You are on page 1of 9

การวิเคราะห์บทภาพยนตร์: สุนทรียภาพในการสร้างสรรค์

อุตสาหกรรมภาพยนตร์
Film Script Analysis: The Aesthetic for Film Industry Production

ภัทรนันท์ ไวทยะสิน
Pattaranun Waitayasin

บทคัดย่อ งานภาพยนตร์จ�ำเป็นต้องน�ำไปใช้ คือ องค์ประกอบ หรือ


บทภาพยนตร์เปรียบเสมือนแบบแปลนส�ำหรับการสร้าง โครงสร้างของบทภาพยนตร์ โดยเริม่ มาจากทฤษฎี แนวคิด
บ้าน ซึง่ เป็นหัวใจส�ำคัญของการสร้างสรรค์ภาพยนตร์ การ ของ อริสโตเติล ซึง่ เป็นรากฐานมาจากละครตัง้ แต่สมัยกรีก
วิเคราะห์บทภาพยนตร์เป็นขัน้ ตอนแรกหลังจากทีผ่ เู้ ขียนบท ตลอดจนการเกิดพัฒนาแนวทางการวิเคราะห์บทภาพยนตร์ใน
ภาพยนตร์ได้ทำ� งานเสร็จสิน้ ซึง่ ทุกหน้าทีใ่ นการสร้างสรรค์ รูปแบบต่างๆ โดยยึดตามหลักการรูปแบบ หรือ องค์ประกอบ
ผลงานภาพยนตร์จ�ำเป็นที่จะต้องศึกษา วิเคราะห์ ตีความ ของบทภาพยนตร์เป็นส�ำคัญ ทีส่ อดคล้องกับองค์ประกอบ 6
บทภาพยนตร์อย่างละเอียดและลึกซึง้ ความส�ำคัญของการ ประการของอริสโตเติล เพือ่ ท�ำให้การวิเคราะห์บทภาพยนตร์
วิเคราะห์บทภาพยนตร์ส�ำหรับทีมงานแต่ละฝ่ายนั้น มีมิติ เกิดสุนทรียภาพมากที่สุด น�ำไปสู่การสร้างสรรค์ผลงาน
มุมมอง ในการเน้นย�ำ้ ทีแ่ ตกต่างกันออกไปตามองค์ประกอบ ภาพยนตร์ในระบบอุตสาหกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ของบทภาพยนตร์ กล่าวคือ นักแสดง ผู้ฝึกสอนการแสดง ซึ่งเป็นการผสมผสานแนวทางการสร้างสรรค์ภาพยนตร์
ให้ความส�ำคัญกับการวิเคราะห์ลกั ษณะของตัวละครและการ ทั้งในเชิงศิลปะกับเชิงธุรกิจได้อย่างสมดุล
สร้างตัวละคร นักออกแบบ หรือ ผู้ก�ำกับศิลป์ ให้ความ ค�ำส�ำคัญ : การวิเคราะห์บทภาพยนตร์ / สุนทรียภาพ /
ส�ำคัญกับเวลา และ สถานที่ ทีก่ ำ� หนดไว้อยูใ่ นบทภาพยนตร์ อุตสาหกรรมภาพยนตร์ / การแสดงและก�ำกับการแสดง /
ตลอดจนการวิเคราะห์รายละเอียดต่างๆทีบ่ ทก�ำหนดมาให้ การออกแบบองค์ประกอบศิลป์ / การสร้างสรรค์ภาพยนตร์
ผู้ก�ำกับภาพ ให้ความส�ำคัญกับการตีความหมายจากบท
ภาพยนตร์ น�ำไปสู่การสื่อสารผ่านภาพ และเทคนิคต่างๆ Abstract
ของการถ่ายท�ำ รวมทั้งการผสมผสานการท�ำงานระหว่าง Like a house plan, a film script is regarded as
ศิลปะและอุตสาหกรรมที่ต้องสอดคล้องกันระหว่างราย an essential part of film production and the film
ละเอียดจากบทภาพยนตร์กบั งบประมาณ ซึง่ เป็นหน้าทีห่ ลัก script analysis is considered the most important step
ของผู้อ�ำนวยการสร้าง นอกจากนี้ผู้ก�ำกับภาพยนตร์ ต้อง that a film maker has to immediately conduct after
วิเคราะห์บทภาพยนตร์ให้ครบทุกมิติ ตีความและต่อยอด completing the film production processes. More than
จากรายละเอียดทีผ่ เู้ ขียนบทภาพยนตร์ได้อย่างละเอียดและ that, the study, interpretation, and analysis of film
ลึกซึง้ รวมทัง้ ผูก้ ำ� กับภาพยนตร์จะต้องสามารถสือ่ สารราย script should be deliberately and thoroughly conducted
ละเอียดความต้องการต่างๆกับทีมงานฝ่ายต่างๆได้อย่างมี by all crew members of the production team to
ประสิทธิภาพ โดยเฉพาะในด้านการก�ำกับการแสดง องค์ create a high-quality film. The film script analysis for
ความรู้ด้านการวิเคราะห์บทภาพยนตร์ส�ำหรับทุกฝ่ายใน each crew member, however, has different significant

อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

268 / วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม
meanings in term of various perspectives and aspects บทนำ�
depending on its compositions. In other words, an ภาพยนตร์ 1 เรือ่ งประกอบไปด้วยคุณลักษณะเฉพาะ
actor and an acting coach will put an emphasis on และมีความส�ำคัญในหลากหลายมิติ ตั้งแต่การรับชม
the analysis of characters, while an art director will เพื่อความบันเทิง ผ่อนคลาย ให้ข้อคิด คติสอนใจที่ได้รับ
focus more on the analysis of settings including the จากการชมภาพยนตร์ สุนทรียศาสตร์ในองค์ประกอบ
time and geographic location that are indicated in ต่าง ๆ ของงานภาพยนตร์ ตลอดจนการใช้สื่อภาพยนตร์
the film script. The director of photography will make เป็นเครื่องมือในการเปลี่ยนแปลงสังคมและโน้มน้าวใจใน
the film script analysis and interpretation in order สถานการณ์ตา่ ง ๆ ผลงานภาพยนตร์ทดี่ เี ริม่ ต้นมาจากบท
to create a significant meaning of communication ภาพยนตร์ทดี่ ี ซึง่ บทภาพยนตร์ถอื เป็นหัวใจส�ำคัญของการ
through scenes or images as well as arts and techniques ผลิตภาพยนตร์ ถ้าหากเปรียบการสร้างภาพยนตร์เหมือน
of film shooting. Also, a film producer has to take การสร้างบ้าน บทภาพยนตร์กเ็ ปรียบได้กบั แบบแปลนของ
the main responsibility for combining arts and film บ้านนัน่ เอง ความส�ำคัญของบทภาพยนตร์คอื ท�ำให้ทมี งาน
industry production together and this integration ฝ่ายต่าง ๆ มองเห็นภาพรวมของภาพยนตร์ตรงกัน และรูว้ า่
should be in accordance with the detailed information ควรจะด�ำเนินงานไปในทิศทางใด ส�ำหรับการเขียนบท
in the film script and the budget of the film production. มีหลายแบบและไม่มีสูตรส�ำเร็จ ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์
A film director, moreover, has to analyze the film ตลอดจนความคิดสร้างสรรค์ของผู้เขียนบท กระบวนการ
script in every aspects and interpret its meanings แรก หรือ ขัน้ ตอนแรกของการสร้างสรรค์ผลงานภาพยนตร์
so that the film script written by the scriptwriter หลังจากผูเ้ ขียนบทได้เขียนบทภาพยนตร์เสร็จสิน้ คือ การ
will be further developed comprehensively and วิเคราะห์บทภาพยนตร์ หรือ Film Script Analysis ซึ่ง
purposefully. Additionally, the film director has to ไม่ได้จ�ำกัดอยู่แค่เพียงผู้ก�ำกับภาพยนตร์เท่านั้น แต่ทุก ๆ
effectively and accurately communicate with all ฝ่ายในต�ำแหน่งของงานภาพยนตร์จำ� เป็นต้องวิเคราะห์บท
production team members in term of the needs of ภาพยนตร์เพื่อน�ำไปสู่กระบวนการท�ำงานในขั้นตอนต่อ ๆ
each team, especially with the acting and directing ไป ตลอดจนการสร้างสุนทรียภาพในผลงานภาพยนตร์ทตี่ อ่
team. The knowledge of film script analysis being ยอดจากการเขียนบทภาพยนตร์ รวมทัง้ การบริหารจัดการ
essential for every team is the components or plots ในด้านต่าง ๆ ของการสร้างสรรค์ผลงานภาพยนตร์ในแง่
of the film which is originated from the philosophical มุมของอุตสาหกรรมสือ่ ดังนัน้ การวิเคราะห์บทภาพยนตร์
theory of Aristotle being rooted from the theater in จึงมีความส�ำคัญในการศึกษา เรียนรู้และสร้างความเข้าใจ
ancient Greek. Besides Aristotle’s theory, the film อย่างถูกต้องของผู้สร้างสรรค์งานภาพยนตร์
script analysis is also developed from other critical
analysis guidelines and the notion of formalist or ความสำ�คัญของการวิเคราะห์บทภาพยนตร์
the components of film script that are consistent ส�ำหรับการวิเคราะห์บทภาพยนตร์เป็นขัน้ ตอนทีท่ กุ ๆ
with the six principles stated by Aristotle. All in all, ฝ่ายในต�ำแหน่งของงานภาพยนตร์จำ� เป็นต้องด�ำเนินการไม่
the film script analysis should be done so that the ว่าจะเป็น ผู้ก�ำกับภาพยนตร์ ผู้อ�ำนวยการสร้าง นักแสดง
aesthetic for film industry production can be achieved ผู้ฝึกสอนการแสดง ผู้ออกแบบการสร้าง ผู้ก�ำกับศิลป์
and the arts and business of film production can be ผูก้ ำ� กับภาพ ผูต้ ดั ต่อภาพยนตร์-ล�ำดับภาพ หรือต�ำแหน่งอืน่ ๆ
successfully and meticulously integrated. ซึ่งสามารถจ�ำแนกได้ออกเป็น 3 ส่วน คือ การแสดงและ
Keyword : Film Script / The Aesthetic / Film ก�ำกับการแสดง การออกแบบงานองค์ประกอบศิลป์ และ
Industry / Acting and Directing / Production Design การผลิต-การถ่ายท�ำภาพยนตร์ ซึง่ ในแต่ละส่วนจะมีมมุ มอง
/ Film Production และจุดเน้นที่แตกต่างกันออกไป ดังต่อไปนี้
1. การแสดงและการก�ำกับการแสดง ซึ่งในส่วนนี้
จะเกี่ยวข้องกับ ผู้ก�ำกับภาพยนตร์ นักแสดง ผู้ฝึกสอน

ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (12) ก.ค. - ธ.ค. 61 / 269


การแสดงเป็นส�ำคัญ ซึ่งจะเน้นรายละเอียดการวิเคราะห์ ส่วนของการออกแบบองค์ประกอบศิลป์ เริ่มต้นที่ เวลา
บทภาพยนตร์ในด้านลักษณะของตัวละคร หรือ Character (Time) และ สถานที่ (Place) ทีบ่ ทภาพยนตร์ได้กำ� หนดไว้
การสร้างตัวละคร ความสัมพันธ์ของตัวละคร และการ เนื่องจากทั้ง 2 ประเด็นนี้ จะมีความส�ำคัญในการค้นหา
กระท�ำของตัวละคร โดยเริม่ จากการวิเคราะห์ตวั ละครจาก ข้อมูลทางด้านการออกแบบในทุก ๆ ด้าน ไม่วา่ จะเป็น ฉาก
บทภาพยนตร์ตามทีข่ อ้ มูลและรายละเอียดทีบ่ ทภาพยนตร์ อุปกรณ์ประกอบฉาก เครือ่ งแต่งกาย การแต่งหน้าและทรงผม
ก�ำหนดมา วิเคราะห์และเชือ่ มโยงความสัมพันธ์ตา่ ง ๆ จาก รวมทั้งการวิเคราะห์บทภาพยนตร์ตามรายละเอียดที่บท
การเล่าเรื่อง หาเหตุ-ผลเพื่อสนับสนุนการกระท�ำตัวละคร ภาพยนตร์กำ� หนดมาให้ หรือเรียกว่า Given Circumstances
โดยที่ในด้านการก�ำกับการแสดง หรือ ผู้ก�ำกับภาพยนตร์ ซึง่ จะสอดแทรกอยูใ่ นส่วนต่าง ๆ ของบทภาพยนตร์ ทัง้ บท
จะสามารถมองภาพรวมของเรือ่ งได้ น�ำไปสูก่ ารสือ่ สารความ พูดของตัวละคร หรือ Dialogue และ บทบรรยายต่าง ๆ ใน
ต้องการให้นกั แสดงสวมบทบาทเป็นไปตามทีบ่ ทภาพยนตร์ บทภาพยนตร์ นอกจากนี้รายละเอียดล�ำดับต่อไปที่จ�ำเป็น
ได้กำ� หนดไว้ ตลอดจนตามทีผ่ กู้ ำ� กับภาพยนตร์ได้วเิ คราะห์- ในการวิเคราะห์บทภาพยนตร์ คือ การวิเคราะห์ตัวละคร
ตีความบทภาพยนตร์เอาไว้ นักแสดงสามารถเข้าใจและเข้าถึง เนือ่ งจากภาพยนตร์คอื การจ�ำลองบางส่วนหรือบางเสีย้ วของ
ตัวละครได้เป็นอย่างดีผา่ นการวิเคราะห์ตวั ละครตามบริบท ชีวิตจริงของมนุษย์ ความสมจริงของภาพยนตร์จะเกิดขึ้น
ต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในภาพยนตร์ รวมทัง้ การท�ำงานของผูฝ้ กึ สอน ได้สว่ นหนึง่ มาจากการสร้างบรรยากาศ สภาพแวดล้อมของ
การแสดงเริ่มจากการอ่าน-วิเคราะห์บทภาพยนตร์ก่อนที่ ภาพยนตร์ที่สอดคล้องและเชื่อมโยงกับลักษณะ-อุปนิสัย-
จะพูดคุยกับผูก้ ำ� กับภาพยนตร์เพือ่ ปรับแนวทางการท�ำงาน รสนิยมและภูมหิ ลังของตัวละคร หากในส่วนการออกแบบ
ให้สัมพันธ์ซึ่งกันและกัน นอกจากนี้ผู้คัดเลือกนักแสดง องค์ประกอบศิลป์ขาดการวิเคราะห์บทภาพยนตร์ที่ลึกซึ้ง
กับการวิเคราะห์บทภาพยนตร์กม็ คี วามส�ำคัญเช่นเดียวกัน แล้วนั้น อาจจะน�ำไปสู่ความไม่สมจริงขององค์ประกอบ
หากไม่เข้าใจลักษณะของตัวละครทีบ่ ทภาพยนตร์ได้กำ� หนด ของภาพยนตร์ ตลอดจนการขาดความสัมพันธ์ซงึ่ กันละกัน
ไว้แล้วนัน้ คงไม่สามารถคัดเลือกนักแสดงได้ตรงตามทีบ่ ท ของการจัดองค์ประกอบภาพ (Mise-en-scene) รวมทั้ง
ภาพยนตร์กำ� หนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากในส่วนงาน ความสมเหตุ สมผลของตัวละครกับงานองค์ประกอบศิลป์
นีข้ าดการวิเคราะห์บทภาพยนตร์ทลี่ กึ ซึง้ แล้วนัน้ รายละเอียด ในด้านต่าง ๆ เช่น ฉาก (สถานที่) การแต่งกาย เป็นต้น
ของการสร้างลักษณะของตัวละครก็จะขาดหายไป ซึ่งเป็น (Jane Barnwell, 2003)
ส่วนส�ำคัญของภาพยนตร์ เนือ่ งจากสิง่ ทีผ่ ชู้ มจะสัมผัสได้จาก 3. การผลิต-การถ่ายท�ำภาพยนตร์ คือการท�ำงานใน
ภาพยนตร์อนั ดับแรก ๆ คือ ตัวละคร กล่าวคือ ตัวละครจะต้อง ส่วนของการสร้างสรรค์เชิงเทคนิคเป็นส�ำคัญ ซึ่งเกี่ยวข้อง
สามารถสร้างความเชือ่ ความน่าติดตาม สือ่ สารความรูส้ กึ - กับการก�ำหนดงบประมาณของผู้อ�ำนวยการสร้าง หรือ
ความคิด และลักษณะของตัวละครในมิติต่าง ๆ ได้อย่าง Producer ผูค้ วบคุมความต่อเนือ่ ง ผูช้ ว่ ยผูก้ ำ� กับภาพยนตร์
สมจริงและลึกซึ้ง (Michael Caine, 1990) ซึง่ เป็นฝ่ายสนับสนุนการถ่ายท�ำ นอกจากนีฝ้ า่ ยทีท่ ำ� งานกับ
2. การออกแบบองค์ประกอบศิลป์ คือ สิ่งที่ปรากฏ ภาพและการถ่ายท�ำ คือ ผู้ก�ำกับภาพ หรือ Director of
เห็นในงานภาพยนตร์ทผี่ า่ นกระบวนการออกแบบและจัดวาง Photography ผูช้ ว่ ยกล้อง รวมทัง้ การท�ำงานของฝ่ายเสียง
อย่างเหมาะสม ประกอบได้ด้วยการออกแบบฉากและ ตลอดจนหน้าที่อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเทคนิค เช่น ผู้ตัดต่อ
อุปกรณ์ประกอบฉาก การออกแบบเครื่องแต่งกาย การ ภาพยนตร์-ล�ำดับภาพ ผูท้ ำ� เทคนิคพิเศษด้วยคอมพิวเตอร์
ออกแบบการแต่งหน้าและทรงผม ตลอดจนการออกแบบแสง (Special Effect) โดยทีก่ ารท�ำงานในส่วนนีจ้ ะเน้นการลงมือ
และการจัดไฟ ซึ่งก่อนที่นักออกแบบ หรือ ผู้ก�ำกับศิลป์ ปฏิบัติ-ผลิตและสร้างสรรค์เป็นผลงานภาพยนตร์ ซึ่งการ
ตลอดจนทีมงานออกแบบในฝ่ายต่าง ๆ จะด�ำเนินงาน วิเคราะห์บทภาพยนตร์เป็นพืน้ ฐานเชิงทฤษฎีกอ่ นน�ำไปปฏิบตั ิ
ออกแบบในรายละเอียดต่าง ๆ ได้นั้น ขั้นตอนแรกในการ จริง หากบุคลากรในฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับการผลิต-การถ่าย
สร้างสรรค์ผลงานภาพยนตร์ คือ การอ่านบทภาพยนตร์ ท�ำภาพยนตร์ เข้าใจองค์ประกอบต่าง ๆ ของบทภาพยนตร์
ตลอดจนการวิเคราะห์บทภาพยนตร์อย่างละเอียดและลึกซึง้ แล้วนัน้ ยิง่ ส่งผลให้การสร้างสรรค์ภาพยนตร์มปี ระสิทธิภาพ
และน�ำไปสู่การน�ำเสนอความคิดของผู้ก�ำกับศิลป์ร่วมกับ มากยิง่ ขึน้ รวมทัง้ การสือ่ สารในการท�ำงานระหว่างต�ำแหน่ง
ผู้ก�ำกับภาพยนตร์เพื่อก�ำหนดทิศทางในการท�ำงานให้เกิด หน้าทีต่ า่ ง ๆ สามารถเกิดประสิทธิผลทีช่ ดั เจนและตรงตาม
“เอกภาพ” มากที่สุด ซึ่งการวิเคราะห์บทภาพยนตร์ใน จุดมุ่งหมายจากบทภาพยนตร์ประกอบกับการตีความของ

