You are on page 1of 64

การควบคุมโรงงานอุตสาหกรรม

อ.สุทธิชยั งามชื0นสุวรรณ
คณะนิตศิ าสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
กฎหมายอุตสาหกรรม
• กฎหมายอุตสาหกรรมคือ?
• กฎหมายที0เกี0ยวข้องกับการประกอบอุตสาหกรรมและอยูใ่ นความ
รับผิดชอบของกระทรวงอุตสาหกรรม
• เช่น
• พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• พระราชบัญญัตจิ ดทะเบียนเครือ0 งจักร
• พระราชบัญญัตมิ าตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม
• พระราชบัญญัตกิ ารนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
• ฯลฯ
กฎหมายอุตสาหกรรม
• ทําไมต้องมีกฎหมายอุตสาหกรรม?
• 3.เพื8อส่งเสริมอุตสาหกรรมและทําให้ระบบเศรษฐกิจ
เจริญก้าวหน้า
• G.เพื8อคุม้ ครองและควบคุมอุตสาหกรรมบางประเภท เพื8อ
ความปลอดภัย ความผาสุก และอนามัยของประชาชน
รวมถึงการปกป้องคุม้ ครองสิ8งแวดล้อมและ
ทรัพยากรธรรมชาติ
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• กฎหมายควบคุมโรงงานในปั จจุบนั คือ
• พระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ.=>?> (แก้ไข พ.ศ.=>F=)
• ก่อนหน้ากฎหมายฉบับนี K เรามีกฎหมายควบคุมโรงงานหรือไม่?
• กฎหมายควบคุมโรงงานฉบับแรก คือ พระราชบัญญัตโิ รงงาน
พ.ศ.=NO= ซึงR ต่อมาได้รบั การแก้ไขโดยพระราชบัญญัตโิ รงงาน
พ.ศ.=>T?
• กฎหมายทังK = ฉบับ ถูกยกเลิกโดยพระราชบัญญัตโิ รงงาน
พ.ศ.=>Y=
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• ก่อนหน้าที*จะมีการบังคับใช้ พ.ร.บ.โรงงาน พ.ศ.:;<; หลักการที*ใช้
ในการควบคุมคือ
• โรงงานทุกลักษณะต้องขออนุญาตภายใต้หลักเกณฑ์เดียวกัน จึงจะ
ประกอบกิจการโรงงานได้
• และการขออนุญาตต้องทํา : ขันR ตอน คือ ขออนุญาตตังR โรงงาน และ
ขออนุญาตประกอบกิจการ
• ผลที*ตามมาก็คือหลักการดังกล่าวไม่สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ
และสังคม และไม่เอือR ต่อการส่งเสริมการประกอบกิจการโรงงาน
หลายประการ
• กล่าวอีกอย่างก็คือเน้นมิตดิ า้ นการควบคุม ยิ*งกว่าการส่งเสริม
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• ด้วยเหตุนี K พ.ร.บ.โรงงาน พ.ศ.=>?> จึงได้กาํ หนดหลักการใหม่
• เนืRองจากโรงงานต่าง ๆ มีลกั ษณะทีRแตกต่างกัน บางประเภทไม่
จําเป็ นต้องควบคุมดูแลในขันK ตอนการจัดตังK โรงงาน เพียงแต่
ควบคุมดูแลในขันK ตอนการดําเนินงานก็เพียงพอ
• เฉพาะแต่โรงงานบางประเภททีRอาจก่อให้เกิดอันตรายเท่านันK ทีR
จะต้องเข้าไปควบคุมดูแลตังK แต่ขนัK ตอนการตังK โรงงาน
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• T.การมีผลใช้บงั คับของ พ.ร.บ.โรงงาน UVWV
• กฎหมายฉบับนีมY ีผลใช้บงั คับตังY แต่ Z กรกฎาคม UVWV
• U.โรงงานที0อยูใ่ นข่ายบังคับ
• ม.V กําหนดว่า โรงงาน หมายความว่า อาคาร สถานที0 หรือยานพาหนะ
ที0ใช้เครือ0 งจักรมีกาํ ลังรวมตังY แต่ V] แรงม้าหรือกําลังเทียบเท่าตังY แต่ V]
แรงม้าขึนY ไป หรือใช้คนงานตังY แต่ V] คนขึนY ไปโดยใช้เครือ0 งจักรหรือไม่ก็
ตาม เพื0อประกอบกิจการโรงงาน ทังY นี Y ตามประเภทหรือชนิดของโรงงาน
ที0กาํ หนดในกฎกระทรวง (แก้ไข พ.ศ.UVaU)
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• ตามนิยามดังกล่าว โรงงานตามกฎหมายฉบับนีจY งึ มีลกั ษณะ ดังนี Y
• - เป็ นอาคาร สถานที0 หรือยานพาหนะ
• - ใช้เครือ0 งจักรตังY แต่ V] แรงม้าหรือเทียบเท่า หรือใช้คนงานตังY แต่ V]
คนขึนY ไป
• สิ#งที#จะเรียกว่าโรงงานต้องมีการนําเครือ# งจักรมาใช้ในการประกอบการ โดยมีกาํ ลัง
เครือ# งจักรรวมกันตังA แต่ CD แรงม้าขึนA ไป
• แต่ถา้ ไม่ใช้เครือ# งจักร หากมีคนงานตังA แต่ CD คนขึนA ไป ก็นบั ว่าเป็ นโรงงานได้ ทังA นี A
คนงานหมายถึงผูท้ าํ งานในโรงงานในขันA ตอนการดําเนินการตามขันA ตอนของ
กระบวนการผลิต แต่ไม่รวมฝ่ ายธุรการ เช่น พนักงานบัญชี เลขานุการ เสมียน
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• - เพื0อประกอบกิจการโรงงาน หมายถึง มีการทํา ผลิต ประกอบ บรรจุ
ซ่อม ซ่อมบํารุง ทดสอบ ปรับปรุง แปรสภาพ ลําเลียง เก็บรักษา หรือ
ทําลายสิ0งใด ๆ ตามลักษณะกิจการของโรงงานแต่ไม่รวมถึงการทดลอง
เดินเครือ0 งจักร
• - เป็ นโรงงานตามประเภทหรือชนิดของโรงงานที0กาํ หนดในกฎกระทรวง
• ซึง# มีการกําหนดเอาไว้ทงัA สินA SDT ประเภท ตามที#กาํ หนดในกฎกระทรวง(พ.ศ.ZC[\)
ออกตามความในพระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ.ZC\C ฉบับลงวันที# C สิงหาคม ZC[\
• ได้แก่ โรงงานบ่มใบชา โรงงานเพาะเชือA เห็ด โรงงานโม่หิน โรงงานทําผลิตภัณฑ์อาหาร
สําเร็จรูปจากเนือA สัตว์ โรงงานทําผลิตภัณฑ์จากไข่ โรงงานทําขนมปั ง
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• สถานประกอบการใดไม่อยูใ่ นความหมายของ “โรงงาน” ตามที>กล่าวถึงก็ไม่
ตกอยูภ่ ายใต้บงั คับ พ.ร.บ.โรงงาน สามารถดําเนินการได้โดยไม่ตอ้ ง
ดําเนินการตามกฎหมายฉบับนี L
• อย่างไรก็ตาม โรงงานของทางราชการที>ดาํ เนินการโดยทางราชการเพื>อ
ประโยชน์แห่งความมั>นคงและความปลอดภัยของประเทศ ได้รบั ยกเว้นไม่อยู่
ในบังคับกฎหมายฉบับนี L แต่ในการประกอบกิจการต้องนําหลักเกณฑ์และ
วิธีการเกี>ยวกับการประกอบกิจการเป็ นแนวทางในการดําเนินงาน (ไม่ตอ้ งขอ
อนุญาตจัดตังL แต่ในการดําเนินงานต้องทําตามกฎหมาย)
• เช่น โรงงานผลิตอาวุธของกรมสรรพาวุธ โรงงานซ่อมเรือรบของกรมอู่
ทหารเรือ โรงงานซ่อมอากาศยานของกองทัพอากาศ โรงงานผลิตเหรียญ
กษาปณ์
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• W.การควบคุมโรงงานตาม พ.ร.บ.โรงงาน UVWV
• หลักการในการควบคุมโรงงานตามกฎหมายฉบับนีแY บ่งเป็ น U ขันY ตอน
คือ
• - ในขันY ตอนการตังY โรงงาน ซึง0 จะมีการแบ่งโรงงานที0อยูภ่ ายใต้กฎหมาย
นีเY ป็ น W จําพวก โดยจะมีหลักเกณฑ์ในการตังY โรงงานแตกต่างกันไป
• ทังY นี Y การตังY โรงงาน ตามกฎหมายฉบับเดิมก่อนแก้ไข หมายถึง การ
ก่อสร้างอาคารเพื0อติดตังY เครือ0 งจักรสําหรับประกอบกิจการโรงงาน หรือ
นําเครือ0 งจักรสําหรับประกอบกิจการโรงงานมาติดตังY ในอาคารสถานที0
หรือยานพาหนะที0จะประกอบกิจการ
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• ในขณะที0กฎหมายที0มีการแก้ไขใหม่ในปี UVaU กําหนดว่า การตังY
โรงงาน หมายถึง การนําเครือ0 งจักรสําหรับประกอบกิจการโรงงานมา
ติดตังY ในอาคาร สถานที0 หรือยานพาหนะที0จะประกอบกิจการโรงงาน
หรือนําคนงานมาประกอบกิจการโรงงานในกรณีท0ีไม่มีการใช้เครือ0 งจักร
• ข้อแตกต่างจากกฎหมายเดิม?
