You are on page 1of 26

แนวทางการจัดการ

ของเสียอันตรายจากชุมชน

สวนของเสียอันตราย
สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย
กรมควบคุมมลพิษ

1
อะไรคือของเสียอันตรายจากชุมชน?
ตั
ตัววอย
อยาางของเสี
งของเสียยอั
อันนตรายจากชุ
ตรายจากชุมมชน
ชน
ภาชนะบรรจุ
แบตเตอรี่รถยนต น้ํายาทําความสะอาด ถานไฟฉาย

หลอดฟลูออเรสเซนต ตลับหมึกเครื่องพิมพ กระปองสีและยาฆาแมลง


และถายเอกสาร

2
ของเสียอันตรายจากชุมชนเกิดจากทีไ
่ หน?
ตั
ตัววอย
อยาางของเสี
งของเสียยอั
อันนตรายจากชุ
ตรายจากชุมมชน
ชน

แบตเตอรี่มือถือ
ถานไฟฉาย

กระปองสเปรย
หลอดไฟตางๆ

ยาหมด
อายุ

ภาชนะบบรจุสารเคมีกําจัดแมลง
น้ํามันเครื่องใชแลว
แบตเตอรี่รถยนตใชแลว กระปองสี ภาชนะบรรจุสารเคมี
3
สถานการณของเสียอันตรายจากชุมชน

รีไซเคิล

HW จากโรงงาน Ð ตัวทําละลาย Ð น้ํามันใชแลว


Ð แบตเตอรี่ใชแลว
1.424 Ð หลอดฟลูออเรสเซนต
Ð จอภาพทีวี/ คอมพิวเตอร
ลานตัน Ð ซากเครื่องใชไฟฟาและ
อิเล็กทรอนิกสอื่น ๆ

HW จากชุมชน 0.4085 ลานตัน จัดการถูก จัดการไมถูก


20-40% 60-80%

บริ
บริษษัท
ัทเอกชน
เอกชน 7%
7%
เตาเผา รพ.
มูลฝอยติดเชื้อ 0.02 กําจัด 65% อปท.
อปท. 28%
28%
((ทิ
ทิ้ง้งรวมกั
รวมกับบขยะ
ขยะ 11.7%
.7%
ลานตัน ฝ
ฝงงกลบแบบปลอดภั
กลบแบบปลอดภัย ย
7.4%
7.4% เตาเผาขยะติ
เตาเผาขยะติด ด
เชื อ
้ 2 .5%
เชื้อ 2.5% อื่นๆอื น
่ ๆ
16.5%)
16.5%)
4
การจัดการของเสียอันตรายจากชุมชนในปจจุบัน

ทิ้งรวมกับขยะมูลฝอยทั่วไป
สถานที่จัดการขยะไมสามารถปองกัน
การแพรกระจายของสารอันตราย

5
ความเสี่ยงอันตรายของการจัดการไมถก
ู ตอง

6
นโยบายการจัดการของเสีย
ตามแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม/แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

ลดการเกิดของเสียโดยหลัก
3Rs และสงเสริมการใช
ผลิตภัณฑที่เปนมิตร
ตอสิ่งแวดลอม

7
นโยบายการจัดการของเสีย
ตามแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม/แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

การจัดระบบ/เครื่องมือสําหรับ
การจัดการของเสียอันตราย
จากชุมชน โดยเนนระบบการ
เรียกคืนซากของเสียอันตราย
จากผลิตภัณฑใชแลว

8
นโยบายการจัดการของเสีย
ตามแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม/แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

สนับสนุนใหมีศูนย/ กลุม
 2
สิง
่ อํานวยความสะดวก
ในการจัดการของเสีย
อันตรายจากชุมชน

กลุม
 1
โดยสงเสริม กลุม
 3
ภาคเอกชนลงทุน/
รวมลงทุนจัดตั้งศูนยฯ

ศูนยจัดการ HW 9
ศูนย/สิ่งอํานวยความสะดวก
ในการจัดการของเสียอันตรายจากชุมชน

Fuel Bending Unit Stabilization Unit

HW Incinerators Secured Landfill

10
อปท. ที่มร
ี ะบบการคัดแยกและ
เก็บรวบรวบของเสียอันตรายจากชุมชน
เทศบาลนครพิษณุโลก

เทศบาลนครขอนแกน

กทม.
และเทศบาลนครนนทบุรี
เทศบาล
นครภูเก็ต
11
ระบบการคัดแยกและเก็บรวบรวบ
ของเสียอันตรายจากชุมชน
7 ขั้นตอนหลัก
การสรางความรู
— จัดอบรม
— เคาะประตูบาน
การกระตุนจิตสํานึก — ประชุมกลุมยอย
7. การบําบัด/กําจัด
— ประชาสัมพันธทาง 7.1 การปรับเสถียร/ฝงกลบ
สื่อตางๆ 7.2 การเผา
— จัด Road Show 6. การรีไซเคิล
หลอดไฟชนิดตรง
แบตเตอรีม่ อ
ื ถือ
การสรางแรงจูงใจ ถานอัดประจุได
— จัดกิจกรรมขยะ
อันตรายแลกของ
5. การขนสงไปยังสถานที่จด
ั การ
1. การสรางกลไกการคัดแยก บรรทุกภาชนะที่บรรจุขยะอันตรายขึ้น
รถ Roll- off truck

