You are on page 1of 43

ภูมิทัศน์ทางภาษาศาสตร์

Linguistic Landscape (LL)


หัวข้อการเสวนา
01 แนวคิดภูมิทัศน์ทางภาษาศาสตร์
02 งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับภูมิทัศน์ทางภาษาศาสตร์

03 ประเด็นที่สนใจ:
ภูมิทัศน์ทางภาษาศาสตร์บนป้ายร้านค้าจำหน่าย
ผลิตภัณฑ์ผ้าทอและเครื่องเงิน ในเขตอำเภอเมืองน่าน

04 การถาม-ตอบและข้อเสนอแนะ
1. แนวคิดภูมิทัศน์ทางภาษาศาสตร์

อยู่รอบตัวเรา

ป้าย ศูนย์รวมของความสนใจ

ในพื้นที่สาธารณะ กั บ ม นุ ษ ย์
มีความเกี่ยวข้ อ ง

สร้างควา
มโดดเด่น
อัตลักษณ์ และ
ให้กับพื้น
ที่
1. แนวคิดภูมิทัศน์ทางภาษาศาสตร์

สังคม
ภาษา สังคม ผู้คน
(Language) เศรษฐกิจ
(Society) นโยบายต่างๆ
ป้าย ชนชั้น
อัตลักษณ์
พหุภาษา
ผู้คน พหุวัฒนธรรม
(People)
1. แนวคิดภูมิทัศน์ทางภาษาศาสตร์

บทความเรื่อง Linguistic Landscape and Ethnolinguistic Vitality:


Empirical study (Landry and Bourhis, 1997)

"The Language of Public road signs, advertising billboards,


street names, place names, commercial shop signs, and
public signs on government buildings combines to form the
linguistic landscape of given territory region or urban
agglomeration." (Landry and Bourhis, 1997, P.25)
1. แนวคิดภูมิทัศน์ทางภาษาศาสตร์
การศึกษาภาษาที่ปรากฎรอบตัวเราในรูปแบบของข้อความ ที่ปรากฏตามป้ายร้านค้า โปสเตอร์
ต่างๆ ป้ายจราจร ป้ายประกาศต่างๆ เป็นต้น (Gorter, 2006)
การวิเคราะห์ภาษาที่กลุ่มคนกลุ่มหนึ่งใช้สื่อสารกันในพื้นที่สาธารณะ (Eliezer Ben-Rafael
(2009) และ Srichomthong (2017) )
การศึกษาภาษาบนป้ายในสังคมหนึ่งอย่างเป็นระบบ เพื่อให้เกิดความเข้าใจกลุ่มคน สังคมและ
ชุมชน และยังสามารถบ่งบอกถึงสภาพ หรือลักษณะทางวัฒนธรรมของชุมชนที่ใช้ภาษานั้น
Huebner (2006) Wangphusit (2012)
ภาษาที่ปรากฎบนป้ายต่างๆที่เป็นองค์ประกอบสำคัญในการประกอบสร้างอัตลักษณ์และความ
หมายให้พื้นที่ต่างๆ (Kaewbut & Muangkaew, 2020)
การศึกษาภาษาในสังคมหนึ่งโดยอาศัยป้ายที่มองเห็นชัดเจน ซึ่งสามารถศึกษาในบริเวณชุมชน
หรือบนพื้นที่สาธารณะ ที่สะท้อนให้เห็นถึงข้อมูลที่แฝงอยู่เบื้องหลังภาษาที่ปรากฎ
(Hayeesani, 2022)
ภูมิทัศน์ทางภาษาศาสตร์ มีหน้าที่พื้นฐาน 2 ด้าน

1. หน้าที่เชิงข้อมูล (The Information Function)


การใช้ภาษาเพื่อให้ข้อมูลต่างๆในพื้นที่

2. หน้าที่เชิงสัญลักษณ์ (The Symbolic Function)


ภาษาที่ปรากฎนั้น สื่อถึงลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมอย่างไร
- การใช้ภาษาท้องถิ่น

(Landry and Bourhis, 1997)


งานวิจัยภูมิทัศน์ทางภาษาศาสตร์ในต่างประเทศ
English in the linguistic landscape of Hong Kong: a case study of shop signs
and linguistic competences (Wissenschaftlice Arbeit, F., 2012)
Linguistic Landscape: A comparative Study of Urban Mutilinguaism in Tokyo
(Backhaus, 2006)
Linguistic Landscape and Minority Languages (Cenoz & Gorter, 2006)
The Korean English Linguistic Landscape (Lawrence, 2012)
Linguistic Landscape: Forms and Functions of Signs in Thai community
Center, Golden Mile Complex, in Singapore (Rungswang, 2018)
Linguistic Landscape of China: A case study of shop Signs in Beijing
(Jingjing, 2013)
งานวิจัยภูมิทัศน์ทางภาษาศาสตร์ในประเทศไทย
พื้นที่ท่องเที่ยว
Three accents of toponym: using Thai, English and Chinese on public signs in Lampang
municipality (Pachnalawan, Munkhong & Sethakorn, 2017)
A linguistic landscape study of signage on Nimmanhemin road, a Lanna Chiangmai chill
out street (Thongtong, 2016)
Identity maintenance in Lanna (Morthern Thai) (Srichomthong, 2012)

