You are on page 1of 26

MQDC Design Competition 2023

RE-imagining
Thai Social Space:
City Festival as Design Intervention
Design Competition Brief (Draft)

โดย
สถาบ ันวิ จย
ั และให้คา
ํ ปรึกษาแห่ งมหาวิ ทยาล ัยธรรมศาสตร ์

15 ธ ันวาคม 2565
งานประกวดแบบที่ ผ่านมา

MQDC Design
Competition 2021

“Uniquely Thai”
Envisioning the 21st
Bangkok’s Civic
Center Architectural
Design Competition
2021

2
งานประกวดแบบที่ ผ่านมา

จํานวนผู ้สม ัครทงหมด


ั้

ประเภท จํานวนที มทงหมด


ั้ จํานวนคนทงหมด
ั้

นิ สิ ต/นักศึกษา 315 448

บุ คคลทั่ วไป 133 314

รวม 448 762

ต ัวอย่ างผลงาน

3
Timeline

2022 2023
September October November December January February March April May June
1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4

กํ าหนดการ: Deadline for


Questions & Response
Competition Online to Questions Issued
Launch Registration Submission
Period Deadline
Lecture Series Finalists
Announcement
Pitching

ช่ วงตั ดสิ นผลงาน


Winners
Announcement

Press Conference
& Exhibition

กํ าหนดการ ช่ วงเปิดภาคการศึ กษา 2/2565


สถาบั นการศึ กษา:

4
Design Competition Brief (Draft)
1 Introduction 4 Competition Rules/Deliverables
2 About This Competition 1 Schedule
3 The Challenges 2 Entry Eligibility
1 Design Challenges 3 Registration
2 Program Requirements 4 Prizes
3 Competition Requirements 5 Submission Requirements
4 Site Conditions 6 Competition Regulation
7 Criteria for Judging
8 Enquiry
9 Competition Organizers/
Core Partners

5
1 Introduction

6
Introduction

การนําพื ้นที่ สาธารณะของเมื องมาใช ้เป็นพื ้นที่จด


ั งานอี
เวนต ์หรื องานเทศกาลเป็นแนวคิ ดที่ เกิ ดขึน
้ มาอย่ างยาวนาน
โดยแรกเริ่ มจากการใช้จด
ั งานเฉลิ มฉลองทางศาสนาและโอกาส
สําคัญของเมื อง จนไปสู่ งานเทศกาลทางวัฒนธรรม
การแข่ งขันกี ฬา งานเทศกาลศิ ลปะ และงานเทศกาลภาพยนตร์
ในช่ วงศตวรรษที่ 20 ทําให้คนในเมื องสามารถมี ส่วนร่ วมและ
มี ปฏิ สม
ั พันธ ์กับงานที่ จด
ั ขึน
้ ได้อย่ างหลากหลาย

เช่ นเดี ยวกับพื ้นที่ Liberty Square (เมื องปอซนาน ประเทศ


โปแลนด ์) ซึ่งเป็นพื น
้ ที่ จตุ รส
ั กลางเมื องที่ มีบทบาทสําคัญตัง้ แต่
อดี ต จนในปั จจุ บน
ั ได้มี การเปลี่ ยนแปลงจากพื น
้ ที่ คอนกรี ต
กลางเมื องที่ ไม่ ได้มี การใช้งานอย่ างเต็ มประสิ ทธิภาพ มาเป็น
พื น
้ ที่ สาธารณะที่ เป็นมิ ตรกับคนเมื อง รวมถึงเป็นพื น
้ ที่ จด
ั งาน
เทศกาล Malta Festival Poznan ซึ่งเป็นงานเทศกาลศิ ลปะ
ประจําปีของเมื องบนพื น
้ ที่ 4,000 ตารางเมตร ที่ ถูกแบ่ งสัดส่ วน
เพื่ อรองรับกิ จกรรมเฉพาะ ไม่ ว่าจะเป็นเวที การแสดง ร้านค้า
ร้านอาหาร และการจัดเวิ ร ์กชอป และมี การนํา Urban Furniture
มาจัดวางในแต่ ละพื น
้ ที่ โดยเป้ าหมายการออกแบบพื น
้ ที่ ไม่
เพี ยงแต่ เพื่ อการจัดงานเทศกาล แต่ เพื่ อพัฒนาพื น
้ ที่ ที่ถูกลื ม
เลื อนให้เป็นพื น
้ ที่ สาธารณะของพลเมื องทุ กคนอย่ างแท้จริ ง

