You are on page 1of 43

บทสรุปย่ อ

หลักสูตร การสะกด
รอย
ของ
ทบ. นิวซีแลนด์
สารบัญ

1. กล่าวนำการสะกดรอย (Introduction to Tracking)


2. เป้ าหมาย (EOT 1 Target)
3. ร่ อยรอย (EOT 2 Sign)
4. ปั จจัยที่มีผลกระทบต่อการสะกดรอย (EOT 3 Factors Which Affect Tracking)
5. ข้อมูลข่าวสาร (EOT 4 Information)
6. การฝึ กการติดตามรอย (Track Pursuit Drill)
7. หน้าที่ของพลระวังป้ องกัน (Duties of a Coverman)
8. การฝึ กการค้นหารอยที่หาย (Track Casting Drill)
9. ยุทธวิธีการลวง (Deception Tactics)
10. การรับรู้เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น (Incident Awareness)
11. การสังเกตการณ์ และการใช้ประสาทสัมผัสอื่น ๆ (Observation and the Use of Other
Senses)
12. การตัดสิ นอายุของรอย (Judging the Age of Sign)

จัดทำโดย (Produced by)


พ.อ.(พ) นุ โชติสนั ต์ เรี ยบเรี ยง
ร.อ.ปรี ชา ผาดไพบูลย์ แปล

กล่ าวนำการสะกดรอย
(Introduction to Tracking)
 ทหารมีการใช้นกั สะกดรอยมาแล้ว ที่รู้จกั กันดี เช่น หน่วยหาข่าว (Scouts) ตั้งแต่มนุษย์เริ่ มมีการต่อสู ้
กับเพื่อนบ้านเป็ นครั้งแรก การค้นพบอาวุธและเครื่ องมือต่าง ๆ ในสมัยโบราณ แสดงให้เห็นว่ามนุษย์
นั้นเป็ นผูล้ ่า เพื่อความอยูร่ อดเขาจะสังเกตเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่อย่างสม่ำเสมอ และนิสยั ของสัตว์
ต่าง ๆ รวมทั้งวิถีชีวิตของพวกนกที่เขาตั้งใจจะจับมันมาเป็ นอาหาร หลังจากเอาชนะปั ญหาในเรื่ องของ
อาหาร ซึ่ งรวมทั้งการเลี้ยงสัตว์และการเก็บเกี่ยว นิสยั ในการรุ กรานตามธรรมชาติและความโลภใน
อำนาจของพวกเขา ในไม่ชา้ ได้เปลี่ยนพวกเขาไปสู่ การล่ามนุษย์ดว้ ยกันเอง
 นักสะกดรอยมาจากไหน
 นักสะกดรอยด้วยสายตา (Visual Trackers) มาจาก การเดินในชีวิตประจำวัน และลักษณะของเชื้ อ
ชาติ
 เผ่าอินเดียนในแคนาดา,สหรัฐอเมริ กา และเม็กซิ โก
 หน่วย ลว.ตามแนวชายแดนของ สหรัฐอเมริ กา (USA Border Patrol)
 เผ่าอินเดียนในอเมริ กาใต้ (The Indian tribes of South America)
 ชาวอบอริ จินในออสเตรเลีย (The Aboriginal of Australia)
 ชาวเมารี ของนิวซีแลนด์ (The Maori of NZ)
 เผ่าโอลัช อัสลี ของมาเลเซีย (The ORANG ASLI of Malaysia)
 เผ่า อิบนั และดยัค ของ บอร์เนียว (The IBAN and DYAKS of Borneo)
 ที่กล่าวมานี้เป็ นเพียงส่ วนหนึ่งของเชื้อชาติที่ใช้ศิลปของการสะกดรอยด้วยสายตา ไม่วา่ จะเป็ นเวลา
สงครามหรื อในยามสงบ โดยปกติแล้ว นักสะกดรอยด้วยสายตาจะมีประสิ ทธิ ภาพมากที่สุดในประเทศหรื อ
ในสภาพแวดล้อมของเขาเอง ถ้าเขาถูกย้ายหรื อไปทำงานในประเทศหรื อสภาพแวดล้อมอื่น ประสิ ทธิ ภาพ
ของเขาจะขึ้นอยูก่ บั ความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมใหม่โดยสิ้ นเชิง (tuning in) ถ้าการ
ปรับตัวทำได้สำเร็ จนักสะกดรอยด้วยสายตาจะสามารถปฏิบตั ิงานได้ตามความสามารถสู งสุ ดของเขา
การสะกดรอยของนิวซีแลนด์ (New Zealand Tracking)
 ประวัติของการสะกดรอยด้วยสายตา ภายในประเทศนิวซี แลนด์เริ่ มในระหว่างการอพยพของชาวเมารี
(Maori) เข้ามาในประเทศนี้ เผ่าเมารี ของนิวซี แลนด์มีความผูกพันอย่างมากกับแผ่นดินนี้ และเพื่อให้มีชีวิต
อยูร่ อด พวกเขาต้องล่าสัตว์, ปลูกพืช และหาปลาจากทะเลและแม่น ้ำ ตลอดช่วงเวลานั้น พวกเขาได้พฒั นา
ความรู ้และความชำนาญที่ตอ้ งการในการดำรงชีวิต ด้วยความรู ้น้ ี พวกเขาสามารถเดินทางไกล เพื่อหาอาหาร
ที่จ ำเป็ นในการดำรงชีวิต และหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะบุกรุ กดินแดนของเผ่าอื่น และนำไปสู่ การขัดแย้งระหว่าง
เผ่า ถึงแม้วา่ มันจะไม่มีหลักฐานยืนยันว่าพวกเขาได้ใช้ความชำนาญและความรู ้ในการล่า เพื่อช่วยพวกเขาใน
การต่อสู ้กบั ข้าศึก
 กับการมาถึงของกัปตันคุก๊ (Captain Cook) และชาวยุโรป ความเป็ นอยูแ่ ละวิถีชีวิตของชาวเมารี ก ็
เปลี่ยนไปตลอดกาล
 หลักฐานแรกที่ได้ถูกบันทึกไว้ในการใช้การสะกดรอยด้วยสายตาอยูใ่ นช่วงสงครามของชาวเมารี ใน
นิว ซี แลนด์ (New Zealand Maori Wars) เผ่า ทารานากิ (Taranaki tribes) ในยุค Von Tempsky
และการใช้นกั สะกดรอยของงาติ โพรัว (Ngati Porou) ในช่วงการล่าของ Te Koote
 ประวัติของการสะกดรอยทางทหารเท่าที่ทราบในวันนี้ เราได้น ำเอาแนวความคิดใหม่ท้ งั หมดมาใช้
รวมกับความชำนาญที่มีในอดีต สิ่ งนี้คือ มนุษย์, การสะกดรอยของมนุษย์, การได้รับข้อมูลข่าวสาร
เพื่อเข้าใกล้และทำลายคู่ต่อสู้ของพวกเขา
 นักสะกดรอยด้วยสายตาสามารถใช้ในภารกิจต่าง ๆ มากมายในเวลาสงคราม แนวคิดนี้ เพียงเพื่อให้
สามารถติดตามรอยในป่ าละเมาะ หรื อป่ าดงดิบที่ไม่มีความสัมพันธ์กนั หลักการที่ถูกใช้โดยนักสะกด
รอยด้วยสายตาสามารถปรับให้เหมาะสมกับสภาพของภูมิประเทศ
 นักสะกดรอยของนิวซีแลนด์ เคยถูกใช้ในการปฏิบตั ิการทางทหารมากมาย เช่น
 ในมาเลเซีย พ.ศ. 2498 – 2500 (Malaysia 1955 – 57)
 ในบอร์เนียว พ.ศ. 2508 – 09 (Borneo 1965 – 66)
 ในเวียตนาม พ.ศ. 1968 – 71 (Vietram 1968 – 71)
 เมื่อเร็ว ๆ นี้ ในติมอร์ตะวันตก (Recently East Timor)
การใช้การสะกดรอยในปัจจุบนั (Current Tracking Applications)
 พลเรื อนส่ วนใหญ่และแม้แต่ผนู้ ำทางทหารบางคน ที่ไม่คนุ ้ เคยหรื อไม่ทราบเกี่ยวกับการสะกดรอย ซึ่ ง
มันไม่ใช่เรื่ องที่ยากเลยในการใช้ตามหลักการนี้ การสะกดรอยด้วยสายตาสามารถใช้ประโยชน์ใน
องค์กรดังต่อไปนี้ :
1. การค้นหาและการช่วยเหลือ (Search and Rescue)
องค์กรเหล่านี้ถูกเรี ยกใช้บ่อย ๆ ในการหาร่ องรอยที่สูญหาย ฯลฯ โชคไม่ดีที่พวกเขามีความรู ้
น้อยหรื อไม่มีความรู้เลยในศิลปของการสะกดรอย ดังนั้นรอยจำนวนมากที่มีอยูจ่ ะถูกทำลายลงโดยหน่วยนี้
เสมอ ทำให้มนั เกือบจะเป็ นไปไม่ได้เลยที่จะทำการติดตามในทันทีทนั ใดโดยนักสะกดรอยที่ผา่ นการฝึ กแล้ว
และผลของการสูญเสี ยเวลาที่มีค่านี้ไป โดยปกติเคราะห์กรรมของเหยือ่ จะจบลงด้วยความโศกเศร้า
2. หน่วยบังคับใช้กฎหมาย (ตำรวจ) (Law Enforcement)
การสะกดรอยกับหน่วยบังคับใช้กฎหมายส่ วนใหญ่ มุ่งหน้าไปสู่ การสะกดรอยด้วยสุ นขั เป็ น
ส่ วนใหญ่ งานของพวกเขาเป็ นการสะกดรอยเพื่อหยุดผูท้ ี่ท ำผิดกฎหมาย ในเรื่ องวัตถุระเบิดและยาเสพติด
หน่วย ลว.ตามแนวชายแดนของสหรัฐ ซึ่ งไม่ใช่เพียงหน่วยเดียวที่ใช้เทคนิคของการสะกดรอย เพื่อหยุดผู ้
อพยพที่ผดิ กฎหมายซึ่ งหลบหนีเข้าสหรัฐ
3. การสะกดรอยทางทหาร (Military)
เป็ นการใช้ทีมการสะกดรอยด้วยสายตา
วัตถุประสงค์ของการสะกดรอยทางทหาร (Purpose of Military Tracking)
 วัตถุประสงค์หลักของการสะกดรอยทางทหารคือ เพื่อให้ได้ขอ้ มูลข่าวสารเกี่ยวกับข้าศึกให้มากที่สุดเท่า
ที่จะมากได้ โดยการใช้เทคนิคการสะกดรอย
คำจำกัดความ (Definition)
 การสะกดรอย (Tracking) คือศิลปะของความสามารถในการ กำหนดที่ต้ งั (LOCATE) , พิสูจน์ทราบ
(IDENTIFY) และ ติด ตามรอย (PURSUE) และจ าก การแปลควา มห มาย อย า่ งชาญฉลา ด
(INTELLIGENT INTERPRETATIONS) และ การสันนิษฐาน (ASSUMPTIONS) เพื่อ ให้ไ ด้รับ
ข้อมูลที่ถูกต้องอย่างมีเหตุผลเกี่ยวกับเป้ าหมายที่สนใจ
ประเภทของการสะกดรอย (Types of Tracking)
 วิธีการต่าง ๆ ที่ใช้กบั ร่ องรอย (Spoor) สามารถติดตามได้โดย
 การสะกดรอยด้วยสายตา (Visual tracking)
 วิธีดมกลิ่น (Scent method)
 2 วิธีการนี้ ช้ ีให้เห็นว่า ประสาทรับรู ้ทาง “สายตา” (Sight) และ “การดมกลิ่น” (smell) ได้ถูกใช้
นอกจากนี้ยงั มี การได้ยนิ (hearing) และการสัมผัส (touch) ได้ถูกใช้ดว้ ยแต่สองสิ่ งหลังนี้มีเป็ นส่ วนน้อย
 การสะกดรอยด้วยสายตา (Visual Tracking) คือความสามารถในการติดตามรอยเป้ าหมายหรื อสัตว์
โดยใช้ร่องรอยต่าง ๆ หรื อ เครื่ องหมายที่ถูกทิ้งไว้เบื้องหลัง นี้เป็ นส่ วนหนึ่งของตัวอย่าง ;
 การเปลี่ยนสี และรู ปทรงที่ผดิ ธรรมชาติของพืช เนื่องจากการถูกรบกวน (Change in the
colour and the unnatural formation of vegetation due to disturbance)
 รอยขีดข่วน, การหัก, การตัดในพืช (Bruises , breaks and cuts in Vegetation)
 น้ำในพื้นที่ซ่ ึ งโดยปกติแล้วจะแห้ง (Water in areas where it is normally dry)
 การหายไปของน้ำและน้ำค้างบนใบไม้ (Lack of water and dew on Vegetation)
 โคลนหรื อดินที่เปื้ อนบนใบหญ้าหรื อพุม่ ไม้ (Mud or soil on grass or bushes)
 รอยเท้าในที่โล่งหรื อพื้นโคลน (Foot prints in bare or muddy ground)
 น้ำเลี้ยงที่ออกมาจากรอยครู ดที่รากไม้ หรื อที่ล ำต้น (Sap from a bruised root or trunk of a
tree)
 การรบกวนชีวิตของสัตว์, นก หรื อแมลง (Disturbance to animal, bird or insect life)
 เนื่องจากข้อเท็จจริ งที่นกั สะกดรอยด้วยสายตาเชื่อถือส่ วนใหญ่ ถือการมองเห็น เขาจึงไม่สามารถ
ติด ตามรอยในเวลากลางคืน ยกเว้น ในสถานการณ์ท ี่ผ ดิ ปกติ เช่น แสงจัน ทร์ท ี่ส ว่า งมาก (Brilliant
moonlight) , แสงที่ท ำขึ้นในพื้นที่โล่งแจ้ง (artificial light in open country) ,การใช้เครื่ องมือตรวจการณ์
ในเวลากลางคืน (night observation devices หรื อ NODs) หรื อ แว่นตาที่ใช้เวลากลางคืน (Night vision
goggles)
 การสะกดรอยด้วยการดมกลิ่น (Scent Tracking) โดยปกติแล้วสุ นขั ทำได้ดีกว่า อย่างไรก็ตาม นัก
สะกดรอยที่ได้รับการฝึ กมาอย่างดี สามารถติดตามเป้ าหมายได้โดยใช้กลิ่นของมัน ไม่วา่ จะเป็ นมนุษย์หรื อ
สัตว์กต็ าม ถ้าหากว่ากลิ่นนั้นแรงและยังใหม่ นอกจากนั้นนักสะกดรอยด้วยสายตาจะใช้การดมกลิ่นของเขา
เพื่อเตือนภัย จากกลิ่นที่แปลก ๆ ในพื้นที่ เช่น
 กลิ่นจากการประกอบอาหาร (Cooking fumes)
 ควัน (Smoke)
 กลิ่นส้ม (Latrines)
 ดินที่ขดุ ขึ้นมาใหม่ ๆ (New dug earth)
กล่าวโดยทัว่ ไปแล้วนักสะกดรอยมีประสิ ทธิ ภาพมากที่สุดในประเทศที่พวกเขาเกิด ถ้าให้พวกเขา
ย้ายออกไปจากที่น้ นั ประสิ ทธิภาพของพวกเขาจะลดลงจนกระทัง่ พวกเขาปรับสภาพให้คุน้ เคยกับสภาพ
แวดล้อมใหม่อีกครั้ง อย่างไรก็ตามสิ่ งเหล่านี้เป็ นปัจจัยพื้นฐานที่ชดั เจนที่ใช้กบั การสะกดรอยโดยไม่ค ำนึงถึง
พื้นที่ สิ่ งเหล่านี้เป็ นลักษณะเด่นของนักสะกดรอยที่ได้ผา่ นการฝึ กแล้ว แต่ทว่าสิ่ งนี้ยงั คงถูกซ่อนไว้ในตัวนัก
สะกดรอยถ้าไม่น ำไปใช้
นักสะกดรอย (The Tracker)
 ไม่มีใครเกิดมากับสัญชาติญาณตามธรรมชาติของการเป็ นนักสะกดรอย และขัดกับความเชื่อโดยทัว่ ไป
นักสะกดรอยไม่ใช่บุคคลชนิดพิเศษ เขาเป็ นบุคคลธรรมดาที่ได้รับความสำเร็ จจากความชำนาญ รวมทั้ง การ
อุทิศตัว, การฝึ ก และการทำงานหนัก มันมีความเป็ นไปได้ส ำหรับใครก็ตามที่จะกลายเป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญใน
ศิลปของการสะกดรอยโดยมีขอ้ แม้ว า่ พวกเขาต้องมีความตั้งใจและสนใจ นักสะกดรอยคือ ทหารที่ผา่ นการ
ฝึ กมาอย่างดี ซึ่ งสามารถจะกำหนดที่ต้ งั (LOCATE) , พิสูจน์ทราบ (IDENTIFY) , ติดตามรอย (PURSUE)
และแปลความหมาย (INTERPRET) ร่ อยรอย และนำไปสู่ การสันนิษฐานอย่างมีเหตุผล (INTELLIGENT
ASSUMPTIONS) และการรู้คุณค่าของงานการสะกดรอย
คุณลักษณะของนักสะกดรอย (Qualities of a Tracker)
นักสะกดรอยที่มีความสามารถต้องมีคุณลักษณะที่ชดั เจน ดังนี้ :
1. ความซื่อสัตย์ (Honesty)
2. ความอดทน (Patience)
3. ความอุตสาหะ (Perseverance)
4. ความอยากรู้อยากเห็น (Inquisitive mind)
5. ช่างสังเกต (Acute observation)
6. ความตั้งใจ (ทั้งทางจิตใจและร่ างกาย๗ (Determination , Mental and Physical)
7. อดทนต่อความยากลำบากได้มากกว่าระดับปกติ (Above average endurance)
8. มาตรฐานของการปฏิบตั ิในสนามเหนือกว่าระดับทัว่ ไป (Above average standard of field
craft)
9. มีค วามรู้เ กี่ย วกับ ข้า ศึก และยุท ธวิธี ข องข้า ศึก (Knowledge about the enemy and his
tactics)
10. มีความรู้เกี่ยวกับสัตว์และพืชในท้องถิ่น (Knowledge about the local fauna and flora)
คำศัพท์เฉพาะ (Terminology)
คำต่อไปนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของคำศัพท์พ้ืนฐานที่ใช้ในการสะกดรอย และจะอธิ บายรายละเอียดมากขึ้น
เมื่อศึกษาในหลักสูตร :
1. ภาพของร่ อยรอย (Track Picture) คือภาพเหตุการณ์หรื อเรื่ องราวทั้งหมดที่ได้รับ โดยนัก
สะกดรอย ตลอดระยะเวลาที่ก ำหนดให้
2. รอยหลัก (Key Sign) คือรอยที่มีความชัดเจนที่สุดในสภาพแวดล้อมใดก็ตามที่อยูใ่ นการ
ติดตามรอย และช่วยเพิ่มระยะทางและความเร็ วในการสะกดรอยให้มากขึ้ น เช่น ป่ าละเมาะที่
เกิดใหม่ (Primary bush) การเปลี่ยนสี ของใบไม้ (Colour change ie over turned leaves)
3. รู ปแบบของรอย (Sign Pattern) คือสิ่ งที่ช่วยชี้ให้เห็นถึงลักษณะนิสยั หรื อลักษณะเฉพาะ
บุคคลหรื อกลุ่มบุคคลที่ก ำลังถูกติดตาม
4. เครื่ องชี้ทิศทาง (Pointers) คือร่ องรอยต่าง ๆ ที่แสดงถึงทิศทางในการเคลื่อนที่ เช่น ใบไม้ ใบ
หญ้าที่ถูกเหยียบย่ำในระดับต่ำ ๆ หรื อขุยดินที่ถูกเตะไปข้างหน้า จะยังคงแสดงถึงทิศทางของ
การเคลื่อนที่จนกว่ามันจะถูกรบกวนอีกครั้ง
5. จุดออกและจุดเข้า (Exit and Entry Points) คือจุดหรื อช่องทางผ่านที่บุคคลหรื อกลุ่มบุคคลที่
ถูกติดตามอาจจะเคลื่อนที่ผา่ นจากสิ่ งแวดล้อมหนึ่งไปยังสิ่ งแวดล้อมอื่น ๆ
