแบบอนุกรม
ง. โวลต์มิเตอร์ ต่อแบบอนุกรม

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 48
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

6. กฎของโอห์มจะเกิดขึ้นได้จะต้องประกอบด้วยค่าพื้นฐานในข้อใดบ้าง
ก. กระแส แรงดัน และกาลังไฟฟ้า
ข. กระแส แรงดัน และความต้านทาน
ค. แรงดัน ความต้านทาน และกาลังไฟฟ้า
ง. กระแส ความต้านทาน และกาลังไฟฟ้า
7. ภูวนัยต้องการวัดความต่างศักย์ของกระแสไฟฟ้า ต้องใช้เครื่องมือชนิดใดและต่ออย่างไร
ก. แอมมิเตอร์ ต่อแบบขนาน
ข. โวลต์มิเตอร์ ต่อแบบขนาน
ค. แอมมิเตอร์ ต่อแบบอนุกรม
ง. โวลต์มิเตอร์ ต่อแบบอนุกรม
8. ไฟฟ้าเกิดขึ้นได้อย่างไร
ก. ไฟฟ้าเกิดจากวัตถุ 2 ชนิดมาประทะกัน
ข. ไฟฟ้าเกิดจากการทางานของเครื่องยนต์
ค. ไฟฟ้าเกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน
ง. ไฟฟ้าเกิดจากการเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้า
9. ไฟฟ้ากระแสตรงและไฟฟ้ากระแสสลับมีความแตกต่างกันอย่างไร
ก. ทิศทางการไหล
ข. ความเข็มของแสง
ค. แหล่งกาเนิดไฟฟ้า
ง. ปริมาณกระแสไฟฟ้า
10. ตาราง กาลังไฟฟ้าและความต่างศักย์ของเครื่องใช้ไฟฟ้าต่าง
ชนิดของ
กำลังไฟฟ้ำ (วัตต์) ควำมต่ำงศักย์ (โวลต์)
เครื่องใช้ไฟฟ้ำ
หลอดไฟฟ้ำ 60 220
ตู้เย็น 320 220
หม้อหุงข้ำว 700 220
เตำรีดไฟฟ้ำ 850 220

เมื่อใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าในตารางชนิดใดที่มีปริมาณกระแสไฟฟ้าไหลผ่านมากที่สุดและน้อยที่สุด
ก. หม้อหุงข้าว ตู้เย็น
ข. ตู้เย็น หลอดไฟฟ้า
ค. หลอดไฟฟ้า เตารีดไฟฟ้า
ง. เตารีดไฟฟ้า หลอดไฟฟ้า

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 49
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

กระดำษคำตอบแบบทดสอบหลังเรียน

ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ เรื่อง พลังงำนไฟฟ้ำ


ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้ำเบื้องต้น

ชื่อ………………………………………………………...... นำมสกุล ……………………………………………….


ชั้น …………………… เลขที่ ………………..

ข้อ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

คะแนนทีไ่ ด้

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 50
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 51
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน

ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ เรื่อง พลังงำนไฟฟ้ำ


ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้ำเบื้องต้น

แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน

1. ค 1. ข
2. ข 2. ก
3. ก 3. ข
4. ก 4. ก
5. ง 5. ค
6. ข 6. ข
7. ข 7. ข
8. ก 8. ค
9. ค 9. ก
10.ข 10.ง

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 52
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

เฉลยใบกิจกรรมกำรทดลอง

เรื่อง กำรต่อเครื่องใช้ไฟฟ้ำเข้ำในวงจรไฟฟ้ำ

กลุ่มที่ …………………..
สมาชิกลุ่ม
1 ชื่อ……………………………………………………………………………………………เลขที่………………..
2. ชื่อ……………………………………………………………………………………………เลขที่………………..
3. ชื่อ……………………………………………………………………………………………เลขที่………………..
4. ชื่อ……………………………………………………………………………………………เลขที่………………..
5. ชื่อ……………………………………………………………………………………………เลขที่………………..