ขยะอันตรายจากชุมชน

บานเรือน/สถานประกอบการ/
สํานักงาน
2. การแยกทิ้ง 3. การเก็บรวบรวม
2.1 แยกใสถุงวาง 3.1 โดยรถขยะมูลฝอย
หนาบานตามเวลา ทั่วไปทีม
่ ช
ี อ
 งเก็บเฉพาะ
ตัวอยาง 2.2 แยกทิ้งตามจุด 3.2 โดยรถเก็บขนของ
ขยะอันตราย ที่กําหนด เสียอันตรายเฉพาะ
จากชุมชน 2.3 การจัดวันพิเศษ
เพื่อรวบรวม
12
ระบบการคัดแยกและเก็บรวบรวบ
ของเสียอันตรายจากชุมชน
1. สรางความรู กระตุนจิตสํานึก สรางแรงจูงใจ

13
ระบบการคัดแยกและเก็บรวบรวบ
ของเสียอันตรายจากชุมชน
2. การแยกทิ้ง
การแยกใสถุงไวหนาบาน
(Door to Door)
การแยกทิ้งตามจัดที่กําหนด
(Drop Off)
การจัดใหมีวันพิเศษ
(Special Day ) แยกทิ้งตามจุดที่กําหนด

แยกใสถุงวางหนาบาน จัดใหมีวันพิเศษเพื่อทิ้ง 14
ระบบการคัดแยกและเก็บรวบรวบ
ของเสียอันตรายจากชุมชน
ภาชนะเก็บรวบรวมของเสียอันตรายจากชุมชน แบบที่ 1

1
2,3
1

3 2 4

15
ระบบการคัดแยกและเก็บรวบรวบ
ของเสียอันตรายจากชุมชน
ภาชนะเก็บรวบรวมของเสียอันตรายจากชุมชน แบบที่ 2

16
ระบบการคัดแยกและเก็บรวบรวบ
ของเสียอันตรายจากชุมชน
จุดทิ้งของเสียอันตรายจากชุมชน (Drop off)

หลอดฟลูออเรสเซนต
แบตเตอรี่มือถือ
ชนิดตรง

ถานไฟฉาย
หลอดฟลูออเรสเวนต
ชนิดอื่น ๆ
กระปองสเปรย/
ภาชนะบรรจุสารเคมี/
ของเสียอันตรายอื่น ๆ
17
ระบบการคัดแยกและเก็บรวบรวบ
ของเสียอันตรายจากชุมชน
จุดทิ้งของเสียอันตรายจากชุมชน (Drop off)

ชุมชน โรงเรียน

สถานที่ราชการ สถานประกอบการ18
ระบบการคัดแยกและเก็บรวบรวบ
ของเสียอันตรายจากชุมชน
3.การเก็บรวบรวม
นําของเสียอันตรายจาก จุดทิ้ง/ที่
เก็บจากหนาบานประชาชนใสใน
ภาชนะรวบรวมเพื่อสะดวกในการ
ขนถายขึ้นยานพาหนะเพื่อเก็บขน
ไปไวที่อาคาร/สถานที่เก็บรวบรวม

19
ระบบการคัดแยกและเก็บรวบรวบ
ของเสียอันตรายจากชุมชน
ยานพาหนะเก็บรวบรวม

เก็บจากหนาบาน
- เก็บแยกจากขยะ
- เก็บพรอมขยะ
เก็บจากจุดทิ้งที่
กําหนด
นัดวันทิ้งพิเศษ

20
ระบบการคัดแยกและเก็บรวบรวบ
ของเสียอันตรายจากชุมชน
อาคารเก็บรวบรวมของเสียอันตรายจากชุมชน

อปท.สามารถดัดแปลงจากอาคารสถานีขนถายขยะหรืออืน
่ ๆ ที่มีอยูเดิม
หรือจัดสรางขึ้นใหมตามความเหมาะสม 21
ระบบการคัดแยกและเก็บรวบรวบ
ของเสียอันตรายจากชุมชน
5. การขนสงของเสียอันตรายจากชุมชนไปสถานที่จัดการ

การขนสงตองดําเนินการโดยผูไดรับอนุญาตเทานั้น 22
ระบบการคัดแยกและเก็บรวบรวบ
ของเสียอันตรายจากชุมชน
6. การบําบัด/กําจัดของเสียอันตรายจากชุมชน

Courtesy of Siam Cement Courtesy of BWG


การบําบัด/กําจัดตองดําเนินการโดยผูไดรับอนุญาตเทานั้น 23
ระบบการคัดแยกและเก็บรวบรวบ
ของเสียอันตรายจากชุมชน
6. การรีไซเคิลของเสียอันตรายจากชุมชน

Courtesy of Toshiba Lighting

การรีไซเคิลตองดําเนินการโดยผูไดรับอนุญาตเทานั้น 24
รางกฎหมายวาดวยการสงเสริมการจัดการ
ซากของเสียอันตรายจากผลิตภัณฑใชแลว
กรมสรรพสามิต
คาธรรมเนียม/ กรมศุลกากร
ภาษี
คณะกรรมการ
ผูผลิต ผูนําเขา บริหารกองทุน

องคกรปกครอง กองทุน
สวนทองถิ่น พิเศษ
ผูบริโภค
ภายใต
กองทุน
สิ่งแวดลอม
หรือที่
ศูนยรับคืนซาก
กระทรวง
เครือขายการบริการ การคลัง
รับคืนซาก กําหนด
ศูนยจัดการ
ของเสียอันตราย 25
26

You might also like