6. รอยขอบที่ถูกกด (Straight Edge) คือเส้นที่ถูกพบบนใบไม้หรื อใบหญ้าที่เป็ นสาเหตุมาจาก
การใช้แรงกด เช่นเดียวกับการพับกระดาษ
7. การค้นหารอยที่หาย (Casting) คือการฝึ กที่ใช้ในการกำหนดตำแหน่งหรื อหารอยที่หาย ท ี่
รอยนั้นได้ถูกทิ้งไว้ หรื อในที่ซ่ ึ งนักสะกดรอยกำลังใช้ความพยายามในการกำหนดจุดเริ่ มต้นใน
Incident Site
8. ช่วงเวลาโดยประมาณที่เกิดรอย (Time Bracket) ร่ องรอยทั้งหมดที่ถูกพบในระยะแรกถูกจัด
อยูใ่ นช่วงเวลาโดยประมาณที่เกิดรอย (Time Bracket) เช่น ระยะเวลาที่ผา่ นพ้นไประหว่าง
เวลาที่น่าจะเป็ นไปได้เร็ วที่สุดที่รอยถูกทำให้เกิดขึ้นกับเวลาที่รอยนั้นถูกค้นพบ ช่วงเลาโดย
ประมาณนั้นก็คือ อายุของรอยนัน่ เอง (in the bracket , ie. The age of the sign)
9. รอยรบกวน (Foul Track) คือรอยในการติดตามที่เข้าไปในพื้นที่ที่มีรอยอื่น ๆ เป็ นจำนวน
มากปรากฏอยู่
10. การปรับตัว (Tuning in) คือการตีความหมายขั้นต้นของรอยที่ท ำให้นกั สะกดรอยสามารถคิด
และกระทำเช่นเดียวกับเป้ าหมายที่ถูกติดตาม สิ่ งนี้จะช่วยให้นกั สะกดรอยคาดการณ์การกระทำ
ของเป้ าหมายในอนาคตได้
11. การแยกร่ องรอย (Track Isolation) คือที่ที่นกั สะกดรอยมีการคาดการณ์ถึงเส้นทางที่ขา้ ศึกตั้งใจ
จะไป และสามารถกระโดดข้าม ( Leap Frog ) ไปข้างหน้าเพื่อพิสูจน์ทราบรอยทางเดินที่
เหมือนกันโดยการใช้รูปแบบของรอยเป็ นตัวกำหนด
12. เครื่ อ งชี้ร ะยะก้า ว (Indicator Pace) คือ ระยะก้า วโดยตรงก่อ นหรื อ หลัง ที่จ ะมีการเปลี่ย น
ทิศทาง
13. การสะกดรอยระยะก้าว (Pace Tracking) คือการสะกดรอยก้าวต่อก้าว (Pace for Pace) ที่ใช้
ในระหว่าง การปรับตัว (Tuning In) หรื อใช้เมื่อการสะกดรอยมีความยากในการติดตาม
สรุ ป (Summary)
มันมีความสำคัญที่จะต้องรู้ว า่ ประวัติของการสะกอรอยด้วยสายตา (Visual Tracking) เริ่ มต้นมา
อย่างไร และมนุษย์ได้ใช้ความชำนาญ และความได้เปรี ยบนี้ อย่างไร ไม่วา่ จะเป็ นในช่วงสงครามหรื อยาม
สงบ การสะกดรอยคือความชำนาญที่สามารถถูกใช้ได้ในการเดินในชีวิตประจำวัน
รายละเอียดปัจจัยสำคัญของการสะกดรอย
(Elements of Tracking in Detail)
เป้ าหมาย
(EOT.1 Target)
กล่ าวทั่วไป (General)
EOT.1 คือ รายละเอีย ดของเป้ าหมาย (Target) , ภูม ิห ลัง (Background) , และภารกิจ ที่เ ป็ น ไปได้
(Possible Mission)
คำจำกัดความของเป้ าหมาย (Definition of Target)
เป้ าหมาย (Target)
 เป้ าหมายคือ สิ่ ง ที่ถ ูก ติด ตาม (มนุษ ย์, สัต ว์, ยานพาหนะ๗ ซึ่ ง กำลัง ถูก ติด ตามโดยนัก สะกดรอย
(Tracker)
ภูมิหลัง (Background)
 คือ ประวัติที่ผา่ นมาในอดีตของบุคคลหรื อกลุ่มบุคคล (การศึกษาลักษณะเฉพาะตัว, ถิ่นที่อยู)่ และข้อมูล
ที่ทนั สมัยเกี่ยวกับเป้ าหมาย
ภารกิจ (Mission)
 ยืนยัน หรื อสันนิษฐาน (Confirmed or assumed)
ภารกิจที่น่าจะเป็ นไปได้ (Possible Mission)
 จนกว่าจะอยูบ่ นแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้อย่างมาก ที่ภารกิจของเป้ าหมายจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงไปจาก
การสันนิษฐานซึ่ งมาจากข้อมูลข่าวสารที่มีอยู่ ความรู ้เกี่ยวกับเป้ าหมายและภูมิประเทศรวมกับความรู ้เกี่ยวกับ
พลเมืองในท้องถิ่น เป็ นสิ่ งที่มีความจำเป็ นต่อความสำเร็ จของงาน ก่อนการใช้ หน่วย ลว., ทีมสะกดรอย,
ที่ไหนที่น่าจะเป็ นไปได้, ควรที่จะทำการศึกษารายละเอียดและมีความเข้าใจในข้อสรุ ปของเป้ าหมาย อย่าง
เช่น ยุทธวิธีของเป้ าหมาย
 ข้อมูลเกี่ยวกับเป้ าหมาย สามารถได้มาจากแหล่งต่าง ๆ ดังนี้
ก. หน่วยหาข่าวของฝ่ ายเรา (Own Int Cell)
2. รายงานของหน่วยลาดตระเวนก่อน ๆ (Old patrol reports)
3. ประชาชนในพื้นที่ (Local population)
4. ผูแ้ จ้งข่าวอื่น ๆ (Informers)
5. ตำรวจ (Law enforcement agencies)
รายละเอียดเกีย่ วกับภูมิหลัง (Background in Detail)
 ลักษณะเฉพาะ (Traits) คือลักษณะเด่นเฉพาะ หรื อ การวินิจฉัยเป้ าหมายโดยเฉพาะ
a. เชื้อชาติ (Nationality) เป้ าหมายอาจจะไม่ใช่ผมู ้ ีถิ่นกำเนิดในประเทศที่เขากำลังปฏิบตั ิภารกิจ หรื อ
อาศัยอยู่ ตัวอย่างเช่น ชาวฟิ จิ ซึ่ งหมายถึงเป็ นชาวฟิ จิโดยกำเนิด แต่ได้รับสัญชาตินิวซี แลนด์ ข้อเท็จ
จริ งที่สำคัญที่สุดในการพิจารณา จากวัตถุประสงค์ของการสะกดรอยด้วยสายตา คือ พยายามสื บหา
เชื้อชาติของเป้ าหมายโดยไม่ค ำนึงถึงพื้นที่ปฏิบตั ิการ
b. วิถีชีวิต (Lifestyle) เกี่ยวกับลักษณะโดยเฉพาะของเป้ าหมาย ดังนี้ :
(1) กิริยาท่าทาง (Attitudes) นี้เกี่ยวกับอารมณ์ (moods or emotions) เช่น เขากลายเป็ นคน
ที่ไม่มีสมาธิหรื อโกรธง่าย เมื่อได้รับความเครี ยดทางร่ างกายหรื อจิตใจ
(2) ความเชื่อ (Beliefs) แสดงถึงความคิดหลักของเป้ าหมายเช่น ที่ใดก็ตามที่บุคคลเลือกที่จะ
ปฏิบตั ิตามในชีวิตของเขา เนื่องจากเขามีความเชื่อในสิ่ งนั้น และยอมรับโดยปราศจากข้อ
สงสัย
(3) นิสยั (Habits) แสดงถึงนิสยั ในการปฏิบ ตั ิข องเป้ าหมาย หรื อ การกระทำที่มีลกั ษณะ
เฉพาะทั้งที่ติดตัวมาตามธรรมชาติหรื อที่สร้างขึ้นภายหลัง
(4) พฤติกรรม (Behavior) แสดงถึง วิธีการปฏิบตั ิของพฤติกรรมของเป้ าหมายหรื อการกระทำ
ด้วยตัวเขาเอง
(5) ความจงรักภักดี (Loyalties) นี้เกี่ยวกับเป้ าหมาย และผูซ้ ่ ึ งเขาได้ปฏิญาณตัวแล้ว ซึ่ งมันจะ
แสดงให้เห็นระดับของความจงรักภักดีที่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ขึ้นอยูก่ บั สถานการณ์ และ
ความรู้สึกส่ วนตัวของเป้ าหมายในเวลานั้น ในฐานะของนักสะกดรอยต้องสันนิษฐานไว้
ก่อนว่า เป้ าหมายได้อุทิศตัว และใช้เวลาทั้งหมดของเขาต่อสิ่ งที่เขามีความจงรักภักดี หรื อ
พูดอีกอย่างหนึ่งว่า เขาพร้อมแล้วที่จะตายเพื่อภารกิจ
(6) จิตใจที่มนั่ คง (Mentality) เกี่ยวกับสภาพหรื อคุณภาพของความสามารถในทางจิตใจ
(7) สภาพร่ างกาย (Physique) เกี่ยวกับสิ่ งที่ปรากฏโดยทัว่ ไปทางร่ างกาย ในด้านรู ปร่ าง และ
กล้ามเนื้อ
(8) โภชนาการ (Diet) เกี่ยวกับอาหารและน้ำที่เป้ าหมายบริ โภคเป็ นปกติประจำ
c. หลักนิยม (Doctrine)
(1) ประเพณี (Customs)
(2) วัฒนธรรม (Tradition)
(3) การทหาร (Military)
(4) ความเชื่อทางการเมือง (Political)
(5) ศาสนา (Religion)
 ถิ่นที่อยู่ (Habitat) คือดินแดนที่เป้ าหมายอยูอ่ าศัยทั้งในอดีตและปั จจุบนั
(1) ถิ่นทุรกันดาร (Remote) แสดงความสัมพันธ์ของถิ่นที่อยูข่ องเป้ าหมาย ซึ่ งตั้งอยูห่ ่างไกล
จากชุมนุมชน, สังคม หรื ออารยธรรม
(2) ชนบท (Rural) แสดงถึงถิ่นที่อยูข่ องเป้ าหมายที่เป็ นลักษณะเฉพาะของประชากรในท้อง
ถิ่นหรื อวิถีชีวิตของประชาชนในท้องถิ่น
(3) ชานเมือง (Suburban) เกี่ยวกับถิ่นที่อยูข่ องเป้ าหมาย ซึ่ งพื้นที่อยูอ่ าศัยนั้นอยูบ่ ริ เวณรอบ ๆ
เมืองใหญ่ (City) หรื อเมืองเล็ก (Town)
(4) เมืองใหญ่ (City) เกี่ยวกับถิ่นที่อยูข่ องเป้ าหมายที่อยูอ่ าศัยในเมืองใหญ่ หรื อบริ เวณที่มีผคู ้ น
อาศัยหนาแน่น
สรุ ป (Summary)
เพื่อให้นกั สะกดรอยมีความได้เปรี ยบในระหว่างการติดตามรอย มันมีความสำคัญมากที่ตอ้ งมีความ
รู ้เกี่ยวกับเป้ าหมายให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ความรู ้น้ ี จะช่วยนักสะกดรอยให้สามารถพิสูจน์ทราบเป้ าหมาย
ของเขา, สามารถคิดได้เหมือนกับเป้ าหมายและสามารถขัดขวางการเคลื่อนที่ใด ๆ ก็ตามที่เป้ าหมายอาจนำ
มาใช้ในระหว่างการติดตามรอย
ร่ องรอย
(EOT.2 SIGN)
กล่ าวนำ (Introduction)
การจำได้ และการพิสูจน์ทราบของรอย คือ 2 ปั จจัยสำคัญของการสะกดรอย ถ้าปราศจากความ
ชำนาญนี้จะทำให้เป็ นอันตรายต่อนักสะกดรอย และที่สำคัญมากกว่านั้นก็คือต่อหน่วยลาดตระเวนของเขา
เอง การจำได้และการพิสูจน์ทราบอย่างถูกต้องของรอย สามารถทำให้นกั สะกดรอยพบการเปลี่ยนแปลงใด
ๆ ที่เกิดขึ้นในภาพของร่ องรอย ความเป็ นไปได้ของยุทธวิธีการลวงที่อาจถูกนำมาใช้โดยข้าศึก สามารถช่วย
ให้นกั สะกดรอยในการสื บหาข้าศึก และเพิ่มโอกาสในการสามารถกำหนดที่ต้ งั และนำไปสู่ การยิงไปยังที่ต้ งั
ข้าศึกอย่างได้ผล
คำจำกัดความ (Definition)
1. รอย (Sign) สามารถอธิบายได้วา่ คือ หลักฐานของการเปลี่ยนแปลงใด ๆ จากสภาพตามธรรมชาติที่ถูก
กระทำในโอกาสที่ใครก็ตามกระทำต่อสภาพแวดล้อมโดยการเคลื่อนที่ผา่ นของมนุษย์, สัตว์ หรื อเครื่ องจักร
กล
การแบ่งประเภทของรอย (Categories)
2. รอยทั้งหมดสามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภท เส้นของการแบ่งประเภทอยูใ่ นแนวระดับตาตุ่ม
a. รอยเหนือพื้นดิน (Top Sign) คือรอยใด ๆ ที่อยูเ่ หนือระดับตาตุ่ม และมีความกว้างเท่ากับตัวบุคคล
หรื อเครื่ องมือ, อุปกรณ์ ที่เขาอาจนำไป
ตัวอย่างของรอยเหนือพื้นดินคือ :
(1) การหักของกิ่งไม้หรื อใบไม้ (Broken twigs or leaves)
(2) รอยขูดขีดบนต้นไม้ (Scratches on trees)
(3) รอยมือที่จบั ต้นไม้ (Hand holds on trees)
(4) การเปลี่ยนสี และสภาพที่ผดิ ไปจากธรรมชาติของพืชพันธ์ (Changes in colour and
unnatural position of vegetation)
(5) การตัด (Cutting)
b. รอยบนพื้นดิน (Ground Sign) คือรอยที่ถูกทิ้งไว้โดยเท้าหรื อเครื่ องมือ – อุปกรณ์ บนพื้นดิน
ตัวอย่างรอยบนพื้นดิน คือ :
(1) รอยเท้า หรื อรอยรองเท้า (Foot or boot marks)
(2) การหักของกิ่งไม้หรื อใบไม้บนพื้นดิน (Broken twigs or leaves on the ground)
(3) รอยถลอกของรากไม้ หรื อยางไม้ (Bruised or bleeding roots)
(4) การถูกรบกวนของแมลงบนพื้นดิน (Disturbances of insect life on the ground)
(5) การถูกรบกวนของหญ้าหรื อพืชผิวดิน (Disturbance of grass or ground Vegetation)
(6) โคลน หรื อสิ่ งอื่น ๆ ที่ติดมาจากรองเท้า (Mud etc. deposited from boots)
(7) การถูกรบกวนนั้นทิ้งก้อนหิน – กรวด และกิ่งไม้ไว้บนพื้นดิน (Disturbed leaves stones
and twigs on the ground)
(8) สิ่ งที่ถูกทิ้งไว้ , ขยะที่ถูกทิ้งโดยเป้ าหมาย ทั้งที่ต้ งั ใจหรื อไม่ต้ งั ใจ (Discardable, rubbish
dropped by the target intentionally or unintentionally)
(9) น้ำที่ถูกรบกวน (Disturbed water)
คุณลักษณะของรอย (Characteristics of Sign)
3. รอย (Sign) อาจจะถูกพิสูจน์ทราบได้โดยสิ่ งหนึ่งหรื อผสมผสานของคุณลักษณะดังต่อไปนี้ :
a. ลักษณะเฉพาะตัว (Regularity) คือผลกระทบที่มีสาเหตุมาจากเส้นตรง, ส่ วนโค้ง หรื อรู ปทรงเรา
คณิ ตใด ๆ ก็ตาม ที่ถูกกดลงไปบนพื้นดินและทิ้งรอยเครื่ องหมายไว้โดยตามปกติไม่พบในธรรมชาติ
b. การแบนราบ (Flattening) คือระดับโดยทัว่ ไปหรื อรอยยุบตัว ที่เป็ นสาเหตุมาจากการกดทับบน
พื้นที่ ซึ่ งถูกเปรี ยบเทียบกับสภาพแวดล้อมใกล้ชิด เช่น พื้นที่นอน, รอยกดของรองเท้าบนหญ้า
c. การเคลื่อนย้าย (Transfer) คือสิ่ งที่ถูกทิ้งไว้ขา้ งหน้า หลังจากเป้ าหมายเคลื่อนที่จากสภาพแวดล้อม
หนึ่งไปสู่ สภาพแวดล้อมอื่น เช่น โคลน, ทราย, หญ้า และน้ำ
d. การเปลี่ยนสี (Colour Change) คือความแตกต่างของสี จากพื้นที่ที่อยูโ่ ดยรอบตัวมัน เช่น หญ้า
ยาว, ใบไม้ที่พลิก
e. สิ่ งที่ถูกทิ้งไว้ หรื อขยะ (Discardables) คือ ซองบรรจุอาหาร, อุปกรณ์ส่วนตัว ที่ถูกทิ้งไว้โดยเป้ า
หมาย เช่น “การขว้างทิ้ง” (Cast off) โดยตั้งใจหรื อไม่กต็ าม (Intentionally or otherwise)
f. การรบกวน (Disturbance) คือการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ของสภาพตามธรรมชาติในพื้นที่ที่มีสาเหตุ
มาจากการผ่านของเป้ าหมาย เช่น แมลง/สัตว์ ที่ถูกรบกวน ใบไม้แห้ง, รากไม้ที่ถลอกหรื อขีดข่วน
การจัดระดับชั้นของรอย (Classification of Sign)
4. โดยปกติแบ่งออกเป็ น 2 ระดับ
a. รอยที่ได้รับการยืนยัน หรื อรอยที่เกิดจากเป้ าหมายโดยตรง (Conclusive)
b. รอยซึ่ งยังสงสัย (ไม่ยนื ยัน) (Substantiating)
(1) รอยที่ได้รับการยืนยัน (Conclusive) คือรอยเหล่านั้นที่ตวั ของมันเองจะชี้ ให้นกั สะกด
รอยทราบว่ามีการผ่านไปของเป้ าหมาย ตลอดพื้นที่น้ นั รอยเท้า (Footprints) ,ร่ องรอย
การตัด (Cuttings) , พื้นที่ฐาน ลว. (LUP areas) ฯลฯ หรื อพูดอีกนัยหนึ่งก็คือ รอยที่อยู่
ในสภาพที่ชดั เจนว่าได้ถูกทำขึ้นโดยเป้ าหมาย รอยซึ่ งได้รับการยืนยัน (Conclusive) จะ
เป็ นรอยอย่างไรนั้นจะแตกต่างกันระหว่างนักสะกดรอย ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั ประสบการณ์ของ
พวกเขา
(2) รอยซึ่ งยังสงสัย (Substantiating) คือรอยที่อาจจะหรื ออาจจะไม่ได้ถูกกระทำขึ้นโดย
เป้ าหมาย (ไม่ชดั เจน)
หมายเหตุ ด้วยประสบการณ์ และการฝึ กฝน นักสะกดรอยสามารถมัน่ ใจในระดับของรอยซึ่ ง
ได้รับการยืนยัน (Conclusive) อย่างไรก็ตาม ผูเ้ รี ยน อาจจะต้องการ 2 หรื อ 3 ประการ ของ
คุณลักษณะของรอย (Characteristics) เพื่อให้มนั่ ใจว่าเขายังคงทำการติดตามรอยของเป้ าหมาย
สรุ ป (Summary)
การเข้าใจในเรื่ องร่ อยรอยอย่างดี และจะพิสูจน์ทราบมันอย่างไร จะช่วยนักสะกดรอยในช่วงเวลา
ระยะแรกของการเรี ยน หลักสูตรนี้ บทเรี ยนเรื่ องร่ องรอย (EOT 2) คือส่ วนที่สำคัญที่สุดของการสะกดรอย
ด้วยสายตา และต้องจำไว้ดว้ ยว่า บางคนอาจจะไม่มีความถนัดในเรื่ องนี้ ด้วยประสบการณ์และการฝึ ก การ
กำหนดที่ต้ งั และการพิสูจน์ทราบร่ องรอยจะกลายเป็ นเรื่ องง่าย

ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ อการสะกดรอย
(EOT 3 : Factors Which Affect Tracking)
กล่ าวนำ (Introduction)
มี 4 ปั จจัยหลัก ที่สามารถมีอิทธิพล/ผลกระทบต่อการสะกดรอย :
1. รอย (Spoor / Sign)
2. ภูมิประเทศ (Terrain)
3. สภาพลมฟ้ าอากาศ (Climatic conditions)
4. อายุของรอย (Age of Sign)
เหตุผล (Reason Why)
โดยทัว่ ไปแล้วปัจจัยทั้ง 4 มีความใกล้ชิดกันอย่างมาก และมันสามารถนำไปสู่ ความได้เปรี ยบและ
ความเสี ยเปรี ยบทั้ง 2 อย่าง ในฐานะของนักสะกดรอยมันมีความสำคัญที่คุณต้องมีความเข้าใจ แต่ละปั จจัย
ใน 4 ปั จจัยนี้ และแต่ละปัจจัยมีอิทธิพลหรื อผลกระทบต่อปั จจัยอื่น ๆ อย่างไร
ร่ องรอย (Spoor)
 นักสะกดรอยต้องพิจารณารอยเท้าสัตว์ และรอยเท้ามนุษย์อื่น ๆ ในพื้นที่น้ นั และมัจจะมีผลกระทบต่อ
รอยของเป้ าหมายของพวกเขาอย่างไร การมีความเข้าใจในรอยเท้าสัตว์และรอยเท้ามนุษย์อื่น ๆ และผลกระ
ทบที่มนั อาจจะมีต่อร่ องรอยของเป้ าหมาย จะช่วยให้ท ำการสะกดรอยผ่านพื้นที่ที่มีรอยรบกวนได้
 รอยรบกวน (Foul tracks or Sign)
 การเคลื่อนที่ของสัตว์ (Animal movement)
 รอยของคนอื่น ๆ (Other human Sign)
1. การเคลื่อนที่ของสัตว์ (Animal Movement) นักสะกดรอยต้องพิจารณาวิถีชีวิตของสัตว์ใน
พื้นที่น้ นั และต้องรู้วา่ จะพิสูจน์ความแตกต่างระหว่างรอยของสัตว์และมนุษย์อย่างไร กีบเท้าสัตว์ส่วนใหญ่
ทำให้เกิดรอยตัด (Chop) อย่างชัดเจนเมื่อพวกมันเคลื่อนที่ไปตามเส้นทาง สาเหตุเกิดจากรู ปร่ างของกีบเท้า
และน้ำหนักที่กระจายไปยังขาของมัน รู ปร่ างของกีบเท้าทำให้เกิดรอยเหมือนกับคมมีด และน้ำหนักตัวที่
กระจายออกไปยังกีบเท้าทำให้มนั ตัดลงไปในพื้นดิน โดยผิดกับของมนุษย์ที่มกั จะเห็นส้นเท้าและปลายเท้า
เมื่อทำการเดิน รู ปร่ างและการกระจายน้ำหนักต้องถูกพิจารณาอีกครั้ง ดังเช่น มนุษย์วางเท้าลงไปส้นเท้าของ
เขาคือส่ วนแรกที่สมั ผัสกับพื้นดิน ต่อจากนั้นเป็ นฝ่ าเท้า และสุ ดท้ายคือปลายเท้าเมื่อเขาเคลื่อนที่ น้ำหนัก
ของเขาจะเปลี่ยนถ่ายจากส้นเท้าไปยังฝ่ าเท้าและไปยังนิ้วเท้า ซึ่ งก็หมายถึงน้ำหนักถูกวางไปทัว่ ทั้งเท้า
2. รอยของคนอื่น ๆ (Other human Sign) ถ้ามีรอยเท้าของคนอื่น ๆ ในพื้นที่นกั สะกดรอย
ต้องใช้รูปแบบของรอยเป้ าหมายเป็ นแบบอย่าง นักสะกดรอยสามารถรวบรวมข้อมูลข่าวสารอย่างมากมาย
จากร่ องรอย อย่างไรก็ตามสิ่ งนี้จะครอบคลุมอยูใ่ นบทเรี ยนเรื่ องการได้รับข้อมูลข่าวสาร (Information
Gained)
ภูมิประเทศ (Terrain)
 สิ่ งนี้อาจจะช่วยหรื ออาจจะไม่ช่วยนักสะกดรอย ผลลัพธ์จะขึ้นอยูก่ บั ชนิดของภูมิประเทศที่เขากำลังปฏิบตั ิ
การอยู่ ซึ่ งอาจเป็ นพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง หรื อรวมทั้งหมดของพื้นที่ดงั ต่อไปนี้ :
 ทุ่งหญ้า (Grass lands)
 พื้นที่ที่เป็ นกรวด, หิน (Rocky country)
 ป่ าฝน (Rain forest)
 ป่ าละเมาะ (Scrub/secondary forest)
 แม่น้ำ, ลำธาร, พื้นที่ต ่ำและหนองน้ำ (River and streams, marshy and swampy ground)
 พื้นทราย (Sand)
ทุ่งหญ้า (Grass lands)
 ถ้าเป็ นหญ้าสูง เช่น เกินกว่า 3 ฟุต ทางเดินค่อนข้างง่ายในการติดตามเนื่องจากต้นหญ้าที่ลม้ ลงไปและจะ
อยูใ่ นสภาพนั้นในช่วงเวลาหนึ่งซึ่ งขึ้นอยูก่ บั สภาพอากาศ ถ้าเป็ นหญ้าที่ส้ ัน มักจะดีดตัวกลับคืนสู่ สภาพเดิม
ของมันในช่วงเวลาสั้น ๆ หัวข้อต่อไปนี้จะช่วยในการสะกดรอยเมื่ออยูใ่ นภูมิประเทศชนิดนี้ :
 โดยปกติหญ้าที่ถูกเหยียบจะล้มและชี้ ไปยังทิศทางที่ผถู ้ ูกติดตามเคลื่อนที่ไป
 มันจะแสดงความแตกต่างของสี อย่างชัดเจนกับหญ้าที่อยูป่ กติเมื่อถูกกดลงไป
 ถ้าหญ้าเปี ยกน้ำค้างในคืนก่อนหน้านั้น น้ำค้างจะถูกลูบออกไป
 โคลนและดินจากรองเท้าอาจจะปรากฏอยูบ่ นหญ้าบางส่ วน (transfer)
 ถ้าเป็ นหญ้าแห้ง และลำต้นที่ถูกเหยียบ โดยปกติรอยเท้าจะถูกพบในพื้นที่หญ้าแห้ง
 ถ้าต้นไม้เล็ก ๆ กำลังขึ้นโดยทัว่ ไป แสดงว่ามันเป็ นเส้นทางเก่า
 ในพื้นที่ที่หญ้าสั้นมาก จนถึง 12 นิ้ว รองเท้าจะทำลายต้นหญ้าบริ เวณใกล้กบั พื้นดิน และบาง
ครั้งรอยเท้าหรื อรอยกดทับ จะถูกพบเสมอ
พื้นที่ที่เป็ นกรวด ,หิน (Rocky Country)
 การสะกดรอยผ่านภูมิประเทศแบบนี้ มนั ไม่ยากเหมือนกับที่หลาย ๆ คนคิด ทั้งนี้เนื่องจากข้อเท็จจริ งที่วา่
หิ นถูกรบกวนได้ง่าย และพูดโดยทัว่ ไปคือ ง่ายในการทำให้เกิดรอย ต่อไปนี้เป็ นเพียงบางสิ่ งของลักษณะ
ภูมิประเทศ ชนิดนี้ :
 นอกจากว่า การเคลื่อนทีไ่ ปบนก้อนหิน, กรวด จะทำให้มนั ถูกเคลื่อนทีห่ รือหมุนออกไปแล้ว
สิง่ นี้มนั จะรบกวนดิน และทิง้ การเปลีย่ นแปลงของสีและรอยถูกกดทับไว้อย่างชัดเจน ถ้าหิน
มันเปียก ด้านล่างของมันจะมีสเี ข้ม และถ้ามันแห้ง มันจะมีสที อ่ี ่อนกว่า
 ถ้าเคลื่อนทีไ่ ปบนก้อนหินขนาดใหญ่ ตะปูตอกรองเท้าและพืน้ รองเท้ามักจะขีดข่วนไปบนพืน้
ผิวของก้อนหิน
 บนหินทราย รอยรองเท้ามักจะแสดงสีเข้ม และบนหินลาวา รอยจะค่อนข้างขาว
 ถ้าก้อนหินมันเปราะ เศษหินเล็ก ๆ และชิน้ ส่วนทีแ่ ตกออกมาเมือ่ ถูกเหยียบย่ำจะปรากฏให้
เห็นบริเวณใกล้ ๆ ก้อนหิน
 หินทีอ่ ยูด่ า้ นข้างของเนินเขา จะเคลื่อนตัวออกหรือหมุนตัวออกมาเมือ่ มีการเดินไปบนนัน้ โดย
ไม่คำนึงว่าเป้าหมายจะขึน้ หรือลงเขาก็ตาม
 ก้อนหินบนพืน้ ผิดทีห่ ลวมหรืออ่อน โดยปกติจะถูกกดลงไปเมือ่ เดินไปบนก้อนหินนัน้ ทิง้ ดิน
ไว้รอบ ๆ ขอบของก้อนหินเมือ่ มันถูกกดลงไป หรือหลุมบนผิวพืน้ ซึง่ หินถูกกดให้จมลงไป
 บางทีเศษหินเล็ก ๆ อาจจะติดไปกับรองเท้าเป็ นระยะทางไกล ๆ เมือ่ มันหลุดออกมาจะแสดง
ความแตกต่างให้เห็นตัดกับพืน้ ทีโ่ ดยทัวไป่
 ก้อนหินทีม่ ตี ะไคร่น้ำเกาะ รองเท้าหรือมือ อาจจะทำให้มนั หลุดออกไปจากทีเ่ ดิม
ป่ าฝน (Rain Forest)
 ภายในป่ าฝนหรื อป่ าดงดิบ นักสะกดรอยจะพบเส้นทางมากมายที่เขาสามารถติดตามรอยเนื่องจากมีท้ งั พืช
เล็ก ๆ ,ใบไม้สดและแห้ง , ต้นไม้ที่มีชีวิตและต้นไม้ที่ตายแล้ว ลำธารที่มีโคลนและทรายตามแนวคลื่น
ตะไคร่ น้ำบนพื้นป่ าและก้อนหิน การสังเกตการณ์จะช่วยการสะกดรอยในรายละเอียดดังต่อไปนี้ :
 ใบไม้ทเ่ี ปียก บนพืน้ ปา่ และถูกรบกวน จะมีสเี ข้มมากกว่าใบไม้ทอ่ี ยู่ตามปกติ โดยไม่มกี าร
รบกวน
 ใบไม้แห้งทีไ่ ม่ถกู รบกวน จะมีสนี ้ำตาลเข้มอย่างเด่นชัด เมือ่ เปรียบเทียบกับสีน้ำตาลอ่อน ซึง่
อยูบ่ นผิวหน้าด้านบน
 ใบไม้แห้งบางใบ ทำให้แตกหักได้ง่าย และจะทำให้เกิดเสียง เมือ่ มันถูกกดลงไปโดยการเดิน
เหยียบ ซึง่ เหมือนกับการหักของกิง่ ไม้เล็ก ๆ
 ในทีซ่ ง่ึ มีพชื ขึน้ หนาแน่น โดยเฉพาะชายป า่ พุม่ ไม้ทม่ี ใี บสีเขียว ทีม่ กี ารผ่านเข้าไปภายใน
ใบไม้จะบิดเป็นเกลียว และจะแสดงให้เห็นสีทอ่ี ่อนกว่าของด้านใต้ใบ ซึง่ ต่างจากสีดา้ นบน
ของใบไม้ เมือ่ มองไปทีจ่ ุดนี้ นักสะกดรอยต้องมองให้ทะลุผา่ นไปในป า่ โดยไม่หยุดอยู่แค่
ต้นไม้ดา้ นนอก
 กิง่ ไม้ทห่ี กั จะช่วยนักสะกดรอยในการประเมินว่า นานเท่าใดแล้วทีม่ นั ถูกทำให้หกั กิง่ ไม้สดที่
ถูกหัก ทีย่ งั เขียวอยูห่ รือตายแล้ว โดยปกติจะเป็ นสีครีมทีร่ อยหัก และสีจะเข้มข้นเมือ่ เวลา
ผ่านไป และถ้านักสะกดรอย หักกิง่ ไม้ใหม่เพือ่ เปรียบเทียบมันจะเป็ นเครือ่ งชีว้ า่ นานเท่าใด
แล้วทีเ่ กิดการหักขึน้ เพียงการทดลองง่าย ๆ และประสบการณ์ข องนักสะกดรอย ทำให้
สามารถตัดสินอายุของรอยการหักได้ กิง่ ไม้สดทีถ่ กู หัก ปกติจะรักษากลิน่ ของยางไม้ไว้ 3-4
ชม.
 รอยกดของรองเท้าจะถูกทิง้ ไว้บนต้นไม้ลม้ ทีผ่ แุ ล้ว เมือ่ เดินเหยียบมัน
 รอยโดยปกติแล้วจะถูกทิง้ ไว้บนท่อนซุงทีว่ างขวางทาง ถ้าไม่มมี นั จะอยู่บนพืน้ ด้านตรงข้าม
 ในทีซ่ ง่ึ รากของต้นไม้ใหญ่ขวางเส้นทางมันจะแสดงรอยให้เห็นเมือ่ มีการเดินผ่านไป
 ใยแมลงมุมทีข่ าดขวางเส้นทาง อาจจะแสดงถึงการผ่านของสัตว์หรือมนุ ษย์ทผ่ี า่ นไปตามเส้น
ทางนัน้
ป่ าละเมาะ (Scrub or Secondary Forest)
 นี้คือชนิดหนึ่งของพื้นที่ที่ตน้ ไม้ใหญ่รุ่นแรก ๆ ถูกตัดออกไป และต้นไม้รุ่นที่สองกำลังเติบโตขึ้น โดย
ทัว่ ไปแล้ว มันมีความหนาแน่นมากและยากที่จะมองให้ทะลุผ า่ นไป ดังนั้นในการผ่านไปแต่ละคนจะทำให้
เกิดช่อง การคลานไปตามเส้นทางในระดับพื้นดิน เมื่อทำการสะกดรอยในพื้นที่น้ ี จุดหลัก ๆ ที่ตอ้ งทำการ
ค้นหาคือ :
 กิง่ ไม้ทถ่ี กู หัก
 ใบไม้ทร่ี ว่ งหล่น
 กิง่ ก้านทีช่ ไ้ี ปตามทิศทางทีบ่ ุคคลเคลื่อนทีไ่ ป
 รอยเท้าบนพืน้ ดิน ทีแ่ สดงให้เห็นอย่างชัดเจนในทีซ่ ง่ึ ไม่มพี ชื ขึน้ อยูด่ า้ นล่าง
 อุโมงค์ หรือโพรงทีอ่ ยูใ่ นระดับต่ำ
 การขาดของใยแมลงมุม
 เศษผ้าทีข่ าดติดอยูต่ ามเถาวัลย์ หรือพุม่ ไม้
แม่น ้ำ, ลำธาร, ที่ต ่ำ และหนองน้ำ (Rivers, Streams, Marsh and Boggy Country, Swamps)
 ตรงข้ามกับความเชื่อโดยทัว่ ไปที่การสะกดรอยมีความเป็ นไปได้ในสภาพแวดล้อมแบบนี้ ซึ่ งส่ วนใหญ่
มันค่อนข้างง่ายในการทิ้งร่ องรอยไว้เบื้องหลัง ร่ องรอยต่าง ๆ ที่อาจจะช่วยนักสะกดรอยในการติดตามรอย
คือ :
 รอยเท้าบริเวณชายตลิง่
 รอยเท้าในน้ำตืน้ ๆ
 โคลนทีถ่ กู กวนทำให้น้ำขุน่
 น้ำทีส่ าดกระเด็นไปเปียกบนก้อนหินในบริเวณลำธารทีน่ ้ำไหลนิ่ง ๆ
 น้ำทีเ่ ปียกพืน้ ดินบริเวณจุดออก หรือจุดขึน้ ฝงั ่
 รองเท้าทหารอาจถูกถอดออกเพือ่ เดินลุยน้ำให้คน้ หาบริเวณชายตลิง่ ทีข่ า้ ศึกมีการถอน
รองเท้า และบริเวณทีม่ กี ารใส่รองเท้าอีกครัง้ โดยปกติแล้ว จะมีรอ่ งรอยในทีซ่ ง่ึ บุคคลนังลง

