You are on page 1of 2

จากสถิติของ Langlois et al ในปี 2006พบว่ามีผรู้ อดชีวิตจากการบาดเจ็บที่สมอง (TBI: Traumatic Brain Injury)

ประมาณ 5.3 ล้านคนกาลังประสบกับปั ญหาการขาดดุลของประสาทสั่งการในระยะยาว หรือตลอดชีวิต

ซึ่งจากแนวทาวการศึกษาพบว่าแนวทางหนึ่งที่ดีท่ีสดุ ในการลดการขาดดุล ของประสาทสั่งการที่เกิดจากการบาดเจ็บ


น่าจะเป็ นการจากัดความรุ นแรงของการบาดเจ็บโดยการลดการสูญเสียเซลล์ประสาทปฐมภูมิและทุติยภูมิในช่วงระยะเวลา
บาดเจ็บเฉียบพลัน ถึงแม้ว่าแนวทางหนึ่งที่ดีท่ีสดุ นีจ้ ะเป็ นการรักษาป้องกันระบบประสาทที่ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ แต่
ประสิทธิภาพของการรักษาก็อ าจถูกจากัดในเรื่องของเวลาการเข้ารับการรักษาที่มีเงื่อนไขว่าต้องรักษาทันทีหลังประสบเหตุ
(นาที ชั่วโมง หรือวันหลังได้รบั บาดเจ็บ)

โดยจากงานวิจัยได้กล่า วไว้ว่า การรักษาแบบไม่ใช้ยา และมี การบุกรุ กน้อยที่ สุด จะส่งผลดีต่อผู้ป่วยที่ ไ ด้รับ การ
บาดเจ็บที่สมอง ซึ่งวิธีการรักษาแบบไม่ใช้ยานีไ้ ด้รบั การพัฒนาขึน้ มาสาหรับการรักษาโรคทางระบบประสาท และจิตเวชที่
หลากหลาย โดยใช้Electroceuticalsซึ่งอุปกรณ์ไฟฟ้ากาลังต่าที่วางอยู่บนผิวหนังหรือที่ฝัง โดยอุปกรณ์ตวั นีจ้ ะสามารถใช้ใน
การรักษาโรคต่าง ๆ ตัง้ แต่ภาวะซึมเศร้าและความผิดปกติทางอารมณ์ไปจนถึงโรคพาร์กินสัน ในขณะที่สามารถใช้การกระตุน้
ด้วยกระแสไฟตรงต่า (ผ่านกะโหลกศีรษะ) (tDCS) ได้ เพื่อจัดการกับอาการปวดเรือ้ รัง ภาวะซึมเศร้า และโรคจิตเภท

จากปั ญหา และแนวทางการแก้ไขที่มีอยู่ในปั จจุบนั ทาให้ผมอยากช่วยผูป้ ่ วยที่ได้รบั การบาดเจ็บที่สมองที่มีอาการ


ปวดเรือ้ รัง โดยการใช้ (tDCS: Transcranial Direct Stimulation)

Transcranial Direct Stimulation คื อ เครื่อ งกระตุน


้ สมองด้วยกระแสไฟฟ้าอย่างอ่อน เป็ นวิธีการรักษาอีกหนึ่ง
ทางเลือกสาหรับผูป้ ่ วยที่มีอาการความจาถดถอย ผูป้ ่ วยที่มีแขนขาอ่อนแรงจากหลอดเลือดสมองตีบ หรือผูท้ ่ีมีภาวะซึมเศร้า ที่
เข้ามาช่วยรักษาและฟื ้ นฟูการทางานของสมอง ควบคูไ่ ปกับการรักษาด้วยยาและการทากายภาพบาบัด ทาให้การรักษาอาการ
ดังกล่าวมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึน้ สามารถกลับไปใช้ชีวิตแบบปกติได้อีกครัง้

โดยการใช้เครื่องกระตุน้ สมอง ด้วยกระแสไฟฟ้าอย่างอ่อน คือ การกระตุน้ สมองด้วยไฟฟ้ากระแสตรงอย่างอ่ อนผ่าน


กะโหลกศีรษะ (Transcranial Direct Current Stimulation : TDCS) โดยใช้เครื่องมือที่ส่งกระแสไฟฟ้าอย่างอ่อนประมาณ
1-2 mA ผ่านอิเล็กโทรดไปยังกะโหลกศีรษะ ใช้เวลากระตุน้ ประมาณ 10-30 นาที ต่อครัง้ สัปดาห์ละ 2-3 ครัง้ ทาให้วงจร
ประสาททางานได้ปกติ และมีการหลั่งสารสื่อประสาทออกมาได้

แต่ปัจจุบนั เครื่องกระตุน้ สมองมีขนาดที่ใหญ่เทอะทะ ผมจึงมีแนวคิดว่า จะทาเครื่องกระตุน้ สมองเป็ นแบบ macro


chip เพื่อที่จะทาให้เครื่องกระตุน
้ สมองสามารถติดอยู่กับผูป้ ่ วยได้ตลอดเวลา อีกทัง้ จะทาการออกแบบให้ TDCS แบบ macro
chip ให้สามารถtrackingการทางานของวงจรประสาทในผูป ้ ่ วย และป้อนช่วงเวลาที่จะทาการกระตุน้ วงจรประสาทได้ โดย
แพทย์สามารถ monitoring อาการของผูป้ ่ วยได้จากทางไกลโดยที่ผปู้ ่ วยไม่จาเป็ นต้องเดินทางไปพบแพทย์ ผมจึงมองว่ามัน
จะก่อให้เกิดประโยชน์ในการรักษาอย่างมากเช่ น ญาติของผูป้ ่ วยจะได้ลดภาระในการเคลื่อนย้ายผูป้ ่ วย ในส่วนของแพทย์ก็ได้
ลดระยะเวลาในการท างานในการซัก ถามอาการของผู้ป่ วย และสามารถติ ด ตามอาการของผู้ป่ วยได้แ บบ real-time
monitoring
Develop

Old version of TDCS New version of TDCS


old version old version ฝัง TDCS แบบ macro chip ไว้ ณ
ผิวหนังบริเวรกะโหลกศีรษะ

แพทย์ Analyze อาการ และป้อนช่วงเวลาการกระตุน้ การทางาน


ของวงจรประสาทของผูป้ ่ วยกลับไปยัง TDCS แบบ macro chip

You might also like