Source: Smith, A., Vodicka, G., Colombo, A., Lindstrom, K.N., McGillivray, D. and Quinn, B., 2021; Public Space, n.d.; teMPorary PUbliC sPaCe for Malta festival Poznan in Poland, 2017
7
Introduction

ประเทศไทยมี การใช้พืน
้ ที่
สาธารณะในการจัดกิ จกรรมมา
อย่ างยาวนาน อย่ างพื ้นที่ เสาชิ งช ้า
ที่ ถูกกําหนดเป็นศู นย ์กลางของ
เมื องหรื อ ‘สะดื อเมื อง’ ซึ่งถู กใช้ใน
การประกอบพิ ธีกรรมทางศาสนา
หรื อพิ ธีสําคัญต่ าง ๆ ของเมื อง หรื อ
ตลาดนั ดสนามหลวง พื ้นที่ ท ้องสนามหลวงที่ เคยเป็น
Source: นิ ตยสารสารคดี , n.d.
พื น
้ ที่ ศูนย ์กลางของการจัดกิ จกรรม
สําคัญของประเทศไทย เช่ น พื น
้ ที่
จัดงานฉลองรัฐธรรมนู ญ สนาม
แข่ งม้า ตลาดนัด ฯลฯ ต่ อมาได้ถูก
ใช้จด
ั กิ จกรรมทังของภาครั
้ ฐและ
ภาคเอกชน เช่ น การแข่ งขันกี ฬา
พื น
้ บ้าน โดยเฉพาะการเล่ นว่ าว
การจัดคอนเสิ ร ์ต การจัดกิ จกรรม
ทางการเมื อง ฯลฯ

พิ ธี โล้ ชิงช้ า “ว่ าว” การละเล่ นคู่ สนามหลวง


Source: TNews, n.d. Source: วารสารวั ฒนธรรม โดยกระทรวงวั ฒนธรรม, n.d.

8
Introduction

Chiang Mai Design Week 2021 Chiang Mai Design Week 2021
Source: Chiang Mai Design Week Facebook Source: Chiang Mai Design Week Facebook อย่ างไรก็ ตาม ในปั จจุ บน
ั พื ้นที่ สาธารณะในแต่ ละเมื อง
มี การใช ้พื ้นที่ ในการจัดงานอี เวนต ์หรื องานเทศกาลเพิ่ ม
มากขึน
้ ทังในสวนสาธารณะ
้ พื น
้ ที่ ว่างของอาคารสําคัญทาง
วัฒนธรรมหรื อประวัติศาสตร ์ ถนนสายสําคัญ ซึ่งย ังไม่ มีการ
ออกแบบพื ้นที่ ด ังกล่ าวสําหร ับรองร ับการจัดงานโดยเฉพาะ
รวมถึงย ังไม่ มีการวางแผนบริ หารจัดการพื ้นที่ เพื่ อการจัดงาน
อี เวนต ์หรื องานเทศกาลที่ เพี ยงพอ ซึ่งอาจก่ อให้เกิ ด
ผลกระทบทางลบ ทังในด้าน