จุดประสงค์

สามารถอธิบายวิธีการต่อหลอดไฟ 2 หลอด เช้าในวงจรไฟฟ้าเบื้อต้นแบบต่าง ๆ และ


เปรียบเทียบความสว่างของหลอดไฟในการต่อแต่ละแบบได้

วัสดุ/อุปกรณ์

1. หม้อแปลงไฟฟ้าโวลต์ต่า จานวน 1 เครื่อง/กลุ่ม


2. หลอดไฟฟ้าขนาด 6 โวลต์ จานวน 2 หลอด/กลุ่ม
3. ฐานหลอดไฟ จานวน 2 อัน/กลุ่ม
4. สวิตซ์ จานวน 1 อัน/กลุ่ม
5. สายไฟฟ้า จานวน 6-8 เส้น/กลุ่ม

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 53
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

วิธีการทดลอง

1. ให้นักเรียนต่อวงจรไฟฟ้า ซึ่งประกอบด้วยหม้อแปลงไฟฟ้าโวลต์ต่า หลอดไฟฟ้าขนาด


6 โวลต์ จานวน 1 หลอด และสวิตซ์ ดังภาพที่ 2 กดสวิตซ์ (วงจรปิด) สังเกตความสว่างของ
หลอดไฟฟ้า
2. ให้นักเรียนต่อหลอดไฟฟ้าขนาด 6 โวลต์ อีก 1 หลอด ด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การต่อแบบอนุกรม
และการต่อแบบขนานเข้ากับวงจรไฟฟ้าในข้อ 1 กดสวิตซ์ (วงจรปิด) สังเกตความสว่างของ
หลอดไฟฟ้า พร้อมทั้งวาดวงจรไฟฟ้าประกอบ

ภาพที่ 5 การต่อเครื่องใช้ไฟฟ้าเข้าในวงจรไฟฟ้า
ที่มา https://physicskruadd.wordpress.com

3. บันทึกผลการสังเกตความสว่างของหลอดไฟฟ้า พร้อมทั้งวาดภาพวงจรไฟฟ้าลงในแบบบันทึก
กิจกรรม

แบบบันทึกผลการทดลอง

เมื่อสังเกตความสว่างของแสงจากหลอดไฟฟ้า พบว่าการต่อแบบขนาน หลอดไฟทั้งสอง


…………………………………………………………………..………………………………………………………………………….
จะสว่างมากกว่าการต่อแบบอนุกรม
…………………………………………………………………..………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………..………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………..………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………..………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………..………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………..………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………..…………………………………………………………………………

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 54
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ภาพวาดวงจรไฟฟ้า

แสงสว่างมากกว่า
แสงสว่างน้อยกว่า

คาถามท้ายกิจกรรมทางทดลอง

1. จากการทากิจกรรมที่ 1 นักเรียนนาหลอดไฟฟ้า 2 หลอด มาต่อกันแบบใดบ้าง


การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและการต่อหลอดไฟฟ้าแบบขนาน
……………………………………………………….……………………………………………………….………………………
2. เมื่อกดสวิตซ์ ให้กระแสไฟฟ้าเคลื่อนที่เข้าไปในวงจรไฟฟ้าแต่ละแบบที่มีหลอดไฟฟ้า 2 หลอด
ความสว่างของหลอดไฟฟ้าในแต่ละวงจรเป็นอย่างไร
การต่อหลอดไฟฟ้าแบบขนาน หลอดไฟฟ้าทั้งสองจะสว่างมากกว่าการต่อหลอด
……………………………………………………….……………………………………………………….………………………
ไฟฟ้าแบบอนุกรม
……………………………………………………….……………………………………………………….………………………
3. การต่อเครื่องใช้ไฟฟ้าแบบขนานเข้าในวงจรไฟฟ้ามีข้อดีอย่างไร
การต่อเครื่องใช้ไฟฟ้าแบบขนาน มีกระแสไฟฟ้าเข้าไปในวงจรมากกว่า จึงทาให้
……………………………………………………….……………………………………………………….………………………
หลอดไฟฟ้าจะสว่างมากกว่า และถ้าหลอดไฟฟ้าหลอดหนึ่งเสีย หลอดไฟฟ้าที่เหลือยังคง
……………………………………………………….……………………………………………………….………………………
สว่างได้ ส่วนการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรรม นอกจากให้แสงสว่างน้อยกว่า ถ้าหลอดไฟฟ้า
……………………………………………………….……………………………………………………….………………………
หลอดใดหลอดหนึ่งเสียวงจรไฟฟ้าไม่สามารถทางานได้
……………………………………………………….……………………………………………………….………………………

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 55
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

สรุปผลการทดลอง

การต่อหลอดไฟฟ้าเข้ากับแหล่งกาเนิดไฟฟ้า พบว่ามีวิธีการต่อ 2 แบบ ที่สามารถทาให้


……………………………………………………….……………………………………………………….…………………………….
หลอดไฟฟ้าสว่างได้ คือ การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและการต่อหลอดไฟฟ้าแบบขนาน
……………………………………………………….……………………………………………………….…………………………….
……………………………………………………….……………………………………………………….…………………………….
……………………………………………………….……………………………………………………….…………………………….
……………………………………………………….……………………………………………………….…………………………….
……………………………………………………….……………………………………………………….…………………………….
……………………………………………………….……………………………………………………….…………………………….