• ทําให้ผปู้ ระกอบกิจการโรงงานสามารถก่อสร้างโรงงานได้เลยโดยไม่
ต้องขออนุญาตตามกฎหมายโรงงาน แต่ยงั ต้องขออนุญาตตาม
กฎหมายควบคุมอาคาร
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• - ในขันY ตอนการประกอบกิจการโรงงาน ซึง0 หมายถึง การทํา ผลิต
ประกอบ บรรจุ ซ่อม ซ่อมบํารุง ทดสอบ ปรับปรุง แปรสภาพ ลําเลียง
เก็บรักษา หรือทําลายสิ0งใด ๆ ตามลักษณะกิจการของโรงงานแต่ไม่
รวมถึงการทดลองเดินเครือ0 งจักร
• ในกรณีนีกY ฎหมายจะเข้ามากําหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการ
ดําเนินการ เช่น กําหนดว่ามาตรฐานของนําY เสียที0จะปล่อยจากโรงงาน
เป็ นอย่างไร มาตรการกําจัดกลิ0นที0ออกจากโรงงาน กําหนดการปฏิบตั ิ
ในกรณีเกิดอุบตั เิ หตุ กําหนดมาตรการเกี0ยวกับความปลอดภัย เป็ นต้น
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• 3.1 การตัง* โรงงาน
• กรณีนีก* ฎหมายโรงงานแบ่งจําพวกโรงงานเป็ น > จําพวก
• - โรงงานจําพวกทีA B คือ โรงงานทีAสามารถประกอบกิจการได้ทนั ทีตาม
ความประสงค์ โดยไม่ตอ้ งแจ้งหรือขออนุญาตก่อน
• โรงงานจําพวกนีม* ีขนาดเล็กและไม่ก่อให้เกิดปั ญหามลพิษสิAงแวดล้อม
หรือเหตุเดือดร้อนรําคาญ
• เช่น โรงงานฟั กไข่โดยใช้ตอู้ บ/ โรงงานทํานํา* ตาลจากนํา* หวานของต้น
มะพร้าวหรือต้นตาลโตนด/ โรงงานซ่อมรองเท้า/ โรงงานซ่อมนาฬิกา
เครือA งประดับ
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• ผูป้ ระกอบกิจการโรงงานจําพวกที0 T จึงสามารถก่อสร้างหรือติดตังY
เครือ0 งจักรได้เลยโดยไม่ตอ้ งขออนุญาตตังY โรงงาน
• อย่างไรก็ตาม หากอาคารที0ก่อสร้างอยูภ่ ายใต้ความควบคุมตาม
กฎหมายควบคุมอาคาร ก็ตอ้ งขออนุญาตปลูกสร้างอาคารตาม
กฎหมายดังกล่าว
• ทังY นี Y แม้จะไม่ตอ้ งขออนุญาตตังY โรงงาน แต่ในการตังY โรงงานและการ
ประกอบกิจการก็ตอ้ งเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ท0ีกาํ หนด (จะได้กล่าวถึง
ต่อไป)
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• -โรงงานจําพวกทีA Z
• การตัง* โรงงานจําพวกนี * ไม่จาํ ต้องแจ้งหรือได้รบั อนุญาตก่อน
เช่นเดียวกับโรงงานจําพวกทีA B
• แต่เมืAอจะเริมA ประกอบกิจการโรงงานต้องแจ้งให้ทางราชการทราบก่อน
จึงจะประกอบกิจการโรงงานได้ (แจ้งให้ทราบ แต่ไม่ตอ้ งรอการอนุญาต)
• โรงงานเหล่านีอ* าจก่อให้เปิ ดปั ญหามลพิษหรือเดือดร้อนรําคาญบ้าง
เพียงเล็กน้อย และสามารถปรับปรุงแก้ไขได้โดยง่าย
• เช่น โรงงานบ่มใบยาสูบทีAใช้เครือA งจักรไม่เกิน ^_ แรงม้า/ โรงงานทํา
ขนมปั งทีAใช้เครือA งจักรไม่เกิน ^_ แรงม้าและคนงานไม่เกิน ^_ คน/
โรงงานทํานํา* ตาลทรายแดง ทีAใช้เครือA งจักรไม่เกิน ^_ แรงม้าและคนงาน
ไม่เกิน ^_ คน
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• เมื0อเจ้าพนักงานได้รบั แจ้งแล้ว จะออกใบรับแจ้งเพื0อเป็ นหลักฐานการ
แจ้งให้แก่ผแู้ จ้งในวันที0ได้รบั แจ้ง
• และผูแ้ จ้งสามารถประกอบกิจการได้ตงัY แต่วนั ที0ได้รบั ใบรับแจ้ง
• ในกรณีท0ีตรวจพบภายหลังว่าการแจ้งไม่ถกู ต้องหรือไม่ครบถ้วน ให้
เจ้าหน้าที0มีอาํ นาจสั0งให้แก้ไขให้ถกู ต้องครบถ้วนภายใน h วันนับแต่
วันที0ได้รบั คําสั0ง
• อย่างไรก็ตาม ในกรณีท0ีประกอบกิจการจําพวกที0 U ในเขตประกอบการ
อุตสาหกรรมที0รฐั มนตรีกาํ หนด หรือในเขตนิคมอุตสาหกรรม ก็จะได้รบั
ยกเว้นไม่ตอ้ งแจ้งการประกอบกิจการให้เจ้าพนักงานทราบ
• ทังY นี Y ในการตังY โรงงานและการประกอบกิจการก็ตอ้ งเป็ นไปตาม
หลักเกณฑ์ท0ีกาํ หนด (จะได้กล่าวถึงต่อไป)
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• -โรงงานจําพวกที0 W
• เป็ นโรงงานขนาดใหญ่ โรงงานเหล่านีอY าจก่อให้เกิดปั ญหามลพิษหรือ
เหตุเดือดร้อนรําคาญได้ จึงจําเป็ นต้องควบคุมดูแลใกล้ชิด
• เช่น โรงงานประกอบกิจการเกี0ยวกับนําY มันจากพืชหรือสัตว์/ โรงงานทํา
นมข้น นมผง/ โรงงานทํานําY ตาลทรายแดงที0ใช้เครือ0 งจักรเกินกว่า hV
แรงม้าหรือคนงานเกิน hV คน/ โรงงานทําไอศกรีมที0ใช้เครือ0 งจักรเกิน
กว่า hV แรงม้าหรือคนงานเกิน hV คน
• โรงงานจําพวกนีตY อ้ งขออนุญาตและได้รบั อนุญาตก่อนจึงจะทําการตังY
และประกอบกิจการได้
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• การขออนุญาตนันY ให้ทาํ เป็ นขันY ตอนเดียว ไม่ตอ้ งทําเป็ น U ขันY ตอนอย่าง
ในกฎหมายเก่า(มีการแยกขออนุญาตตังY โรงงานและประกอบกิจการ
โรงงานออกจากกัน)
• อย่างไรก็ตาม การประกอบกิจการโรงงานจําพวกที0 W ภายในเขต
ประกอบการอุตสาหกรรมที0รฐั มนตรีประกาศกําหนด หรือเขตนิคม
อุตสาหกรรม จะได้รบั ยกเว้น ไม่ตอ้ งขออนุญาต
• ทังY นี Y ในการตังY โรงงานและการประกอบกิจการก็ตอ้ งเป็ นไปตาม
หลักเกณฑ์ท0ีกาํ หนด (จะได้กล่าวถึงต่อไป)
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• หลังจากได้รบั คําขอ เจ้าพนักงานก็จะทําการตรวจสอบว่าเป็ นไปตามเงื>อนไข
ที>กฎหมายกําหนดหรือไม่
• ในการตรวจสอบนันL อาจกําหนดให้เอกชนเป็ นผูด้ าํ เนินการตรวจสอบและ