● ผลกระทบทางส ังคมที่ อาจก่ อให้เกิ ดการเปลี่ ยนแปลง
โครงสร้างของชุ มชนดังเดิ ้ ม ทําให้สูญเสี ยความ
เป็นอัตลักษณ์ อาจเป็นการเพิ่ มการก่ ออาชญากรรม
เนื่ องจากมี ผูค้ นแปลกหน้าต่ างถิ่ น เข้ามาในพื น ้ ที่ จดั
Bangkok Design Week 2020
Source: THE MOMENTUM งานและบริ เวณงานเป็นจํานวนมาก ปั ญหาความ
พลุ กพล่ าน ความไม่ ปลอดภัย ปั ญหาสิ่ งเสพติ ดและ
แอลกอฮอล์ หรื อ
● ผลกระทบทางด ้านสิ่ งแวดล ้อมที่ ทา ํ ให้เกิ ดมลภาวะทัง้
ทางอากาศ นํา้ เสี ยง หรื อขยะมู ลฝอยที่ เพิ่ มมากขึน ้
จากการจัดงาน ซึ่งส่ งผลต่ อคุ ณภาพชี วิตของคนใน
พื น
้ ที่ รวมถึง
● ผลกระทบทางเศรษฐกิจที่ อาจทําให้ค่าครองชี พ
พื น้ ฐานสู งขึน
้ เกิ ดการอพยพของคนในพื น ้ ที่ และอาจ
เกิ ดการแทรกแซงต่ อธุรกิ จปกติ ของชุ มชน
9
Introduction

LANTERN ART FESTIVAL 2022


Source: SPRiNGAll
“Art Inspire ศิ ลปะบั นดาลใจ บั นดาลไทย”
Source: VividSuperG
นอกจากพื น ้ ที่ สาธารณะแล้ว ยังมี
พื น
้ ที่ ในรู ปแบบของพื ้นที่ ก่ ง ึ สาธารณะ
ไม่ ว่าจะเป็นพื น ้ ที่ จากการเว้นระยะร่ น
ของโครงการอสังหาริ มทรัพย ์ของภาค
เอกชน พื น ้ ที่ ว่างหรื อลานโล่ งหน้าอาคาร
พื น้ ที่ ลานจอดรถ หรื อพื น ้ ที่ เศษเหลื อจาก
การก่ อสร้าง ซึ่งในปั จจุ บน ั การใช้งาน
พื น ้ ที่ ก่ ง
ึ สาธารณะของคนไทยมี
แนวโน้มเพิ่ มมากขึน ้ เรื่ อย ๆ ในขณะ
เดี ยวกันพื น ้ ที่ สาธารณะกลับมี จํากัด

'เสี ยง-อี สาน' Music & Art Fest Siam Paragon World Magical Celebration : The International Carnivals
Source: Bacc Source: MThai

เพราะฉะนัน ้
การออกแบบพื ้นที่ สาธารณะและ
พื ้นที่ ก่ ง
ึ สาธารณะเพื่ อรองร ับ
การจัดงานอี เวนต ์หรื อ
งานเทศกาลที่ มีความซ ับซ ้อน
ได ้อย่ างมี ประสิ ทธิภาพ
จะส่ งเสริ มความมี ชีวิตชี วา
ให้ก ับพื ้นที่ และลดผลกระทบ
เชิ งลบที่ อาจจะเกิ ดขึน้

10
About This
2 Competition

11
About This Competition

City Festival as
Design Intervention
การออกแบบพื ้นที่ สาธารณะของเมื องที่ มีจําก ัดและ
พื ้นที่ ก่ ง
ึ สาธารณะของเมื องที่ ย ังขาดวิ ธีการและแนวทางการใช ้พื ้นที่
ที่ เหมาะสมก ับปัจจุ บ ันและอนาคต ให้เป็นพื ้นที่ ที่รองร ับกิ จกรรม
ทางส ังคมที่ ตอบโจทย ์ต่ อการใช ้พื ้นที่ เมื องในอนาคต ซึ่งสะท้อนถึง
อัตลักษณ์และการมี ส่วนร่ วมของคนในพื น
้ ที่ โดยมี รูปแบบการจัดงาน
กิ จกรรม ช่ วงเวลาการจัดงาน และการเชื่ อมโยงกับบริ บทของพื น
้ ที่
อย่ างเหมาะสม นําไปสู่ การสร ้างกิ จกรรมเมื องรู ปแบบใหม่ ที่ก่อให้เกิ ด
มู ลค่ าทางเศรษฐกิ จ กระตุ น
้ การท่ องเที่ ยว เสริ มสร้างภาพลักษณ์ของ
เมื อง และเกิ ดการพ ัฒนาย่ านด ้วยสถาปัตยกรรมและกิ จกรรม
ชวั่ คราวหรื อการสร ้างงานเทศกาล