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 56
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

เฉลยใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้ำเบื้องต้น

คำชี้แจง : ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง (10 คะแนน)

วงจรปิด
1. วงจรที่กระแสไฟฟ้าไหลได้ครบวงจร ทาให้โหลดที่ต่ออยู่ในวงจรนั้นทางาน คือ ……………………….
วงจรไฟฟ้า
2. เส้นทางที่กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไปได้ครบรอบ หมายถึง…………………………………………………………
วงจรขามทาให้ไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจรนั้น
3. วงจรเปิด คือ ………………………………………………………………………………………………………………
แบบขนาน
4. การต่อหลอดไฟในบ้าน ควรต่อ…………………………………. เพราะทาให้หลอดไฟแต่ละหลอดได้รับ
ความต่างศักย์ไฟฟ้าเท่ากัน
แบบอนุกรม
5. การต่อวงจร…………………………………. ทาให้ความต้านทานรวมในวงจรเพิ่มขึ้น
แหล่งกาเนิดไฟฟ้า
6. แหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้าไปยังวงจรไฟฟ้า เช่น แบตเตอรี่ คือ …………………………………………………
7. การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระจากอะตอมหนึ่งไปยังอะตอมหนึ่ง มีหน่วยวัดเป็น แอมแปร์
กระแสไฟฟ้า
หมายถึง …………………………………………………………………………………………………………………
ไฟฟ้าดูด
8. ………………………………….. หมายถึง การที่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกาย ทาให้เกิดอาการ
กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง หัวใจทางานผิดจังหวะและเสียชีวิตในที่สุด
9. ตัวต้านการไหลของกระแสไฟฟ้าให้ไหลในจานวนจากัด อยู่ในรูปของเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิด เช่น
ความต้านทานไฟฟ้า
หม้อหุงข้าว หลอดไฟฟ้า คือ ……………..…………………………………………………………………………………
10. วงจรที่นาเอาวิธีการต่อแบบอนุกรมและวิธีการต่อแบบขนานมารวมให้เป็นวงจรเดียวกัน คือ
วงจรผสม
……..……………………………………………………………………………………………………………………………………

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 57
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

เฉลยใบกิจกรรมกำรทดลองที่ 2

เรื่อง พลังงำนไฟฟ้ำในวงจรไฟฟ้ำ

กลุ่มที่ …………………..
สมาชิกลุ่ม
1. ชื่อ……………………………………………………………………………………………เลขที่………………..
2. ชื่อ……………………………………………………………………………………………เลขที่………………..
3. ชื่อ……………………………………………………………………………………………เลขที่………………..
4. ชื่อ……………………………………………………………………………………………เลขที่………………..
5. ชื่อ……………………………………………………………………………………………เลขที่………………..

จุดประสงค์

สามารถอธิบายพลังงานไฟฟ้าของแหล่งกาเนิดไฟฟ้ามีความสัมพันธ์กับความต่างศักย์ของ
แหล่งกาเนิดไฟฟ้าได้

วัสดุ/อุปกรณ์

1. หม้อแปลงไฟฟ้าโวลต์ต่า จานวน 1 เครื่อง/กลุ่ม


2. โวลต์มิเตอร์ จานวน 1 เครื่อง/กลุ่ม
3. หลอดไฟฟ้าขนาด 6 โวลต์ จานวน 1 หลอด/กลุ่ม
4. สวิตซ์ จานวน 1 อัน/กลุ่ม
5. สายไฟฟ้า จานวน 4 เส้น/กลุ่ม

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 58
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

วิธีการทดลอง

1. นักเรียนแต่ละกลุ่มต่อวงจรไฟฟ้า ซึง่ ประกอบด้วยโวลต์มิเตอร์ หลอดไฟฟ้า ขนาด 6 โวลต์


และหม้อแปลงไฟฟ้าต่า ดังภาพ

ภาพที่ 9 การต่อวงจรไฟฟ้า
ที่มา: กระทรวงศึกษาธิการ,2558,หน้า 56.