จัดทํารายงานผลให้เจ้าหน้าที>ก็ได้ ซึง> เป็ นมาตรการใหม่ตามกฎหมาย
ปั จจุบนั ที>ตอ้ งการกํากับดูแลแทนการควบคุม และเปิ ดโอกาสให้วิศวกรอิสระ
หรือบริษัทวิศวกรที>ปรึกษาเป็ นผูต้ รวจสอบ แต่ตอ้ งได้รบั ใบอนุญาตจากรัฐ
• โดยต้องตรวจสอบสถานที>ภายใน ^_ วัน และตรวจสอบให้เสร็จภายใน `_
วัน
• หลังจากเสร็จสินL การตรวจสอบแล้ว ให้แจ้งผลภายใน a_ วัน
• รวมระยะเวลาการพิจารณาอนุญาต คือ b_ วัน
• เมื>อได้รบั อนุญาตแล้ว จึงจะสามารถตังL โรงงานได้
• เมื>อตังL โรงงานเสร็จ และจะเริม> ประกอบกิจการจะต้องแจ้งให้เจ้าหน้าที>ทราบ
ไม่นอ้ ยกว่า `_ วันก่อนเริม> ประกอบกิจการ (อาจจะเริม> ประกอบกิจการ
บางส่วนก็ได้) โดยไม่ตอ้ งขออนุญาตอีก
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• สิทธิของผูย้ 0ืนคําขออนุญาตประกอบกิจการโรงงานจําพวกที0 W
• - ผูย้ 0ืนคําขอมีสทิ ธิขอหนังสือรับรองก่อนออกใบอนุญาต ซึง0 ในบางครังY
จําเป็ นต้องใช้ในระหว่างที0การพิจารณาไม่แล้วเสร็จ
• เงื0อนไขในการให้หนังสือรับรอง คือ การพิจารณาในเบือY งต้นเพียง
พอที0จะอนุมตั ใิ นหลักการได้
• เหตุผลความจําเป็ นที0ตอ้ งใช้หนังสือนีอY าจจะเป็ นในแง่ของการจัดหาเงิน
ลงทุน
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• - การทดลองเดินเครือ0 งจักร
• ในบางครังY ก่อนที0จะเริม0 ประกอบกิจการจําเป็ นจะต้องทดลองเดิน
เครือ0 งจักรก่อน กรณีนีกY ็สามารถทําได้โดยแจ้งวัน เวลา และระยะเวลา
ทดลองให้เจ้าหน้าที0ทราบก่อนล่วงหน้า TV วัน
• -สิทธิในการอุทธรณ์ ในกรณีท0ีไม่อนุญาต กรณีนีสY ามารถอุทธรณ์คาํ สั0ง
ไม่อนุญาตต่อรัฐมนตรีอตุ สาหกรรมได้ ภายในเวลา W] วันนับแต่ทราบ
คําสั0ง
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• -ใบอนุญาตที0ได้รบั ไม่มีอายุ ไม่จาํ เป็ นต้องต่อใบอนุญาต
• ตามกฎหมายเดิมใบอนุญาตมีอายุ V ปี ปฏิทิน กล่าวคือใบอนุญาตจะมี
อายุถงึ วันสินY ปี ปฏิทินแห่งปี ท0ี V นับแต่ปีท0ีเริม0 ประกอบกิจการ
• ซึง0 ในการต่อใบอนุญาต เจ้าหน้าที0ตอ้ งตรวจสอบโรงงานและการ
ประกอบกิจการว่าเป็ นไปตามหลักเกณฑ์หรือไม่
• ตามกฎหมายใหม่ ไม่มีกระบวนการเหล่านีแY ล้ว
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• ในการตังL และประกอบกิจการโรงงานนันL กฎหมายได้กาํ หนดหลักเกณฑ์
รายละเอียดเอาไว้ซง>ึ ผูร้ บั ใบอนุญาตต้องปฏิบตั ติ าม
• โดยในการตังL และประกอบกิจการโรงงานจําพวกที> a และ d นันL มีหลักเกณฑ์
ดังนี L
• a.สถานที>ตงัL
• ห้ามตังL โรงงานจําพวกที> a และ d ในบริเวณดังนี L
• -บ้านจัดสรรเพื>อการพักอาศัย อาคารชุดพักอาศัย และบ้านแถวเพื>อการพัก
อาศัย
• -ภายในระยะ `_ เมตรจากเขตติดต่อสาธารณสถาน เช่น โรงเรียน/
สถาบันการศึกษา วัด/ศาสนสถาน โรงพยาบาล โบราณสถาน และสถานที>
ทําการงานของหน่วยงานของรัฐ รวมถึงแหล่งอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ>งแวดล้อม
• ทังL นี L ต้องพิจารณาพืนL ที>อตุ สาหกรรมตามกฎหมายผังเมืองด้วย
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• U.อาคารโรงงาน ต้องมีลกั ษณะ ดังนี Y
• - โรงงานต้องมั0นคง แข็งแรง เหมาะสม และมีบริเวณเพียงพอ โดยมีคาํ
รับรองของผูป้ ระกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
• - มีการระบายอากาศที0เหมาะสม
• - มีประตูทางออกให้พอกับจํานวนคนในโรงงานที0จะหลบหนีภยั ได้ใน
กรณีท0ีมีเหตุฉกุ เฉินอย่างน้อย U แห่งอยูห่ า่ งกันพอสมควร
• - บันไดต้องมั0นคงแข็งแรง มีขนาดและจํานวนที0เหมาะสม มีราวที0ม0นั คง
แข็งแรง
• - ระยะระหว่างพืนY ถึงเพดานต้องไม่นอ้ ยกว่า W เมตร เว้นแต่จะมีระบบ
ปรับอากาศหรือระบายอากาศที0เหมาะสม แต่ตอ้ งไม่นอ้ ยกว่า U.W เมตร
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• - พืนY ต้องมั0นคงแข็งแรง ไม่มีนาYํ ขังหรือลื0นอันอาจก่อให้เกิดอุบตั เิ หตุ
• - บริเวณหรือห้องทํางานต้องมีพืนY ที0ปฏิบตั งิ านไม่นอ้ ยกว่า W ตร.เมตร
ต่อคนงาน T คน
• - วัสดุก่อสร้างต้องเหมาะสม และไม่ก่อให้เกิดการลุกลามของอัคคีภยั
• - มีสายล่อฟ้าตามความจําเป็ นและเหมาะสม
• - มีท0ีเก็บรักษาวัสดุหรือสิ0งของที0อาจก่อให้เกิดอันตรายหรืออัคคีภยั ได้
ง่ายไว้ในที0ปลอดภัย
• - ในกรณีมีลฟิ ท์จะต้องเป็ นแบบที0เคลื0อนที0ได้เมื0อประตูปิดแล้ว รวมทังY มี
ระบบส่งสัญญาณฉุกเฉิน มีปา้ ยระบุจาํ นวนคนหรือนําY หนักบรรทุกที0เห็น
ได้งา่ ยและชัดเจน
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• - มีหอ้ งส้วม ที0ปัสสาวะ และสถานที0ทาํ ความสะอาดร่างกาย โดยมี
จํานวนที0เหมาะสมกับจํานวนคนงาน ในกรณีท0ีมีอาคารหลายชันY ต้องจัด
ให้มีในชันY ต่าง ๆ ตามความจําเป็ นและเหมาะสม
• W.เครือ0 งจักร เครือ0 งอุปกรณ์ หรือสิ0งที0นาํ มาใช้ในโรงงาน ต้องมีลกั ษณะ
ดังนี Y
• - มั0นคง แข็งแรง และเหมาะสม และต้องมีคาํ รับรองของผูป้ ระกอบ
วิชาชีพวิศวกรรมควบคุม(ในกรณีท0ีรฐั มนตรีประกาศกําหนด)
• - มีความปลอดภัยและไม่ก่อให้เกิดความสั0นสะเทือน เสียง หรือ