270 / วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม
ผูก้ ำ� กับภาพยนตร์ นอกจากนีก้ ารวิเคราะห์บทภาพยนตร์มี 2558: 3) ได้กล่าวว่า ละครประกอบไปด้วย 6 องค์ประกอบ
ความส�ำคัญอย่างยิง่ ของผูก้ ำ� กับภาพ เนือ่ งจากผูก้ ำ� กับภาพจะ โดยทีล่ ะคร คือ รากฐานของงานภาพยนตร์ หากเปรียบเทียบ
ต้องสือ่ สารและน�ำเสนอแนวทางการถ่ายท�ำ การสร้างสรรค์ แล้วองค์ประกอบของงานภาพยนตร์ และองค์ประกอบ
จาก “ตัวหนังสือ” จากบทภาพยนตร์กลายเป็น “ภาพ” ส�ำหรับการวิเคราะห์บทภาพยนตร์นนั้ มีความสัมพันธ์และ
อันประกอบไปด้วย มุมกล้อง ขนาดของภาพ การเคลื่อน สอดคล้องกับองค์ประกอบของละคร คือ
กล้อง และเทคนิคและอุปกรณ์ของกล้องในรูปแบบต่าง ๆ 1. โครงเรื่อง (Plot)
ที่สัมพันธ์กับเทคนิคการเล่าเรื่อง (Narrative Technique) 2. ตัวละคร (Character)
หรือ การก�ำหนดมุมมองของการเล่าเรือ่ งผ่านมุมมองของตัว 3. ความคิด (Thought)
ละคร (Point of View) รวมทัง้ การวิเคราะห์บทภาพยนตร์ 4. ภาษา (Diction)
เกีย่ วข้องกับการก�ำหนดงบประมาณและการบริหารจัดการ 5. เพลง (Song)
ในการผลิตภาพยนตร์ หากผู้อ�ำนวยการสร้าง เข้าใจถึง 6. ภาพ (Spectacle)
ความสมเหตุสมผลของการกระท�ำ (Action) ของตัวละคร โดยที่ อริสโตเติลได้อธิบายต่อว่า องค์ประกอบทัง้ 6 ข้อ
ในเรือ่ ง หรือ การด�ำเนินเรือ่ ง จึงมีสว่ นในการประเมินและ นี้รวมเป็นละครที่สมบูรณ์แล้ว ครอบคลุมทุกอย่างที่มีอยู่
การก�ำหนดงบประมาณ รวมทั้งการคัดสรร การบริหาร ในละคร ไม่มีอะไรไปมากกว่านี้อีกแล้ว ไม่ว่าเราจะพูดถึง
จัดการ การแก้ไขปัญหา ข้อจ�ำกัดต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในการ ละครในด้านใดก็ตาม เราจะสามารถจัดไว้ในองค์ประกอบ
ถ่ายท�ำได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งในส่วนนี้ถือว่าเป็นส่วน ข้อใดข้อหนึง่ ได้เสมอ เช่นเดียวกับ รักศานต์ วิวฒ ั น์สนิ อุดม
ส�ำคัญที่เชื่อมโยงระหว่างการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะกับ (2558: 24-25) ได้กล่าวถึงแนวคิดโครงสร้างการเล่าเรือ่ ง
งานอุตสาหกรรมเข้าไว้ด้วยกัน หากในส่วนงานนี้ขาดการ หรือ โครงเรือ่ งของอริสโตเติล ทีม่ คี วามส�ำคัญและสอดคล้อง
วิเคราะห์บทภาพยนตร์แล้วนั้นจะท�ำให้การสื่อสารด้าน กับภาพยนตร์ กล่าวคือ ส่วนหนึง่ ของงานนิพนธ์ “Poetics”
“ภาพ” ที่ต่อยอดจากบทภาพยนตร์ไม่สามารถน�ำไปสู่การ ของอริสโตเติลคือการพยายามหาเหตุผลว่าท�ำไมตัวละคร
สร้างสุนทรียภาพในงานภาพยนตร์ได้อย่างลึกซึง้ มิตใิ หม่ ๆ เรื่องหนึ่งจึงประสบความส�ำเร็จในขณะที่อีกเรื่องหนึ่งล้ม
ของการสร้างสรรค์ภาพยนตร์ในฐานะอุตสาหกรรม รวม เหลว ความคิดในบางเรื่องที่วางแอ๊คชันส�ำคัญควรเกิดขึ้น
ทัง้ ด้านเทคโนโลยี เทคนิคการถ่ายท�ำ ไม่สามารถเชื่อมต่อ นอกเวทีหรือในเวที แม้ว่าแนวความคิดหลายประการได้
กับศิลปะทีป่ ระกอบสร้างในงานภาพยนตร์ได้อย่างสมบูรณ์ ล้าสมัยไปแล้วก็ตาม แต่ยังมีอีกหลายแนวความคิดยังคง
แบบ (David Bordwell and Kristin Thompson, 2013) มีคณ ุ ค่าหลงเหลืออยู่ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ความเชือ่ ว่าละคร
เริม่ ต้นเมือ่ ปัญหาความยุง่ ยากเกิดขึน้ และจบลงเมือ่ ปัญหา
องค์ประกอบของการวิเคราะห์บทภาพยนตร์ ทุกอย่างยุติ ซึง่ ความเชือ่ ของอริสโตเติลอาจจะดูงา่ ยธรรมดา
การวิเคราะห์บทภาพยนตร์ คือ วิธกี าร หรือ ขัน้ ตอน แต่กเ็ ป็นพืน้ ฐานของงานละครทุกประเภทตัง้ แต่อดีตจนถึง
หนึ่งในช่วงการเตรียมการถ่ายท�ำ (Pre-production) ใน ปัจจุบัน ซึ่งโครงสร้างการเล่าเรื่อง หรือ โครงเรื่องของ
งานภาพยนตร์ ซึ่งวิธีการวิเคราะห์บทภาพยนตร์ไม่ได้มี อริสโตเติล จะค่อยเริ่มความตึงเครียด หรือ ความขัดแย้ง
หลักการหรือกระบวนการทีต่ ายตัว สามารถปรับเหมาะให้ มากขึน้ เรือ่ ย ๆ จนถึงจุดสูงสุดของเรือ่ ง (Climax) ซึง่ ถือว่า
เข้ากับการท�ำงานแต่ละบุคคลได้ หากได้มแี นวทางทีป่ ฏิบตั ิ เป็นจุดส�ำคัญสูงสุดของเหตุการณ์ในเรือ่ ง คือ ความขัดแย้ง
โดยทั่วไป เพื่อเป็นแนวทางในการวิเคราะห์บทภาพยนตร์ สูงสุดในภาพยนตร์ เป็นความขัดแย้งทีใ่ ส่เข้ามาในภาพยนตร์
ที่ครอบคลุมและมีประสิทธิภาพ แนวทางการวิเคราะห์ เป็นครัง้ สุดท้าย ตัวละครจะต้องพยายามฝ่าฝันและเอาชนะ
บทภาพยนตร์แบบเน้นรูปแบบ หรือ องค์ประกอบของบท ต้องเดิมพันชีวติ กับความขัดแย้งนี้ ต้องตัดสินใจครัง้ ส�ำคัญ
ภาพยนตร์เป็นส�ำคัญ (Formalist Analysis) ซึ่งเป็นการ หรือทุ่มเทพลังกายพลังใจอย่างยิ่งยวด เป็นจุดที่จะก่อให้
แบ่งแยกองค์ประกอบของงานภาพยนตร์ออกเป็นหมวดหมู่ เกิดความตึงเครียดทีส่ ดุ ในภาพยนตร์ แล้วการด�ำเนินเรือ่ ง
และเป็นระบบ น�ำไปสู่การเข้าใจและความสัมพันธ์ต่างๆที่ ก็จะออกจากจุดนี้อย่างรวดเร็วที่สุดเท่าที่จะท�ำได้ เรียกว่า
อยู่ในบทภาพยนตร์ (James Thomas, 2014) “จุดคลี่คลายเรื่อง” หรือ Denouement ซึ่งหลังจากผ่าน
จุดเริ่มต้นของทฤษฎีองค์ประกอบภาพยนตร์ เริ่มต้น จุดวิกฤตของเรื่องมาแล้ว (จุดวิกฤต หรือ Crisis คือ ผล
มาจาก อริสโตเติล นักปราชญ์ชาวกรีก (นพมาส แววหงส์, ที่เกิดจากการตัดสินใจของตัวละครในจุดสูงสุดของเรื่อง)

ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (12) ก.ค. - ธ.ค. 61 / 271


เรื่องราวก็จะด�ำเนินมาถึงบทสรุปของเรื่อง โดยเป็นจุดที่ การเล่าเรือ่ งแบบหลายโครงเรือ่ ง หรือ โครงเรือ่ งแบบ
ทุกสิ่งทุกอย่างจะคลี่คลาย โดยอาจจะจบแบบที่ตัวละคร หลายโครงเรื่อง หมายถึง ในภาพยนตร์หนึ่งเรื่องจะมีตัว
สมหวัง หรือจบแบบผิดหวัง แต่ได้เรียนรูบ้ างสิง่ บางอย่างใน ละครหลักหลายตัว โดยแต่ละตัวจะมีโครงเรื่องเป็นของ
ชีวติ หรืออาจจะจบแบบหักมุม เกิดสิง่ ทีค่ นดูไม่คาดคิดขึน้ ตัวเอง เนือ่ งด้วยมีโครงเรือ่ งจ�ำนวนมากในเรือ่ ง ดังนัน้ ปัญหา
นอกจากนั้น ผู้เขียนบทภาพยนตร์ก็อาจจะเลือกจบแบบที่ หรือความขัดแย้งในแต่ละโครงเรือ่ งอาจจะไม่ซบั ซ้อนมากนัก
ทิ้งค้างไว้ให้คนดูคิดเองก็ได้ (หรือบางโครงเรือ่ งอาจจะมีความซับซ้อน แต่ไม่ใช่ทกุ โครง
เรื่อง) ประเด็นที่จะน�ำมาสร้างเป็นภาพยนตร์ที่เล่าเรื่อง
แบบนีไ้ ด้ มักเป็นประเด็นทีส่ ามารถแตกแยกแยะได้หลาก
หลายแง่มมุ โครงสร้างการเล่าเรือ่ งแบบหลายโครงเรือ่ งนี้ ข้อ
สังเกตส�ำคัญคือ แต่ละโครงเรือ่ งจะมีความซับซ้อนไม่เท่ากัน
และน�้ำหนักในการเร้าอารมณ์ของคนดูก็จะแตกต่างกันไป
บางโครงเรือ่ งก็จะมีความเข้มข้นมาก ขณะทีบ่ างโครงเรือ่ ง
ก็จะด�ำเนินเรื่องภายใต้ความขัดแย้งง่ายๆ