2. ต่อวงจรไฟฟ้าโดยใช้ความต่างศักย์ของหม้อแปลงไฟฟ้าโวลต์ต่า 2 โวลต์ กดสวิตซ์ (วงจรปิด)


สังเกตความสว่างของหลอดไฟฟ้า และอ่านค่าจากโวลต์มิเตอร์ บันทึกผลและยกสวิตซ์ขึ้น (วงจรเปิด)
3. ทาซ้าข้อ 2 โดยใช้ความต่างศักย์ของหม้อแปลงไฟฟ้าโวลต์ต่า 4 โวลต์และ 6 โวลต์ตามลาดับ
สังเกตความสว่างของหลอดไฟฟ้าฟ้าและอ่านค่าโวลต์มิเตอร์แต่ละค่า บันทึกผลลงในแบบบันทึก
กิจกรรม

บันทึกผลการทดลอง

เมื่อเพิ่มค่าพลังงานไฟฟ้ามากขึ้น หลอดไฟฟ้าจะสว่างมากขึ้นและร้อนมากขึ้น ค่าที่


………………………………………………………………….…………………………………………………………………………
อ่านได้จากโวลต์มิเตอร์มีค่าเพิ่มขึ้น
….………………………………………………………………….………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………….……………………………………………………………………
………………………………………………………………………….…………………………………………………………………
………….………………………………………………………………….………………………………………………………………
…………….………………………………………………………………….……………………………………………………………
……………….………………………………………………………………….…………………………………………………………
………………….………………………………………………………………………………………………………………………….

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 59
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

คาถามท้ายกิจกรรมการทดลอง

1. เมื่อใช้ความต่างศักย์ของหม้อแปลงไฟฟ้าโวลต์ต่าเพิ่มขึ้น ค่าที่อ่านได้จากโวลต์มิเตอร์
เปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร
เมื่อเพิ่มค่าพลังงานไฟฟ้า ค่าที่อ่านได้จากโวลต์มิเตอร์จะเพิ่มขึ้น แสดงว่าค่าที่อ่านได้จาก
…………………………………………………..…………………………………………………..……………………………………..
โวลต์มิเตอร์เพิ่มขึ้นตามค่าพลังงานไฟฟ้า
……………..…………………………………………………..…………………………………………………………………………..
2. เมื่อใช้ความต่างศักย์ของหม้อแปลงไฟฟ้าโวลต์ต่าเพิ่มขึ้น ความสว่างของหลอดไฟฟ้ามีการ
เปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร
เมื่อเพิ่มค่าพลังงานไฟฟ้า ความสว่างของหลอดไฟฟ้าเพิ่มมากขึ้นตามค่าพลังงานไฟฟ้า
…………………………………………………..…………………………………………………..……………………………………..
ที่เพิ่มขึ้น
……………..…………………………………………………..…………………………………………………………………………..
3. ค่าที่อ่านได้จากโวลต์มิเตอร์ มีความสัมพันธ์กับความสว่างของหลอดไฟฟ้าอย่างไร
…………………………………………………..…………………………………………………..……………………………………..
เมื่อค่าที่อ่านได้จากโวลต์มิเตอร์เพิ่มขึ้น ทาให้ความสว่างของหลอดไฟฟ้าเพิ่มขึ้น
……………..…………………………………………………..…………………………………………………………………………..
ถ้าค่าที่อ่านได้จากโวลต์มิเตอร์ลดลง ความสว่างของหลอดไฟฟ้าจะลดลงด้วย

สรุปผลการทดลอง

…………………………………………………..…………………………………………………..……………………………………..
เมื่อเพิ่มความต่างศักย์จากหม้อแปลงไฟฟ้าโวลต์ต่าเป็นการเพิ่มพลังงานไฟฟ้า
……………..…………………………………………………..…………………………………………………………………………..
ทาให้หลอดไฟฟ้าสว่างมากขึ้น เมื่อต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายเข้ากับหลอดไฟฟ้า หลอดไฟฟ้าได้รับ
…………………………………………………..…………………………………………………..……………………………………..
พลังงานไฟฟ้าแล้วเปลี่ยนเป็นพลังงานแสงและพลังงานความร้อน แสดงให้เห็นว่าพลังงานไฟฟ้า
……………..…………………………………………………..…………………………………………………………………………..
มีความสัมพันธ์กับความต่างศักย์ของแหล่งกาเนิดไฟฟ้า
…………………………………………………..…………………………………………………..……………………………………..
……………..…………………………………………………..…………………………………………………………………………..

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 60
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

เฉลยใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง พลังงำนไฟฟ้ำ

คำชี้แจง : ให้นักเรียนเติมคาตอบต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (10 คะแนน)