คลื0นวิทยุรบกวนผูอ้ ยูอ่ าศัยใกล้เคียง
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• - มีเครือ0 งป้องกันอันตรายอันอาจเกิดจากส่วนเคลื0อนไหวของเครือ0 งจักร
ตามความจําเป็ นและเหมาะสม
• - บ่อหรือถังเปิ ดที0ทาํ งานสนองกับเครือ0 งจักรที0อาจเป็ นอันตรายในการ
ปฏิบตั งิ านของคนงาน ต้องมีขอบหรือราวกันY แข็งแรงและปลอดภัย
ทางด้านที0คนเข้าถึงได้สงู ไม่นอ้ ยกว่า T เมตรจากระดับพืนY ที0ตดิ กับบ่อ
หรือถังนันY
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• k.คนงานประจําโรงงาน
• - จะต้องมีความรูค้ วามสามารถตามประเภท ชนิด หรือขนาดของ
โรงงานที0ทาํ งานอยู่ โดยเฉพาะอย่างยิ0งความรูค้ วามสามารถเฉพาะด้าน
• V.การควบคุมการปล่อยของเสีย มลพิษ หรือสิ0งใดๆ ที0มีผลกระทบต่อ
สิ0งแวดล้อม รวมถึงมีการกําจัดขยะ สิ0งปฏิกลู และวัสดุท0ีไม่ใช้ ดังนี Y
• - ต้องรักษาโรงงานให้สะอาดปราศจากขยะและสิ0งปฏิกลู อยูเ่ สมอ และ
จัดให้มีท0ีรองรับหรือกําจัดขยะและสิ0งปฏิกลู ตามความจําเป็ นและ
เหมาะสม
• - ต้องแยกเก็บสิ0งปฏิกลู หรือวัสดุท0ีไม่ใช้แล้ว ซึง0 มีวตั ถุมีพิษปนอยูด่ ว้ ย
หรือวัตถุไวไฟ ไว้ในที0รองรับต่างหากที0เหมาะสมและมีฝาปิ ดมิดชิด และ
ต้องมีวิธีการกําจัดที0ปลอดภัยและไม่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนรําคาญ
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• - สิ0งปฏิกลู หรือวัสดุไม่ใช้แล้วบางอย่างที0อนั ตราย(ตามที0มีการประกาศ
กําหนด) ห้ามนําออกนอกบริเวณโรงงาน และในการทําลายหรือกําจัด
ต้องเป็ นไปตามวิธีการที0กาํ หนดไว้
• การฝังกลบ จะต้องมีระบบกันซึมการรั#วไหล ระบบระบายก๊าซและบําบัดนําA เสีย ตาม
ความเหมาะสม โดยไม่สง่ ผลกระทบต่อสิ#งแวดล้อม และได้รบั ความเห็นชอบจากกรม
โรงงานอุตสาหกรรม
• การเผา จะต้องเผาโดยควบคุมค่ามาตรฐานของมวลสารที#ระบายออกจากปล่อง ให้
เป็ นไปตามมาตรฐานที#กาํ หนด
• การกําจัดโดยวิธีอ#ืน ซึง# ต้องได้รบั ความเห็นชอบจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม เช่น การ
หมักทําปุ๋ ย การนําไปถมทะเลหรือที#ลมุ่ การนํากลับไปใช้ประโยชน์อีก
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• - ห้ามระบายนําY ทิงY ออกจากโรงงาน เว้นแต่จะได้ทาํ การจนนําY ทิงY นันY
เป็ นไปตามมาตรฐานที0กาํ หนด ถ้าใช้วิธีทาํ ให้เจือจางต้องเป็ นไปตาม
หลักเกณฑ์ท0ีกาํ หนด
• นําY ทิงY หมายถึง นําY เสียที0เกิดจากการประกอบกิจการที0ระบายลงสูแ่ หล่ง
นําY สาธารณะหรือออกสูส่ 0งิ แวดล้อม และให้หมายความรวมถึงนําY เสีย
จากการใช้นาYํ ของคนงาน รวมทังY กิจกรรมอื0นในโรงงาน
• การตรวจสอบค่ามาตรฐานนําY ทิงY จากโรงงานจะต้องเป็ นไปตามคูม่ ือ
วิเคราะห์นาYํ เสียของสมาคมวิศวกรสิ0งแวดล้อมแห่งประเทศไทย โดยจะ
พิจารณาคุณสมบัตขิ องนําY ในเรือ0 งต่างๆ เช่น
• ความเป็ นกรด/ด่าง สารแขวนลอย โลหะหนัก ซัลไฟด์ ไซยาไนด์ คลอรีน
อิสระ สี กลิ0น นําY มันและไขมัน ค่าบีโอดี ค่าซีโอดี เป็ นต้น
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• - ในกรณีท0ีมีระบบบําบัดนําY เสีย ผูป้ ระกอบการจะต้องปฏิบตั ดิ งั นี Y
• ต้องติดตังA มาตรวัดปริมาณการใช้ไฟฟ้าสําหรับระบบบําบัดนําA เสียโดยเฉพาะไว้ในที#ท#ี
ง่ายต่อการตรวจสอบ และต้องมีการจดบันทึกเลขหน่วยและปริมาณการใช้ไฟฟ้า
ประจําวันด้วย
• ในกรณีท#ีมีการใช้สารเคมีหรือสารชีวภาพในระบบบําบัดนําA เสีย ต้องมีการบันทึกการ
ใช้ประจําวัน และมีหลักฐานการจัดหาสารเคมีหรือสารชีวภาพดังกล่าว
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• - ห้ามระบายอากาศเสียจากโรงงาน เว้นแต่จะได้ทาํ การจนอากาศนันY มี
ปริมาณของสารเจือปนไม่เกินกว่าค่าที0กาํ หนด แต่ตอ้ งไม่ใช้วิธีเจือจาง
• โดยสารเจือปนที0จะต้องควบคุมตรวจสอบ ได้แก่
• ฝุ่ นละออง พลวง สารหนู ทองแดง ตะกั0ว คลอรีน ปรอท ไฮโดรเจนคลอ
ไรด์ คาร์บอนมอนนอกไซด์ กรดกํามะถัน ซัลเฟอร์ไดออกไซด์
ไฮโดรเจนซัลไฟด์ เป็ นต้น
• - ในการประกอบกิจการจะต้องมีเสียงดังไม่เกินกว่ามาตรฐานที0กาํ หนด
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• a.ความปลอดภัยในการประกอบกิจการโรงงาน
• จะต้องเป็ นไปตามมาตรการคุม้ ครองความปลอดภัยในการดําเนินการ
และมาตรการหลักเกณฑ์เกี0ยวกับการนําเครือ0 งจักร เครือ0 งอุปกรณ์ หรือ
สิ0งที0นาํ มาใช้ในโรงงาน ที0ได้มีการประกาศกําหนด
• ซึง0 ได้มีการประกาศกําหนดตามลักษณะ ประเภท ชนิดของโรงงานและ
เครือ0 งจักร
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• สําหรับการตังY และประกอบกิจการโรงงานจําพวกที0 W นันY กฎหมาย
กําหนดหลักเกณฑ์เอาไว้ในลักษณะเดียวกับโรงงานจําพวกที0 T และ U
แต่มีรายละเอียดแตกต่างและเพิ0มเติม ดังนี Y
• T.สถานที0ตงัY โรงงาน
• จะต้องไม่ตงัY โรงงานภายในระยะ T]] เมตรจากเขตติดต่อ
สาธารณสถาน
• ตังY อยูใ่ นทําเลและสภาพแวดล้อมที0เหมาะสม มีบริเวณเพียงพอที0จะ
ประกอบอุตสาหกรรมตามขนาด ประเภท ชนิดของโรงงาน โดยไม่
