You are on page 1of 5

การเติบโตทางเศรษฐกิจของการท่องเที่ยวประเทศไทยกับความเหลื่อมลา้ ในชุมชน

ประเทศไทยถือเป็ นสถานที่เที่ยวในฝันของนักท่องเที่ยวทัว่ โลก จากเหตุผลสาคัญหลายประการ ไม่ว่าจะ


เป็ นอาหารที่มีเอกลักษณ์ ค่าครองชีพไม่สูง และผูค้ นมีอธั ยาศัยที่ดี แต่การที่มีนกั ท่องเที่ยวเข้ามาอย่างล้น
หลามนั้นไม่ใช่สิ่งที่ดีเสมอไป ปัญหาที่ตามมาคือความเหลื่อมล้ าที่เข้ามาแทรกซึมอยู่ทุกพื้นที่

การพัฒนาด้านการท่องเที่ยวที่ให้ความสาคัญกับเศรษฐกิจเพียงมิติเดียว กลับกลายเป็ นการสร้างปั ญหา มาก


เสี ยกว่าสร้างประโยชน์ คนที่มีตน้ ทุนเยอะกว่ามีโอกาสเข้าไปลงทุน และทากาไรจากทรัพยากรมากกว่าคน
ที่มีตน้ ทุนน้อย คนมีรายได้น้อยก็ยิ่งน้อยลงกว่าเดิมเพราะไม่สามารถเข้าถึงรายได้ โอกาส สิ ทธิ และศักดิ์ศรี
ความเป็ นคนได้อย่างเท่าเทียม

นอกจากชุมชนจะไม่ได้รับการกระจายรายได้อย่างเท่าเทียมแล้ว ชุมชนยังต้องแบกรับต้นทุนทางทรัพยากร
จากการท่องเที่ยวที่ชุมชนไม่ได้มีส่วนร่ วม เช่น การที่ทรัพยากรร่ อยหรอ และเสื่ อมโทรมลง ซึ่งส่ งผลให้
สิ่ งแวดล้อมภายในชุมชนไม่ยงั่ ยืน ในส่วนนโยบายของรัฐด้านการท่องเที่ยวก็ ไม่ได้มีการสนับสนุนชุมชน
อย่างแท้จริ ง ถึงแม้ว่าจะมีการออกแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ เรื่ อยมาเพื่อพัฒนาชุมชนอย่าง
ยัง่ ยืน

แต่ในความเป็ นจริ งแล้วคนในชุมชนยังขาดความพร้อมที่จะพัฒนา เนื่ องจากปราศจากความรู ้และเงินทุน


อีกทั้งคนในชุมชนไม่สามารถแข่งขันกับนายทุนได้ เนื่องจากขาดความรู ้ในด้านการลงทุน การทาการตลาด
และโอกาสในการแข่งขัน

การเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันของเทคโนโลยียิ่งตอกย้าชุมชนไปอีก เนื่องจากการดาเนิ นชีวิตของผูค้ น


เปลี่ยนจากออฟไลน์มาเป็ นออนไลน์มากขึ้นนายทุนที่สามารถเข้าถึงข่าวสารหรื อเทคโนโลยี รวมถึงมี
เงินทุนมากพอในการปรับตัวมาใช้โซเชียลมีเดียและดิจิทลั แพลตฟอร์มสามารถสร้างช่องทางในการสร้าง
รายได้มากขึ้นได้

แต่กลับกัน ความสามารถในการแข่งขันของชุมชนก็จะยิง่ ห่างไกลนายทุนมากขึ้นไปอีก เนื่องจากชุมชนมี


แนวโน้มที่จะเข้าไม่ถึงข้อมูลข่าวสารหรื อเทคโนโลยีได้ทดั เทียมกับนายทุน ติดอยู่ในช่องว่างทางดิจิทลั
รวมถึงไม่มีเงินทุนมากพอที่จะเข้าร่ วมกับแพลตฟอร์มออนไลน์ต่างๆ ที่ช่วยสร้างความสามารถในการ
แข่งขันให้กบั ตนเอง

จากปัญหาความเหลื่อมล้ าในการเข้าถึงเทคโนโลยีของคนในชุมชนนามาซึ่ งการขาดความสามารถในการ