1.
จงอธิบายความหมายของ “พลังงานไฟฟ้า”
พลังงานไฟฟ้า (Electrical Energy) หมายถึง พลังงานรูปแบบหนึ่ง ซึ่งสามารถเปลี่ยนไป
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เป็นพลังงานอีกรูปแบบหนึ่งได้ เกิดจากแหล่งกาเนิดหลายประเภท ซึ่งการนาพลังงานไฟฟ้ามาใช้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
จะต้องมีการเชื่อมต่อแหล่งกาเนิดไฟฟ้าเข้ากับสิ่งที่จะนาพลังงานไฟฟ้าไปใช้เรียกว่า วงจรไฟฟ้า
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
โดยพลังงานไฟฟ้าที่ได้ก็จะถูกเปลี่ยนรูปไปเป็นพลังงานรูปแบบต่าง ๆ เช่น พลังงานกล พลังงาน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ความร้อนพลังงานเสียง พลังงานแสง เป็นต้น พลังงานไฟฟ้ามีหน่วยเป็น จูล
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ถ่านไฟฉายและแบตเตอรี่ให้พลังงานไฟฟ้าได้เพราะเหตุใด
2. ถ่ านไฟฉายและแบตเตอรี ่จะเปลี่ยนพลังงานเคมีให้เป็นพลังงานไฟฟ้า
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. เครื่องมือที่ใช้วัดความต่างศักย์ไฟฟ้า คืออะไร และถ้าต้องการใช้ความต่างศักย์ไฟฟ้าควร


ต่อวงจรไฟฟ้าแบบใด
โวลต์มิเตอร์ ต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนาน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. พลังงานไฟฟ้าสามารถเปลี่ยนรูปเป็นพลังงานใดได้บ้าง
พลังงานแสงสว่าง พลังงานความร้อน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
พลังงานกล พลังงานเสียง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แหล่งกาเนิดพลังงานไฟฟ้ามาจากที่ใดบ้าง
5.
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ไฟฟ้าจากขัดสี ไฟฟ้าจากปฏิกิริยาเคมี ไฟฟ้าจากสนามแม่เหล็ก
ไฟฟ้าจากแรงกดดัน ไฟฟ้าจากสัตว์บางชนิด ไฟฟ้าจากความร้อน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 61
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

เฉลยใบกิจกรรมกำรทดลองที่ 3

เรื่อง กำรวัดกระแสไฟฟ้ำ

กลุ่มที่ …………………..
สมาชิกลุ่ม
1. ชื่อ……………………………………………………………………………………………เลขที่………………..
2. ชื่อ……………………………………………………………………………………………เลขที่………………..
3. ชื่อ……………………………………………………………………………………………เลขที่………………..
4. ชื่อ……………………………………………………………………………………………เลขที่………………..
5. ชื่อ……………………………………………………………………………………………เลขที่………………..

จุดประสงค์

สามรถสรุปวิธีการวัดกระแสไฟฟ้าและสรุปความสัมพันธ์ระหว่างความสว่างของหลอดไฟและ
กระแสไฟฟ้าที่ผ่านหลอดไฟฟ้าได้

วัสดุ/อุปกรณ์

1. หม้อแปลงไฟฟ้าโวลต์ต่า จานวน 1 เครื่อง/กลุ่ม


2. แอมมิเตอร์ จานวน 1 เครื่อง/กลุ่ม
3. หลอดไฟฟ้าขนาด 6 โวลต์ จานวน 1 หลอด/กลุ่ม
4. สวิตซ์ จานวน 1 อัน/กลุ่ม
5. สายไฟฟ้า จานวน 4 สาย/กลุ่ม

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 62
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

วิธีการทดลอง

1. ต่อวงจรไฟฟ้าซึง่ ประกอบด้วยแอมมิเตอร์ หลอดไฟฟ้าขนาด 6 โวลต์ หม้อแปลงไฟฟ้า


โวลต์ต่าและสวิตซ์

ภาพที่ 12 การต่อวงจรไฟฟ้า
ที่มา:กระทรวงศึกษาธิการ,2558 ,หน้า 57

2. ต่อวงจรไฟฟ้าโดยใช้ความต่างศักย์ของหม้อแปลงไฟฟ้าโวลต์ต่า 2 โวลต์กดสวิตซ์
สังเกตการณ์เปลี่ยนแปลงของหลอดไฟฟ้าและแอมมิเตอร์ บันทึกผลและยกสวิตซ์ขึ้น
3. ทาซ้าข้อ 2 โดยเพิ่มความต่างศักย์ของหม้อแปลงไฟฟ้าโวลต์ต่าเป็น 4 และ 6 โวลต์
ตามลาดับ

บันทึกผลการทดลอง

เมื่อเพิ่มความต่างศักย์ของหม้อแปลงไฟฟ้า หลอดไฟฟ้าจะสว่างมากขึ้น ค่าที่อ่านได้จาก


……………………………………………………..……………………………………………………..………………………………..
แอมมิเตอร์เพิ่มขึ้นด้วย
………………………..……………………………………………………..……………………………………………………………..