พื้นที่ตัวเมือง
Bangkok’s linguistic landscape: environmental print, code mixing and language change
(Huebner, 2008)
Linguistic landscape on billboards in Mueang district, Udon Thani province (Seangyen,
2015),
Inclusion of the minority language on public signs: multilingualism in the deep south of
Thailand (Suaykratok, 2018),
Multilingualism in the linguistic landscape of the Faculty of Arts, Chulalongkorn
university, Thailand (Siricharoen, 2016)
Linguistic Landscape from Business Names in Mueang District, Phayao Province
(Yothinsiriku, 2022)
งานวิจัยภูมิทัศน์ทางภาษาศาสตร์ในประเทศไทย
พื้นที่ย่านธุรกิจการค้า
Languages on Commercial Signs along Phra Athit Road, Bangkok
(Phikulthong, 2011)
A comparison of signboard names between two areas of Banglamphu and
Siam Square: An analysis of a Linguistic Landscape (Wangphusit, 2012)
Urban multilingualism: a case study of the relationship between linguistic
landscape and business in north Nana (Sarot & Kraisame, 2019)
Chinatown in Bangkok: the multilingual landscape (Wu & Techasan, 2019)
A comparison of signboard names between two areas of Banglamphu and
Siam Square: An analysis of a Linguistic Landscape (Wangpusit, 2019)
Linguistic landscape of soi Nananua and soi Ekamai (Meemongkol, 2021)
A Linguistic Landscape Study of Tha Sadet Market, Nong Khai Province
(Anantawan & Buakaw, 2022)
งานวิจัยภูมิทัศน์ทางภาษาศาสตร์ในประเทศไทย

พื้นที่ท่าอากาศยาน

Chinese Readiness of Surat Thani International Airport with Mice


City: The Study of Linguistic Landscape (Kaewbut, 2019)
Linguistic Landscape Study of Labels and Business Name: A Case
Study of Surat Thani International Airport (Kaewbut & Muangkaew,
2020)
Linguistic Landscape in Thailand: A Case Study of Languages Used
on Signs at Suvarnabhumi International Airport (Ngampramuan,
2022)
งานวิจัยภูมิทัศน์ทางภาษาศาสตร์ในประเทศไทย

พื้นที่อื่นๆ

Linguistic Landscape of a University in Thailand (Meemongkol,


2020)
The Presence of Kam Mueang on Public Signs as a Reflection of
Lanna Identity (Srichomthong, 2020)
Linguistic Landscape on Coffee Shop Signboards of Multilingual
Communities (Hayeesani, 2022)
3. ประเด็นที่สนใจ

ภูมิทัศน์ทางภาษาศาสตร์
บนป้ายร้านค้าจำหน่ายผลิตภัณฑ์ผ้าทอและ
เครื่องเงิน ในเขตอำเภอเมืองน่าน
ที่มาและ ภูมิทัศน์ทางภาษาศาสตร์
บนป้ายร้านค้าจำหน่ายผลิตภัณฑ์ผ้าทอและเครื่องเงิน
ความสำคัญ ในเขตอำเภอเมืองน่าน

ความสนใจ
การปรากฎคำเมืองบนแผ่นป้าย
ความเป็นจังหวัดน่าน สาธารณะในฐานะการสะท้อนอัตลักษณ์
ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ล้านนา (Srichomthong, 2020)
สังคมและวิถีชีวิต เชียงใหม่, เชียงราย, ลำพูน,
ทุนทางวัฒนธรรม ลำปาง, พะเยา, แพร่
การท่องเที่ยว
ภาษา ไม่ได้ศึกษาในพื้นที่จังหวัดน่าน
ที่มาและ ภูมิทัศน์ทางภาษาศาสตร์
บนป้ายร้านค้าจำหน่ายผลิตภัณฑ์ผ้าทอและเครื่องเงิน
ความสำคัญ ในเขตอำเภอเมืองน่าน

