You are on page 1of 73

อาเซียนศึกษา

ว่าด้วยการเรียนรู้สังคมและวัฒนธรรมกัมพูชา

โดย
รองศาสตราจารย์สมหมาย ชินนาค
หลักสูตรสาขาวิชาภูมิภาคลุ่มน้าโขงศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ส้าหรับบรรยายพิเศษแก่
ผู้เข้ารับการอบรมหลักสูตรพัฒนาทักษะภาษากัมพูชา
โครงการพัฒนาข้าราชการเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ส้านักงาน ก.พ.
๑๒ – ๑๔ มิถุนายน ๒๕๕๖
ณ ห้องบอลรูม สถานปฏิบัติการการโรงแรมและการท่องเที่ยว อาคารเทพรัตนสิริปภา ม.อุบลราชธานี
ประเด็นการน้าเสนอ
 บนย่างก้าวสู่ “ประชาคม
สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
2015” มุมมองจากนักวิจัย
ภาคสนาม
 รู้จักเพื่อนบ้านอาเซียน
(กัมพูชา)
ผ่านการเดินทางและเรื่องเล่า
ของนักมานุษยวิทยาไทย (คน
หนึ่ง)
บนย่างก้าวสู่
“ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 2015”
มุมมองจากนักวิจัยภาคสนาม
ประเด็นการสนทนา  สาระสาคัญของแผนปฏิบัติการ
ASCC มีอะไรบ้าง?
 ในฐานะนักสังคมศาสตร์
(มานุษยวิทยา) มอง
“ปรากฏการณ์อาเซียน 2015”
อย่างไร?
 ปัญหา/อุปสรรคของประชาคม
สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
2015 มีอะไรบ้าง
 โอกาสและทางออกของการ
เตรียมการเพื่อไปสู่ประชาคม
สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
2015
สาระส้าคัญของแผนปฏิบัติการ ASCC
(ASEAN Socio-Cultural Community Plan of Action)

 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
 สวัสดิการสังคม

 สิทธิมนุษยชน

 สิ่งแวดล้อม

 การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน
“...ไทยและประเทศเพื่อนบ้านใน ASEAN
(เคย) มี
แนวคิดเรื่องความเป็นภูมิภาคจริงหรือไม่?...”
“อาเซียน 2015” ในมุมมองทางสังคมศาสตร์

 “อาเซียน
2015” เป็น “วาท
กรรม” ของอุดมการณ์เสรี
นิยมใหม่ (Neoliberalism
Discourse)
 “อาเซียน 2015” เป็นผล
จากการขยายตัวของระบบ
ภูมิภาคนิยม
“อาเซียน 2015” ในฐานะ “วาทกรรม” ของอุดมการณ์เสรี
นิยมใหม่ (Neoliberalism Discourse)

 การเปิดเสรีทางการค้า ทางการเงิน และการลงทุน คือหัวใจสาคัญของ


การกระตุ้นการเติบโตทางเศรษฐกิจและความมั่งคั่งให้กับภูมิภาค
 หรืออาจจะเรียกว่า “วาทกรรมการพัฒนา” ภายใต้กรอบความร่วมมือ
ระดับภูมิภาค (Regional Development Discourse)
 เน้นเศรษฐกิจเป็นตัวนา
 สังคมและวัฒนธรรมเป็น “เครื่องเคียง”
 ASEAN 2015 จึงเป็นผลพวงของการผลักดันของความต้องการที่เพิ่ม
มากขึ้นของการลงทุน การจ้างงาน การค้า ผลกาไรทางธุรกิจ และความ
เติบโตทางเศรษฐกิจโดยรวม
“อาเซียน 2015”:
ผลจากการขยายตัวของระบบภูมิภาคนิยม

 ภูมิศาสตร์ทางการเมืองแบบใหม่
 หลังยุคสงครามเย็นทาให้ทุก
ประเทศต้องการเป็นสมาชิกใน
องค์กรระดับภูมิภาค
 การเกิดขึ้นของ “เหลี่ยม
เศรษฐกิจ” ในภูมิภาคต่างๆ ของ
โลก
ความท้าทายของการก้าวไปสู่ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม
อาเซียน 2015