สรุปผลการทดลอง
1. เมื่อเพิ่มความต่างศักย์ของหม้อแปลงไฟฟ้าให้มากขึ้น หลอดไฟฟ้าจะสว่างมากขึ้น
……………………………………………………..……………………………………………………..………………………………..
ค่าปริมาณไฟฟ้าจากแอมมิเตอร์จะมากขึ้น
………………………..……………………………………………………..……………………………………………………………..
2. ความสว่างของหลอดไฟฟ้ามีความสัมพันธ์กับค่ากระแสไฟฟ้าที่เคลื่อนที่ผ่าน
……………………………………………………..……………………………………………………..………………………………..
หลอดไฟฟ้า นั่นคือ หลอดไฟฟ้ามีความสว่างมากขึ้นตามปริมาณกระแสไฟฟ้าที่เคลื่อนที่ผ่าน
………………………..……………………………………………………..……………………………………………………………..
หลอดไฟฟ้า ดังนั้นปริมาณกระแสไฟฟ้ามีความสัมพันธ์กับความต่างศักย์
……………………………………………………..……………………………………………………..………………………………..
………………………..……………………………………………………..……………………………………………………………..

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 63
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

เฉลยใบกิจกรรมที่ 3 เรื่อง กำรวัดค่ำกระแสไฟฟ้ำ

คำชี้แจง : ให้นักเรียนนาตัวอักษรทางด้านขวามือมาเติมหน้าข้อความ
ทางซ้ายมือให้ถูกต้อง (10 คะแนน)

ญ 1. การนาขั้วบวกของแอมมิเตอร์ผ่านหลอดไฟต่อกับ
……………. ฐ. แอมมิเตอร์
ขั้วบวก ฑ. กระแสไฟฟ้า
ของถ่านไฟฉายและนาปลายขั้วลบของแอมมิเตอร์ต่อ ฒ. ต่อแบบอนุกรม
เข้ากับขั้วลบของถ่านไฟฉาย
ฌ ณ. ความต้านทาน
……………. 2. เครื่องมือที่ใช้วัดกระแสไฟฟ้าและแรงดันไฟฟ้า
กระแสสลับ โดยการคล้องส่วนมิเตอร์เข้าไว้กับสายไฟฟ้า ด. กระแสสลับ
ข 3. แอมแปร์เป็นหน่วยของค่าใด
……………. ต. อิเล็กตรอน
……………. 4. กระแสไฟฟ้าจากบ้านเรือนทั่วไปให้กระแสไฟฟ้าชนิดใด ถ. ไฟฟ้ากระแสตรง
ซ 5. เมื่ออุณหภูมิของตัวนาคงที่ อัตราส่วนระหว่างความ
……………. ท. กฎของโอห์ม
ต่างศักย์ไฟฟ้าที่ปลายทั้งสองของตัวนาต่อการไหลของ ธ. แคลมป์มิเตอร์
กระแสไฟฟ้าในตัวนาคงที่และเท่ากับความต้านทาน น. การวัดค่ากระแสไฟฟ้า
ฉ ไฟฟ้าของตัวนั้น
บ. ต่อแบบขนาน
……………. 6. กระแสไฟฟ้าเกิดขึ้นจากการเคลื่อนที่ของสิ่งจากบริเวณ
หนึ่งไปยังอีกบริเวณหนึ่ง ป. โวลต์มิเตอร์

……………. 7. เครื่องมือที่ใช้วัดปริมาณกระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้า
ง 8. การต่อโวลต์มิเตอร์และแอมมิเตอร์ในวงจรอย่างไร
…………….
สามารถคานวรค่าใดได้โดยใช้ตัวเลขที่อ่านได้จาก
โวลต์มิเตอร์และแอมมิเตอร์

……………. 9. เป็นกระไฟฟ้าที่ไหลไปในทิศทางเดียวกัน
ค 10. การใช้แอมมิเตอร์ต้องต่อแอมมิเตอร์แบบใดเข้ากับ
…………….
วงจร

ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่อง ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงควำมต่ำงศักย์กับกระแสไฟฟ้ำ

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 64
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (10 คะแนน)

1. จากรูป จงหาค่ากระแสไฟฟ้ารวมในวงจร

จากสูตร V = IR
วิธีทำ ..................................................................................................................................................
แทนค่า 100 = I x ( 20 + 30 + 50 )
................................................................................................................................................................
100
................................................................................................................................................................
I = = 1 แอมแปร์
100
................................................................................................................................................................
ตอบ ค่ากระแสไฟฟ้ารวมในวงจรเท่ากับ 1 แอมแปร์
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

2. เครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดหนึ่งมีความต้านทานไฟฟ้า 11 โอห์ม เมื่อเปิดเครื่องใช้ไฟฟ้ามีกระแสไฟฟ้า