ก่อให้เกิดอันตราย เหตุราํ คาญ หรือความเสียหายต่อบุคคลหรือ
ทรัพย์สนิ ของผูอ้ 0ืนด้วย
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• d.เครือ> งจักร เครือ> งอุปกรณ์ หรือสิ>งที>นาํ มาใช้ในโรงงาน
• สําหรับโรงงานจําพวกที> ^ อาจจะจําเป็ นต้องใช้เครือ> งจักรที>อาจก่อให้เกิด
อันตรายได้ กฎหมายจึงจําเป็ นต้องกําหนดหลักเกณฑ์เพิ=มเติม
• - ในกรณีใช้หม้อไอนําB (Boiler) หม้อต้มที=ใช้ของเหลว หรือก๊าซเป็ นสื=อนํา
ความร้อน เครือ= งอัดก๊าซ (Compressor) หรือถังปฏิกิรยิ า (Reactor) จะต้อง
ได้รบั การออกแบบ คํานวณ และสร้างมาตรฐานที=ยอมรับ หรือผ่านการ
ทดสอบความปลอดภัยในการใช้งาน รวมถึงมีการติดตังB ที=ม=นั คงแข็งแรง
ปลอดภัย โดยมีคาํ รับรองของผูป้ ระกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
• ในกรณีท=ีมีภาชนะบรรจุท=ีมีความกดดันต่างจากบรรยากาศ (Pressure
Vessel) จะต้องเป็ นไปตามมาตรฐานที=ยอมรับ มีอปุ กรณ์ความปลอดภัยและ
ส่วนประกอบที=จาํ เป็ นตามหลักวิชาการ โดยมีคาํ รับรองของผูป้ ระกอบ
วิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• -ในกรณีท>ีมีภาชนะบรรจุวตั ถุอนั ตราย เช่น วัตถุไวไฟ วัตถุระเบิด วัตถุเคมี
หรือของเหลวอื>นใดที>อาจทําให้เกิดอันตรายแก่บคุ คล สัตว์ พืช ทรัพย์ หรือ
สิ>งแวดล้อม ที>มีขนาดของภาชนะตังL แต่ d`,___ ลิตรขึนL ไป จะต้องมั>นคง
แข็งแรง เป็ นไปตามมาตรฐานโดยมีคาํ รับรองของผูป้ ระกอบวิชาชีพวิศวกรรม
ควบคุม และต้องสร้างเขื>อนหรือกําแพงคอนกรีตโดยรอบให้มีขนาดที>สามารถ
กักเก็บปริมาณของวัตถุดงั กล่าวได้ทงัL หมด รวมถึงจัดให้มีวตั ถุหรือเคมีภณ
ั ฑ์
ที>มีคณ
ุ สมบัตเิ หมาะสมในการระงับหรือลดความรุนแรงของการแพร่กระจาย
ได้อย่างเหมาะสมเพียงพอ
• ในกรณีท>ีภาชนะตังL อยูใ่ นที>โล่งแจ้งจะต้องมีสายล่อฟ้าให้เป็ นไปตามหลัก
วิชาการ และภาชนะบรรจุท>ีอาจเกิดประจุไฟฟ้าสถิตย์ได้ในตัวต้องต่อสายดิน
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• -ในกรณีทAีมีเครือA งยก (Crane and Hoist) และส่วนรับนํา* หนัก
ต่อเนืAองกัน ต้องมัAนคงแข็งแรง มีปา้ ยระบุนา*ํ หนักปลอดภัยสูงสุดทีAจะใช้
ยกของได้ให้เห็นได้งา่ ยและชัดเจน และต้องมีหา้ มล้อซึงA หยุดนํา* หนักได้
และถ้าเป็ นเครือA งยกทีAใช้ไฟฟ้า ต้องมีอปุ กรณ์สาํ หรับหยุดยกและตัด
กระแสไฟฟ้าเมืAอยกนํา* หนักถึงตําแหน่งสูงสุดทีAกาํ หนด
• -ในกรณีทAีมีเครือA งลําเลียงขนส่ง (Conveyer) ซึงA มีสายลําเลียงผ่านเหนือ
บริเวณซึงA มีคนปฏิบตั งิ านหรือทางเดิน ต้องมีเครือA งป้องกันของตกแบบ
แผ่นหรือตะแกรงกันด้านข้าง และรองรับของตกตลอดใต้สายลําเลียงนัน*
• -ในกรณีทAีตดิ ตัง* ท่อและอุปกรณ์สาํ หรับส่งวัตถุทางท่อต้องเป็ นไปตาม
หลักวิชาการทีAยอมรับกัน
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• - ระบบไฟฟ้า การเดินสายไฟฟ้าและการติดตังY เครือ0 งยนต์ไฟฟ้า สวิทซ์
ไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าอื0น ต้องเป็ นไปตามหลักวิชาการที0ยอมรับกัน
โดยมีคาํ รับรองของผูป้ ระกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
• W.คนงานประจําโรงงาน
• - ในกรณีท0ีมีการใช้หม้อไอนําY จะต้องจัดให้มีผคู้ วบคุมโดยมีคณ ุ วุฒิ
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชันY สูงสาขาช่างกลโรงงานหรือช่างยนต์
หรือช่างผูช้ าํ นาญงานที0ผา่ นการฝึ กอบรมหลักสูตรผูค้ วบคุมหม้อไอนําY
จากระทรวงอุตสาหกรรม
• -ในกรณีท0ีหม้อไอนําY มีกาํ ลังผลิตตังY แต่ U] ตันต่อชั0วโมงขึนY ไป นอกจาก
จะต้องมีผคู้ วบคุมแล้ว จะต้องจัดให้มีผปู้ ระกอบวิชาชีพวิศวกรรม
ควบคุม เป็ นวิศวกรควบคุมและอํานวยการใช้หม้อไอนําY ด้วย
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• - โรงงานที0ตอ้ งมีวิธีการควบคุมการปล่อยของเสีย มลพิษ หรือสิ0งใด ๆ ที0
มีผลกระทบต่อสิ0งแวดล้อมตามที0ประกาศกําหนด ต้องจัดให้มีผู้
ควบคุมดูแลและผูป้ ฏิบตั งิ านประจําสําหรับระบบป้องกันสิ0งแวดล้อม
เป็ นพิษ
• - โรงงานที0มีสารกัมมันตรังสีตอ้ งจัดให้มีเจ้าหน้าที0ท0ีมีคณ
ุ สมบัตติ ามที0
กําหนดด้วย
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• หลักเกณฑ์การประกอบกิจการโรงงาน(นอกเหนือจากที>กล่าวไปแล้วในส่วน
ของการตังL โรงงาน)
• a.หน้าที>ของผูร้ บั ใบอนุญาต
• - หน้าที>ในการดูแลรักษาโรงงานและเครือ> งจักร ต้องจัดให้มีการตรวจสอบ
สภาพอาคารโรงงานและเครือ> งจักรเป็ นประจํา บํารุงรักษาซ่อมแซมให้อยูใ่ น
สภาพดีเหมาะแก่การใช้งาน
• - ต้องดูแลในเรือ> งทางออกฉุกเฉินในโรงงาน ต้องดูแลให้ทางออกฉุกเฉิน
พร้อมที>จะใช้งานได้โดยง่ายอยูต่ ลอดเวลา
• - ต้องจัดให้มีสญ ั ญาณแจ้งเหตุอนั ตราย ณ ที>ตา่ งกันอย่างน้อย d แห่ง ที>
สามารถแจ้งเหตุได้ชดั เจนและพอเพียง สําหรับโรงงานที>มีก๊าซอันอาจเป็ น
อันตรายต่อบุคคลหรือโรงงานที>มีวตั ถุไวไฟที>มีคนปฏิบตั งิ านตังL แต่ `_ คนขึนL