เพือ่ ถอดรองเท้าและใส่รองเท้า
 ในปา่ โกงกางโคลนจะถูกกวนขึน้ มา รวมทัง้ กิง่ ก้านหรือรากของต้นโกงกางทีโ่ ค้งงด จะพบ
รอยในทีซ่ ง่ึ คนใช้มอื จับดึงเพือ่ พยุงตัวเองจากการเดินไปบนรากโกงกาง
พื้นทราย (Sand)
 พื้นทราย เป็ นพื้นที่ที่ค่อนข้างง่ายในการติดตามรอย ปั ญหาใหญ่ที่สุดของนักสะกดรอยคือ ลมที่มนั
สามารถขจัดร่ องรอยและรอยกดต่าง ๆ ภายใน 2 นาที ปั จจัยหลักที่ควรพิจารณาคือ :
 ถ้าพืน้ ผิวทีล่ าดเอียงมันแข็ง รอยเท้าจะมีความชัดเจนมาก
 ถ้าพืน้ ผิวอ่อนหรือร่วนซุย รองเท้าจะลึกมาก และในตอนเช้าตรู่ และตอนบ่าย บริเวณของ
รอยกดจะมีเงาเกิดขึน้
สภาพภูมิอากาศ (Climatic Conditions)
 ภูมิอากาศ หรื อ สภาพลมฟ้ าอากาศ สามารถเป็ นผลร้ายต่อร่ องรอยเป้ าหมาย :
 แสงแดดทีส่ อ่ งโดยตรง (Direct Sunlight)
 สาเหตุน้ ีท ำให้รอยกลับคืนไปสู่ สภาพปกติได้เร็ วขึ้น
 ลมทีพ่ ดั แรง (Strong Wind)
 ช่วยให้พืชที่ถูกรบกวนกลับคืนสู่ สภาพปกติ และอาจจะปกปิ ดรอยบนพื้นดินบางรอย
 ฝนทีต่ กหนัก (Heavy Rain)
 ฝนจะชะล้างร่ อยรอยออกอย่างรวดเร็ ว โดยเฉพาะรอยบนพื้นดิน, และอาจเป็ นไปได้วา่ ฝน
คือข้าศึกที่สำคัญที่สุดของนักสะกดรอย
 ดวงอาทิตย์, ฝน และลม (Sun, Rain and Wind)
 นี้คือ ปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลกระทบต่อร่ องรอยที่ใช้ในการติดตาม ระดับของผลกระทบที่มีจะ
แตกต่างกันไปขึ้นอยูก่ บั ความรุ นแรงของปั จจัยเหล่านี้ โดยทัว่ ไปแล้วร่ อยรอยที่มีการกำบัง
จากฝน, ลม และแสงแดดโดยตรง สามารถคงสภาพอยูไ่ ด้ถึง 30 ชม.
อายุของรอย (Age of Sign)
 เพือ่ ให้สามารถประเมินเวลาระหว่างเวลาทีเ่ กิดร่องรอย กับเวลาทีร่ อ่ งรอยถูกค้นพบ สิง่ นี้เป็ น
งานทีย่ ากทีส่ ดุ ของนักสะกดรอย เพียงแค่ใช้ประสบการณ์และการฝึกจะช่วยให้เอาชนะอุปสรรคเหล่านี้ได้
เพือ่ ช่วยให้นกั สะกดรอยได้ทราบว่าร่องรอยถูกทำให้เกิดขึน้ เมื่อใด และอายุของรอยนานเท่าใด จะอยูใ่ น
บทเรียนเรือ่ ง การตัดสินอายุของรอย (Judging the Age of sign)
การพิจารณาเรื่ องอื่น ๆ (Other Considerations)
 วิถีชีวิตสัตว์ป่า (Wildlife or Animal life)
 สิง่ นี้อาจจะช่วยหรืออาจจะไม่ชว่ ยนักสะกดรอย เป็ นทีร่ จู้ กั กันดีแล้วว่า นกหลายชนิด, แมลง
และอาณาจักรของสัตว์ มีการเตือนอันตรายด้วยพวกมันเอง จากอันตรายของผูบ้ ุกรุกทีใ่ กล้เข้ามา
ตัวอย่างเช่น :
 ลิงที่ร้อยเสี ยงดังขึ้น เมื่อเห็นการปรากฏตัวของมนุษย์ (MALAYSIA)
 แมลงจะมีการเตือนพวกเดียวกันเองจากการมีผบู ้ ุกรุ กเข้ามาในพื้นที่โดยใช้สญ ั ญาณเงียบ
เสมอ
 นี้เป็ นตัวอย่างเล็กน้อยที่สตั ว์ป่าอาจมีการเตือนนักสะกดรอยที่อาจเกิดขึ้นในบริ เวณใกล้ ๆ
นักสะกดรอยต้องรู้และใช้ความรู ้ที่มีอยูเ่ กี่ยวกับนิสยั และวิถีชีวิตตามธรรมชาติของสัตว์ป่า
ในพื้นที่ สัตว์จ ำนวนมากที่อยูร่ ะหว่างเป้ าหมายและนักสะกดรอย สามารถทำลายร่ องรอย
ให้ลบเลือนไปได้ ทำให้มนั อาจจะเป็ นไปไม่ได้ที่จะทำการติดตามรอยต่อไป ดังนั้นนัก
สะกดรอยอาจจะใช้วิธีใดวิธีหนึ่งดังต่อไปนี้ :
 ค้นหาจุดออกที่น่าจะเป็ นไปได้ (Look for likely exit position)
 การแยกร่ องรอย (Isolate track)
 ค้นหาในพื้นที่ที่น่าจะเป็ นไปได้ (Likely search area)
 เมื่อรอยเท้าสัตว์เล็ก ๆ ถูกทำให้เกิดขึ้นบนรอยเท้ามนุษย์ อาจจะช่วยนักสะกดรอยใน
การประมาณอายุของร่ องรอย
พื้นที่สิ่งปลูกสร้าง (Built Up Areas or Artificial)
 หมู่บา้ น, ถนน หรื ออื่น ๆ การสะกดรอยผ่านพื้นที่เหล่านี้ นักสะกดรอยจะเผชิญกับรอยที่ท ำให้เสี ยหาย
ตลอดเวลาทำให้การสะกดรอยเคลื่อนที่ได้ชา้ ลง แม้วา่ นักสะกดรอยจะช้าลง แต่การสะกดรอยก็อาจจะเพิ่ม
ความเร็ วขึ้นได้โดยการะบวนการแยกร่ องรอยโดยการตรวจสอบและปฏิบตั ิดงั ต่อไปนี้ :
 จุดออกและจุดเข้า (Exit and entry point)
 ค้นหาพืน้ ทีท่ น่ี ่าจะเป็นไปได้ (Likely search area)
 การปรากฏของรูปแบบร่องรอยทีม่ ลี กั ษณะเฉพาะ (Presence of particular sign Patterns)
 รอยทางเดินใด ๆ ทีน่ ำไปสูพ่ น้ื ทีส่ งิ่ ปลูกสร้าง อาจจะแสดงให้เห็นสิง่ ต่าง ๆ ดังนี้ : (Any
track that leads to a built-up area, may indicate any of the following:)
 จุดนัดพบ (RV with someone)
 ความคุน้ เคยกับประชาชนในพื้นที่ (ปฏิบตั ิกบั พวกเขาเช่นเดียวกับผูร้ ่ วมงาน) (Familiarity
with local population) (treat local as possible collaborators)
 เหมือนกับเป้ าหมายที่อยูบ่ ริ เวณใกล้เคียง (Like tgt area close by)
สรุ ป (Summary)
แต่ละปัจจัยใน 4 ปัจจัยหลักนี้จะมีผลกระทบหรื ออาจจะมีอิทธิ พลต่อร่ องรอยเป้ าหมาย ต้องจำไว้วา่
ร่ องรอยของเป้ าหมายจะมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นอยูก่ บั ภูมิประเทศ, สภาพลมฟ้ าอากาศ และเวลา สิ่ งที่สำคัญ
ที่สุดที่ควรจดจำคือ อะไรที่มีผลกระทบต่อรอยมากที่สุด? “ฝนที่ตกหนัก” (HEAVY RAIN)
ข้ อมูลข่ าวสาร
(EOT – 4 Information)
กล่ าวนำ (Introduction)
มันมีความสำคัญในฐานะที่เป็ นนักสะกดรอยต้องได้รับข้อมูลข่าวสารจากร่ องรอยการเดินให้มาก
ที่สุดเท่าที่จะมากได้ ควรที่จะต้องจำไว้วา่ มันยากที่แม้วา่ จะเป็ นกลุ่มคนเพียงไม่กี่คน เคลื่อนที่ไปในป่ าโดย
ปราศจากการทิ้งร่ องรอยไว้ ซึ่ งก็คือ สิ่ งที่น่าสังเกตสำหรับสายตาที่ได้รับการฝึ กแล้ว
ข้อมูลข่าวสารที่ได้รับจากนักสะกดรอย อาจจะจำเป็ นสำหรับการตัดสิ นใจของ ผบช.ระดับสู ง
อย่างไรก็ตาม ข้อมูลข่าวสารทั้งหมดที่ถูกรวบรวมไว้ในระหว่างการติดตามรอย จะช่วยให้นกั สะกดรอยมี
ความเข้าใจข้าศึก ของพวกเขาได้ดีข้ ึน และความรู ้น้ ี สามารถตอบโต้การเคลื่อนที่ใด ๆ ก็ตามที่ขา้ ศึกอาจจะใช้
ทิศทางการเคลือ่ นที่ (Direction)
ทิศทางของร่ องรอยการเดิน (Direction of Track)
 จากระยะของเส้นทางการเดินที่ก ำหนดให้ นักสะกดรอยสามารถกำหนดทิศทางโดยทัว่ ๆ ไป ซึ่ ง ขศ.ใช้
เคลื่อนที่ บนพื้นฐานของการศึกษาภูมิประเทศและแผนที่เป็ นอย่างดี นักสะกดรอยสามารถสันนิษฐานได้วา่ :
ก. เป้ าหมายของข้าศึกที่น่าจะเป็ นไปได้ (Possible enemy targets)
ข. ที่ต้ งั ฐานของข้าศึกที่น่าจะเป็ นไปได้ (Possible enemy camps)
ค. ทำนายการกระทำของข้าศึกที่น่าจะเป็ นไปได้ (Anticipate likely enemy action)
เครื่ องชี้ทิศทาง (Direction Indicators)
ก. การใช้เครื่ องชี้ (Use of pointers ie. Broken sticks)
ข. การเคลื่อนย้ายของวัตถุ (Transfer)
ค. ต้นหญ้าสูง ๆ และเฟิ ร์นที่ลม้ ลงไปในทิศทางของการเคลื่อนที่ (High grass and fern pushed
down in the direction of movement)
ง. รอยส้นเท้า หรื อรอยรองเท้าในตำแหน่งที่น่าสนใจ (Heel marks or boot prints in favoragle
situations)
จำนวนของผูท้ ี่ถูกติดตาม (Numbers Being Tracked)
หัวข้อต่อไปนี้อาจจะช่วยนักสะกดรอยในการประมาณจำนวนของผูถ้ ูกติดตาม
ก. จำนวนของพื้นที่ที่ใช้นอนในที่หลบซ่อน/ฐาน ลว. (Number of sleeping areas in a
Harbour/LUP area)
ข. จำนวนของที่พกั ผ่อนในพื้นที่หยุดพัก (Number of resting places at a rest halt)
ค. รู ปแบบของรอยรองเท้าที่ต่างชนิดกัน (รู ปแบบของรอย) (Different types of boot Patterns
ie. Sign pattern)
ง. ถ้าพื้นดินอ่อน และรอยรองเท้ามีความชัดเจน วิธีดงั ต่อไปนี้สามารถใช้ได้ :
(1) วัดระยะทางออกไป 24” และนับจำนวนของรอยส้นเท้า (คนหนึ่งคนจะไม่วางเท้าของเขา 2
ครั้งในระยะ 24 นิ้ว)
(2) วัดระยะออกไป 1 ก้าวเหยียดจนสุ ด ต่อจากนั้นนับจำนวนของรอยส้นเท้าที่อยูภ่ ายในระยะนั้น
และหารด้วย 2 คุณจะได้จ ำนวนโดยประมาณ ตัวอย่างเช่น รอยส้นเท้า 5 รอย หารด้วย 2 อาจเป็ นไปได้วา่ มี
3 คน
(3) วัดระยะออกไป 2 ก้าวปกติ ต่อจากนั้นนับจำนวนของรอยส้นเท้าภายในนั้น และหารด้วย 2
ประมาณอีกครั้งหนึ่งว่ามีรอยส้นเท้า 5 รอย หารด้วย 2 อาจเป็ นไปได้วา่ มี 3 คน
อายุของร่ องรอยการเดิน (Age of the Track)
อายุของรอย (Age of Track) อ้างถึงบทเรี ยนเรื่ อง การตัดสิ นอายุของรอย (Judging Age of Sign)
ก. สภาพของพืชพันธ์ในสิ่ งแวดล้อมนั้น (State of surrounding vegetation)
ข. รอยการกดที่ติดอยูใ่ นโคลน (การเปรี ยบเทียบ) (Impression in mud) (Comparison)
ค. การขจัดร่ องรอยโดยฝน (การประมาณเวลาการเกิดรอย) (Obliteration by rain) (bracketing)
ง. รอยแตกในใบไม้ใบหญ้าที่มีรอบพับ (การเปรี ยบเทียบ) (Cracks in bent grass or leaves)
(Comparison)
จ. รอยรบกวนที่เพิ่มเข้ามา (Game tracks superimposed)
ฉ. ใบไม้ที่ตกลงมาปกคลุมร่ องรอย (ของวันก่อน ๆ และสภาพลมฟ้ าอากาศ) ((Leaves’
covering tracks) (previous days-climatic conditions)
ความเร็วของผู้ที่กำลังถูกติดตาม (Speed of People Being Tracked)
นักสะกดรอยสามารถประมาณความเร็วของข้าศึกจากสิ่ งต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
ก. ระยะทางระหว่างที่หยุดพัก/ที่หลับนอน/ที่หยุดกินอาหาร
ข. ในพื้นที่ดินอ่อน ระยะก้าวแต่ละก้าว สามารถแสดงถึงความเร็ ว เช่น คนที่เดินเร็ ว, คนที่เดินช้า
ค. ความลึกของรอย สามารถบ่งชี้วา่ มีการบรรทุกสัมภาระหนัก ซึ่ งหมายความว่าเขาอาจจะมีการ
แบกหี บห่อบางอย่าง
ง. จำนวนของรอยที่ถูกทิ้งไว้ กำลังถูกเวลาทำให้เลือนหายไป
จ. การเลือกเส้นทาง/เครื่ องกีดขวาง (Route Selection/Obstacles) ข้าศึกอาจจะเดินอ้อมเครื่ อง
กีดขวางมากกว่าข้ามมันไป แสดงว่ามีการบรรทุกของหนัก
ฉ. จากข้อมูลที่ได้รับเกี่ยวกับความเร็ วของข้าศึก นักสะกดรอยต้องตั้งคำถามดังนี้
(1) ข้าศึกกำลังเดินด้วยตัวเปล่าและเคลื่อนที่เร็ วหรื อไม่ ,หรื อ
(2) ข้าศึกเคลื่อนที่ชา้ หรื อไม่ และทำไมถึงเป็ นเช่นนั้น
เสบียง (Rations)
นักสะกดรอยสามารถได้รับข้อมูลข่าวสารจากภาชนะบรรจุอาหารที่ถูกทิ้งไว้ ดังต่อไปนี้ :
ก. เชื้อชาติ ตัวอย่างเช่น ข้าวมีแหล่งที่มาจากชาวเอเชีย
ข. ผูท้ ี่อาจจะส่ งกำลังบำรุ งอาหารให้กบั ข้าศึก เช่น ข้อมูลที่เขียนอยูบ่ นภาชนะหรื อหี บห่ออาหาร
ค. ประเภทของเสบียง เช่น เสบียงหนัก (บรรจุกระป๋ อง) ,เสบียงเบา (อาหารแห้ง,อาหารแช่แข็ง)
ง. จากข้อมูลที่ได้รับ นักสะกดรอยสามารถสันนิษฐานได้วา่ :
(1) ถ้าพวกเขากำลังลำเลียงเสบียงเบา,
 พวกเขาอาจจะต้องบรรทุกน้ำเพิ่ม,หรื อ
 พวกเขาอาจจะต้องหาฐาน ลว.ที่ติดกับแหล่งน้ำ
 หรื อต้องการการส่ งกำลังบำรุ งน้ำเพิ่มเติม
(2) เสบียงหนัก – การลำเลียงของหนัก ;
 อาจจะต้องการหีบห่อในการลำเลียง
 ความเร็ วในการเคลื่อนที่จะลดลง
 มันอาจส่ งผลกระทบต่อขวัญของพวกเขา
ประเภทของอาวุธ (Types of Weapons)
การพิสูจน์ประเภทของอาวุธของข้าศึกที่อาจจะมีการลำเลียงเป็ นเรื่ องที่ยากมาก อย่างไรก็ตามสิ่ งต่อ
ไปนี้สามารถช่วยนักสะกดรอยได้
ก. จากพื้นที่การรบ
(1) กระสุ นปื นที่ถูกทิ้งไว้
(2) ระหว่างการตีวงค้นหาเบื้องต้นของ Incident site หรื อ
(3) จากการปะทะของหน่วยข้างเคียงในพื้นที่
ข. การตรวจด้วยสายตาของนักสะกด
ค. การปะทะของข้าศึกกับนักสะกดรอย
ง. ปลอกกระสุ นปื นตามเส้นทางหรื อในฐาน ลว.
จ. ขนาดของผ้าทำความสะอาดอาวุธ (4x2) ในพื้นที่หยุดพัก/ฐาน ลว.
ฉ. รอยพานท้ายปื นหรื อขาหยัง่ บนพื้นดินรอบ ๆ พื้นที่หยุดพักผ่อน/ฐาน ลว./ที่หยุดพักระหว่าง
ทางและ
ช. รอยที่ตน้ ไม้ในระดับสายตา ที่ซ่ ึ งอาวุธอาจจะถูกพิงหรื อวางพาดไว้
การแจ้ งข้ อมูลข่ าวสาร (Informing HQ)
ข้อมูลที่ได้รับต้องส่ งไปให้เร็ วที่สุดเท่าที่จะเร็ วได้ เพื่อที่ ผบช.สามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูล
ข่าวสารนั้น ข้อมูลจะถูกส่ งโดยทางวิทยุ หัวข้อที่ใช้ในการรายงานคือ :
ก. รายงานการสะกดรอย (Track Rep)
(1) พิกดั ที่อยูข่ องตนเอง (GRID , own)
(2) ทิศทางการเคลื่อนที่ของข้าศึก (DIRECTION , En)
(3) จำนวนของผูท้ ี่ก ำลังถูกติดตาม (Numbers being tracked)
(4) ความตั้งใจของฝ่ ายเรา (ติดตามต่อไป,หยุด ,ยกเลิกการติดตาม) (Own Intentions ie. To
continue pursuit, LUP , abandon track
(5) เบ็ดเตล็ด (อาวุธ, อุปกรณ์, อื่น ๆ) (Miscellaneous ie. Wpn, equipment etc.)
สรุ ป (Summary)
นักสะกดรอยด้วยสายตาต้องเข้าใจว่า การได้รับข้อมูลข่าวสาร เริ่ มเมื่อทำการเริ่ มต้นติดตาม ต่อจาก
นั้นก็ท ำการยืนยันภาพของร่ องรอยที่เกิดขึ้น แต่ละส่ วนของข้อมูลข่าวสารที่ได้รับตามเส้นทางกำลังบอกบาง
สิ่ งบางอย่างเกี่ยวกับข้าศึก ข้อมูลข่าวสารที่ได้รับมีความจำเป็ นต่อการตัดสิ นใจของ ผบช.ระดับสู ง ข้อมูลที่
ได้รับทั้งหมดควรที่จะทำให้นกั สะกดรอยมีความเข้าใจเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของข้าศึก, ยุทธวิธี และวินยั ดัง
นั้นเขาอาจจะตอบโต้การเคลื่อนย้ายใด ๆ ที่ขา้ ศึกอาจจะใช้
การฝึ กการติดตามรอย (TPD)
(Track Pursuit Drill)
กล่ าวนำ (Introduction)
เมื่อนักสะกดรอยด้วยสายตาอยูใ่ นการไล่ติดตาม เขากำลังติดตามข้าศึกที่มีอาวุธและการเตรี ยม
พร้อม ซึ่ งเป็ นผูท้ ี่มีความชำนาญอย่างดีในทุก ๆ ด้านของสนามรบ และความชำนาญในป่ า มันต้องเพิ่มความ
ระมัดระวังให้มากในขั้นตอนนี้ ที่หน้าที่หลักประการหนึ่งของนักสะกดรอยคือ พยายามทำความกระจ่างชัด
ในพื้นที่ที่พวกเขารับผิดชอบเพื่อให้แน่ใจว่าไม่มีการปรากฏตัวของข้าศึกก่อนที่จะเริ่ มทำการติดตาม
ตอนที่ 1 (Stage 1)