ภาพที่ 1 โครงสร้างการเล่าเรื่อง หรือ โครงเรื่องของอริสโตเติล

นอกจากโครงเรื่องที่มีรากฐานมาจากแนวคิด ทฤษฎี
ของอริสโตเติลแล้วนัน้ เทคนิคการเล่าเรือ่ ง หรือ Narrative
Technique ได้พฒ ั นาขึน้ เรือ่ ยๆเพือ่ ให้การเกิดกลยุทธ์ หรือ
ยุทธวิธใี หม่ ๆ ส�ำหรับการเล่าเรือ่ งในงานภาพยนตร์ซงึ่ กลวิธี
และรูปแบบการเล่าเรื่องแบบอื่นๆ มีตัวอย่างดังต่อไปนี้
การเล่าเรือ่ งแบบคูข่ นาน หรือ โครงเรือ่ งแบบคูข่ นาน
คือ การด�ำเนินเรือ่ งโดยใช้โครงเรือ่ ง 2 เรือ่ งควบคูก่ นั ไป มีตวั
ละคร 2 ชุด ซึง่ แต่ละโครงเรือ่ งจะมีความขัดแย้งของตัวเอง
ความเชื่อมโยงสัมพันธ์ของทั้ง 2 โครงเรื่อง เช่น ตัวละคร ภาพที่ 3 โครงเรื่องแบบหลายโครงเรื่อง
เหตุการณ์ สถานที่ เชื่อมโยงโครงเรื่อง ทั้ง 2 เรื่องไว้
เป็นต้น ซึ่งทั้งสองโครงเรื่องมีความส�ำคัญเท่า ๆ กัน ไม่ จากองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับโครงเรื่องในข้างต้น
สามารถบอกได้ว่าพล็อตไหนเป็นโครงเรื่องหลักหรือโครง สามารถแสดงให้เห็นได้วา่ โครงเรือ่ งจะซับซ้อน หรือ มีเทคนิค
เรื่องรอง ภาพยนตร์มักใช้การตัดต่อแบบตัดสลับ (Cross การเล่าเรือ่ งทีห่ ลากหลายเพียงใด หากวิเคราะห์โครงเรือ่ งๆ
cut) เพื่อเชื่อมต่อโครงเรื่องทั้ง 2 เรื่อง โดยค�ำนึงถึงความ อย่างถีถ่ ว้ นแล้วนัน้ เส้นของโครงเรือ่ งก็จะมีลกั ษณะแบบเดียว
เชื่อมต่อทางความรู้สึกและอารมณ์เป็นส�ำคัญ กับโครงเรือ่ งของอริสโตเติล ซึง่ ถือว่าเป็นรากฐานของโครง
เรือ่ งในงานภาพยนตร์ เช่นเดียวกันกับส�ำหรับการวิเคราะห์
บทภาพยนตร์ เมื่อต้องการวิเคราะห์ในองค์ประกอบของ
Plot1 โครงเรื่อง ควรวิเคราะห์ให้เห็นถึงเส้นของโครงเรื่องทีละ
Plot2
เส้นตามลักษณะโครงเรื่องของอริสโตเติล ถึงแม้ว่าใน
ภาพยนตร์บางเรือ่ งจะมีโครงเรือ่ งทีซ่ บั ซ้อน หรือ สลับไปมา
จนบางครั้งผู้สร้างสรรค์ผลงานภาพยนตร์อาจจะสับสนได้
แต่ในฐานะผูส้ ร้างสรรค์ผลงานจะต้องเข้าใจ วิเคราะห์ ตีความ
บทภาพยนตร์ได้อย่างละเอียด ลึกซึ้งและถ่องแท้
องค์ประกอบภาพยนตร์ ตัวละคร หรือ Character
ภาพที่ 2 โครงเรื่องแบบคู่ขนาน เป็นองค์ประกอบที่มีความส�ำคัญมากในการสร้างสรรค์