 ประสบการณ์ที่ผ่านมาบอกเราว่า การเคลื่อนไหวระดับภูมภิ าคร่วมกัน


ส่วนใหญ่มุ่งไปในเรือ่ งความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
 การพัฒนาที่ผ่านมาสร้างปัญหามากกว่าแก้ปัญหา
 แม้จะมีสานวนโวหาร “การส่งเสริมการมีส่วนร่วม” อยู่ภายใต้วาท
กรรมการพัฒนา แต่ในทางปฏิบัติ “พื้นที่” การมีส่วนร่วมของภาค
ประชาสังคมยังมีน้อย
 สัมพันธภาพระหว่างรัฐในภูมิภาคอาเซียนยังลุ่มๆ ดอนๆ แต่ละประเทศ
ยังยึดผลประโยชน์แห่งชาติ (National Interest) มากกว่าผลประโยชน์
แห่งภูมิภาค (Regional Interest)
ปัญหา/อุปสรรคของประชาคมสังคมและวัฒนธรรม
อาเซียน 2015
 ความยากจน ในฐานะช่องว่างทางเศรษฐกิจในภูมิภาค
 เมื่อพิจารณาจากมุมมองภาคประชาสังคม ASEAN 2015 เป็นการรวมกลุ่มใน
ระดับภูมิภาคที่สืบเนื่องจากเหตุผลทางการเมืองและจิตวิทยามากกว่า
 เวทีเพื่อแสวงหาวิธีที่จะจรรโลงสันติภาพและเสถียรภาพของภูมิภาค
 เวทีเพื่อเสริมสร้างความร่วมมือและขจัดความขัดแย้งระหว่างกัน
 เวทีเพื่อเพิ่มพูนอ้านาจในการต่อรองและดึงดูดความช่วยเหลือจากภายนอกเพิม่ ขึน
 การแผ่ขยายของอุดมการณ์รักชาติแบบหลงชาติ
 สงครามทางวัฒนธรรมภายใต้อุ้งมือของการเมือง
หนทางไปสู่ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน?
โอกาสและทางออก ?
โอกาสและทางออกของการเตรียมการเพื่อไปสู่ประชาคม
สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 2015

“...ในแง่มุมหนึ่ง ภูมิภาคต่างๆ มาจากการสร้าง


จินตนาการขึนมาแทบทังสิน...”
(Hettne and Soderbaum, 1998)
โอกาส ?
 เราไม่เคยคิดที่จะเป็น “ผู้ร่วมพัฒนา” หากแต่อยากจะเป็น
“ผู้นาการพัฒนา” มากกว่า เช่น การเป็นผู้นา (ศูนย์กลาง)
การศึกษา, เศรษฐกิจ-การค้าในอาเซียน เป็นต้น
 แต่หากมองในบริบททางสังคมและวัฒนธรรม ผู้คนในภูมิภาคนี้