ขั้นการฝึ กการติดตามรอย 7 ขั้น (Seven Steps to the TPD)
การฝึ กนี้มี 7 ขั้นตอน แต่ละขั้นจะมีวตั ถุประสงค์เฉพาะและเป็ นความจำเป็ นที่นกั สะกดรอยทุกคน
ต้องศึกษาและปฏิบตั ิตามขั้นตอนทั้ง 7 นี้
1. ขั้นที่ 1 (Step one)
กำหนดทิศทางโดยทัว่ ไป (Assess General Direction) ในขั้นนี้นกั สะกดรอยทำการค้นหาช่อง
ทางที่น่าจะเป็ นไปได้และพยายามกำหนดทิศทางในการติดตามโดยทัว่ ไป เพื่อให้ประสบผลสำเร็ จด้วยความ
ถูกต้องในระดับหนึ่ง นักสะกดรอยต้องสมมุติตวั เขาเองในตำแหน่งที่ขา้ ศึกอยูแ่ ละพูดกับตัวเองว่า “ทางไหน
ที่ควรจะไป” (Which way would I go) รวมทั้งถ้าข้าศึกไม่ทราบว่ากำลังถูกติดตาม เขาจะแสดงให้เห็น
ทิศทางโดยทัว่ ไปและเส้นทางที่เขาใช้เสมอ ทำการยืนยันทิศทางโดยเข็มทิศและแผนที่
2. ขั้นที่ 2 (Step two)
คัดช่องทางทั้งหมดออกและให้เหลือทิศทางสุ ดท้าย (Eliminate all openings and finalise
direction) เมื่อใดก็ตามที่บุคคลเคลื่อนที่ผา่ นสิ่ งแวดล้อมใด ๆ เขาจะก่อให้เกิดการรบกวนสิ่ งแวดล้อมนั้น
เสมอ ซึ่ งในเส้นทางนั้นจะเกิดการเปลี่ยนแปลงสิ่ งที่ปรากฏตามธรรมชาติในพื้นที่เมื่อเปรี ยบเทียบกับสภาพ
แวดล้อมโดยทัว่ ไป นักสะกดรอยที่ผา่ นการฝึ กและมีประสบการณ์เริ่ มจำได้วา่ สิ่ งนี้มีการเปลี่ยนแปลงและ
ด้วยขั้นตอนของการคัดออก จะนำไปสู่ ทิศทางที่น่าจะเป็ นไปได้มากที่สุด แต่อย่ามองข้ามความเป็ นไปได้
ของการกระจายกันเคลื่อนที่ที่อาจเป็ นได้
3. ขั้นที่ 3 (Step three)
ค้นหารอยที่อยูไ่ กลที่สุดและเชื่อมรอยการเดินกลับมาสู่ ตวั เรา (Look for the furthest sing and
connect up track back to you) ในขั้นตอนนี้นกั สะกดรอยจะผ่านขบวนการยืนยันว่ารอยที่ก ำลังติดตาม
เป็ นรอยที่ตอ้ งการโดยเขาทำการสะกดรอยด้วยสายตากลับมาจากรอยที่อยูไ่ กลสุ ด สังเกตแม้แต่สิ่งที่เล็กที่สุด
ของร่ องรอยที่ใช้ให้เห็นว่ามีการผ่านไปของตนในตำแหน่งที่เขาอยู่ แต่ไม่แนะนำให้เปลี่ยนกลับกระบวนการ
นี้ ซึ่ งนิสยั ของผูเ้ รี ยนชอบสร้างรอยขึ้นมาเองในที่ซ่ ึ งไม่มีรอยอยูจ่ ริ ง มันมีความสำคัญที่ตอ้ งกล่าวถึงในที่น้ ี ที่
นักสะกดรอยจะต้องมี รอยที่ได้รับการยืนยัน (Conclusive sign) หรื อ รอยที่ยงั สงสัย (Substatiating
sign) ไว้ในใจเสมอก่อนที่จะดำเนินการในขั้นต่อไป โดยเฉพาะอย่างยิง่ รอยที่เกิดขึ้นยากในพืชและ
ภูมิประเทศ
4. ขั้นที่ 4 (Step four)
มองผ่านพืชหรื อต้นไม้ไปยังรอยของข้าศึก (Look through the vegetation for signs of the
enemy) เพื่อป้ องกันการมองเห็นการเคลื่อนที่ที่อาจเป็ นไปได้ในขั้นตอนนี้ ต้องเคลื่อนไหวให้นอ้ ยที่สุด ซึ่ ง
มีขอ้ ยกเว้นว่าในบางครั้งอาจจะนัง่ ลงบนเข่าข้างเดียว หรื อการโยกออกไปทางซ้ายหรื อทางขวาเพื่อตรวจ
สอบร่ องรอย ในขั้นตอนนี้นกั สะกดรอยต้องใช้ความสามารถของเขามากที่สุด สัญชาติญาณตามธรรมชาติ,
ประสบการณ์ และการสังเกตทุก ๆ ด้าน เพื่อเอาชนะรอยที่อาจจะมีอยูใ่ นที่น้ นั หรื อการปรากฏตัวของข้าศึก
“สิ่ งต่าง ๆ ทำไมถึงถูกเห็น” (Why things are seen)
5. ขั้นที่ 5 (Step five)
ตรวจสอบพื้นที่ทางซ้ายและขวา (Check the areas left and right) ขั้นตอนนี้ก ำหนดขึ้นมาเพื่อ
ค้นหา “ยุทธวิธีการลวง” หรื อ “การกระจายเส้นทางเดิน” (Deception Tactics of Split up) ความเข้าใจ
ในยุทธวิธีการลวงของข้าศึกเป็ นสิ่ งที่มีค่ามากที่สุด ดังนั้นนักสะกดรอยสามารถที่จะคาดการณ์การเคลื่อนที่
ไปของข้าศึกที่น่าจะเป็ นไปได้ เพื่อช่วยเหลือนักสะกดรอยในขั้นตอนนี้ อาจจะกระทำโดยพลระวังป้ องกัน
ซึ่ งในบางสถานการณ์อยูใ่ นตำแหน่งที่ดีกว่า และปล่อยให้นกั สะกดรอยได้เพ่งสมาธิ ในการค้นหาไปข้างหน้า
และขั้นตอนนี้สามารถตรวจสอบร่ องรอยของการวางกับระเบิดได้อีกด้วย
6. ขั้นที่ 6 (Step six)
จำเส้นทางการเคลื่อนที่ของตัวเอง (Memorize your step) ในที่น้ ีนกั สะกดรอยเคลื่อนที่ตามเส้น
ทางที่ง่ายที่สุดไปยังรอยที่อยูไ่ กลสุ ด ทำการจดจำเครื่ องกีดขวางทั้งหมดที่เขาต้องผ่านไปโดยไม่ตอ้ งมอง
ลงพื้น
ในขั้นที่ 1, 2, 3, 4, 5 และ 6 ส่ วนใหญ่นกั สะกดรอยยังคงอยูก่ บั ที่เพียงแต่ใช้ดวงตาหรื อสายตาของ
เขาในการทำงาน จำไว้วา่ การเคลื่อนที่ที่ไม่จ ำเป็ นใด ๆ ที่สามารถเป็ นอันตรายต่อตัวเราต้องให้มีนอ้ ยที่สุด
7. ขั้นที่ 7 (Step Seven)
เคลื่อนที่ไปข้างหน้าเช่นเดียวกับ ลว.นำ (Move forward as a lead scout) ที่จุดนี้ร่องรอยทาง
เดินได้รับการยืนยันแล้ว พื้นที่ใกล้เคียงได้รับการตรวจสอบแล้วในเรื่ องการปรากฏของข้าศึก และนักสะกด
รอยได้จ ำเส้นทางที่พวกเขาต้องการไป ในขณะนี้นกั สะกดรอยได้กลายเป็ น พล ลว.นำ (Lead Scout) และ
เคลื่อนที่ไปข้างหน้า ตามระยะของร่ องรอยที่ได้รับการยืนยัน, ระมัดระวัง, และพร้อมที่จะใช้อาวุธได้ใน
ทันทีกบั เหตุการณ์ที่คาดไม่ถึง
ตอนที่ 2 (Stage 2)
ข้อห้าม 5 ประการ (The Five Don’ts)
ก. ห้ามก้มมองพื้นเมื่อกำลังเคลื่อนที่ไปข้างหน้า (Don’t look down when moving forward)
ข. ห้ามทำเสี ยงดัง ซึ่ งเสี ยงนั้นไปไกลกว่าระยะที่มองเห็นได้ (Don’t make noise , which will
travel, beyond visible distance)
ค. ห้ามโกหกตัวเอง (Don’t bluff yourself)
ง. ห้ามทำให้ตน้ ไม้เคลื่อนไหว (Don’t grab Vegetation)
จ. ห้ามสะกดรอยต่อไปเมื่อเหนื่อย (Don’t track on when exhausted)
หน้ าที่ของพลระวังป้ องกัน
(Duties of a Coverman)
ในงานใดก็ตามของนักสะกดรอย พลระวังป้ องกัน (Coverman) โดยปกติจะเป็ นสมาชิกคนหนึ่ง
ของทีมการสะกดรอยด้วยสายตา อย่างไรก็ตามถ้ามีนกั สะกดรอยด้วยสายตาเพียงคนเดียว งานของพลระวัง
ป้ องกันอาจจะปฏิบตั ิโดย ผบ.หน่วย ลว.มันมีความจำเป็ นอย่างมากที่ตอ้ งมีความเข้าใจในการทำงานเป็ น
อย่างดีระหว่างนักสะกดรอยและพลระวังป้ องกันของเขา
เพื่อให้ความปลอดภัยสูงสุ ดต่อ หน่วย ลว. มันจึงมีความสำคัญที่ตอ้ งบอกหน้าที่ในแต่ละคนในทีม
งาน
หน้าที่ของพลระวังป้ องกัน (Duties of a coverman)
ก. ให้การคุม้ กันนักสะกดรอย (Provide cover for the tracker) ตลอดเวลาพลระวังป้ องกันต้อง
พยายามอยูใ่ นตำแหน่งที่เขาสามารถให้การคุม้ กัน ก่อนที่นกั สะกดรอยจะดำเนินการตรวจสอบร่ องรอยใด ๆ
อย่างใกล้ชิด
ข. เปลี่ยนการทำหน้าที่นกั สะกดรอย (Provide relief for the tracker) โดยปกติแล้วนักสะกด
รอยต้องพักผ่อนหลังจากทำการติดตามรอยมาเป็ นเวลา 1-2 ชม. การสะกดรอยสามารถทำให้เกิดความ
เหนื่อยล้าทั้งทางร่ างกายและจิตใจ ความผิดพลาดเพียงเล็กน้อยสามารถเป็ นอันตรายต่อความปลอดภัยของ
หน่วย ลว. ดังนั้นนักสะกดรอยควรที่จะได้รับการผลัดเปลี่ยนอย่างสม่ำเสมอ
ค. ตรวจสอบทางซ้ายและขวาสำหรับรอยซึ่ งเกิดจากการลวง (Check left and right for sign of
deception) นักสะกดรอยในสถานการณ์ที่คุกคามโดยตรง อาจจะมีความเครี ยดมาก พลระวังป้ องกันของ
เขามีการผ่อนคลายมากกว่า ดังนั้น เขาสามรถที่จะเห็นรอยที่นกั สะกดรอยอาจมองข้ามไป อย่างไรก็ตามมัน
เป็ นสิ่ งสำคัญที่พลระวังป้ องกันต้องไม่พยายามทำหน้าที่นกั สะกดรอยเสี ยเอง เพียงแต่สังเกตและแจ้งให้นกั
สะกดรอยทราบถึงร่ องรอยที่เขาอาจจะพบ ความรู ้เกี่ยวกับข้าศึกและประเภทของการลวงที่ขา้ ศึกใช้เป็ น
ประจำ จะช่วยในการคาดการณ์และต่อต้านการลวงใด ๆ ที่อาจจะพบโดยบังเอิญระหว่างการติดตามรอย
ง. สังเกตระยะทางเดิน และการเปลี่ยนทิศทาง (Note distance traveled and change of
direction) แม้วา่ สมาชิกแต่ละคนของหน่วย ลว. ดำเนินการตรวจสอบทิศทางการเคลื่อนที่อย่างสม่ำเสมอ
พลระวังป้ องกันและนักสะกดรอย ควรที่จะปรึ กษาถึงการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ในภาพของร่ องรอย/ทิศทาง ที่
อาจชี้ให้เห็นถึงความตั้งใจของข้าศึกที่นาจะเป็ นไปได้
จ. การช่วยนักสะกดรอยระหว่างการค้นหารอยที่หาย (Assist the tracker during casting drill)
ในระหว่างการตรวจสอบรอยที่หายเบื้องต้น (Initial probe) พลระวังป้ องกันจะเคลื่อนที่มาอยูใ่ นตำแหน่งที่
ติดกับรอย อย่างไรก็ตามเขาต้องเคลื่อนที่ไปกับนักสะกดรอยในการตีวงค้นหา และการขยายวงค้นหา (Initial
and extended casts) เพื่อให้การสนับสนุนซึ่ งกันและกัน
สรุ ป (Summary)
สำหรับบางคนงานนี้ อาจจะเห็นว่าง่ายมาก แต่เมื่อคุณพิจารณาการสะกดรอยไปตามลักษณะ
ภูมิประเทศที่เป็ นคลื่น ด้วยทัศนวิสยั จำกัด, ไม่ทราบตำแหน่งของข้าศึก มันมีความสำคัญที่แต่ละคนของ
หน่วย ลว.ปฏิบตั ิหน้าที่ของตนเพื่อให้มนั่ ใจว่ามีความปลอดภัยสู งสุ ด
การฝึ กการค้ นหารอยที่หาย
(Track Casting Drill)
กล่ าวนำ (Introduction)
ในระหว่างการติดตามรอยนักสะกดรอยอาจจะหารอยไม่พบเนื่องจากเหตุผลใดก็ตาม ในระหว่าง
การฝึ กเบื้องต้นของนักสะกดรอยและเพราะระดับประสบการณ์ของเขา การฝึ กการค้นหารอยที่หายจึงควรได้
รับการพัฒนา
รอยสุ ดท้ าย (Last Sign)
นักสะกดรอยต้องจำไว้วา่ เขาต้องรู ้เสมอว่ารอยที่ชดั เจนสุ ดท้ายอยูท่ ี่ไหน (Last Definite sign.
LDS) และเมื่อสงสัยเขาต้องทำเครื่ องหมายไว้ และค้นหาออกไป 3-5 ม. จากรอยนั้น ซึ่ งเขาสามารถตาม
รอยได้อีกครั้ง
วิธีการได้ร่องรอยคืนมา (Methods of Regaining Sign)
1. การตรวจสอบเบื้องต้น (Initial Probe)
2. การตีวงค้นหาเบื้องต้น (Initial Cast)
3. การขยายวงค้นหา (Extended Cast)
4. การค้นหาในพื้นที่ที่น่าจะเป็ นไปได้ (Likely Area Search)
การตรวจสอบเบือ้ งต้ น (Initial Probe)
เมื่อรอยการติดตามของคุณสูญหาย และไม่สามารถค้นหารอยที่ชดั เจนข้างหน้าได้ คุณต้องถอยหลัง
กลับมาที่รอยชัดเจนสุ ดท้าย (LDS) และดำเนินการตามขั้นตอนต่อไปนี้
 ทำเครื่ องหมายที่รอยชัดเจนสุ ดท้าย
 บอกให้พลระวังป้ องกันรู้วา่ คุณกำลังดำเนินการตรวจสอบเบื้องต้น ให้เขาขึ้นมาอยูใ่ นตำแหน่งที่สามารถ
สนับสนุนซึ่ งกันและกันได้ (ให้การระวังป้ องกันนักสะกดรอย) (Provide cover for the tracker)
 ตรวจสอบไปข้างหน้า 3-5 ม. ในช่องทางที่น่าจะเป็ นไปได้ จนกระทัง่ รอยถูกค้นพบ
 เมื่อค้นพบ, ยืนยัน และติดตามต่อไป
ถ้าคุณไม่สามารถค้นหารอยได้ ในการตรวจสอบเบื้องต้น คุณต้องถอยหลังและดำเนินการในขั้นตอน “การ
ตีวงค้นหาเบื้องต้น” (Initial Cast Drill)
การตีวงค้นหาเบือ้ งต้ น (Initial Cast Drill)
ถอยหลังออกจากรอยสุ ดท้าย (LDS) ไปตามเส้นทาง 10 ถึง 15 ม. นักสะกดรอยและพลระวัง
ป้ องกันเคลื่อนที่ในรัศมี 10-15 ม. รอบ ๆ รอยสุ ดท้าย นักสะกดรอยด้วยสายตา (VT) เล็งไปที่สุดนั้นเพื่อตัด
รอยทางเดินของข้าศึก ทิศทางของการเดินรอยสามารถเลือกได้ นักสะกดรอยจะเลือกไปในทิศทางที่เป็ น
ทิศทางเคลื่อนที่โดยทัว่ ไปที่น่าจะเป็ นไปได้
ถ้านักสะกดรอย (VT) พบรอยทางเดินโดยบังเอิญ เขาต้องยืนยันว่ามันเป็ นรอยที่เหมือนกับรอยที่
เขากำลังติดตามโดยการตรวจสอบอาวุของรอย ต่อจากนั้นมองเชื่อมกับรอยสุ ดท้าย (LDS) และตรวจสอบ
ไปข้างหน้าเพื่อให้แน่ใจว่ามันไม่ใช่เป็ นการลวง จากนั้นให้นกั สะกดรอยเดินให้ครบวงรอบในกรณี ที่ขา้ ศึก
อาจจะมีการแยกกันเคลื่อนที่มนั อาจจะเป็ นไปได้วา่ ในระหว่างขั้นตอนนี้ นักสะกดรอยและพลระวังป้ องกัน
จะอยูใ่ นการติดต่อด้วยสายตากับส่ วนที่เหลือของหน่วย ลว. ในทุก ๆ กรณี ถ้าเป็ นไปได้ขอแนะนำให้มีการ
ติดต่อกันด้วยสายตา
ในระหว่างขั้นตอนนี้ พลระวังป้ องกัน (coverman) ยังคงต้องระมัดระวัง,หันหน้าไปยังทิศทางที่
อาจเป็ นอันตราย , ฟังเสี ยง, และค้นหารอย หรื อการเคลื่อนที่ของข้าศึก (ENEMY)
ส่ วนที่เหลือของหน่วย ลว. (The Rest of the Patrol)
ก่อนที่นกั สะกดรอยและพลระวังป้ องกันจะเคลื่อนที่ออกไป ผบ.หน่วย ลว.นำหน่วย ลว.เคลื่อนที่
ขึ้นไปยังรอยสุ ดท้าย (LDS) และทำการระวังป้ องกัน พวกเขาจะถูกแจ้งให้ทราบถึงทิศทางออกและทิศทางที่
คาดว่าจะกลับเข้ามาของนักสะกดรอยและพลระวังป้ องกัน เมื่อพวกเขากลับมาข้อมูลที่ได้รับจะถูกส่ งต่อไป
ยัง ผบ.หน่วย ลว. ขณะนี้หน่วย ลว.เคลื่อนที่ออกไป และนักสะกดรอยยืนยันว่าเขาอยูใ่ นเส้นทางที่ถูกต้อง
เวลาที่ถูกใช้ในขั้นตอนนี้ประมาณ 15-60 นาที ขึ้นอยูก่ บั ระยะห่างจากข้าศึก พื้นที่ และสถานการณ์ของการ
สะกดรอย
ถ้ารอยยังคงหาไม่พบ คุณต้องดำเนินการต่อไปในขั้นตอน “การขยายวงค้นหา” (Extended cast)
การขยายวงค้นหา (Extended Cast)
 ขึ้นอยูก่ บั ลักษณะชนิดของพืชที่คุณทำงานอยู่ ผบ.หน่วย ลว.อาจเลือกใช้ก ำลังทั้งหมดของหน่วย ลว.ใน
การค้นหา สิ่ งแรกสุ ดคือคุณต้องถอยหลังกลับมาอีก 10-15 ม. และดำเนินการตามขั้นตอนเช่นเดียวกับการ
ตีวงค้นหาเบื้องต้น จนกระทัง่ รอยถูกค้นพบอีกครั้ง ระยะทางทั้งหมดจากรอยสุ ดท้าย (LDS) ประมาณ 25 ม.
 วิธีสุดท้ายที่เราสามารถใช้ได้คือ “การค้นหาในพื้นที่ที่น่าจะเป็ นไปได้” (Likely Area Search) ถ้ารอย
หรื อเส้นทางเดินไม่สามารถถูกค้นพบได้ นักสะกดรอยสามารถค้นหาตามพื้นที่ดงั ต่อไปนี้ :
 ชายตลิง่ ของลำธารและแม่น้ำ (Streams and river banks)
 พืน้ ทีล่ าดชัน (Areas of steep gradient)
 พืน้ ทีท่ น่ี ่าจะเป็นทีพ่ กั แรม (Areas of likely camp sites)
 แม่น้ำทีไ่ หลมาบรรจบกัน และสะพาน (River junctions and bridges)
 ชายถนนและเส้นทางเดิน (Road edges and tracks)
 พืน้ ทีท่ น่ี ่าจะเป็นเป้าหมายของข้าศึก (Likely target areas)
 หมูบ่ า้ นหรือพืน้ ทีส่ งิ่ ปลูกสร้าง (Villages or built up areas)