แข่งขัน และการเข้าถึงตลาดที่ได้กล่าวไปทั้งหมดนั้นจะสามารถแก้ไขได้โดยการผลักดัน ‘การท่องเที่ยวโดย
ชุมชน’ ให้เป็ นวิธีขบั เคลื่อนอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของไทย เน้นการมีส่วนร่ วมของคนในชุมชนเพื่อ
กระจายรายได้ไปยังทุกภูมิภาคของประเทศ อย่างไรก็ตาม การฟื้ นฟูอุตสาหกรรมท่องเที่ยวที่เปราะบางอยู่
ในขณะนี้ ภาครัฐ ภาคธุรกิจ และภาคประชาชน ควรร่ วมมือกันในภาคส่ วนของตนเอง เพื่อส่ งเสริ มการ
ท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน

โดยต้องคานึงถึงการมีส่วนร่ วมของคนในชุมชน ควบคู่กบั การรักษาสิ่ งแวดล้อม เนื่องจากทั้ง 2 ปัจจัยนี้ เป็ น


ส่ วนสาคัญอย่างยิ่งในการสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ และลดความเหลื่อมล้ าในการกระจายรายได้
อย่างยัง่ ยืน
ความสาคัญของการท่องเที่ยวโดยชุมชน
เป็ นเครื่ องมือสร้างความเข้มแข็งขององค์กรชาวบ้านในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
วัฒนธรรม โดยกระบวนการมีส่วนร่ วมของคนในชุมชน ให้ชุมชนได้มีส่วนร่ วมในการกาหนดทิศทางการ
พัฒนาและได้รับประโยชน์จากการท่องเที่ยว การจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชนต้องเริ่ มต้นที่สมาชิกใน
ชุมชนให้ความร่ วมมือในการจัดการท่องเที่ยว หากไม่ได้รับความร่ วมมือแล้วก็ไม่สามารถเกิดการท่องเที่ยว
ในชุมชนได้เลย หรื อหากเกิดขึ้นจะเป็ นการท่องเที่ยวที่ไม่ยงั่ ยืน เพราะไม่ได้รับความร่ วมมือจากสมาชิกใน
ชุมชน ดังนั้น เพื่อให้สมาชิกทุกคนในชุมชนร่ วมมือด้วยดีตอ้ งเห็นความสาคัญ และประโยชน์ของการ
ท่องเที่ยวโดยชุมชนดังนี้
1. เกิดการอนุรักษ์ฟ้ื นฟูทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น เพราะเป็ นทรัพยากร
การท่องเที่ยวที่ดึงดูดใจนักท่องเที่ยวให้เดินทางมาท่องเที่ยวในชุมชน
2. การท่องเที่ยวโดยชุมชน เป็ นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนเน้นคนเป็ นศูนย์กลางของการพัฒนา
กิจกรรมการท่องเที่ยวเป็ นกิจกรรมที่เชื่อมกับกิจกรรมพัฒนาชุมชนอื่นๆ ที่ตอ้ งอาศัยการเรี ยนรู ้
3. คุณภาพชีวิตของคนในชุมชนเพิ่มขึ้นซึ่งเป็ นผลทางอ้อมของการท่องเที่ยว เช่น เกิดรายได้เสริ มจากการทา
การท่องเที่ยวในชุมชน โครงสร้างพื้นฐานที่อานวยความสะดวกต่อนักท่องเที่ยวเกิดขึ้น ถนน ห้องน้ า
สาธารณะ ระบบไฟฟ้า น้ าประปา เป็ นต้น
4. การท่องเที่ยวโดยชุมชนเป็ นเครื่ องมือของการเผยแพร่ วฒั นธรรม ภูมิปัญญา ขนบธรรมเนียมประเพณี ภูมิ
ปัญญาของท้องถิ่น และวิถีชีวิตของผูค้ นในชุมชนต่อสาธารณะ
5. สร้างการตระหนักรู ้ในชาติพนั ธุ์ของตนเองให้กบั เยาวชน และวัยรุ่ นให้เห็นคุณค่าของ การฟื้ นฟู รักษา สื บ
ทอด และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญา ท้องถิ่นของตนให้คงอยู่ และสื บ
ทอดไปรุ่ นต่อรุ่ น
6. การท่องเที่ยวโดยชุมชนนาไปสู่การรวมตัวกันของสมาชิ กในชุมชน หรื อ กลุ่มต่างๆ ใน ชุมชน มีกิจกรรม
ที่ทาร่ วมกัน รวมถึงเจ้าของภูมิปัญญา หรื อ ความรู ้ต่างๆ ที่มีอยู่ในชุมชนร่ วมแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้กนั เพื่อนา
ความรู ้ ความเชี่ยวชาญที่มีอยู่ในตนออกมาถ่ายทอดให้ลูกหลานที่มีความสนใจ และนักท่องเที่ยวที่มาเยือน