ไหลผ่าน 20 แอมแปร์ อยากทราบว่าเครื่องใช้ไฟฟ้านี้ต่อเข้ากับความต่างศักย์ไฟฟ้ากี่โวลต์

จากโจทย์ ความต้านทานไฟฟ้า (R) = 11 โอห์ม


วิธีทำ ..................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
กระแสไฟฟ้า (I) = 20 แอมแปร์
................................................................................................................................................................
ความต่างศักย์ไฟฟ้า (V) = ? โวลต์
จากสูตร V = IR
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
แทนค่า V = 20 × 11
................................................................................................................................................................
V = 220
................................................................................................................................................................
ตอบ เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องต่อเข้ากับความต่างศักย์เท่ากับ 220 โวลต์
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 65
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

3. เตาไฟฟ้าใช้งานกับไฟในบ้าน เมื่อเปิดใช้กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน 10 แอมแปร์ เตาไฟฟ้าเครื่องนี้มี


ความต้านทานไฟฟ้าเท่าไร

วิธีทำ ..................................................................................................................................................
จากโจทย์ ความต่างศักย์ไฟฟ้า (V) = 220 โวลต์
................................................................................................................................................................
กระแสไฟฟ้า (I) = 10 แอมแปร์
ความต้านทานไฟฟ้า (R) = ? โอห์ม
................................................................................................................................................................
V
................................................................................................................................................................
จากสูตร R = I
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
220
แทนค่า R = = 22 โอห์ม
................................................................................................................................................................
10
................................................................................................................................................................
ตอบ เตาไฟฟ้ามีความต้านทานเท่ากับ 22 โอห์ม
................................................................................................................................................................

4. หม้อหุงข้าวไฟฟ้ามีความต้านทานไฟฟ้า 55 โอห์ม ต่อเข้ากับไฟฟ้าในบ้าน เมื่อเปิดใช้งานจะมี


กระแสไฟฟ้าไหลผ่านเท่าใด

วิธีทำ ..................................................................................................................................................
จากโจทย์ ความต้านทานไฟฟ้า (R) = 55 โอห์ม
ความต่างศักย์ไฟฟ้า (V) = 220 โวลต์
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
กระแสไฟฟ้า (I) = ? แอมแปร์
V
................................................................................................................................................................
จากสูตร I =
R
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
220
แทนค่า I = = 4 แอมแปร์
................................................................................................................................................................
55
................................................................................................................................................................
ตอบ มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านเท่ากับ 4 แอมแปร์
................................................................................................................................................................

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 66
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

5. เตารีดเครื่องหนึ่งมีความต้านทานไฟฟ้า 22 โอห์ม ต่อเข้ากับความต่างศักย์ไฟฟ้า 220 โวลต์


เมื่อเปิดใช้งานจะมีกระแสฟ้าไหลผ่านเท่าใด

จากโจทย์ ความต้านทานไฟฟ้า (R) = 20 โอห์ม


วิธีทำ ..................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ความต่างศักย์ไฟฟ้า (V) = 220 โวลต์
................................................................................................................................................................
กระแสไฟฟ้า (I) = ? แอมแปร์
V
................................................................................................................................................................
จากสูตร I = R
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
220
แทนค่า I = = 10 แอมแปร์
................................................................................................................................................................
20
................................................................................................................................................................
ตอบ มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านเท่ากับ 10 แอมแปร์
................................................................................................................................................................

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 67
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

เกณฑ์กำรประเมินคะแนนและประเมินผล

ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ เรื่อง พลังงำนไฟฟ้ำ


ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้ำเบื้องต้น

ใบกิจกรรมที่ 1

เกณฑ์กำรพิจำรณำคะแนนกำรเติมคำตอบลงในช่องว่ำง จำนวน 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน


คะแนนเต็ม 10 คะแนน
คะแนน เกณฑ์กำรพิจำรณำคำตอบ
1 เติมคาตอบลงในช่องว่างได้ถูกต้อง
0 เติมคาตอบลงในช่องไม่ถูกต้อง หรือไม่เติมคาตอบลงในช่องว่าง

ใบกิจกรรมที่ 2

เกณฑ์กำรพิจำรณำคะแนนกำรตอบคำถำม จำนวน 5 ข้อ ข้อละ 2 คะแนน คะแนนเต็ม


10 คะแนน
คะแนน เกณฑ์กำรพิจำรณำคำตอบ
2 ตอบคาตอบได้ถูกต้อง สมบูรณ์ ครบถ้วน
1 ตอบคาตอบได้ถูกต้องบางส่วน
0 ตอบคาตอบไม่ถูกต้อง หรือไม่ตอบคาถาม