12
3 The Challenges

13
The Challenges

Design Challenges Program Requirements


– โจทย ์การออกแบบ – ความต ้องการด ้านพื ้นที่
1 การออกแบบสถาปัตยกรรม หรื อ การออกแบบ ● พื ้นที่จด
ั กิจกรรม (Activities Area) ตามลักษณะของงาน
องค ์ประกอบใหม่ ของพื ้นที่ ที่จะแทรกแซงสภาพแวดล้อม อี เวนต ์หรื องานเทศกาล เช่ น Workshop Space, Performance
และพฤติ กรรมของชุ มชน (Design Intervention) Space, Kids Zone, Exhibition Space ฯลฯ
2 การออกแบบกิจกรรม/งานเทศกาลชวั่ คราวตามบริ บท ● พื ้นที่ เชิ งพาณิ ชย ์ (Commercial Area) เช่ น พื น
้ ที่ ขายอาหาร-
ของพื น
้ ที่ นํา้ (Food Truck, Food Vendor/Stall, Water Station ฯลฯ)
3 การออกแบบที่ สะท ้อนเอกล ักษณ์และความร่ วมมื อของพื ้นที่ พื น
้ ที่ รา้ นค้า ฯลฯ
4 การออกแบบที่ สร ้างบรรยากาศที่ สร ้างแรงบ ันดาลใจ ● พื ้นที่ บริ การ (Service) เช่ น พื น
้ ที่ สํานักงานของผู จ
้ ด
ั งาน
สร ้างความมี ชีวิตชี วา และสร ้างภาพล ักษณ์ ใหม่ ให้ก ับเมื อง (Festival Office) พื น
้ ที่ จุดบริ การข้อมู ล (Information Center)
จุ ดปฐมพยาบาล ห้องนํา้ พื น
้ ที่ จอดรถ พื น
้ ที่ เก็ บของ (Storage)

หมายเหตุ :
1. สามารถกําหนดสัดส่ วนของพื น ้ ที่ ได้อย่ างอิ สระ
ขึน
้ อยู่ กบ
ั แนวความคิ ดของผู อ ้ อกแบบ
2. การวางผังพื น ้ ที่ หรื อการวางแผนการใช้งานพื น ้ ที่
ไม่ จําเป็นต้องอยู่ บนไซต ์เดี ยวกัน

14
The Challenges

Competition Requirements – ความต ้องการด ้านเนื อ


้ หา
● การวิ เคราะห์พืน
้ ที่ และบริ บทของพื น
้ ที่ ประเด็ นของเมื อง สังคม วัฒนธรรม
ชุ มชน (Urban, Social, Culture, Community Issues, etc.)
ที่ สม
ั พันธ ์กับกิ จกรรมหรื อการใช้งานพื น
้ ที่ ที่จะเกิ ดขึน

● กําหนดชื่ องานและชื่ อกิ จกรรมที่ จะเกิ ดขึน
้ บนพื น
้ ที่
● รายละเอี ยดกิ จกรรม
● ช่ วงเวลาในการจัดงาน (กลางวัน-กลางคื น ช่ วงเดื อน ระยะเวลา ฯลฯ)
● กลุ่ มเป้ าหมาย
● เจ้าภาพและผู ม
้ ี ส่วนเกี่ ยวข้องในการจัดงาน (Stakeholders Mapping)
● การเดิ นทาง และการเชื่ อมต่ อของพื น
้ ที่
● Experience Journey*