การตรวจสอบเบือ้ งต้ น
(Initial Probe)
รอยหลักสุดท้าย
(Last Definite Sign)
การตีวงค้ นหาเบือ้ งต้ น
(Initial Cast Drill)

ถอยหลังออกมาจากรอยสุดท้าย
10-15 ม. และตีวงค้นหา ทิศทาง
ของการเคลื่อนทีข่ น้ึ อยูก่ บั
ลักษณะภูมปิ ระเทศ
การขยายวงค้ นหา
(Extended Cast)

ถอยหลังออกมาอีก 10-15 ม. และ


ตีวงค้นหาอีกครัง้ ทิศทางของการ
เคลื่อนทีก่ ย็ งั คงขึน้ อยูก่ บั ลักษณะ
ภูมปิ ระเทศอีกเช่นกัน
ยุทธวิธีการลวง
(Deception Tactics)
กล่ าวนำ (Introduction)
มนุษย์จะทิ้งร่ องรอยให้ปรากฏเสมอเพื่อให้นกั สะกดรอยที่มีประสบการณ์ได้ติดตาม จุดมุ่งหมาย
ของการลวงใด ๆ ก็ตามก็เพื่อที่จะให้ได้เวลาและระยะทาง มองลงไปที่ยทุ ธวิธีการลวง จะทำให้นกั สะกด
รอยเข้าใจว่ามีเส้นทางที่ต่างกันมากมายซึ่ งข้าศึกตั้งใจและการมีจินตนาการ จะถูกใช้เสมอโดยนักสะกดรอย
เมื่อทำการสะกดรอยผ่านพื้นที่ที่ใช้ยทุ ธวิธีการลวง
ประเภทของการลวง (Types of Deception)
ข้าศึกอาจใช้ยทุ ธวิธีการลวงดังต่อไปนี้ :
1. การเดินถอยหลัง (Walking backwards)
2. การเปลี่ยนแปลงรอย (Conversion of sign)
3. การกวาดรอยทางเดิน (Brushing the track)
4. การกระโดดข้ามไปบนก้อนหิน (Stone hopping)
5. การค่อย ๆ ลดจำนวนลงของรอย (Fade out)
6. การข้ามหรื อการเดินในห้องน้ำ (Crossing or walking in a stream bed)
7. การกระจายการเดิน (Splitting up)
การเดินถอยหลัง (Walking Backwards)
เมื่อบุคคลเดินถอยหลัง ระยะของการก้าวจะสั้นลง รอยกดที่ปลายเท้าและฝ่ าเท้าจะมีความชัดเจน
มากกว่ารอยส้นเท้า ดินร่ วน, ฝุ่ น, ทราย และใบไม้ จะถูกลากไปในทิศทางของการเคลื่อนที่
การเปลี่ยนแปลงรอย (Conversion of Sign)
นอกเสี ยจากบุคคลที่เป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญหรื อมีไหวพริ บดีเท่านั้น ที่การปฏิบตั ิน้ ี จะทำให้เขารู ้วา่ เขาอยูใ่ น
ทิศทางที่ถูกต้อง เป็ นที่รู้อยูแ่ ล้วว่า มีคนพิมพ์รอยเท้าสัตว์ไปบนรอยเท้าของพวกเขา ตัวอย่างเช่น รอยเท้าหมู
โดยการใช้ไม้แบบพิมพ์รอยเท้า
การกวาดรอยทางเดิน (Brushing the Track)
คล้าย ๆ กับการเปลี่ยนแปลงรอย แต่กบั นักสะกดรอยที่มีประโยชน์มนั เป็ นเพียง “ป้ ายบอกทิศทาง”
(sign posts) ในความตั้งใจของข้าศึกเท่านั้น ตัวอย่างเช่น รอยที่น ำเราไปสู่ พ้ืนที่ที่ถูกปั ดกวาด คำถามที่ถูก
ถามคือ พวกเขากวาดมันทำไม (Why did they brush it ?) และ มันจะไปที่ไหน (Where did it go ?)
การกระโดดข้ามไปบนก้อนหิน (Stone Hopping)
หลังจากที่กอ้ นหินวางอยูใ่ นพื้นที่น้ นั เป็ นเวลานาน ฝุ่ นและทรายจะเกิดขึ้นรอบ ๆ ฐานก้อนหินนั้น
เมื่อมันถูกเหยียบ สิ่ งเหล่านี้จะแตกออกเป็ นผงเล็ก ๆ หรื อ เงาจะปรากฏขึ้นรอบ ๆ ฐานของก้อนหินนั้น
(ช่องว่างเล็ก ๆ ระหว่างก้อนหินและฝุ่ น) ผงละเอียดของฝุ่ น, ทราย หรื อ ดิน อาจจะถูกทิ้งไว้บนผิวหน้าของ
ก้อนหิ น มันเป็ นสิ่ งที่ยากมากในการติดตามรอยถ้ามันถูกทำไว้อย่างดี
การค่อย ๆ ลดจำนวนลงของรอย (Fade out)
นักสะกดรอยควรจะสังเกตจำนวนของรอยที่ก ำลังติดตามซึ่ งลดน้อยลง พลระวังป้ องกันทำการตรวจ
สอบด้านข้างของเส้นทางซึ่ งอาจจะสังเกตเห็น “จุดที่กระโดดออกไป” (Jump off points)
การข้ามหรื อการเดินในห้องน้ำ (Crossing or Walking in a Stream Bed)
โดยปกติเมื่อมีการผ่านไปน้ำจะมีการกระเพื่อม ทำให้การกำหนดที่ต้ งั ของรอยยากมาก โดยการใช้
แก้วน้ำในการทดสอบใต้น ้ำบางทีอาจจะตรวจสอบได้ โดยปกติกอ้ นหิ นเล็ก ๆ ด้านล่างที่มีสีจางกว่าจะแสดง
ให้เห็น
การกระจายการเดิน (Splitting Up)
จำนวนของรอยจะลดน้อยลง ให้ท ำการติดตามรอยที่มีความชัดเจนมากที่สุด โดยปกติแล้วอยูบ่ นพื้น
ฐานของจำนวนรอยเท้า หรื อ วัตถุที่มีความเด่นชัดในทิศทางของการเคลื่อนที่ ที่สามารถเห็นได้จากจุดที่แยก
ออกไป
สรุ ป (Summary)
มันมีความจำเป็ นในฐานะที่เป็ นนักสะกดรอยที่ตอ้ งมีความเข้าใจในยุทธวิธีการลวง ถ้านักสะกดรอย
สามารถพิสูจน์ทราบการลวงของข้าศึก ดังนั้นเขาจะสามารถต่อต้านการลวงหรื อจะทำให้เขามีความเข้าใจดี
ขึ้นว่าพวกเขาสามารถจะทำอะไรได้บา้ ง จำไว้วา่ การลวงจะให้ขา้ ศึกได้แต่เพียงเวลาเท่านั้น
การรับรู้ ในเหตุการณ์ ที่เกิดขึน้ มาแล้ ว
(Incident Awareness)
กล่ าวนำ (Introduction)
อะไรคือคำจำกัดความของคำว่า ภาพของร่ องรอย (Track picture)
ภาพของร่ องรอย (Track Picture) นี้คือ ภาพหรื อเรื่ องราวทั้งหมดที่ได้รับโดยนักสะกดรอยตลอดระยะทาง
ที่มอบหมายให้ในการติดตาม
ภาพของร่ องรอยในรายละเอียดก็คือ รอยแต่ละรอยและลำดับของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นที่เกิดขึ้นตั้งแต่
การเริ่ มต้นการสะกดรอยไปตามรอยทางเดินที่ถูกทิ้งไว้นานแล้ว แต่ละเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น จะทิ้งร่ องรอยที่จะ
ช่วยนักสะกดรอยในการประกอบเรื่ องราวว่ามีอะไรเกิดขึ้นบ้าง นักสะกดรอยต้องสมมุติตวั เขาเองในฐานะที่
เป็ นข้าศึกเสมอ โดยการทำวิธีน้ ี เขาจะอยูใ่ นฐานะที่ดีกว่าในการคาดการณ์และพิสูจน์ทราบ สถานที่ที่เกิด
เหตุการณ์ * (Incident Site) และนำไปสู่ การแปลความหมาย และการสันนิษฐานอย่างสมเหตุสมผลใน
ข้อมูลข่าวสารที่มีคา่ ที่ได้รับมาและส่ งต่อไปยังผูบ้ งั คับบัญชา
การรับรู ้ในเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น (Incident Awareness) แบ่งออกได้ดงั นี้ :
เวลาที่นกั สะกดรอยใช้ใน Incident Site
การคาดการณ์ในพื้นที่ที่น่าจะมีเหตุการณ์เกิดขึ้น (Anticipating Likely Incident Areas)
ลำดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น (Sequence at an Incident Site)
ข้อเท็จจริ ง, การแปลความหมาย และการสันนิษฐาน (Facts, Interpretations and Assumptions)
เวลาที่นกั สะกดรอยใช้ใน Incident Site เพื่อให้ได้รับข้อมูลทั้งหมดที่ตรงกับความเป็ นจริ ง
 เวลาที่นกั สะกดรอยใช้ใน Incident Site เพื่อให้ได้รับข้อมูลทั้งหมดที่ตรงกับความเป็ นจริ งจะต้องมีเวลา
ที่เพียงพอในการค้นหาอย่างละเอียดและเป็ นระบบ ต่อสิ่ งที่ปรากฏต่อสายตา เวลาที่ใช้ในขั้นตอนนี้อาจจะ
เป็ นสิ่ งที่หาค่ามิได้ ในกรณี ที่รอยของเป้ าหมายเกิดการสูญหายเนื่องจาก
 การเปลีย่ นแปลงของสภาพลมฟ้าอากาศ
 รอยรบกวนทีม่ สี าเหตุมาจากมนุ ษย์หรือสัตว์
 ในบางสถานการณ์มนั อาจจะเสี่ ยงเกินไปที่จะยังคงอยูใ่ น Incident Area เป็ นเวลานาน ๆ เนื่องจาก :
 อันตรายทีอ่ าจเกิดขึน้ ได้จากกับระเบิด (Possible threat of booby traps)
 ข้าศึกอาจจะย้อนกลับมา (enemy may return)
 Incident Site อาจเป็นเป้าหมายทีถ่ กู บันทึกไว้ (ตำบลยิงของ ป.และ ค.) อย่างไรก็ตามโดย
ปกติแล้วจะเป็นทีต่ งั ้ ถาวร เช่นทีต่ งั ้ ฐานขนาดใหญ่ (Large camp sites)
* Incident Site หรื อสถานที่ที่เกิดเหตุการณ์ ซึ่ งข้าศึกเป็ นผูก้ ระทำขึ้น และทิ้งร่ องรอยไว้ให้เห็น
เช่น ที่พกั , ที่รับประทานอาหาร ,ที่นอน ฯลฯ

 การคาดหมายพื้นที่ที่น่าจะเป็ น Incident Sites (Anticipating Likely Incident Sites)


 โดยปกติสามารถตัดสินได้ว่าเป็ นการหยุดชนิดในเมือ่ ได้ทำการพิสจู น์แล้ว ประเภทของการ
หยุดทีค่ ณ
ุ อาจจะพบโดยบังเอิญ คือ ทีห่ ยุดพักผ่อนระหว่างทาง (rest halts) , ทีห่ ยุดตรวจสอบทิศทาง
(navigation halts) , ทีห่ ยุดพักรับประทานอาหาร (meal halts) และทีห่ ยุดพักนอน หรือ
ฐาน ลว. (Laying up points or LUP) พื้นที่เหล่านี้จะแสดงให้เห็นถึง :
* การเพิ่มจำนวนขึ้นของรอย และการรบกวนในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งโดยเฉพาะ
* พืช ,ใบไม้ ฯลฯ ที่อยูใ่ นตำแหน่งที่ผดิ ธรรมชาติ
* ฐาน ลว. (LUP sites) มีรอยเชือกผูกที่ตน้ ไม้ที่ช้ ีให้เห็นว่าเป็ นพื้นที่กางกระโจม
* พื้นที่ที่แบนราบลงไปที่ช้ ีให้เห็นว่า พื้นที่น้ นั อาจจะมีคนนอนหรื อนัง่
* สิ่ งของที่ถูกทิ้งไว้ หรื อขยะ (Discardable) เช่น เศษอาหาร, เชื้อเพลิงแห้ง จากเตาสนาม
 การคาดหมายที่หยุดพักแต่ละแห่งสามารถกำหนดได้โดยระยะทางในการเคลื่อนที่ระหว่างแต่ละที่หยุดพั
อย่างไรก็ตามระยะอาจจะมีการเปลี่ยนแปลง
 เมื่อที่พกั นอนหรื อ ฐาน ลว. (LUP) ได้ถูกพิสูจน์ทราบแล้ว คุณจะสามารถคาดการณ์เกี่ยวกับจำนวนของ
ข้าศึกได้อย่างถูกต้อง ในที่หยุดพักอื่น ๆ ที่จะตามมาภายหลัง เช่นเดียวกับ LUP ก็จะให้ขอ้ มูลคุณด้วยดังนี้ :
* ระยะทางจากจุดเริ่ มต้นไปยังฐาน ลว. (LUP)
* ระยะทางระหว่างการหยุดพักรับประทานอาหารแต่ละครั้ง
* จำนวนของการพักระหว่างทางในระหว่างการหยุดแต่ละครั้ง
 การเปลี่ยนแปลงในภาพของร่ องรอยอาจจะเกิดขึ้นเมื่อ :
* ยุทธวิธีก ำลังถูกนำมาใช้
* รอยทางเดินวกกลับมาหาตัวมันเอง (คล้ายเบ็ดตกปลา หรื อ fish hook) ชี้ให้เห็นว่ามีบางสิ่ งบาง
อย่างอาจจะกำลังเกิดขึ้น เช่น การเคลื่อนที่ไปสู่ ที่หยุดพักบางชนิด
 การใช้ยทุ ธวิธีการลวง :
* เป้ าหมายกระจายรอยทางเดินออกไป (รอยที่ลดจำนวนลง หรื อ กระจายกันออกไป) (fade out
or bomb burst)
* รอยรองเท้า/เครื่ องชี้ทิศทาง (boot marks/pointers) กำลังชี้ให้เห็นว่าเป้ าหมายอาจจะเคลื่อนที่
ออกจากแนวทางการเคลื่อนที่ของเขา แต่ได้วนกลับมาหากันและเคลื่อนที่ต่อไป
 การแวะเติมน้ำในลำธาร หรื อ การข้ามเครื่ องกีดขวางที่ล ำธารและเส้นทาง
ลำดับขั้นการปฏิบตั ิที่ Incident Site
 เวลาที่ใช้ในการค้นหาที่ Incident Site จะแตกต่างกันออกไปขึ้นอยูก่ บั ชนิดและขนาดของแต่ละ
Incident Site โดยการใช้ล ำดับขั้นตอนอย่างมีเหตุผลและไหวพริ บที่รวดเร็ ว ข้อมูลที่ตรงประเด็นสามารถ
ได้รับโดยปราศจากการสูญเสี ยเวลาที่มีค่าไป
 ลำดับขั้นตอนต่อไปนี้ควรนำมาใช้ที่ Incident Sites :