ใบกิจกรรมที่ 3

เกณฑ์กำรพิจำรณำคะแนนนำตัวอักษรทำงด้ำนขวำมือมำเติมหน้ำข้อควำมทำงซ้ำยมือ
จำนวน 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน
คะแนน เกณฑ์กำรพิจำรณำคำตอบ
1 นาตัวอักษรทางด้านขวามือมาเติมหน้าข้อความทางซ้ายมือ
ได้ถูกต้อง
0 นาตัวอักษรทางด้านขวามือมาเติมหน้าข้อความทางซ้ายมือ
ไม่ถูกต้อง หรือไม่ตอบคาถาม

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 68
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ใบกิจกรรมที่ 4

เกณฑ์กำรพิจำรณำคะแนนกำรตอบคำถำม จำนวน 5 ข้อ ข้อละ 2 คะแนน คะแนนเต็ม


10 คะแนน
คะแนน เกณฑ์กำรพิจำรณำคำตอบ
2 หาคาตอบของโจทย์ได้ถูกต้อง สมบูรณ์ครบถ้วน
1 หาคาตอบของโจทย์ได้ถูกต้องบางส่วน
0 หาคาตอบของโจทย์ไม่ถูกต้อง หรือไม่ตอบคาถาม

เกณฑ์กำรประเมินผล
คะแนน เกณฑ์กำรพิจำรณำคำตอบ
นักเรียนทาใบกิจกรรมได้คะแนนร้อยละ 70 ขึ้นไป ถือว่า
7 - 10
ผ่านเกณฑ์การประเมิน
นักเรียนทาใบกิจกรรมได้คะแนนต่ากว่าร้อยละ 70 ถือว่าไม่ผ่าน
0-6
เกณฑ์การประเมิน

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 69
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

บันทึกผลกำรเรียน

ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ เรื่อง พลังงำนไฟฟ้ำ


ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้ำเบื้องต้น

ด้ำนควำมรู้ (K)
1. แบบทดสอบก่อน – หลังเรียน
เกณฑ์กำรประเมิน
ประเมินผล คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
ผ่ำน ไม่ผ่ำน ระดับคุณภำพ
ก่อนเรียน 10
หลังเรียน 10

เกณฑ์กำรประเมิน
นักเรียนทาแบบทดสอบก่อน – หลังเรียน ได้คะแนนร้อยละ 70 ขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์
การประเมิน
2. ใบกิจกรรม
เกณฑ์กำรประเมิน
ประเมินผล คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
ผ่ำน ไม่ผ่ำน ระดับคุณภำพ
ใบกิจกรรมที่ 1 10
ใบกิจกรรมที่ 2 10
ใบกิจกรรมที่ 3 10
ใบกิจกรรมที่ 4 10

เกณฑ์กำรประเมิน
นักเรียนทาใบกิจกรรมได้คะแนนร้อยละ 70 ขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์การประเมิน

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น


ชุดกิจรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พลังงานไฟฟ้า 70
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

เอกสำรอ้ำงอิง

ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ เรื่อง พลังงำนไฟฟ้ำ


ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้ำเบื้องต้น

ธนพงษ์ วัชรโรจน์ .เตรียมสอบวิทยำศำสตร์ ม.3.กรุงเทพฯ :สวัสดี ไอที จากัด,2560.


ดร.บัญชา แสนทวี. หนังสือเรียนสำระกำรเรียนรู้พื้นฐำนวิทยำศำสตร์
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3 เล่ม 6.กรุงเทพฯ :สานักพิมพ์วัฒนาพานิช จากัด, มปป.
ประดับ นาคแก้ว. หนังสือเรียนแม็คสำระกำรเรียนรู้พื้นฐำน ระดับมัธยมศึกษำต้อนต้น
วิทยำศำสตร์ ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์
ตำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551. กรุงเทพฯ :
แม็ค, ม.ป.ป.
ประดับ นาคแก้ว และคณะ. วิทยำศำสตร์ ม.3. กรุงเทพฯ :สานักพิมพ์แม็ค, มปป.
ประดับ นาคแก้ว และดาวัลย์ เสริมบุญสุข. หนังสือเรียน รำยวิชำพื้นฐำน วิทยำศำสตร์
ม.3 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3 ตำมหลักสูตร
แกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551. กรุงเทพฯ : แม็ค, 2555.
ยุพา วรยศ และคณะ. หนังสือเรียนสำระกำรเรียนรู้พื้นฐำน กลุ่มสำระกำรเรียนรู้
วิทยำศำสตร์. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์, 2547.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียนสำระกำรเรียนรู้
พื้นฐำน แรงและกำรเคลื่อนที่พลังงำน กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว,
2549.

ชุดที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น

You might also like