มี “ลักษณะร่วม” ทางสังคมวัฒนธรรมมานับแต่อดีต
หากแต่ต้องแยกกันเพราะการล่าอาณานิคมในช่วงราว 100 ปีที่
แล้วและช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อ 60 ปีที่ผ่านมา
ทางออก ?
 แนวคิดมรดกทางวัฒนธรรมข้าม
พรมแดน นาไปสู่การจัดการร่วม
 การสร้าง “อัตลักษณ์ร่วม” ของอาเซียน
(Asianization)
 แนวคิดปราศจากพรมแดน
(Borderless)
 เน้นการสร้างความร่วมมือ มากกว่าการ
ได้รับการยอมรับ
 การยอมรับว่าประเทศของตนเป็นส่วน
หนึ่งของพัฒนาการของอาเซียน
 แนวคิด “พหุวัฒนธรรม” (Plural
Cultures) สร้างกลไกสู่กระบวนการ
เรียนรู้ความหลากหลายสาหรับ
ประชาคมอาเซียน
บทสรุปประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 2015:
จินตนาการ(ต้อง)ส้าคัญกว่าความรู้
 ASSOC มันลึกซึ้งกว้างกว่าการรวมตัวกัน
ทางเศรษฐกิจ จึงจาเป็นต้องมีการ
เสริมสร้างความไว้เนื้อเชือ่ ใจกันและ
ความรู้สึกของการเป็นกลุ่มเดียวกัน (a
sense of we-feeling) ซึ่งจะเป็น
รากฐานสาคัญที่จะนาไปสู่การรวมตัวใน
ภูมิภาคอย่างแท้จริง
 แม้ในชั้นนี้จะยังไม่มีความชัดเจนว่า
ASSOC จะมีรูปร่างหน้าตาเป็นอย่างไร
แต่ก็ได้กระตุ้นความสนใจทีม่ ีต่อ
พัฒนาการและทิศทางความร่วมมือและ
รวมตัวกันของ ASSOC ทั้งจากภายใน
และภายนอกภูมิภาค
รู้จักเพื่อนบ้านอาเซียน
(กัมพูชา)
ผ่านการเดินทางและเรื่องเล่าของนักมานุษยวิทยาไทย (คนหนึ่ง)
นักมานุษยวิทยากับการเดินทาง

ความเข้าใจเพื่อนบ้านอาเซียน ...
คงมิใช่แค่เพียงการอ่านหนังสือเพียงไม่กี่เล่ม
...หากแต่ต้องเห็นด้วยสองตา

ฟังด้วยสองหู

อธิบาย(วิเคราะห์)ด้วยสมอง
“การมองเห็น” เป็นที่มาของ “ความเข้าใจ”
...การเดินทางของนักมานุษยวิทยา.....
เป็นความพยายามศึกษาและเข้าใจถึง
ความแตกต่างในแต่ละวัฒนธรรม
ซึ่งพวกเราเชื่อว่า...
การศึกษาถึงความแตกต่างนีเอง
จะเป็นกุญแจส้าคัญที่จะช่วยลดความขัดแย้งของมนุษย์ลงได้ในหลายเรื่อง
จนเกิดความเข้าใจ...มองเห็นกันและกันมากขึนโดยปราศจากอคติ
เรื่องที่อยากเล่า (เกี่ยวกับกัมพูชา)

 ประสบการณ์การเดินทางของนัก
มานุษยวิทยา (คนหนึ่ง) ในกัมพูชา
 เรียนภาษาเขมร
 ทัศนศึกษา
 วิจัย
 ถ่ายทาสารคดี
 ลักษณะเด่นทางสังคมและ
วัฒนธรรมบางประการของกัมพูชา
ประสบการณ์การเดินทางของ
นักมานุษยวิทยา (คนหนึ่ง)
ในกัมพูชา
เรียนภาษาเขมร
ที่ Royal University of Phnom Penh (RUPP):
ปี 1996 และ 2000
กัมพูชาในปี 1996
กัมพูชาในปี 1996
กัมพูชาในปี 1996
กัมพูชาในปี 1996
กัมพูชาในปี 1996
ทัศนศึกษา ปี 2004:
เสียมเรียบ (นครวัด นครธม ตนเลสาบ)
ทัศนศึกษา ปี 2013:
พนมเป็ญ, เสียมเรียบ
ประสบการณ์การวิจัยในกัมพูชา
:ปี 1996 - ปัจจุบัน