ไป หรือโรงงานที>มีวสั ดุอนั อาจติดไฟได้งา่ ยที>มีคนปฏิบตั งิ านตังL แต่ a__ คน
ขึนL ไป เป็ นต้น
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• - ต้องจัดให้มีเครือ0 งดับเพลิงหรือสิ0งอื0นที0ใช้ในการดับเพลิงและการ
ป้องกันอัคคีภยั รวมถึงต้องตรวจสอบให้อยูใ่ นสภาพใช้งานอยูเ่ สมอ
และมีการฝึ กซ้อมคนงานให้รูจ้ กั วิธีใช้เครือ0 งมือดับเพลิงด้วย
• - ต้องดําเนินการในการกําจัดสิ0งปฏิกลู การระบายนําY ทิงY และการระบาย
อากาศให้เป็ นไปตามที0กฎหมายกําหนด
• - ต้องจัดให้มีแสงสว่างในการทํางานที0เพียงพอและเหมาะสม
• - ต้องจัดให้มีสถานที0ทาํ งานที0เหมาะสมเพียงพอ โดยคนงานจะต้องมี
พืนY ที0ปฏิบตั งิ านไม่นอ้ ยกว่า W ตร.ม.ต่อคน
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• - ต้องจัดให้มีเครือ0 งมือเครือ0 งใช้ในการปฐมพยาบาลเบือY งต้นอย่าง
เพียงพอ สะอาดถูกสุขลักษณะ พร้อมใช้งานในทันที
• - ต้องจัดให้มีหอ้ งนําY ห้องส้วม ที0ปัสสาวะ หรือสถานที0ทาํ ความสะอาด
ร่างกาย ตามที0กฎหมายกําหนด
• - ต้องจัดให้มีนาYํ สะอาดสําหรับดื0ม
• - ต้องจัดการป้องกันอุบตั เิ หตุหรืออันตรายจากเครือ0 งจักร เครือ0 งมือ
เครือ0 งเคลื0อนย้าย หยิบยกหรือลําเลียงวัสดุ สายไฟฟ้า ท่อไอนําY หรือ
วัสดุอ0ืนเป็ นสื0อส่งกําลังในโรงงาน
• - ต้องดําเนินการจัดเก็บและการใช้วตั ถุมีพิษ วัตถุเคมี วัตถุไวไฟ วัตถุ
ระเบิด และวัตถุอ0ืนที0อาจเป็ นอันตราย และมีวิธีการป้องกันและเครือ0 ง
ป้องกันมิให้เกิดอันตรายแก่คนงาน
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• - ต้องดําเนินการประกอบกิจการโรงงานมิให้เกิดเหตุเดือดร้อนรําคาญ
โดยการกําจัดกลิ0น เสียง ความสั0นสะเทือน ฝุ่ นละออง เขม่า เถ้าถ่าน ที0
เกิดจากโรงงาน
• ทังY นี Y จะมีประกาศกําหนดหลักเกณฑ์การประกอบกิจการโรงงานสําหรับ
โรงงานบางประเภทที0อาจก่อให้เกิดอันตรายร้ายแรงเป็ นการเฉพาะ ซึง0
ต้องดูเป็ นเรือ0 ง ๆ ไป
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• U.การขยายโรงงาน
• โดยหลักแล้วการขยายโรงงานจะต้องได้รบั อนุญาต
• การขยายโรงงาน หมายถึง
• การเพิ#มจํานวน เปลี#ยน หรือแปลงเครือ# งจักรทําให้มีกาํ ลังรวมเพิ#มขึนA ในลักษณะ ดังนี A
– เพิ$มขึน( ตัง( แต่ 01 แรงม้าขึน( ไป ในกรณีเครือ$ งจักรเดิมมีกาํ ลังรวมไม่เกิน C11 แรงม้า
– เพิ$มขึน( ตัง( แต่ C11 แรงม้าขึน( ไป ในกรณีเครือ$ งจักรเดิมมีกาํ ลังรวมไม่เกิน 011 แรงม้า
– เพิ$มขึน( ตัง( แต่ D11 แรงม้าขึน( ไป ในกรณีเครือ$ งจักรเดิมมีกาํ ลังรวมเกิน 011 แต่ไม่เกิน C111
แรงม้า
– เพิ$มขึน( ตัง( แต่ E11 แรงม้าขึน( ไป ในกรณีเครือ$ งจักรเดิมมีกาํ ลังรวมเกิน C111 แต่ไม่เกิน D111
แรงม้า
– เพิ$มขึน( ตัง( แต่ F11 แรงม้าขึน( ไป ในกรณีเครือ$ งจักรเดิมมีกาํ ลังรวมเกิน D111 แต่ไม่เกิน E111
แรงม้า
– เพิ$มขึน( ตัง( แต่ 011 แรงม้าขึน( ไป ในกรณีเครือ$ งจักรเดิมมีกาํ ลังรวมเกิน E111 แรงม้าขึน( ไป
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• การขออนุญาตขยายโรงงานก็ทาํ ในลักษณะเดียวกับการขออนุญาต
ประกอบกิจการโรงงานจําพวกที0 W
• โดยเมื0อได้รบั การอนุญาต และดําเนินการติดตังY เครือ0 งจักรใหม่เสร็จแล้ว
จะเริม0 ดําเนินการได้ตอ้ งแจ้งให้เจ้าหน้าที0ทราบก่อนล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่า
TV วัน ก่อนวันเริม0 ประกอบกิจการ รวมทังY การจะทดลองเดินเครือ0 งจักรก็
ต้องดําเนินการในลักษณะเดียวกับในขันY ตอนขออนุญาตประกอบ
กิจการโรงงาน
• เมื0อเจ้าหน้าที0ได้รบั คําขอขยายโรงงาน ก็ตอ้ งดําเนินการตรวจสอบโดย
ใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• อย่างไรก็ตาม มีขอ้ ยกเว้นที0แม้การกระทําจะเป็ นการเข้าข่ายการขยาย
โรงงาน แต่เป็ นการขยายเพื0อวัตถุประสงค์บางประการ ก็จะได้รบั ยกเว้นไม่
ต้องขออนุญาต แต่ตอ้ งแจ้งให้ทราบล่วงหน้าก่อนไม่นอ้ ยกว่า W] วัน เช่น
• ขยายโรงงานเพื0อให้มีการบําบัดมลพิษ หรือทําให้การบําบัดมลพิษเดิมมี
ประสิทธิภาพที0ดีย0ิงขึนY
• ขยายโรงงานเพื0อให้มีมาตรการป้องกันหรือลดเหตุเดือดร้อนรําคาญ
• ขยายโรงงานเพื0อการเปลี0ยนแปลงเครือ0 งจักรเดิมที0เป็ นเครือ0 งต้นกําลังให้มี
ประสิทธิภาพที0ดีย0ิงขึนY หรือเพื0อให้ผลกระทบต่อสิ0งแวดล้อมลดลง
• ขยายโรงงานเพื0อเปลี0ยนแปลงพลังงานของเครือ0 งจักรเดิมให้มีประสิทธิภาพ
ยิ0งขึนY
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• ^.การเพิ>มจํานวน เปลี>ยนแปลงเกี>ยวกับเครือ> งจักรหรือโรงงาน แต่ไม่ถงึ ขันL
การขยายโรงงาน
• กล่าวคือเป็ นกรณีท>ีเพิ>มจํานวน เปลี>ยนแปลงเครือ> งจักรแต่ไม่ทาํ ให้กาํ ลัง
เครือ> งจักรรวมเพิ>มขึนL ถึงขนาดที>เรียกได้วา่ ขยายโรงงาน หรือทําให้กาํ ลัง
ลดลง
• หรือเพิ>มพืนL ที>หรือก่อสร้างอาคารโรงงานใหม่ ทําให้เนือL ที>โรงงานเพิ>มขึนL ตังL แต่
`__ ตร.ม. ขึนL ไปในกรณีเนือL ที>โรงงานไม่เกิน d___ ตร.ม. หรือเพิ>มขึนL ตังL แต่
a___ ตร.ม.ขึนL ไปในกรณีเนือL ที>โรงงานเกินกว่า d___ ตร.ม.