272 / วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม
งานภาพยนตร์ เนื่องจากตัวละคร คือ ผู้ขับเคลื่อน หรือ รู้สึกนึกคิด ความต้องการภายในจิตใจ ซึ่งบุคคลทั่วไปไม่
ด�ำเนินเรื่อง น�ำไปสู่การสื่อสารความคิด ความรู้สึก ไปยัง สามารถเห็นได้จากรูปลักษณ์ภายนอกของร่างกาย ซึง่ มีผล
ผู้ชมได้โดยตรง ตลอดจนการวิเคราะห์ตัวละครเป็นสิ่งที่ ต่อการกระท�ำของตัวละครเป็นอย่างยิง่ 3. การวิเคราะห์ภมู ิ
ส�ำคัญมากๆในต�ำแหน่งหน้าที่ต่างๆในงานภาพยนตร์เป็น หลังของตัวละคร คือ เหตุการณ์หรือเรื่องราวของตัวละคร
วงกว้าง ตั้งแต่ ผู้ก�ำกับภาพยนตร์ นักแสดง ผู้ก�ำกับศิลป์ ทีเ่ กิดขึน้ ก่อนทีเ่ ริม่ เรือ่ งในบทภาพยนตร์ ซึง่ ส่งผลให้กบั ตัว
และ ผู้ก�ำกับภาพ ซึ่งต้องอาศัยการวิเคราะห์ตัวละครและ ละครในการด�ำเนินเรื่อง หรือ เหตุการณ์ที่ส่งผลต่อการ
การสร้างตัวละครให้มชี วี ติ อย่างสมจริง เกิดเป็นภาพทีช่ ดั เจน กระท�ำของตัวละคร ตลอดจนเรือ่ งราวทีเ่ กิดขึน้ จนกลายเป็น
ไม่ว่าจะเป็นลักษณะทางกายภาพ เช่น เพศ วัย รูปร่าง ปม ปัญหาของตัวละครที่ท�ำให้เกิดเรื่องในบทภาพยนตร์
หน้าตา บุคลิกภาพ เป็นต้น ลักษณะภายใน เช่น นิสัย นอกจากการวิเคราะห์ตัวละครทั้ง 3 ส่วนส�ำคัญที่กล่าวใน
ใจคอ มุมมอง ทัศนคติ ภูมิหลัง ปมในใจ เป็นต้น รวมถึง ข้างต้นแล้วนั้น ยังมีรายละเอียดที่จ�ำเป็นต่อการวิเคราะห์
ลักษณะทางสังคม เช่น การศึกษา สถานภาพทางสังคม ตัวละคร คือ การวิเคราะห์ตัวละครที่เกี่ยวข้องกับบริบท
เชื้อชาติ สัญชาติ ความสัมพันธ์กับคนรอบข้าง วิถีชีวิต ทางสังคม สิ่งต่างๆจากองค์ประกอบทางสังคมที่มีผลต่อ
เป็นต้น ไม่ว่าจะเป็นตัวละครหลัก หรือ ตัวละครรอง ๆ ตัวละคร ประกอบสร้างท�ำให้ตัวละครนั้นมีลักษณะนิสัย
ซึง่ อาจปรากฏเข้ามาในเรือ่ งเพือ่ เป็นตัวร้ายคอยขัดขวางตัว ความคิด หรือตลอดจนอุปสรรค ปัญหาต่างๆ ที่ตัวละคร
ละครหลัก (ณัฐพล ปัญญโสภณ, 2552) จะต้องเผชิญ เช่น ชนชัน้ ฐานะทางสังคม ระดับการศึกษา
ความต้องการของตัวละคร (Objective) คือ เป้าหมาย เชือ้ ชาติ ชนชาติ ศาสนา ความเชือ่ การเมือง-การปกครอง
หรือสิ่งที่ตัวละครต้องการเอาชนะ อยากได้ ต้องการได้มา เป็นต้น รวมทัง้ สิง่ ทีส่ ำ� คัญมากทีส่ ดุ ในการวิเคราะห์ตวั ละคร
ซึ่งจะถูกน�ำเสนอไว้ในเรื่อง โดยผู้เขียนบทควรท�ำให้ผู้ชม คือ การวิเคราะห์ ตีความ และค้นหา ความต้องการสูงสุด
เห็นถึงเหตุผลที่น�ำมาสู่ความต้องการดังกล่าว เพื่อให้ผู้ชม ของตัวละคร (Super Objective) กล่าวคือ ในภาพยนตร์
เข้าใจความคิดและความรู้สึกของตัวละคร และอยากจะ 1 เรื่อง ตัวละครแต่ละตัว จะมีความต้องการของตัวละคร
เอาใจช่วยให้ตัวละครฝ่าฝันไปถึงความต้องการนั้น ส่วน จ�ำนวนมาก ขึน้ อยูก่ บั เหตุการณ์และความขัดแย้งของเรือ่ ง
การกระท�ำของตัวละคร (Action) ก็คือความพยายาม ที่จะเข้ามาเป็นอุปสรรคของตัวละคร หากแต่ตัวละครนั้น
ของตัวละครที่จะไปสู่เป้าหมายที่ตนเองต้องการ หลังจาก จ�ำเป็นต้องมีความต้องการสูงสุดเพียงหนึง่ เดียว เพือ่ แสดง
ที่ภาพยนตร์ใส่ความต้องการของตัวละครเข้าไปในเรื่อง ถึงเป้าหมายของตัวละครทีจ่ ะก้าวผ่านอุปสรรค ปม ปัญหา
แล้ว ก็ต้องก�ำหนดให้ตัวละครลุกขึ้นมาท�ำสิ่งต่างๆนี้ แต่ น�ำไปสู่ความส�ำเร็จ ความสุข ความสมหวังของตัวละคร
การกระท�ำทั้งหลายต้องสัมพันธ์กับลักษณะของตัวละคร โดยทีก่ ารวิเคราะห์ความต้องการสูงสุดของตัวละคร สามารถ
ทีไ่ ด้วางหรือปูไว้ในเรือ่ ง การกระท�ำทีเ่ กิดขึน้ นีเ้ องจะน�ำพา ช่วยให้การแสดงและการก�ำกับการแสดงมีแนวทางที่
ตัวละครไปสู่สิ่งที่เรียกว่า ความขัดแย้ง (Conflict) ซึ่งใน ชัดเจนมากยิ่งขึ้น ตลอดจนน�ำไปสู่การออกแบบและการ
การเล่าเรือ่ งทีด่ ี ตัวละครไม่ควรทีจ่ ะได้ไปถึงความต้องการ สร้างลักษณะของตัวละครในด้านของการออกแบบเพือ่ งาน
ของตัวเองโดยง่ายดาย แต่ตอ้ งมีอปุ สรรคหรือความขัดแย้ง ภาพยนตร์ ทั้งในด้านของเสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย เครื่อง
ในชีวติ เกิดขึน้ ความขัดแย้งเหล่านีจ้ ะท�ำให้ตวั ละครต้องใช้ ประดับ การแต่งหน้าและทรงผม รวมทัง้ การออกแบบฉาก
ความพยายามมากขึน้ ไปอีกเพือ่ เดินไปสูเ่ ป้าหมายทีต่ อ้ งการ การตกแต่ง การจัดวางสถานที่ และอุปกรณ์ประกอบฉาก
(David Corbett, 2013: 51-53) ต่าง ๆ ทีเ่ ข้ากับรายละเอียดของตัวละครทีว่ เิ คราะห์ ตีความ
ส�ำหรับการวิเคราะห์ตัวละครสามารถเลือกใช้ทฤษฎี ได้จากบทภาพยนตร์
หรือ รูปแบบทีห่ ลากหลาย แต่ใจความส�ำคัญของประกอบ นอกจากนี้ บรรจง โกศัลวัฒน์ (2529: 100-101)
ไปด้วย 3 ส่วนหลัก ๆ กล่าวคือ 1. การวิเคราะห์ตัวละคร ได้อธิบายถึง ความสัมพันธ์ของการเคลื่อนกล้องถ่ายท�ำ
ภายนอก คือ การวิเคราะห์ ตีความหมายของตัวละครที่ ภาพยนตร์กบั การเคลือ่ นไหวของนักแสดง หรือ การกระท�ำ
สามารถปรากฏเห็นโดยประจักษ์ทบี่ คุ คลทัว่ ไปสามารถมอง ของตัวละคร (Action) สามารถเกิดขึ้นได้ตั้งแต่การตั้ง
เห็นด้วยตา ท่าทาง ลักษณะบุคลิกภาพภายนอก รูปร่าง กล้องถ่ายนิง่ อยูก่ บั ที่ ถึงแม้วา่ ในภาพยนตร์สว่ นใหญ่ถกู ถ่าย
หน้าตา เป็นต้น 2. การวิเคราะห์ตัวละครภายใน คือ การ ขึ้นในลักษณะนี้ก็ตาม แต่กล้องถ่ายภาพยนตร์ยังสามารถ
วิเคราะห์ ตีความหมายของตัวละครที่เกี่ยวข้องกับความ เคลื่อนไหวไปได้พร้อม ๆ กับนักแสดง และมีอิสระในการ

ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (12) ก.ค. - ธ.ค. 61 / 273


โยกย้ายต�ำแหน่ง อันเป็นคุณสมบัตพิ เิ ศษอย่างหนึง่ ของสือ่ จะเป็นผู้น�ำเสนอความคิดเห็นที่แตกต่างไปจากที่ผู้ก�ำกับ
ภาพยนตร์ที่แตกต่างจากการแสดงชนิดอื่น ๆ เช่น ละคร ภาพยนตร์น�ำเสนอ ซึ่งนับว่าเป็นการระดมสมอง แลก
เวที ซึง่ แสดงให้เห็นว่าต�ำแหน่งหน้าทีอ่ นื่ ๆ ทีไ่ ม่ได้เกีย่ วข้อง เปลี่ยนความคิดเห็น และสรุปแนวทางการท�ำงานโดยการ
กับการแสดงโดยตรง จ�ำเป็นที่จะต้องให้ความส�ำคัญกับ ก�ำหนด แก่นความคิดหลักของภาพยนตร์อนั เป็นแกนหลัก
การกระท�ำของตัวละคร เพราะสามารถน�ำไปต่อยอดในการ เชื่อมโยงองค์ประกอบต่าง ๆ ในงานภาพยนตร์จนกลาย
ออกแบบ ก�ำหนดทิศทางการเคลือ่ นไหวของกล้อง ตลอดจน เป็นเอกภาพ ตลอดจนน�ำไปสู่แนวทางและกระบวนการ
เทคนิคการถ่ายท�ำในภาพต่าง ๆ ที่สนับสนุนเรื่องราวใน ต่อไปในการสร้างสรรค์ภาพยนตร์
ภาพยนตร์ได้อย่างกลมกลืนและสมบูรณ์แบบ ดังนัน้ การอ่าน องค์ประกอบของภาพยนตร์ในหัวข้อต่อไปทีเ่ กีย่ วข้อง
บทภาพยนตร์อย่างละเอียด การวิเคราะห์ตัวละคร จึงเป็น และสามารถเชือ่ มโยงจากแนวคิดของอริสโตเติล คือ ภาษา
สิง่ ทีส่ ำ� คัญต่อผูก้ ำ� กับภาพ ตากล้อง ผูช้ ว่ ยตากล้อง ผูต้ ดั ต่อ ซึง่ ภาษาจะเกีย่ วเนือ่ งกับวรรณศิลป์ หรือ สุนทรียภาพทาง
ภาพยนตร์-ล�ำดับภาพ เป็นต้น ภาษา ตลอดจนเทคนิคการเล่าเรือ่ ง โดยที่เกี่ยวข้องกับบท
องค์ประกอบของภาพยนตร์ เรือ่ ง ความคิด (Thought) ภาพยนตร์โดยตรง ต�ำแหน่งหน้าทีต่ า่ ง ๆ ในงานภาพยนตร์
หรือ แก่นความคิดหลัก (Theme) คือ สิง่ ทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ หรือ จ�ำเป็นทีจ่ ะต้องสรรค์สร้างผลงานภาพยนตร์จากตัวหนังสือ
ความหมายทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ทีห่ นังต้องการจะบอกแก่คนดู โดยมัก ภาษา และ ความหมายที่แฝงเอาไว้ในบทภาพยนตร์ ผ่าน
จะเป็นข้อคิดบางอย่างซึง่ คนดูจะได้รบั จากการชมภาพยนตร์ การวิเคราะห์และตีความบทภาพยนตร์ในมิตมิ มุ มองต่าง ๆ ที่
แก่นเรือ่ งเป็นตัวยึดเรือ่ งราวทัง้ หมดของภาพยนตร์ไว้ดว้ ยกัน ประกอบสร้างอยู่ ซึง่ สามารถแยกออกเป็นองค์ประกอบต่าง ๆ
ส่วนใหญ่มกั เกีย่ วข้องกับมนุษย์ สังคม สภาพแวดล้อม เช่น ในบทภาพยนตร์ ตัง้ แต่โครงเรือ่ ง ลักษณะของตัวละคร แก่น
ความรัก ความพลัดพราก ความอาฆาตพยาบาท ความ ความคิดหลัก เสียง ภาพ แสง ตลอดจน เทคนิคต่าง ๆ
เอื้ออาทร ความเสียสละ ความอดทน ความฝัน ความ ในงานภาพยนตร์
พยายาม ฯลฯ แก่นความคิดหลักจะต้องถูกเขียนออกมา ล�ำดับต่อไปขององค์ประกอบของภาพยนตร์ คือ เสียง
เป็นประโยคที่สมบูรณ์ เช่น ความรักสามารถชนะทุกสิ่ง หรือ เพลง ทีอ่ ริสโตเติลได้กำ� หนดเอาไว้ สามารถแบ่งออก
ความพยายามอยูท่ ไี่ หนความส�ำเร็จอยูท่ นี่ นั่ ความฝันท�ำให้ เป็น 3 ประเภทหลัก ๆ ที่สามารถน�ำมาใช้ในการวิเคราะห์
ชีวิตมีความหมาย การให้อภัยคือการให้ที่สูงสุด ความสุข บทภาพยนตร์ กล่าวคือ 1. เสียงสนทนา (Dialogue) เป็น
อยู่ที่ใจ เป็นต้น (รักศานต์ วิวัฒน์สินอุดม, 2546) เช่น เสียงทีไ่ ด้ยนิ พร้อมกับการเห็นริมฝีปากขยับ ซึง่ เป็นวิธกี าร
เดียวกับ นิวัฒน์ ศรีสัมมาชีพ (2551: 102) ได้อธิบายถึง สื่อสารที่มนุษย์ใช้ในชีวิตประจ�ำวันอยู่แล้ว เสียงสนทนา
แก่นความคิดหลัก คือ แก่นแท้ ประเด็นหลัก หรือใจความ นี้นอกจากจะใช้บอกเหตุการณ์และสื่อถึงอารมณ์ของตัว
ส�ำคัญของที่ภาพยนตร์ต้องการถ่ายทอดไปสู่ผู้ชมนั่นเอง ละครแล้ว ก็ยงั สามารถสะท้อนให้เห็นถึงบุคลิก นิสยั ใจคอ
“สาร” ที่ภาพยนตร์ต้องการถ่ายทอดออกไปให้ผู้ชมรับรู้ ทัศนคติ ปูมหลัง และลักษณะด้านอื่น ๆ ของตัวละครได้
คือเรือ่ งราวทีแ่ ฝง “สาระส�ำคัญ” ของผูเ้ ขียนบทภาพยนตร์ ด้วย 2. เสียงบรรยาย (Voice Over / VO) เช่น เสียง
ที่ต้องการถ่ายทอดออกไปสู่ผู้ชม ดังนั้น ในแง่ของการ ความคิดของตัวละคร หรือเสียงเล่าเหตุการณ์ เป็นการ
วิเคราะห์บทภาพยนตร์ เมื่อต�ำแหน่งหน้าที่แต่ละฝ่าย ได้ เพิ่มเติมข้อมูล หรือแสดงให้เห็นความสัมพันธ์ของสิ่งที่
อ่านบทภาพยนตร์จบแล้วนั้น ค�ำถามแรกที่เกิดขึ้น คือ สิ่ง ปรากฏบนจอภาพยนตร์กบั สิง่ ทีไ่ ด้นำ� เสนอไปก่อนหน้านัน้
ที่ได้รับจากบทภาพยนตร์คืออะไร มีแก่นความคิดหลักคือ ตลอดจนเป็นการสรุปประเด็นส�ำคัญของข้อเท็จจริงเพื่อ
อะไร เหตุการณ์ การกระท�ำของตัวละคร หรือ การเล่าเรือ่ ง น�ำเสนอต่อผู้ชม 3.เสียงประกอบ (Sound Effects) คือ
ตรงส่วนไหนบ้างที่สามารถน�ำมาสนับสนุนแก่นความคิด เสียงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในภาพยนตร์ ซึ่งมีส่วนเสริมให้คนดู
หลักได้บา้ ง เมือ่ ทีมงานแต่ละคนได้วเิ คราะห์แก่นของเรือ่ ง เชื่อในสิ่งที่เห็นบนจอ และสร้างอารมณ์ให้คนดูคล้อยตาม
เรียบร้อยแล้ว ล�ำดับต่อมา คือ การประชุมทีม ซึง่ เป็นสิง่ ที่ บางครั้งก็ใช้โยงฉากต่าง ๆ ในภาพยนตร์เข้าด้วยกันมี 2
ส�ำคัญมากเพราะการประชุมครัง้ นี้ จะเป็นการน�ำเสนอความคิด ประเภท คือเสียงประกอบตามธรรมชาติ เช่น เสียงรถวิ่ง
มุมมอง ทีไ่ ด้จากการอ่านบทภาพยนตร์เป็นครัง้ แรก โดยที่ เสียงเดิน เสียงฟ้าร้อง และเสียงประกอบที่สร้างขึ้น เช่น
มีผู้ก�ำกับภาพยนตร์เป็นผู้น�ำและก�ำหนดแนวทางของ เสียงฟันดาบ 4. เสียงดนตรีและเสียงเพลง (Music) มัก
การน�ำเสนอแก่นความคิดหลัก โดยที่ทีมงานฝ่ายอื่น ๆ ใช้เป็นเครือ่ งเร้าอารมณ์ กระตุน้ ให้คนดูเกิดความรูส้ กึ ตาม