สินค้าที่สร้างรายได้และเป็นที่ยอมรับในฐานะ
มรดกทางวัฒนธรรมของจังหวัดน่าน
ร้านค้าจำหน่าย สะท้อนวิถีชีวิตและภูมิปัญญาอันล้ำค่า
จังหวัดน่าน ผลิตภัณฑ์ผ้าทอ สะท้อนถึงความหลากหลายของกลุ่ม
และเครื่องเงิน ชาติพันธุ์สู่เอกลักษณ์อันโดดเด่น
(The office of Nan Industry, 2016; GT
Information Center, 2018; Yanoi, 2019; Nunta &
Jaruma , 2022)
วัตถุประสงค์งานวิจัย

1. เพื่อวิเคราะห์การใช้ภาษาในป้ายธุรกิจร้านค้าจำหน่ายผลิตภัณฑ์
ผ้าทอและเครื่องเงินในเขตอำเภอเมืองน่านตามแนวคิดภูมิทัศน์ทาง
ภาษาศาสตร์ (Linguistic Landscape)

2. เพื่อตีความภาพสะท้อนเป็นจังหวัดน่าน ผ่านป้ายร้านค้า ร่วมกับ


บริบททางสังคมและวัฒนธรรม
วิธีการศึกษา
การเก็บรวบรวมข้อมูล

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัยนี้ คือ ป้ายร้านค้าจำหน่ายผลิตภัณฑ์ผ้าทอ


และเครื่องเงิน ในเขตอำเภอเมืองน่าน จำนวน ทั้งหมด 282 ป้าย

การเก็บข้อมูลกลุ่มตัวอย่างใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง บันทึกภาพป้ายด้วย
กล้องจากโทรศัพท์มือถือ ในเดือน พฤษจิกายน พ.ศ. 2565 โดยเก็บ
ข้อมูลจากป้ายทุกป้ายที่ปรากฏบริเวณทั้งภายในและภายนอกร้านค้า
การจัดแบ่งจำนวนป้ายและการนับหน่วยทางภาษา

กรอบแนวคิดการวิเคราะห์จำแนกจำนวนป้าย

วัจนภาษาและอวัจนภาษาที่ปรากฏในป้ายโดยใช้คำว่า
หน่วย แทนภาษาต่างๆ เครื่องหมายและสัญลักษณ์ และตัวเลข
(Kaewbut & Muangkaew, 2020)
ภาษาไทยมาตรฐานเป็น 1 หน่วย
ภาษาไทยถิ่นเหนือเป็น 1 หน่วย
ภาษา คือ ภาษาที่เป็นตัวอักษรอักษรที่ปรากฏบนป้าย ประกอบไป
ด้วย ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาไทยถิ่นเหนือ ภาษา
ล้านนา
ภาษาไทย คือ ภาษาที่เขียนด้วยตัวอักษรภาษาไทย
ภาษาไทยถิ่นเหนือ ภาษาย่อยของภาษาไทย ซึ่งเกิด
จากการใช้ตัวอักษรภาษาไทยในการเขียนเป็นภาษาไทยถิ่น
เหนือ ดังตัวอย่างในตาราง
ภาษาอังกฤษ คือ ภาษาที่ปรากฎด้วยการเขียนเป็นตัว
อักษรภาษาอังกฤษ
ภาษาจีน คือ ภาษาที่ปรากฎด้วยการเขียนเป็นตัว
อักษรภาษาจีน
ภาษาล้านนา คือภาษาที่ปรากฎด้วยการเขียนเป็นตัว
อักษรล้านนา
สัญลักษณ์ ได้แก่ รูปภาพ ไอคอน หรือเครื่องหมาย ที่
กำหนดขึ้นเพื่อใช้แทนหรือสื่อความหมายสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
ได้แก่ รูปภาพคนยกมือไหว้, รูปภาพคนสวมใส่
หน้ากากอนามัย, โลโก้ร้านค้าและสัญลักษณ์ช่อง
ทางการติดต่อสื่อสารออนไลน์ เช่น สัญลักษณ์ไลน์
แอพพลิเคชั่น เฟสบุ๊ค อีเมลล์ เป็นต้น

ตัวเลข คือ เบอร์โทรติดต่อ ราคาของสินค้า

รูปภาพ คือ ภาพถ่าย ภาพวาด และภาพแกะสลัก


ผลการวิจัย

สรุปจำนวนป้ายทั้งหมด
ผลการวิจัย

จำนวนการปรากฏของป้าย 1 หน่วย
ตัวอย่างป้าย 1 หน่วย
ผลการวิจัย
จำนวนการปรากฏของป้าย 2 หน่วย
ตัวอย่างป้าย 2 หน่วย
ผลการวิจัย
จำนวนการปรากฏของป้าย 3 หน่วย
ตัวอย่างป้าย 3 หน่วย
ผลการวิจัย