การท่องเที่ยวโดยชุมชนเป็ นการส่งเสริ มให้ชุมชนเป็ นแหล่งท่องเที่ยว ในการดึงทรัพยากรของชุมชน


ทั้งทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวติ ของชุมชน เป็ นต้น เพื่อตอบสนองความต้องการ
ให้กบั นักท่องเที่ยว หากทรัพยากรเหล่านั้นเกิดความเสื่ อมโทรมหรื อสู ญหายไป ก็จะไม่เป็ นที่ดึงดูดแก่
นักท่องเที่ยว ดังนั้นหน้าที่ที่สาคัญของคนในชุมชน คือ การดูแลรักษาและฟื้ นฟูทรัพยากรธรรมชาติโดยให้มี
ความสมดุลกับภูมิปัญญาและอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม Wirote Jiraphan (2011) กล่าวถึงผลกระทบของการ
ท่องเที่ยวไว้ว่า ผลกระทบทางลบในด้านสิ่ งแวดล้อมประกอบไปด้วย ผลกระทบด้านคุณภาพอากาศ คุณภาพ
น้ า ผลกระทบต่อความเสียหายด้านพันธุ์ไม้ ผลกระทบต่อจานวนสัตว์ป่าลดลงหรื อทาให้สัตว์มีพฤติกรรม
เปลี่ยนแปลง การอนุรักษ์และสื บทอดวิถีชีวิตวัฒนธรรมก่อให้เกิดการพัฒนาได้อย่างยัง่ ยืนโดยสมาชิกใน
ชุมชนจะต้องมีความรู ้ความเข้าใจในเรื่ องของการจัดการท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน

เพิม่ เติม * ผลประโยชน์ดา้ นสิ่ งแวดล้อม

คือการคืนสิ่ งแวดล้อมสู่ ชุมชนผ่านเงื่อนไขของการท่องเที่ยวที่ใช้ความสมบูรณ์ของสิ่ งแวดล้อมเป็ นสิ่ ง


นาเสนอในรู ปแบบของการท่องเที่ยวขณะเดียวกันยังสามารถป้องกันการเข้ามาของนายทุนที่อาจสร้างเงิน
สร้างรายได้จากการท่องเที่ยวให้กบั ชุมชนแต่สิ่งที่ถูกทาลายคือสิ่ งแวดล้อมจากการเข้ามาโดยไม่คานึงถึง
ชุมชนดังนั้นการทาการท่องเที่ยวโดยชุมชนจึงเป็ นทั้งการรักษาสิ่ งแวดล้อมที่อาจเปลี่ยนแปลงไป และ
ปกป้องสิ่ งแวดล้อมในชุมชนไม่ให้ถูกรุ กรานจากคนภายนอกดังเช่นการได้ผืนป่ าคืน ของชุมชนปล“บ่า จ.
เลย ที่ร่วมแรงร่ วมใจคืนผืนป่ ากว่า 2,000 ไร่ ให้กบั เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูหลวง นับเป็ นจุดเริ่ มต้นของการ
ฟื้ นฟูระบบนิเวศขนาดใหญ่ที่ให้ประโยชน์ยงั่ ยืนไปสู่ รุ่นหลัง ซึ่งต้องอาศัยความเสี ยสละและการพูดคุย
เพื่อให้ชุมชนเห็นพ้องต้องกันว่า การคืนที่ดินทากินให้เป็ นพื้นที่ป่าจะเกิดประโยชน์มหาศาลเพราะเมื่อระบบ
นิเวศสมดุล ชาวบ้านจะสามารถประกอบอาชีพ ทามาหากินได้ง่ายขึ้น
https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jitt/article/download/113060/88029/289996
https://dtc.ac.th/wp-content/uploads/2019/04/8.การท่องเที่ยวโดยชุมชน-ทางเลือกใหม่ส่ค
ู วามยัง่ ยืน-ปาริฉัตร-
ศรีหิรัญ.pdf
https://workpointtoday.com/rural-tourism-in-digital-world/

You might also like