 The natural resources for  นิเวศวิทยาการเมืองเรื่องการปลูกป่า


development and the destiny of เชิงพาณิชย์ในอนุภูมิภาคลุ่มน้้าโขง:
marginal groups: จากยูคาลิปตัสถึงยางพารา (2009-
a case study of indigenous 2011)
people in Rattanakiri province,  ภูมินิเวศวัฒนธรรม เครือข่ายชาติพันธุ์
Cambodia (1996) และประวัติศาสตร์ท้องถิ่น: อัตลักษณ์
 เขื่อนกับความรุนแรง และขบวนการ ร่วมข้ามแดนระหว่างไทยกับประเทศ
เคลื่อนไหวเพื่อพิทักษ์สิ่งแวดล้อมของ เพื่อนบ้านในอนุภูมิภาคลุ่มน้้าโขง
ชนพื้นเมืองในจังหวัดรัตนคีรี ประเทศ (2011-2013)
กัมพูชา (2000)
The natural resources for development and the destiny of marginal
groups: a case study of indigenous people in Rattanakiri province,
Cambodia (1996)
ตลาดที่เมืองบันลุง (ตัวจังหวัด)
วิถชี ีวติ ของกลุ่มชาติพนั ธุ์
Houses
Beliefs
Kreung’s
Burial
Ceremony
Graveyards
Yali Falls
Dam
Dams in
Lower
Mekong
River
Basin
เขื่อนกับความรุนแรง และขบวนการเคลื่อนไหวเพื่อพิทักษ์สิ่งแวดล้อม
ของชนพื้นเมืองในจังหวัดรัตนคีรี ประเทศกัมพูชา (2000)
เขื่อนกับความรุนแรง และขบวนการเคลื่อนไหวเพื่อพิทักษ์
สิ่งแวดล้อมของชนพื้นเมืองในจังหวัดรัตนคีรี ประเทศกัมพูชา
(2000)
นิเวศวิทยาการเมืองเรื่องการปลูกป่าเชิงพาณิชย์ในอนุ
ภูมิภาคลุ่มน้าโขง: จากยูคาลิปตัสถึงยางพารา (2009-2011)
การถ่ายท้าสารคดี
 Spirit of Asia แพร่ภาพทาง
สถานีโทรทัศน์ ThaiPBS ช่วงเดือน
เมษายน 2012 จ้านวน 4 ตอน
 http://www.youtube.com/wat
ch?v=Jyu0afrSt0g
 http://www.youtube.com/wat
ch?v=mgyW2nnnisA
กัมพูชา: ลักษณะเด่นทางสังคม/วัฒนธรรมบางประการ