จำนวนการปรากฏของป้าย 4 หน่วย
ตัวอย่างป้าย 4 หน่วย
ผลการวิจัย

จำนวนการปรากฏของป้าย 5 หน่วย
ตัวอย่างป้าย 5 หน่วย
ผลการวิจัย
ความถี่ของภาษาที่ปรากฎ
สรุปผลการวิจัย

การใช้ภาษาในป้ายธุรกิจร้านค้าจำหน่ายผลิตภัณฑ์ผ้าทอและเครื่องเงิน
ในเขตอำเภอเมืองน่านตามแนวคิดภูมิทัศน์ทางภาษาศาสตร์
(Linguistic Landscape)
ความเป็นพหุภาษา (ภาษาไทย, ภาษาอังกฤษ, ภาษาไทยถิ่นเหนือ,
ภาษาล้านนา, ภาษาจีน)
การใช้อวัจภาษา (รูปภาพ, สัญลักษณ์, ตัวเลข)
สรุปผลการวิจัย

การใช้อวัจภาษา (รูปภาพ, สัญลักษณ์)


- รูปภาพการแต่งกายด้วยผ้าทอใน
ลวดลายต่างๆ ประดับด้วยเครื่องเงิน
- รูปภาพกระซิบรักบรรลือโลกหรือ
ปู่ม่านย่าม่าน,
- รูปภาพชาวเขา,
- รูปภาพลวดลายเครื่องเงิน,
- รูปภาพลายไทย
สรุปผลการวิจัย

การใช้สัญลักษณ์อื่นๆ เช่น ใช้ตัวเลข สำหรับบอกรายเอียดต่างๆของร้าน เช่น


ข้อมูลการติดต่อ ราคาสินค้า รวมไปถึงสัญลักษณ์บุคคลสมใส่หน้ากากอนามัยที่
สื่อความหมายของการท่องเที่ยววิถีใหม่ในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของเชื้อ
ไวรัสโควิด–19
สรุปผลการวิจัย

การตีความภาพสะท้อนความเป็นจังหวัดน่านผ่านป้ายร้านค้าร่วมกับบริบททาง
สังคมและวัฒนธรรม
1. การตั้งชื่อร้าน
- การตั้งชื่อร้านค้าส่วนใหญ่แล้วมาจากชื่อของเจ้าของร้าน (เพศหญิง)
- การใช้คำว่า ผ้าทอ, ผ้าฝ้าย, ฝ้ายงาม, เครื่องเงิน, เงิน, ซิลเวอร์
ปรากฏอยู่บนชื่อของร้านค้า
สรุปผลการวิจัย

ความเป็นพหุภาษา
- การใช้ภาษาไทย
- การใช้ภาษาอังกฤษ
- การใช้ภาษาไทยถิ่นเหนือ
สล่า (สล่าเงิน) - ช่าง
ดอย (ดอยซิลเวอร์) - ภูเขา
คำ (ฝ้ายคำ) - ทองหรือทองคำ
แม่ญิ๋ง (แม่ญิ๋งน่าน by ฝ้ายคำน่าน) - ผู้หญิง
เฮือน (เฮือนเงิน) - บ้าน
สรุปผลการวิจัย

- การใช้ภาษาจีน
จังหวัดน่านมีการผสมกลมกลืนทางสังคมและ
วัฒนธรรม เนื่องจากมีเขตพื้นที่ใกล้เคียง รวมไปถึงประเทศ
เพื่อนบ้าน ที่อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในบริเวณจังหวัดน่าน
ซึ่งหนึ่งในนั้นคือกลุ่มคนที่มีเชื้อสายจีนทางตอนใต้
(Rattanapakdee, 2022)
การอภิปรายผล
ความเป็นพหุภาษาและพหุวัฒนธรรม (Kaewbut &
Muangkaew, 2020; Rungswang, 2018; Hayeesani,
2022; Anantawan & Buakaw, 2021)

ความเป็นสากล Cenoz & Gorter (2006) Methitham


(2017) (Piller, 2001) Khumtong (2014)

การตั้งชื่อร้าน ส่วนใหญ่มาจากชื่อเจ้าของร้าน (Sukhkasame,


2001; Sangsawang, 2002; Kirimek, 2006;
Yothinsirikul, 2022) และเป็นเพศหญิง Srichomthong
(2020), Ungkawanichakul (2017)
หมายเหตุ

งานวิจัยนี้ กำลังอยู่ในกระบวนการตีพิมพ์วารสาร

งานวิจัยนี้ เป็นเพียงการศึกษานำร่อง (pilot study)


- ผู้วิจัยยังคงต้องศึกษาเพิ่มเติมในประเด็นดังกล่าว
เพื่อนำไปสู่หัวข้อในการจัดทำดุษฎีนิพนธ์ในอนาคต
Thank
you
Q & A

You might also like