 ขัน้ ที่ 1 (Step One)


 เมื่อ Incident Site ถูกพิสูจน์ทราบให้เคลื่อนที่ถอยหลังออกมาจากตำแหน่งนั้น และทำการวาง
กำลังระวังป้ องกันรอบตัว ระยะทางที่ถอยหลังกลับจะขึ้นอยูก่ บั ลักษณะพื้นที่ เหตุผลหลักในขั้นตอนนี้กค็ ือ
เพื่อไม่ให้หน่วย ลว.ไปสร้างรอยรบกวนในพื้นที่
 ต่อจากนั้นหน่วย ลว.ปลดสัมภาระของพวกเขาวางลง
 ขัน้ ที่ 2 (Step Two)
 หน่วย ลว.จะถูกแจ้งให้ทราบถึงทิศทางที่นกั สะกดรอยและพลระวังป้ องกันจะออกไปและกลับเข้า
มา
 ขัน้ ที่ 3 (Step Three)
 นักสะกดรอยและพลระวังป้ องกันเคลื่อนที่ไปรอบ ๆ พื้นที่เพื่อกำหนดขนาด, โครงข่าย, จุดเข้า
และจุดออกของข้าศึก
 ทิศทางของการเคลื่อนที่โดยปกติจะขึ้นอยูก่ บั ลักษณะพื้นที่
หมายเหตุ ขั้นตอนนี้เป็ นขั้นตอนที่สำคัญ เช่น จุดออก (exit point) ต้องถูกกำหนดที่ต้ งั ให้ได้ก่อน
การค้นหาในพื้นที่ บางทีจุดออกอาจจะมีมากกว่า 1 จุด ถ้าพื้นที่น้ นั มีขนาดใหญ่มาก อาจมีการเพิ่มจำนวน
นักสะกดรอยในการค้นหา
 ขัน้ ที่ 4 (Step Four)
 เมื่อกลับมาที่จุดเริ่ มต้น นักสะกดรอยและพลระวังป้ องกันวางแผนและปฏิบตั ิการค้นหา ทำการแจ้ง
ส่ วนที่เหลือของหน่วย ลว.ว่าพวกเขาจะต้องทำอะไร และความรับผิดชอบของหน่วย ลว. เช่น การ
ตรวจการณ์ในเขตรับผิดชอบ
 นักสะกดรอยและพลระวังป้ องกันปฏิบตั ิการค้นหาอย่างเป็ นระบบ ทำการรวบรวมรายการข้อเท็จ
จริ งที่มีอยูท่ ้ งั หมดและวาดแผนภาพสังเขปของพื้นที่ ถ้าพื้นที่น้ นั ใหญ่มากนักสะกดรอยอาจจะแบ่งพื้นที่เป็ น
ส่ วน ๆ ในการค้นหาโดยจุดเข้าของข้าศึกเป็ น 6 นาฬิกา ไปสู่ 9 นาฬิกา , 12 นาฬิกา, 3 นาฬิกา และกลับมา
สู่ 6 นาฬิกา ด้วยวิธีน้ ี โดยปกติใช้ในการอ้างถึงจุดที่นกั สะกดรอยกำลังค้นหาและคัดแยกพื้นที่ออกไป อย่าง
เป็ นระบบ ทำให้เขาค้นหาได้ทวั่ พื้นที่
 การวาดแผนภาพสังเขปจะประกอบด้วย
 เครื่ องหมายลูกศรแสดงทิศเหนือแม่เหล็ก อยูด่ า้ นบนหัวกระดาษ
 จุดเข้า และจุดออกที่ Incident Site
 ตำแหน่งของข้อมูลที่พบทั้งหมด เช่น เตาไฟ, พื้นที่ที่ถูกทำให้แบนราบ,พื้นที่วางตัว
 คำอธิบายสัญลักษณ์ (Legend) วางไว้ทางด้านล่างของแผนภาพสังเขป
 รายการข้อเท็จจริ ง (facts) ที่ถูกพบ, การแปลความหมาย (intrepretations) และการ
สันนิษฐาน (assumption) ของเหตุการณ์ที่พบที่ได้ถูกบันทึกไว้โดยนักสะกดรอย
 ขัน้ ที่ 5 (Step Five)
 ต่อจากนั้นนักสะกดรอยจะบอกรายละเอียดในเรื่ องการให้ขอ้ สันนิษฐานทั้งหมดของเหตุการณ์ที่
เกิดขึ้นกับ ผบ.หน่วย ลว.และกำลังพลทั้งหมด
 การรวบรวมรายละเอียดของการแปลความหมายจากข้อเท็จจริ งจะกระทำในค่ายพัก เมื่อทำการ
รวบรวมรายงานการสะกดรอย (Tracking Task Report)
 ขึ้นอยูก่ บั ว่าข้อมูลมีความสำคัญหรื อไม่ ที่รายงานการติดตามรอย (Task Report) จะถูกส่ งไปยัง
กองบัญชาการ (Base HQ)
 ดำเนินการสะกดรอยต่อไป เว้นแต่ ผบช.จะเปลี่ยนให้หน่วยอื่นทำการสะกดรอยต่อ
ข้อเท็จจริ ง ,การแปลความหมาย และการสันนิษฐาน (Facts, Interpretations and Assumptions)
ในฐานะที่เป็ นนักสะกดรอยมันสำคัญมากที่ตอ้ งรู ้วา่ จะแปลความหมายของรอยอย่างไร และหาคำ
ตอบจากการสันนิษฐานทั้งหมดที่ต้ งั อยูบ่ นข้อเท็จจริ ง หรื อร่ องรอยที่ถูกพบอยูภ่ ายใน Incident Site และ
จากข้อสันนิษฐานนี้ ท ำการรายงานไปยัง ผบช.ชั้นสู ง
 ข้อเท็จจริ ง (Facts)
คือเหตุการณ์ที่เป็ นที่รู้กนั ว่าได้เกิดขึ้นแล้ว หรื อจริ ง ๆ แล้วก็คือ ร่ องรอยต่าง ๆ ที่ถูกพบอยูต่ ามเส้น
ทางของการติดตาม
ภายใน Incident Sites ข้อมูลต่อไปนี้อาจจะถูกพบ ซึ่ งสามารถเป็ นข้อเท็จจริ งได้ (FACTS)
* รอยกดทับของเป้ สนามในพื้นที่หยุดพักต่าง ๆ ,ฐาน ลว. หรื อรอยขีดข่วนที่ตน้ ไม้
* ร่ องรอยของการตัด, การขุด ที่เกิดจากเครื่ องมือที่ชดั เจน เช่น พลัว่ (shovel), ขวาน (axe) , มีด
เดินป่ า (gollick) และอื่น ๆ
* อุปกรณ์เครื่ องใช้ในการประกอบอาหารที่เห็นได้จากชนิดและวิธีการใช้ หรื อร่ องรอยที่เหลือทิ้ง
ไว้ เช่น เชื้อเพลิงเหลวของเตาเล็ก ๆ ,ขี้เถ้าจากกองไฟ ฯลฯ
* เครื่ องนอน, ที่ก ำบัง, เปล ฯลฯ ที่เห็นได้จากการเพิ่มขึ้นของรอยกดทับและรอยผูกเชือกที่ตน้ ไม้
และ
* ขวัญ/สภาพร่ างกาย เช่น การรักษาความสะอาด ,แหล่งที่อยู่
 การแปลความหมาย (Interpretation)
 คือการอธิบายและการให้เหตุผลของนักสะกดรอยที่อยูบ่ นพื้นฐานของข้อเท็จจริ งในหัวข้อ ใคร
(WHO) ,อย่างไร (HOW) ,ทำไม (WHY) , เมื่อใด (WHEN) ในแต่ละพวกของร่ องรอยหรื อรอยต่าง ๆ ที่
ถูกสร้างขึ้น
 เมื่อข้อเท็จจริ งที่มีอยูท่ ้ งั หมดได้ถูกตรวจสอบแล้ว นักสะกดรอยอาจจะ :
 สันนิษฐานว่าภารกิจของเป้ าหมายคืออะไร (ASSUME what the target’s task is)
 ทำนายจุดมุ่งหมายของเป้ าหมาย
 การสันนิษฐาน (Assumption)
 คือ ข้อสรุ ปโดยทัว่ ไปของนักสะกดรอยใน Incident Site และ ภาพรวมของร่ องรอยที่เกิดขึ้น
ทั้งหมด
 ตัวอย่าง (Example)
Incident One
ข้อเท็จจริ ง (Facts) การแปลความหมาย การสันนิษฐาน (Assumptions)
(Interpretations)
1. ที่พิกดั 334694 มีสิ่งที่ถูกพบ
ดังนี้
ก รอยรองเท้าทหารของ มี คน 3 คนที่สวมรองเท้าทหาร
. นิวซี แลนด์ 2 รอย
รอยรองเท้าของสหรัฐ 1 รอย
ข รอยยานพาหนะที่ชดั เจนของ มีคน 3 คน ถูกส่ งลงจากรถ 4 WD
. ทบ. นิวซีแลนด์ ชนิด 4 WD อาจะเป็ นไปได้วา่ เป็ นยานยนต์ของ
ทบ.นิวซี แลนด์
รอยเคลื่อนที่ไปทางเหนือใน อาจมีการใช้เครื่ องช่วยนำทาง
ทิศทาง 6100 มิลเลียม
รอยตัดตามต้นไม้ที่ข้ ึนอยูใ่ น การมีเครื่ องมือในการตัด ซึ่ งคล้าย มีบุคคล 3 คน สวมรองเท้า
ระดับต่ำอยูห่ ่างจากจุดลงรถ กับมีดเดินป่ า.....โดยไม่รู้วา่ กำลังถูก ทหาร ถูกส่ งลงจากรถ 4 WD
ไปทางเหนือ 20 ม. ติดตาม ซึ่ งคาดว่าน่าจะเป็ นรถยนต์ทหาร
พวกเขาเคลื่อนที่ไปทางเหนือใน
ทิศทาง 6100 มิลเลียม และมี
การตัดต้นไม้เพื่อเจาะช่องตลอด
เส้นทาง

Incident Two
ข้อเท็จจริ ง (Facts) การแปลความหมาย การสันนิษฐาน (Assumptions)
(Interpretations)
2. ที่พิกดั 334714 มีสิ่งที่ถูกพบ
ดังนี้
ก รอยกดทับ 4 แห่ง มีขนาดตรงกับผ้าที่ใช้ปนู อน
.
ข พื้นที่ก่อกองไห 4 แห่ง ขนาดและรู ปร่ างตรงกับเตาที่ใช้ใน
. สนาม
ค ซองและภาชนะห่ออาหาร
. ของ ทบ.นิวซีแลนด์
ง. รอยมีการเคลื่อนที่ไปทางทิศ
ตะวันออก
จ. รอยทางเดินถูกทิ้งไว้ที่พิกดั หน่วย ลว.จำนวน 4 นาย ถูกส่ ง
344714 ลงจากรถ 4 WD ที่พิกดั
334694 เคลื่อนที่ไปยังพิกดั
334714 และหยุดพักค้างคืน

 การยืนยัน (Confirmation)
คือ การยืนยันความถูกต้องของการแปลความหมายและการสันนิษฐานของนักสะกดรอยซึ่ งสามารถเป็ น
ได้อย่างใดอย่างหนึ่ง คือ
 โดยตรง (Immediate) ทำการยืนยันเมื่อเห็นข้าศึกในระหว่างการติดตาม หรื อโดยบุคคลที่
เห็นซึ่ งรวมทั้งตัวข้าศึกเองด้วย
 โดยอ้อม (Delayed) ทำการยืนยันหลังจากทำการติดตามไประยะหนึ่ง โดยอาจจะมาจากสิ่ ง
ต่าง ๆ ดังนี้ :
 เป้ าหมายที่ก ำลังถูกติดตาม (Target being pursued)
 รายงานของหน่วย ลว.อื่น ๆ (other patrol reports)
 เชลยศึก (POW)
 ประชาชนในท้องถิ่น แต่อย่างไรก็ตามควรระวังข้อมูลอันเป็ นเท็จจากผูท้ ี่เป็ นไส้ศึก
 รายงานข้อมูลข่าวสารอื่น ๆ (Intelligence reports)
การรายงาน (Reportiong)
 เพื่อให้ ผบช.สามารถใช้ขอ้ มูลที่ได้รับ มันจึงมีความสำคัญที่หน่วย ลว.ต้อส่ งข้อมูลให้เร็ วที่สุดเท่าที่จะมี
โอกาสทำได้ มันอาจจะถูกรวบรวมเป็ นรายงานด้วย วาจา หรื อรายงานเป็ นลายลักษณ์อกั ษร และถูกแถลงให้
ทราบโดยนักสะกดรอยในระหว่าง หรื อ หลังการสะกดรอย
 ประเภทของรายงานที่ใช้คือ :
 รายงานการสะกดรอย (Track REP.)
เช่นเดียวกับบันทึกช่วยจำของ ผบ.หน่วย ลว. รายงานนี้เป็ นการรายงานความก้าวหน้าประจำ
วัน (ในบทเรี ยน EOT 4)
 รายงานด้วยวาจา (VERBAL DEBRIEF)
โดยปกติเป็ นรายละเอียดขั้นต้นที่ถูกปฏิบตั ิโดย ฝอ.2, ฝอ.3 เมื่อนักสะกดรอยกลับมาถึงที่ต้ งั
หน่วย
 รายงานเป็ นลายลักษณ์อกั ษร (WRITTEN REPORT)
เช่นเดียวกับรายงานการสะกดรอย (Track Report) และเพิ่มหัวข้อต่อไปนี้ :
* ข้อเท็จจริ ง, การแปลความหมาย, การสันนิษฐาน (Facts, Interpretations ,
Assumptions)
* ภาพร่ างเส้นทางการติดตาม (Route sketch)
* แผนภาพสังเขปใน Incident sites (Incidents diagram)
สรุ ป (Summary)
ข้อมูลที่ได้รับจากการแปลความหมายของรอยอาจจะก่อให้เกิดข้อมูลข่าวสารที่จะช่วยให้ ผบช.ได้
รับความสำเร็ จในภารกิจ ซึ่ งงานหนึ่งก็คือการ ลว.หาข่าว หรื อการเข้าใกล้ขา้ ศึก และสังหารข้าศึก
ความปลอดภัยในชีวิตของคุณและคนอื่น ๆ โดยปกติข้ ึนอยูก่ บั ข้อมูลที่คุณได้รับและส่ งต่อไปยัง
ผบช. ข้อมูลของคุณจะอยูใ่ นสภาพที่กระจ่างชัดหรื อไม่ สิ่ งนั้นคือข้อเท็จจริ ง (Fact) , การแปลความหมาย
(Interpretation) , การสันนิษฐาน (Assumption) หรื อ การเดาอย่างมีเหตุผล (Intelligent guess) โดยไม่
โกหกหรื อจงใจใส่ ขอ้ มูลที่เป็ นเท็จลงไป