• ในกรณีนีไL ม่ตอ้ งขออนุญาต แต่ตอ้ งแจ้งเป็ นหนังสือให้เจ้าหน้าที>ทราบภายใน
a` วันนับแต่วนั ที>มีการเพิ>มหรือเปลี>ยนแปลงเครือ> งจักร หรือเพิ>มเนือL ที>อาคาร
แล้วแต่กรณี
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• 4.การขอย้ายโรงงาน
• การขอย้ายโรงงาน หมายถึง การย้ายโรงงานไปยังสถานทีAอAืนนอกสถาน
ทีAตงั* เดิม
• ต้องดําเนินการเหมือนการตัง* โรงงานใหม่ คือ ต้องยืAนคําขอรับ
ใบอนุญาตตามแบบทีAกาํ หนดพร้อมทัง* เอกสารหลักฐานต่าง ๆ
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• V.การเปลี0ยนชื0อโรงงานหรือชื0อผูร้ บั ใบอนุญาต
• ในกรณีเปลี0ยนชื0อโรงงาน หรือชื0อผูร้ บั ใบอนุญาต จะต้องแจ้งเป็ นหนังสือ
ให้พนักงานเจ้าหน้าที0ทราบ
• ภายใน TV วันนับแต่เปลี0ยนชื0อโรงงานหรือชื0อผูร้ บั ใบอนุญาต
• กรณีนีหY มายถึงผูร้ บั ใบอนุญาตเปลี0ยนชื0อของตนเอง มิใช่กรณีเปลี0ยน
ผูร้ บั ใบอนุญาตเป็ นบุคคลอื0น ซึง0 เป็ นกรณีการโอนการประกอบกิจการ
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• a.การย้ายเครือ0 งจักรบางส่วนไปเพื0อประกอบกิจการชั0วคราว
• ในกรณีท0ีตอ้ งการย้ายเครือ0 งจักรบางส่วนที0ตดิ ตังY ในโรงงานไปยังสถานที0
อื0นเพื0อประกอบกิจการโรงงานเป็ นการชั0วคราว
• ต้องยื0นคําขออนุญาตต่อผูอ้ นุญาต พร้อมทังY แผนผังและรายละเอียดอื0น
ที0แสดงเหตุผลประกอบการพิจารณา
• โดยในการอนุญาตสามารถอนุญาตให้ยา้ ยได้ภายในระยะเวลาที0
กําหนด แต่ตอ้ งไม่เกิน T ปี นบั แต่วนั ที0มีคาํ สั0ง
• หากจําเป็ นจะต้องประกอบกิจการเกินกว่าระยะเวลาที0ได้รบั อนุญาต ก็
ขอขยายระยะเวลาได้ก่อนที0สนิ Y ระยะเวลาเดิม แต่สามารถขยายได้ตอ่ ไป
อีกไม่เกิน T ปี
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• h.การหยุดดําเนินงานติดต่อกันเกินกว่า T ปี
• ในกรณีท0ีโรงงานจําพวกที0 U และ W หยุดดําเนินงานติดต่อกันเกินกว่า T
ปี
• ผูป้ ระกอบกิจการต้องแจ้งเป็ นหนังสือให้เจ้าหน้าที0ทราบภายใน h วันนับ
แต่วนั ที0พน้ กําหนด T ปี
• หากต่อมาประสงค์จะประกอบกิจการต่อไปต้องแจ้งเป็ นหนังสือให้
เจ้าหน้าที0ทราบก่อนเริม0 ประกอบกิจการ สําหรับโรงงานจําพวกที0 U
• และในกรณีโรงงานจําพวกที0 W ต้องได้รบั อนุญาตก่อนจึงจะประกอบ
กิจการโรงงานได้ โดยในการอนุญาตนันY ต้องตรวจสอบ
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• o.กรณีเกิดอุบตั เิ หตุอนั ตราย
• ในการประกอบกิจการโรงงานอาจจะมีอบุ ตั เิ หตุเกิดขึนY ได้
• ในกรณีนีกY ฎหมายกําหนดว่าในกรณีมีอบุ ตั เิ หตุในโรงงานเนื0องจาก
โรงงานหรือเครือ0 งจักรของโรงงานไม่วา่ จะเป็ นโรงงานจําพวกใด
• T) ถ้าอุบตั เิ หตุนนัY เป็ นเหตุให้มีคนตาย เจ็บป่ วย หรือได้รบั บาดเจ็บ ซึง0
ภายหลัง hU ชั0วโมงแล้วยังไม่สามารถทํางานในหน้าที0เดิมได้ ให้
ผูป้ ระกอบการแจ้งเป็ นหนังสือให้เจ้าหน้าที0ทราบภายใน W] วันนับแต่
วันที0ตายหรือวันครบกําหนด hU ชั0วโมงแล้วแต่กรณี
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• U)ถ้าอุบตั เิ หตุนนัY เป็ นเหตุให้โรงงานต้องหยุดดําเนินงานเกินกว่า h วัน ผู้
ประกอบกิจการต้องแจ้งเป็ นหนังสือให้เจ้าหน้าที0ทราบภายใน T] วันนับ
แต่วนั เกิดเหตุ
• ในกรณีนีเY จ้าหน้าที0ตอ้ งเข้าไปตรวจสอบโรงงานและเครือ0 งจักร ถ้าเห็นว่า
สภาพของโรงงานหรือเครือ0 งจักร หากปล่อยให้ดาํ เนินการไปอาจ
ก่อให้เกิดอันตราย ความเสียหายหรือความเดือดร้อนแก่บคุ คลหรือ
ทรัพย์สนิ ที0อยูใ่ นโรงงานหรือที0อยูใ่ กล้เคียงกับโรงงาน
• เจ้าหน้าที0สามารถสั0งให้ระงับการประกอบกิจการ หรือแก้ไขปรับปรุง
หรือปฏิบตั ใิ ห้ถกู ต้องเหมาะสมได้ภายในเวลาที0กาํ หนด
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• ในกรณีท0ีผปู้ ระกอบการไม่ปฏิบตั ติ ามคําสั0งของเจ้าหน้าที0ท0ีให้ระงับการ
ดําเนินการ/แก้ไขปรับปรุง หรือในกรณีท0ีปรากฎว่าการประกอบกิจการ
ของโรงงานอาจจะก่อให้เกิดอันตราย ความเสียหายหรือความเดือดร้อน
อย่างร้ายแรงแก่บคุ คลหรือทรัพย์สนิ ที0อยูใ่ นโรงงานหรือที0อยูใ่ กล้เคียง
กับโรงงาน
• ปลัดกระทรวงหรือผูท้ 0ีปลัดกระทรวงมอบหมายมีอาํ นาจสั0งให้หยุด
ประกอบการทังY หมดหรือบางส่วนเป็ นการชั0วคราว และปรับปรุงแก้ไขให้
ถูกต้องภายในเวลาที0กาํ หนด
• หากผูป้ ระกอบการทําตามคําสั0งภายในกําหนด ปลัดกระทรวงหรือผูท้ 0ี
ได้รบั มอบหมายจะสั0งให้ประกอบกิจการโรงงานต่อไป
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• หากไม่ปฏิบตั ติ ามคําสั0งให้ถกู ต้องภายในเวลาที0กาํ หนด ปลัดกระทรวง
หรือผูท้ 0ีปลัดมอบหมายสามารถสั0งปิ ดโรงงานได้ และในกรณีท0ีเป็ น
โรงงานจําพวกที0 W คําสั0งปิ ดโรงงานมีผลเป็ นการเพิกถอนใบอนุญาต
ด้วย
• คําสั0งของเจ้าหน้าที0หรือปลัดกระทรวงหรือผูท้ 0ีปลัดกระทรวงมอบหมาย