274 / วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม
ไปกับเรือ่ งราวของภาพยนตร์ สามารถใช้เล่าเรือ่ งราวต่าง ๆ บทภาพยนตร์ เนือ่ งจากการออกแบบงานองค์ประกอบศิลป์
ได้ เช่น ใช้บอกถึงสถานที่ ยุคสมัย บุคลิก หรือรสนิยม ต่าง ๆ ต้องอ้างอิงจากยุคสมัยเป็นส�ำคัญและเป็นจุดเริม่ ต้น
ของตัวละคร จากรายละเอียดในข้างต้นสามารถชี้ให้เห็น ของงานออกแบบ
ได้ว่าการวิเคราะห์บทภาพยนตร์ที่เกี่ยวข้องกับ “เสียง” จากรายละเอียดองค์ประกอบของภาพยนตร์ทกี่ ล่าวมา
มีความส�ำคัญต่อการสร้างสรรค์ภาพยนตร์เช่นกัน ท�ำให้ ในข้างต้น แสดงให้เห็นว่าในทุกต�ำแหน่งในงานภาพยนตร์
ภาพยนตร์มคี วามสมบูรณ์มากยิง่ ขึน้ (มหาวิทยาลัยสุโขทัย ล้วนแต่จ�ำเป็นต่อการวิเคราะห์บทภาพยนตร์ โดยเริ่มจาก
ธรรมธิราช, 2551) ผูก้ ำ� กับภาพยนตร์ ต้องวิเคราะห์บทภาพยนตร์ให้ครบทุกมิติ
องค์ประกอบของภาพยนตร์ในหัวข้อสุดท้ายทีเ่ กีย่ วข้อง ตีความและต่อยอดจากรายละเอียดทีผ่ เู้ ขียนบทภาพยนตร์
กับแนวคิดของอริสโตเติล คือ ภาพ ซึ่งถือว่าเป็นรากฐาน ได้อย่างละเอียดและลึกซึ้ง ตลอดจนน�ำไปสู่การท�ำงาน
ของงานภาพยนตร์ตงั้ แต่กำ� เนิดภาพยนตร์ เพราะภาพยนตร์ ของฝ่ายต่าง ๆ ในงานภาพยนตร์ ซึ่งเป็นการผสมผสาน
ในยุคแรกจะเป็นภาพยนตร์เงียบ ยังไม่มีเทคโนโลยีด้าน ระหว่างการท�ำงานในเชิงศิลปะและเชิงอุตสาหกรรมทีต่ อ้ ง
เสียงเข้ามา ดังนั้น “ภาพ” จึงต้องสามารถเล่าเรื่องได้เป็น ท�ำให้ 2 ส่วนนีเ้ กิดความสมดุล การบริหารจัดการทีด่ ใี นการ
อย่างดี โดยที่ “ภาพ” คือ องค์ประกอบและการจัดวางทาง สร้างสรรค์งานภาพยนตร์จะเกิดขึน้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ศิลปะทีส่ ามารถสือ่ สาร อธิบายถึงสัญลักษณ์และเรือ่ งราวที่ สามารถเกิดขึน้ ได้จากการวิเคราะห์บทภาพยนตร์ทลี่ ะเอียด
เกิดขึ้นในภาพยนตร์ การกระท�ำ ความรู้สึก ความคิดของ ลึกซึ้ง เข้าใจและเข้าถึงทุกมิติองค์ประกอบของภาพยนตร์
ตัวละครไปสู่ผู้ชมได้เป็นอย่าดี (David Ball, 1983: 75)
การจัดองค์ประกอบของภาพในงานภาพยนตร์คอื การสร้าง บทสรุป
เอกภาพด้านงานองค์ประกอบศิลป์ ตัง้ แต่การออกแบบฉาก การวิเคราะห์บทภาพยนตร์จงึ เป็นสิง่ ทีส่ ำ� คัญในขัน้ ตอน
จัดหาสถานทีใ่ นการถ่ายท�ำ การจัดหาอุปกรณ์ประกอบฉาก ก่อนการถ่ายท�ำภาพยนตร์ น�ำไปสูข่ นั้ ตอนในการถ่ายท�ำที่
ออกแบบ-ตัดเย็บ-จัดหาเสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย ตลอดจน มีประสิทธิภาพ และการสร้างเอกภาพของงานภาพยนตร์ใน
การแต่งหน้า ท�ำผม ให้กบั นักแสดง เพือ่ สร้างความกลมกลืน ช่วงหลังการถ่ายท�ำ ซึง่ ต�ำแหน่งทุก ๆ ฝ่ายในงานภาพยนตร์
เป็นหนึง่ เดียวให้กบั งาน “ภาพ” ทีจ่ ะปรากฏบนจนภาพยนตร์ จ�ำเป็นที่จะต้องวิเคราะห์ ตีความบทภาพยนตร์ได้อย่างมี
สู่สายตาทุกคู่ในโรงภาพยนตร์ การลงรายละเอียดและให้ ประสิทธิภาพ มีความรู้ความเข้าใจและทักษะส�ำหรับการ
ความส�ำคัญกับทุกช่วงของภาพ หรือ ทุกภาพในกรอบของ วิเคราะห์บทภาพยนตร์ โดยสามารถยึดหลักการวิเคราะห์บท
ภาพถือว่าเป็นสิง่ แรกทีผ่ กู้ ำ� กับภาพยนตร์ ผูก้ ำ� กับภาพและ ภาพยนตร์ตามองค์ประกอบของอริสโตเติลทั้ง 6 ประการ
ทีมงานฝ่ายต่าง ๆ ต้องค�ำนึงถึง ให้ความส�ำคัญทุกขัน้ ตอน คือ โครงเรือ่ ง ตัวละคร แก่นความคิดหลัก ภาษา เสียง และ
กระบวนการในการสร้างสรรค์ภาพยนตร์ เพือ่ สร้างเอกลักษณ์ ภาพ ซึง่ ผูก้ ำ� กับภาพยนตร์คอื บุคคลส�ำคัญทีก่ ำ� หนดภาพรวม
ให้กับภาพยนตร์ในแต่ละเรื่อง สิ่งที่ส�ำคัญในการวิเคราะห์ แนวทางในการท�ำงานของการสร้างสรรค์ภาพยนตร์ เชือ่ มต่อ
บทภาพยนตร์ส�ำหรับ “ภาพ” คือ การวิเคราะห์ ตีความ การท�ำงานในแต่ละฝ่ายทั้งในด้านการแสดง การออกแบบ
รายละเอียดต่าง ๆ ที่บทภาพยนตร์ก�ำหนดมาให้ มักจะ องค์ประกอบศิลป์ และการผลิต-การถ่ายท�ำภาพยนตร์
เกี่ยวข้องบริบททางสังคมในมิติต่าง ๆ หรือเรียกว่า Given ตลอดจนการผสมผสานระหว่างสุนทรียภาพและอุตสาหกรรม
Circumstances รวมทั้งการก�ำหนดจุดของเวลา (Time) ในการผลิตภาพยนตร์ได้อย่างลงตัว
และ สถานที่ (Place) ของเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นใน

ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (12) ก.ค. - ธ.ค. 61 / 275


เอกสารอ้างอิง

ณัฐพล ปัญญโสภณ. (2552). การแสดง Acting. กรุงเทพฯ. David Bordwell and Kristin Thompson. (2013). Film
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. Art An Introduction. Madison : The
นพมาส แววหงส์. (2558). ปริทศั น์ศลิ ปะการละคร. กรุงเทพฯ. McGraw-Hill.
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. David Corbett. (2013). The Art of Character. New
นิวัฒน์ ศรีสัมมาชีพ. (2551). คิดและเขียนให้เป็นบท York: The Penguin Group.
ภาพยนตร์. กรุงเทพฯ. โรงพิมพ์ตะวันออก. David Ball. (1983). Backwards & Forwards a
บรรจง โกศัลวัฒน์. (2529). การก�ำกับและการแสดง Technical Manual for Reading Plays. Southern
ภาพยนตร์. กรุงเทพฯ. คณะวารสารศาสตร์ Illinois University. The Board of Trustees.
และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาตร์. James Thomas. (2014). Script Analysis. Boston.
ประวิทย์ แต่งอักษร. (2551). มาท�ำหนังกันเถอะ (ฉบับ Focal Press.
ตัดต่อใหม่) กรุงเทพฯ. ไบโอสโคป พลัส Jane Barnwell. (2003). Production Design: Architects
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช สาขาวิชานิเทศศาสตร์. of the Screen By Jane Barnwell. London
(2551). การผลิตภาพยนตร์เบือ้ งต้น. พิมพ์ครัง้ and New York: Wallflower Press.
ที่ 1 กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช. Michael Rabiger. (2008). Directing Film Techniques
ั น์สนิ อุดม. (2546). นักสร้าง สร้างหนัง หนังสัน้ .
รักศานต์ วิวฒ and Aesthetics. Oxford : Elsevier, Inc.
กรุงเทพฯ. คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Michael Caine. (1990). Acting in Film. New York:
_________________. (2558). การเขียนบทภาพยนตร์ Applause Theatre Book Publishers.
บันเทิง. กรุงเทพฯ. คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.

276 / วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม

You might also like