*หมายเหตุ : ใน Lecture Series จะมี หวั ข้อการบรรยายที่ เกี่ ยวข้อง


เพื่ อให้ผูเ้ ข้าประกวดสามารถนําไปปรับใช้/พัฒนาในงานประกวดแบบ

15
The Challenges

Site Selection – การเลื อกพื ้นที่

ผู เ้ ข้าประกวดจะต้องเลื อกพื น
้ ที่ ในกรณี ใดกรณี หนึ่งเท่ านัน
้ ตามข้อกําหนด ดังนี ้

กรณี ที่ 1: พื ้นที่ South Sukhumvit, Bangkok (พื น


้ ที่ ลานโล่ งหน้าอาคารที่ ได้กา
ํ หนดไว้) สําหรับผู ส
้ ่ งผลงานเข้าประกวดที่ ศก
ึ ษา
หรื ออาศัยอยู่ ในเขตกรุ งเทพฯ และปริ มณฑล (นครปฐม นนทบุ รี ปทุ มธานี สมุ ทรปราการ สมุ ทรสาคร)

กรณี ที่ 2: พื ้นที่ สาธารณะของเมื อง (Urban Public Space) สําหรับผู ส


้ ่ งผลงานเข้าประกวดที่ ศก
ึ ษาหรื ออาศัยอยู่ จงั หวัดอื่ น ๆ
ทั่ วประเทศ นอกพื ้นที่ เขตกรุ งเทพฯ และปริ มณฑล (นครปฐม นนทบุ รี ปทุ มธานี สมุ ทรปราการ สมุ ทรสาคร)

16
The Challenges

Site Selection – การเลื อกพื ้นที่


สํ านั กงานเขตพระโขนง 1
กรณี ที่ 1: South Sukhumvit, Bangkok
(พื น
้ ที่ ลานโล่ งหน้าอาคารที่ ได้กา
ํ หนดไว้)
2 เพลิ นพระโขนง
Site 01: สํานักงานเขตพระโขนง
Site 02: เพลิ นพระโขนง
วั ดธรรมมงคล
Site 03: ว ัดธรรมมงคล
3
Site 04: 101 True Digital Park
101 True
4
Site 05: Cloud11 Cloud11 5 Digital Park

*อาจมี การเปลี่ ยนแปลงในภายหลัง

17
The Challenges

Site Selection – การเลื อกพื ้นที่ ต ัวอย่ างพื ้นที่ :


ลานโล่ งหน ้าอาคารสําค ัญของย่ าน
กรณี ที่ 2: พื ้นที่ สาธารณะของเมื อง หรื อเมื อง:
(Urban Public Space) ลานหน ้าพระบรมราชานุ สาวรี ย ์
สามกษ ัตริ ย ์
● ลานโล่ งหน ้าอาคารสําค ัญของย่ านหรื อเมื อง Source: Source: Chiang Mai Design Week, 2020
จังหว ัดเชี ยงใหม่

● ถนนเส ้นที่ มีความสําค ัญของเมื อง ถนนเส ้นที่ มีความสําค ัญของเมื อง:


● พื ้นที่ ย่านเมื องเก่ า ถนนยมจิ นดา
จังหว ัดระยอง
● พื ้นที่ รกร ้าง

Source: The Cloud, 2022

พื ้นที่ ย่านเมื องเก่ า:


ย่ านเมื องเก่ าสงขลา
จังหว ัดสงขลา

Source: จั งหวั ดสงขลา, n.d.

พื ้นที่ รกร ้าง:


สถานี บขส.เก่ า ขอนแก่ น
จังหว ัดขอนแก่ น

Source: Google Street View


18
Competition Rules/
4 Deliverables

19
Competition Rules/Deliverables

Schedule – กําหนดการ
2 ม.ค. - 3 ก.พ. 66 สม ัครเข ้าร่ วมประกวด ผ่ านช่ องทางออนไลน์บน Facebook Page
15 ก.พ. 66 ว ันสุ ดท ้ายของประเด็นถาม-ตอบ (Deadline for Questions & Response to Questions Issued)
● ส่ งประเด็ นคําถามมาที่ อีเมล designcompetition@mqdc.com ภายในวันที่ 15 ก.พ. 66
● ทางโครงการจะตอบข้อซักถามและเผยแพร่ บน Facebook Page ภายในวันที่ 17 ก.พ. 66
31 มี .ค. 66 ว ันสุ ดท ้ายของการร ับผลงาน (Submission Deadline)
● ผลงานรู ปแบบ Digital File จะต้องถู กส่ งมาถึงโครงการฯ ภายในเวลา 16.00 น.
● ผลงานรู ปแบบเอกสาร (Hard Copy) หรื อบอร์ดนําเสนอ จะต้องถู กส่ งมาถึงโครงการฯ ภายในเวลา
16.00 น. (กรณี จด
ั ส่ งทางไปรษณี ย์ จะยึดตามประทับตราของไปรษณี ย์ที่ระบุ วน
ั จัดส่ งผลงาน
ภายในวันที่ 31 มี .ค. 66 เวลา 16.00 น.)
10 เม.ย. 66 ประกาศผลการค ัดเลื อกรอบที่ 1 (Finalists Announcement)
17 เม.ย. 66 ผู ้เข ้าประกวดที่ ผ่านเข ้ารอบ (Finalists) เข ้าร ับการอบรม เพื่ อเตรี ยมต ัวนําเสนอผลงาน (Pitching)
และจัดทําข ้อมู ลการเสนองานเบื ้องต ้น เช่ น งบประมาณการก่ อสร้าง ฯลฯ
27 เม.ย. 66 นําเสนอผลงานของผู ้ผ่ านเข ้ารอบต่ อคณะกรรมการต ัดสิ น (ประเภทนิ สิต/นักศึกษา)
28 เม.ย. 66 นําเสนอผลงานของผู ้ผ่ านเข ้ารอบต่ อคณะกรรมการต ัดสิ น (ประเภทบุ คคลทวั่ ไป)
1 พ.ค. 66 ประกาศผลผู ้ชนะ ประเภทนิ สิต/นักศึกษาและประเภทบุ คคลทวั่ ไป (Winners Announcement)
2 มิ .ย. 66 พิ ธีมอบรางว ัลและจัดแสดงนิ ทรรศการผลงาน (Award Ceremony & Exhibition)
20
Competition Rules/Deliverables

Entry Eligibility Registration


– คุ ณสมบ ัติ ผู ้เข ้าร่ วมการประกวด – การสม ัครเข ้าร่ วมการประกวด

ประเภทนักศึกษา: ● กรุ ณากรอกแบบฟอร ์มการลงทะเบี ยน


● ในกรณี สม ัครแบบกลุ่ ม ให้ต ัวแทนกลุ่ ม
นักศึกษาระด ับปริ ญญาตรี
กรอกใบสม ัครเพี ยงหนึ่งท่ าน
ด ้านสถาปัตยกรรม
● ไม่ มีค่าธรรมเนี ยม สําหร ับการลงทะเบี ยน
ด ้านการออกแบบทุ กสาขา
เข ้าร่ วมการแข่ งข ัน
ด ้านผ ังเมื อง
ด ้านการออกแบบชุ มชนเมื อง
**ผู ้สม ัครจะได ้ร ับอี เมลยื นย ันการเข ้าร่ วม
และสาขาอื่ น ๆ ที่ เกี่ ยวข ้อง
พร ้อมหมายเลขผู ้เข ้าร่ วมประกวด
จากอี เมล designcompetition@mqdc.com
ประเภทบุ คคลทวั่ ไป:
สถาปนิ กหรื อนักออกแบบทวั่ ไป

หมายเหตุ :
● สามารถเข้าร่ วมได้ทงั้ แบบเดี่ ยวและกลุ่ ม
● กรณี แบบกลุ่ มจะต้องมี จาํ นวนผู เ้ ข้าร่ วมไม่ เกิ นกลุ่ มละ 5 คน
● กรณี แบบกลุ่ มที่ มีสมาชิ กทัง้ นิ สิ ต/นักศึกษาและบุ คคลทั่ วไป
จะถู กจัดอยู่ ในประเภทบุ คคลทั่ วไป