สามารถอุทธรณ์ตอ่ รัฐมนตรีได้ภายใน W] วันนับแต่วนั ที0ทราบคําสั0ง
• แต่การอุทธรณ์ไม่เป็ นการทุเลาการปฏิบตั ิตามคําสั0ง
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• ในกรณีทAีผปู้ ระกอบกิจการไม่ปฏิบตั ติ ามคําสัAงของเจ้าหน้าทีA ถ้ามีเหตุ
สมควรทีAทางราชการต้องเข้าไปดําเนินการแทน ให้ปลัดกระทรวงหรือผู้
ซึงA ได้รบั มอบหมายมีอาํ นาจสัAงให้เจ้าหน้าทีAหรือบุคคลใด เข้าไปจัดการ
แก้ไขเพืAอให้เป็ นไปตามคําสัAงก็ได้ โดยผูป้ ระกอบกิจการโรงงานเป็ นผู้
เสียค่าใช้จา่ ยในการจัดการนัน*
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• Z.การเปลี0ยนจําพวกโรงงาน
• T) โรงงานที0ได้รบั ใบอนุญาตแล้ว หากต่อมาประกอบกิจการลดน้อยลง
โดยมีการใช้เครือ0 งจักรตํ0ากว่า V] แรงม้า หรือจํานวนคนงานตํ0ากว่า V]
คน
• ให้ถือว่าเป็ นโรงงานตามกฎหมายโรงงานจนกว่าจะได้มีการแจ้งเลิก
ประกอบกิจการโรงงาน
• U) ในกรณีท0ีผรู้ บั ใบอนุญาตจะเปลี0ยนแปลงโรงงานจําพวกที0 W เป็ น
โรงงานจําพวกที0 T หรือจําพวกที0 U
• ในกรณีนีใY ห้แจ้งเลิกประกอบกิจการโรงงานจําพวกที0 W เสียก่อน
• แล้วจึงดําเนินการสําหรับการประกอบกิจการโรงงานแต่ละจําพวก
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• W) กรณีท0ีมีประกาศกําหนดจําพวกโรงงาน ทําให้โรงงานจําพวกที0 T หรือ
U เปลี0ยนเป็ นโรงงานจําพวกที0 W
• ในกรณีนีผY ปู้ ระกอบกิจการโรงงานจําพวกที0 T หรือ U ต้องยื0นคําขอ
อนุญาตประกอบกิจการโรงงานจําพวกที0 W ตามที0กาํ หนดภายใน W] วัน
นับแต่วนั ที0มีประกาศกฎกระทรวงกําหนดจําพวกของโรงงาน
• ในระหว่างกระบวนการให้ใบอนุญาตให้ผปู้ ระกอบกิจการดําเนินงาน
ต่อไปได้เสมือนเป็ นผูไ้ ด้รบั ใบอนุญาต
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• 10.การเลิกประกอบกิจการ
• หมายถึง การเลิก ปิ ด งดเว้น ไม่กระทําการใด ๆ ทัง* สิน* เกีAยวกับการ
ดําเนินการโรงงานนัน* ๆ ต่อไป
• ในกรณีทAีผปู้ ระกอบกิจการประสงค์จะเลิกประกอบกิจการ จะต้องแจ้ง
เป็ นหนังสือต่อผูอ้ นุญาตไม่นอ้ ยกว่า >t วันก่อนวันเลิกประกอบกิจการ
• หากผูอ้ นุญาตเห็นว่าโรงงานทีAจะเลิกประกอบกิจการอยูใ่ นสภาพทีAอาจ
ก่อให้เกิดอันตรายได้ ก็สามารถสัAงให้ผรู้ บั ใบอนุญาตแก้ไขปรับปรุงได้
ในกรณีนีใ* ห้ถือเสมือนว่าเจ้าของกิจการยังคงเป็ นผูป้ ระกอบกิจการ
จนกว่าจะได้ดาํ เนินการตามสัAง
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• 11.การขอยกเลิกหรือเปลีAยนแปลงเงืAอนไขทีAตอ้ งปฏิบตั ใิ นการประกอบ
กิจการ
• ในการให้ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานนัน* ผูอ้ นุญาตสามารถ
กําหนดเงืAอนไขทีAตอ้ งปฏิบตั เิ อาไว้เป็ นพิเศษซึงA ผูป้ ระกอบกิจการโรงงาน
ต้องปฏิบตั ติ าม
• เช่น กําหนดช่วงเวลาประกอบกิจการโรงงานเป็ นการเฉพาะ
• อย่างไรก็ตาม กฎหมายเปิ ดโอกาสให้ผปู้ ระกอบกิจการขอยกเลิกหรือ
เปลีAยนแปลงเงืAอนไขได้ โดยยืAนคําขอและชีแ* จงเหตุผลต่อผูอ้ นุญาต
• ทัง* นีผ* อู้ นุญาตอาจจะสัAงเปลีAยนแปลงแก้ไขได้เอง โดยไม่ตอ้ งมีการร้อง
ขอก็ได้
พระราชบัญญัตโิ รงงาน
• 12.บทกําหนดโทษ
• กฎหมายฉบับนีน* อกจากจะกําหนดบทลงโทษแก่ผปู้ ระกอบกิจการ
โรงงานในกรณีทAีฝ่าฝื นกฎหมายแล้ว ยังกําหนดให้บคุ คลอืAน ๆ ร่วมรับ
ผิดด้วย
• เช่น สถาปนิก วิศวกร ผูท้ Aีทาํ งานในโรงงานหรือคนงาน ซึงA ได้ประกอบ
กิจการโรงงานในระหว่างทีAมีคาํ สัAงให้หยุดประกอบกิจการ หรือมีคาํ สัAง
ปิ ดโรงงาน
• นอกจากนี * สถาปนิก หรือวิศวกรยังมีความรับผิดตามวิชาชีพของตน
ด้วย ในกรณีทAีผปู้ ระกอบกิจการทําผิดตามกฎหมายให้ถือว่าสถาปนิก
หรือวิศวกรทีAทาํ งานในโรงงานและมีหน้าทีAรบั ผิดชอบในการงานส่วนทีAมี
การกระทําความผิดเกิดขึน* เป็ นผูม้ ีสว่ นร่วมหรือรูเ้ ห็น และต้องรับโทษ
เช่นเดียวกับผูป้ ระกอบกิจการ
คําถามท้ายบท
• 1. ก่อนหน้าทีAจะมี พ.ร.บ.โรงงาน พ.ศ.2535 ซึงA ใช้บงั คับอยูใ่ นปั จจุบนั
ประเทศไทยได้ใช้ พ.ร.บ.โรงงาน พ.ศ.2512 ในการควบคุมการประกอบ
กิจการโรงงาน ซึงA กฎหมายฉบับนีม* ีหลักการทีAแตกต่างจากกฎหมายทีAใช้
บังคับในปั จจุบนั ให้นกั ศึกษาอธิบายหลักการควบคุมการประกอบ
กิจการโรงงานในอดีตและปั จจุบนั และหลักการในอดีตกับปั จจุบนั มี
ความแตกต่างกันอย่างไร
• 2. จงอธิบายความหมายของ “โรงงาน” ตามพระราชบัญญัตโิ รงงาน
พ.ศ.2535
คําถามท้ายบท
• >.ความหมายของคําว่า “การตัง* โรงงาน” ตามกฎหมายโรงงานทีAมีการ
แก้ไขใหม่ ส่งผลในทางกฎหมายทีAแตกต่างจากกฎหมายโรงงานฉบับ
ก่อนมีการแก้ไขอย่างไร
• }.กฎหมายมีการแบ่งจําพวกของโรงงาน โดยโรงงานแต่ละประเภทจะมี
วิธีการตัง* โรงงานแตกต่างกัน ให้นกั ศึกษาอธิบายว่ากฎหมายมีการแบ่ง
โรงงานเป็ นกีAจาํ พวก อะไรบ้าง และแต่ละจําพวกมีวิธีการตัง* โรงงาน
แตกต่างกันอย่างไร

You might also like