การสังเกตการณ์
(Observation)
กล่าวนำ (Introduction)
ในฐานะที่เป็ นนักสะกดรอย คุณต้องสามารถทำความเข้าใจในร่ องรอย, เสี ยง, การเคลื่อนที่ใด ๆ ที่
จะชี้ให้เห็นถึงการปรากฏตัวของกำลังทหารในพื้นที่ ขณะอยูใ่ นการติดตาม นักสะกดรอยจะกำลังติดตาม
ข้าศึกที่มีอาวุธ ซึ่ งเป็ นผูท้ ี่มีความระมัดระวังและ ความชำนาญในสนามรบเป็ นอย่างดี ดังนั้นมันจึงมีความ
สำคัญมากที่นกั สะกดรอยจะยังคงมีความตื่นตัวและช่างสังเกตตลอดเวลา เพื่อที่เขาจะได้ไม่น ำหน่วย
ลว.ของเขาไปสู่ สถานการณ์ที่เป็ นอันตราย
การสังเกตการณ์และประสาทสัมผัสอื่น ๆ (Observation and Other Senses)
การสังเกตการณ์ (Observation)
1. การใช้สายตาคือวิธีการที่ใช้มากที่สุด ซึ่ งมนุษย์ใช้รวบรวมและรับรู ้ขอ้ มูลข่าวสารความเข้าใจว่าทำสิ่ งต่าง
ๆถึงได้ถูกเห็น (Why things are seen) จะช่วยนักสะกดรอยในการค้นหาและการสื บหาข้าศึกทั้งที่เป็ น
บุคคลและอาวุธยุทโธปกรณ์ ดังนั้นมันจึงมีความสำคัญที่ทหาร หรื อ นักสะกดรอยต้องคิดเสมอว่า จะใช้
สายตาของเขาให้เกิดผลดีมากที่สุดอย่างไร
2. ปั จจัยต่อไปนี้จะช่วยในการค้นหาวัตถุที่สามารถมองเห็นได้อย่างง่ายดาย :
ก. รู ปร่ าง (Shape) อุปกรณ์ทางทหารและรู ปร่ างของมนุษย์ คือ โครงร่ างที่คนุ ้ เคยต่อทหารทุกคน พวก
เขาสามารถถูกจำได้อย่างรวดเร็ ว โดยเฉพาะอย่างยิง่ เมื่อพวกเขาเปรี ยบเทียบกับสภาพแวดล้อมที่พวกเขาอยู่
รู ปร่ างที่เด่นชัดที่สามารถค้นพบได้ง่าย เว้นแต่วา่ ถูกซ่อนพราง คือ :
(1) หมวกเหล็ก (Steel helmet)
(2) เครื่ องสนาม (Wedding)
(3) อาวุธประจำกาย (personal weapons)
ข. เงา (Shadow) เงาสามารถถูกเห็นได้ ดังนี้ :
(1) เงาที่ทอดยาว (Cast Shadow) ในแสงแดดหรื อแสงจันทร์ เงาของวัตถุอาจจะทอดยาวออก
ไปจากที่มนั ตั้งอยู่ วัตถุที่ถูกซ่อนอยูใ่ นเงาของวัตถุอื่น จะทำให้ยากในการค้นพบและจะไม่ทอดเงาของตัวมัน
เอง วัตถุที่ถูกซ่อนด้วยเงาของวัตถุอื่นนี้ จะแสดงให้เห็นเมื่อเงาได้เคลื่อนที่ออกไป และมันอาจจะแสดงให้
เห็นเงาที่ชดั เจนของมันที่ปรากฏขึ้นมาอีกครั้งหนึ่งอีกด้วย
(2) เงาภายใน (Contained Shadow) คือเงาที่ถูกจำกัดอยูภ่ ายในพื้นที่ ตัวอย่างเช่น ห้อง, ปากถ้ำ,
หรื อภายใต้ที่ก ำบังของแต่ละคน โดยปกติแล้ว มันจะมืดกว่าเงาอื่น ๆ เพราะฉะนั้นมันจึงสามารถดึงดูดความ
สนใจ
ค. เค้าโครง (Silhovette ) เค้าโครงของวัตถุที่ตดั กับฉากหลังเป็ นสิ่ งที่สะดุดตา ฉากหลังที่ราบเรี ยบก็เป็ น
สิ่ งที่สะดุดตาเช่นกัน ฉากหลังที่ราบเรี ยบ เช่น น้ำ,ท้องฟ้ าที่โปร่ งใส สิ่ งเหล่านี้ควรจะหลีกเลี่ยง วัตถุอาจถูก
ทำให้เกิดเค้าโครงได้ถา้ มันตัดกับฉากหลังที่มีสีต่างกัน (วัตถุที่มีสีเข้มจะตัดกับฉากหลังสี อ่อน,วัตถุสีอ่อนจะ
ตัดกับฉากหลังสี เข้ม
ง. พื้นผิว (Surface) ถ้าสี และสภาพพื้นผิวของวัตถุในการเปรี ยบเทียบกับสภาพแวดล้อมรอบ ๆ ตัวมัน
มันจะเห็นเด่นชัด วัตถุที่ข้ ึนเงา หรื อผิวสี ขาวจะตัดกับฉากหลังส่ วนใหญ่อย่างรุ นแรง
จ. ช่องว่า (Spacing) วัตถุตามธรรมชาติค่อนข้างหายากที่จะมีช่องว่า ง(ช่องไฟ) ห่างเท่า ๆ กัน ช่อง
ว่างที่เท่า ๆ กันนี้จะดึงดูดความสนใจ
ฉ. การเคลื่อนที่ (Movements) การเคลื่อนที่ในทันทีทนั ใด จะดึงดูดสายตา
การกวาดสายตาและการค้นหา (Scannign and Searching)
1. เพื่อที่จะสื บหาร่ องรอยของข้าศึก นักสะกดรอยต้องศึกษาว่า จะสังเกตอย่างไรด้วยวิธีการกวาดสายตา
(scaning) และการค้นหา (searching) เขาต้องรู ้อีกด้วยว่าจะประยุกต์ใช้ปัจจัยเหล่านั้นอย่างไร ซึ่ งจะ
กำหนดว่าทำไมสิ่ งเหล่านั้นถึงได้ถูกเห็น (Why things are seen) ความรู ้ต่าง ๆ เหล่านี้จะช่วยนักสะกด
รอยในขณะทำการติดตามรอย
2. การกวาดสายตา (Scanning) คือ การตรวจสอบโดยทัว่ ไป และเป็ นระบบของพื้นที่เพื่อสื บหาสิ่ งผิด
ปกติใด ๆ หรื อ วัตถุที่มีความสำคัญ หรื อการเคลื่อนที่
3. ในการกวาดสายตาในพื้นที่ ต้องกระทำตามหัวข้อต่อไปนี้ :
ก. แบ่งพื้นที่ออกเป็ น :
(1) พื้นที่ระยะใกล้ (Foreground)
(2) พื้นที่ในระยะปานกลาง (Middle distance)
(3) พื้นที่ในระยะไกล (Distance)
ข. กวาดสายตาแต่ละพื้นที่ในแนวนอนเริ่ มจากพื้นที่ระยะใกล้ เพื่อให้ได้ประสิ ทธิ ภาพมากที่สุด ให้กวาด
สายตาในระยะสั้น ๆ และแต่ละครั้งให้ทบั ซ้อนกัน (ใช้การเคลื่อนศรี ษะจะทำให้ดวงตาล้าน้อยที่สุด)
ความเร็ วที่ใช้ในการกวาดสายตาจะขึ้นอยูก่ บั ลักษณะพื้นที่ที่ท ำการตรวจ เช่น พื้นที่โล่งแจ้ง หรื อ พื้นที่
ปกปิ ดกำบัง (OPEN of CLOSE COUNTRY)
ค. เมื่อกวาดสายตาในแนวนอนเสร็ จแล้ว ให้ท ำการกวาดสายตาไปตามแนวยาวของภูมิประเทศที่เด่นชัด
ซึ่ งทำมุมออกจากตำแหน่งที่ท ำการสังเกตการณ์
4. การค้นหา (Searching) การค้นหาอาจจะเกิดขึ้นในระยะใดก็ได้ในระหว่างการกวาดสายตา การ
เคลื่อนไหวที่น่าสงสัยหรื อวัตถุที่เป็ นจุดเด่นในระหว่างการกวาดสายตาควรที่จะทำการค้นหาในทันที ใน
การกลับมาค้นหาอีกครั้งของแต่ละปัจจัยที่ท ำให้วตั ถุสามารถเห็นได้คือ :
ก. รู ปร่ าง (Shape)
ข. เงา (Shadow)
ค. เค้าโครง (Silhouette)
ง. พื้นผิว (Surface)
จ. ช่องว่าง (Spacing)
ฉ. การเคลื่อนไหว (Movement)
5. สังเกตอย่างไร (How to observe)
ก. พื้นที่ที่ท ำการสังเกตการณ์ตอ้ งกว้างเท่าที่จะเป็ นไปได้ และอย่าเพ่งมองไปบนสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งเป็ นเวลา
นานเกินไป
ข. ค้นหาในพื้นที่ที่มีความเกี่ยวข้องกันอย่างเป็ นระบบ
ค. สังเกตการณ์ดว้ ยการใช้ประสาทสัมผัสทั้งหมด
ง. มองผ่านต้นไม้-ใบไม้ และเปลี่ยนตำแหน่งไปในจุดที่เห็นได้ดีกว่า
จ. เคลื่อนศรี ษะและดวงตา จากด้านหนึ่งไปยังอีกด้านหนึ่งอย่างช้า ๆ
ฉ. หยุด (FREEZE) เมื่อเห็น, ได้ยนิ , ได้กลิ่น สิ่ งใดก็ตามที่ผดิ ปกติในพื้นที่น้ นั
ช. ผ่อนคลายและพักสายตาบ้างในบางโอกาส
ซ. ถ้าสังเกตเห็นการเคลื่อนไหว ให้จอ้ งมองในยังที่น้ นั เป็ นเวลาสั้น ๆ และเพียงใช้การเคลื่อนศรี ษะและ
ดวงตาในบางโอกาส สิ่ งใดก็ตามที่มีการเคลื่อนไหวจะดึงดูดสายตา
การใช้ประสาทสัมผัสอื่น ๆ (Use of Other Senses)
การสื บหาด้วยเสี ยง (Detection by Sound)
1. การใช้สายตาไม่ใช่เป็ นเพียงวิธีเดียว ที่จะสามารถค้นพบการปรากฏตัวและการกระทำของข้าศึก ทหารที่
ได้ผา่ นการฝึ กแล้วสามารถรวบรวมข้อมูลที่มีประโยชน์โดยการใช้การได้ยนิ เพื่อกำหนดที่ต้ งั ของข้าศึก
ทหารจำเป็ นต้องผ่านการฝึ กในการฟังเสี ยงที่ผดิ ไปจากธรรมชาติของสภาพแวดล้อมโดยทัว่ ไป เสี ยงของ
โลหะกระทบโลหะ, เสี ยงการเคลื่อนที่ของยานพาหนะ, การเคลื่อนที่ของมนุษย์, การพูดคุยและเสี ยงอื่น ๆ
เสี ยงต่าง ๆ เหล่านี้ควรที่จะถูกจำได้ในทันทีสำหรับทหารที่ผา่ นการฝึ กมาแล้ว
2. ไม่เหมือนกับการใช้สายตา ที่จะแสดงให้ผตู ้ รวจการณ์เห็นได้โดยตรงว่าข้อมูลนั้นอยูท่ ี่ไหน การใช้การ
ได้ยนิ นั้น ต้องการการอนุมาน (Deduction) ของผูท้ ี่ได้ยนิ เพียงแต่ใช้การฝึ กและการจินตนาการจะทำให้
ข้อมูลที่ถูกรวบรวมจากการฟังมีความถูกต้องมากที่สุด
การสื บหาด้วยการดมกลิ่น (Detection by Smell)
3. แม้วา่ การได้ยนิ และการมองเห็นจะให้ขอ้ มูลมากที่สุด แต่ประสาทในการดมกลิ่นก็สามารถใช้ประโยชน์
ในการพิสูจน์ทราบได้เช่นเดียวกัน กลิ่นของการประกอบอาหาร, พื้นที่เขตสุ ขา, กองไฟและยาสู บ กลิ่นต่าง
ๆ เหล่านี้จะแรงและจะถูกลมนำพาไปได้ระยะหนึ่ง ก่อนที่จะหายไป
4. กลิ่นจะอยูใ่ นพื้นที่ในระดับต่ำและจะคงอยูใ่ นอากาศได้ในระยะเวลาหนึ่ง กลิ่นของมนุษย์จะมีลกั ษณะ
เฉพาะทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั อาหารที่พวกเขากินเป็ นหลัก ทหารที่กินพวกเนื้อเป็ นอาหารหลัก จะมีกลิ่นที่แตกต่าง
จากทหารที่กินอาหารที่ท ำจากข้าวและผักเป็ นส่ วนใหญ่
การใช้การสัมผัส (Use of Touch)
5. แม้วา่ ข้อมูลที่จะได้รับส่ วนใหญ่จะผ่านทางการใช้ประสาทรับรู ้อื่น ๆ ของพวกเขา แต่ทหารก็จ ำเป็ นที่
ต้องได้รับการฝึ กในเรื่ องการใช้การสัมผัส นักสะกดรอยสามารถรับข้อมูลที่มีค่า ซึ่ งแตกต่างออกไปจากการ
ใช้ประสาทสัมผัสของเขา เช่นในพื้นที่ประกอบอาหารและพื้นที่ที่ใช้นอน การฝึ กการค้นหาที่ต้ งั อยูบ่ นพื้น
ฐานของการใช้การสัมผัสไม่เพียงแต่น ำเขาไปสู่ รูปร่ างและความรู ้สึกที่คุน้ เคยเท่านั้น แต่ยงั กระตุน้ ให้ทหาร
ได้ใช้การสรุ ปตามหลักเกณฑ์ เพื่อรวบรวมข้อมูลข่าวสาร
สรุ ป (Summary)
นักสะกดรอยต้องจำไว้วา่ ประสาทรับรู ้ต่าง ๆ ของเขาเป็ นสิ่ งที่มีค่ามากที่สุด มันเป็ นสิ่ งสำคัญที่
ทหารทุกคนหรื อนักสะกดรอยจะต้องฝึ กความชำนาญอย่างต่อเนื่อง ในเรื่ องการสังเกตการณ์ (observation)
, การใช้การสัมผัส (the use of touch) , การดมกลิ่น (Smell) และการได้ยนิ (hearing) กับการฝึ กที่ไม่
เพียงแต่ต้ งั ใจที่จะหาเป้ าหมายหรื อการปรากฏตัวของข้าศึกเท่านั้น แต่ยงั เพิม่ ความสนใจในรายละเอียดของ
สภาพแวดล้อม,วิถีชีวิตของสัตว์และแมลงต่าง ๆ รอบ ๆ ตัวเขา
การตัดสิ นอายุของรอย
(Judging the Age of Sign)
กล่าวนำ (Introduction)
เมื่อนักสะกดรอยสามารถพิสูจน์ทราบร่ องรอยได้แล้ว จุดมุ่งหมายที่สำคัญในลำดับต่อไปก็คือ คุณ
สามารถที่จะตัดสิ นอายุของรอยใด ๆ ก็ตามที่ถูกพบในระหว่างทำการ ลว. หรื อขณะทำการสะกดรอย
จุดมุ่งหมาย (AIM)
เพื่อช่วยให้นกั สะกดรอย ได้ผา่ นกระบวนการในการประเมินอายุของรอยอย่างมีเหตุผล
ข้อมูลในการตัดสิ นอายุของรอยจะช่วยคุณ และ ผบช.ไปสู่ :
1. ตัดสิ นระยะเวลาที่ผา่ นไปโดยประมาณตั้งแต่ขา้ ศึกหรื อเป้ าหมายได้ผา่ นพื้นที่น้ นั ไป
2. จะทำการติดตามหรื อไม่ การตัดสิ นใจของ ผบช. จะอยูบ่ นพื้นฐานของเวลาที่ผา่ นไปแล้ว, ชนิดของการ
ปฏิบตั ิการ, ประเภทของข้าศึก และภารกิจการ ลว.
3. วินิจฉัยข้อแตกต่างระหว่างรอยเก่าและรอยใหม่ในการติดตาม สิ่ งนี้จะชี้ให้เห็นระยะห่างของคุณกับข้าศึก
ถ้าการประเ มินไม่ถูกต้องมันสามารถเป็ นอันตรายต่อความปลอดภัยของหน่วย ลว. หรื อที่แย่กว่านั้น มันจะ
เป็ นสาเหตุให้เกิดความสูญเสี ยเนื่องจาก หน่วย ลว.กำลังวิ่งเข้าไปหาส่ วนหลังของข้าศึกโดยปราศจากการ
เตือนภัย
4. เพื่อเอาชนะปัญหาจากรอยรบกวนในที่ซ่ ึ งอายุของรอยที่พบต่างกัน โดยสามารถกำหนดรอยของเป้ า
หมายได้จากรอยอื่น ๆ โดยอาศัยพื้นฐานในเรื่ องอายุของรอย ซึ่ งจะช่วยประหยัดเวลาที่มีค่าลงได้
การพิจารณา (Considerations)
 เช่นเดียวกับที่ได้ศึกษาในบทแรก ๆ (กล่าวนำการสะกดรอย EOT 3 ปั จจัยที่มีผลกระทบต่อการ
สะกดรอย) นักสะกดรอยต่างมีความเข้าใจเกี่ยวกับพืชพันธ์ในท้องถิ่น, วิถีชีวิตสัตว์ และความสัมพันธ์ของ
พวกมัน,ลมฟ้ าอากาศและลักษณะภูมิประเทศในพื้นที่ปฏิบตั ิการ ปั จจัยทั้งหมดนี้จะกำหนดกระบวนการ
ตัดสิ นอายุของรอยที่ถูกพบ และปัจจัยที่มีผลกระทบ ซึ่ งรอยสามารถกลับคืนไปสู่ สภาพเดิมตามธรรมชาติเร็ ว
แค่ไหน หรื อสภาพที่มนั สามารถแสดงให้นกั สะกดรอยเห็นอย่างไร
 ตัวอย่างหนึ่งก็คือ รอยรองเท้า 2 รอย ที่ถูกทำขึ้นในเวลาเดียวกัน รอยหนึ่งถูกกำบังจาก ลม,ฝน และ
แสงแดด เช่น ป่ าทึบ และอีกรอยหนึ่งอยูใ่ นพื้นที่โล่งแจ้ง และได้รับผลกระทบจากสภาพลมฟ้ าอากาศ
กระบวนการอายุของรอยที่อยูใ่ นที่โล่งแจ้งจะถูกเร่ งให้เร็ วขึ้น และนักสะกดรอยต้องรู ้อยูเ่ สมอว่าปั จจัยเหล่านี้
มีผลกระทบในขณะที่พยายามทำการตัดสิ นอายุของรอย
 เพื่อให้สามารถตัดสิ นอายุของรอยที่เกิดขึ้นมาแล้วหลาย ชม.ได้อย่างถูกต้อง จะมาจากประสบการณ์
และการประยุกต์ใช้อย่างต่อเนื่อง และการฝึ ก และถึงแม้วา่ มันอาจจะไม่ถูกต้องนัก อย่างไรก็ตามมันมีเหตุผล
ที่จะพูดได้วา่ อายุของรอยสามารถประมาณได้ภายใน 24 ชม. หรื อน้อยกว่านั้น ถ้านักสะกดรอยทำการ
พิจารณาสิ่ งต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ :
 ประเภทของรอย (Type of Sign) ไม่วา่ จะอยูใ่ นธรรมชาติที่อ่อนหรื อแข็ง

 ธรรมชาติทอ่ี ่อนนุ่ม (Soft) อยูใ่ นทีซ่ ง่ึ การรบกวนหรือการทำลายเกิดขึน้ ได้งา่ ย


บนวัตถุหรือวัสดุ เช่น
 ดินที่อ่อนนุ่ม , โคลน, ทราย (Soft soil, mud , sand)
 พืชใบเขียวต่าง ๆ (green, leafy plants)
 รากไม้ทม่ี ยี างออก (roots that bleed)
 ธรรมชาติทแ่ี ข็งกระด้าง (Hard) อยูใ่ นวัตถุหรือวัสดุทม่ี คี วามแข็งและยากทีจ่ ะ
ถูกทำลายหรือรบกวน เช่น
 ใบไม้แข็ง (dead, dry foliage)
 ภาชนะบรรจุที่แข็งหรื อดินที่ถูกแดดเผาจนแข็ง (hard packed or sun
baked soil)
 ตะไคร่ น ้ำหรื อพุม่ หญ้าที่กลับคืนสู่ สภาพเดิม (resilient mosses of
tussock)
 ขณะที่เป็ นพลาสติกหรื อโลหะ (plastic, metal Discardable)
 การเปิ ดเผย (Exposure) ที่ต้ งั ของร่ องรอย และระดับของการเปิ ดเผยที่อยูต่ ามธรรมชาติ

You might also like