 ที่มาของชื่อ “กัมพูชา” “เขมร”  สถาปัตยกรรมและบ้านเรือน


และ “ขอม”  การแต่งกาย
 เนือที่และที่ตัง  ภาษา
 ประชากรและกลุ่มชาติพันธุ์  อาหารการกิน
 ครอบครัว เครือญาติและการ  ศิลปะการแสดง
แต่งงาน
 เทศกาลงานประเพณี
ที่มาของชื่อ “กัมพูชา” “เขมร” และ “ขอม”
 ฤาษีกัมพุกับพระนางเมราสุรสุนทรี
 การกร่อนเสียง
 กัมพุ + เมรา เป็น กัมพุเมร
 กัมพุเมร เป็น กัมเมร
 กัมเมร เป็น กะเมร
 กะเมร เป็น กเมร
 กเมร เป็น เขมร
เนือที่และที่ตัง
 เนื้อที่ประมาณ 181,035 ตร.กม.
ประชากรและกลุ่มชาติพันธุ์
 ปี 2012 ประชากรประมาณ 14,952,665 คน
 แบ่งตามกลุ่มตระกูลภาษา
 Austroasiatic
 Malayo-Polynesian
 Tai
 22 กลุ่ม
 90% เป็นชาติพันธุ์เขมร
 กลุ่มชาติพันธุ์อื่นๆที่ไม่ใช่เขมร เช่น
 เวียดนาม
 จีน
 จาม (แขมร์อิสลาม)
 ชาวเขา (แขมร์เลอ)
ครอบครัว เครือญาติและการแต่งงาน
 ฝ่ายชายจะสู่ขอฝ่ายหญิง
 การแต่งงานมีล้าดับขั้นตอนมาก
 ที่อยู่หลังแต่งงานจะเป็นแบบมาตาลัย
(Matrilocal resident)
 นับญาติทั้งสองฝ่าย (Bilateral)
เทศกาลงานประเพณี
 “บ็อน” (Bon) = เทศกาล, งานบุญ, การ
เฉลิมฉลอง, พิธี
 เทศกาลที่ส้าคัญๆ
 "ปจุมเบ็น" (Bon Pchum Ben) เทศกาล
"ปจุมเบ็น" มีหมายความว่า
“การประชุมกันเพื่อเซ่นไหว้”
(ปจุม แปลว่า “ประชุม” และ เบ็น
แปลว่า “เครื่องเซ่นไหว้”) เป็นการอุทิศ
ส่วนกุศลแก่บรรพบุรุษ
จัดขึ้นตั้งแต่แรม 1 ค่้าถึงวันแรม 15 ค่้า
เดือน 10 ทุกปี ตามปฏิทินจันทรคติ
 เป็นช่วงเวลาแห่งการพบปะและเฉลิม
ฉลองร่วมกัน เป็นช่วงเวลาส้าหรับแสดง
ความรักและความกตัญญูต่อบรรพบุรุษ
 http://www.youtube.com/watch?v
=POrMk7SsGaM
ปจุมเบ็น ที่อุบลฯ
เทศกาลงานประเพณี
 เทศกาล “บ็อนอมตูก (บ็อน-อม-ตูก)
เทศกาลแข่งเรือ ไหลเรือไฟและลอย
ประทีป
 ขึ้น 15 ค่้า เดือน 12 (พฤศจิกายน)
 บางคนเรียกว่า “เทศกาลน้้า” (water
festival)
 เซ่นไหว้พระแม่คงคา
 http://www.youtube.com/watch?v
=hnqwTmV6d4k
สถาปัตยกรรมและบ้านเรือน
 อินเดียสไตล์ (ปราสาท ราชวัง)
 สถานที่ราชการ/อาคารพาณิชย์
 ตึก
 อิทธิพลของอาณานิคม
 บ้านเรือน
 แบบยกพืนสูง เจาะช่องหน้าต่าง
 ตึกแถว (สอบ-แคบ)
การแต่งกาย
ภาษา
 ภาษาเขมรจัดอยู่ในตระกูลมอญ-เขมร
(Mon-Khmer Language)
 มีพยัญชนะ 33 ตัว ซึ่งแยกออกได้เป็น 2
ประเภท คือ
 อักษรมูลหรืออักษรขอมบรรจง (มูล-กลม)
ซึ่งใช้ส้าหรับเขียนหนังสือธรรม
 อักษรเจรียง (เจรียง หรือ เชรียง = เอียง) ที่
ใช้ส้าหรับเขียนทั่วๆ ไป
 สระ แบ่งเป็นสระลอย 18 ตัว และสระ
จมอีก 21 ตัว
อาหารการกิน
ศิลปะและการแสดง
การละเล่น
ศาสนาและความเชื่อ
พุทธ
ร้อยละ 90 นับถือพุทธ (หินยาน)
เข้ามาในคริสต์ศตวรรษที่ 5
เป็นศาสนาประจ้าชาติตังแต่ ศว.13
เสื่อมโทรมในช่วงเขมรแดง
คริสต์
คาทอลิก เข้ามาในช่วงปี ค.ศ.1660
อิสลาม
นับถือในหมู่ชาวจาม
วิญญาณ/สิ่งเหนือธรรมชาติ
สรุปภาพรวมสังคมและวัฒนธรรมกัมพูชา
 สังคมเกษตรกรรม
 วัฒนธรรม
 ได้รับอิทธิพลจากอินเดียและจีน
 ผสมผสานวัฒนธรรมเดิม (อิงเรื่องความเชื่อ
เรื่องจิตวิญญาณ) กับวัฒนธรรมจากจีนและ
อินเดีย
 บางส่วนเป็นอิทธิพลของอาณานิคม (อาหาร
การกิน สถาปัตยกรรม)
ซม...ออกุน...
ขอบคุณครับ...

You might also like