21
Competition Rules/Deliverables

Prizes – รางว ัล

1 รางว ัลประเภทนิ สิต/นักศึกษา: หมายเหตุ :


1. รางวัลประเภทนิ สิ ต/
Gold 1 รางวัล จะได้รบ
ั เกี ยรติ บต ั ร เงิ นรางวัล 200,000 บาท นักศึกษาและประเภท
และรางวัลเดิ นทางดู งานต่ างประเทศ บุ คคลทั่ วไป จะประกาศผล
Silver 1 รางวัล จะได้รบั เกี ยรติ บต ั ร และเงิ นรางวัล 100,000 บาท ในวันที่ 1 พฤษภาคม 2566
Bronze 1 รางวัล จะได้รบ ั เกี ยรติ บต ั ร และเงิ นรางวัล 50,000 บาท
รางว ัลชมเชย 3 รางวัล จะได้รบ ั เกี ยรติ บต ั ร และเงิ นรางวัล 10,000 บาท 2. รางวัล Popular Vote
จะประกาศผลในวันที่
2 มิ ถุนายน 2566 หรื อ
2 รางว ัลประเภทบุ คคลทวั่ ไป: วันจัดพิ ธีมอบรางวัลและ
จัดแสดงนิ ทรรศการผลงาน
Gold 1 รางวัล จะได้รบ
ั เกี ยรติ บต ั ร เงิ นรางวัล 200,000 บาท (Award Ceremony &
และรางวัลเดิ นทางดู งานต่ างประเทศ Exhibition)
Silver 1 รางวัล จะได้รบั เกี ยรติ บต ั ร และเงิ นรางวัล 100,000 บาท
3. รางวัลเดิ นทางดู งาน
Bronze 1 รางวัล จะได้รบ ั เกี ยรติ บต ั ร และเงิ นรางวัล 50,000 บาท
ต่ างประเทศจะแจ้ง
รางว ัลชมเชย 3 รางวัล จะได้รบ ั เกี ยรติ บต ั ร และเงิ นรางวัล 10,000 บาท
รายละเอี ยดประเทศ
สําหรับการดู งานในภายหลัง
3 รางว ัล Popular Vote:
1 รางวัล จะได้รบ
ั เกี ยรติ บต
ั ร และเงิ นรางวัล 30,000 บาท

22
Competition Rules/Deliverables

Submission Requirements – การจัดส่ งผลงาน


เนื อ
้ หาที่ ต ้องนําเสนอ สิ่ งที่ ต ้องจัดส่ ง
1. Concept Design 4. Elevations & Sections 1. รู ปแบบเอกสาร (Hard Copy)
2. Site Plan 5. Perspectives
3. Plans ● บอร ์ด ขนาด A1 แนวตงั้ 2 บอร ์ด ติ ดลงบนกระดาษชานอ้อย/กระดาษ
6. คําอธิ บายผลงาน ไม่ เกิ น 500 คํา
แข็ ง/โฟมบอร์ดหรื ออื่ น ๆ
รู ปแบบเอกสาร (Hard Copy) ● เอกสารคําอธิบายผลงาน ไม่ เกิ น 500 คํา ขนาด A4
● เอกสารรายละเอี ยดของผู ้เข ้าร่ วมประกวด ขนาด A4
(ที่ อยู่ และเบอร์โทรศัพท์สําหรับการจัดส่ ง จะแจ้งให้ทราบในภายหลัง)

A1 A1 2. รู ปแบบ Digital File


A4 A4 ● บอร ์ด ขนาด A1 แนวตงั้ 2 บอร ์ด ไฟล์ PDF ความละเอี ยด 150 dpi ขนาด
ไฟล์ ไม่ เกิ น 20 mb
● เอกสารคําอธิบายผลงาน ไม่ เกิ น 500 คํา ขนาด A4 ไฟล์ Word (.docx)
บอร์ดนําเสนอผลงานแนวตัง้ ขนาด A1 คําอธิ บาย รายละเอี ยดผู ้ ● เอกสารรายละเอี ยดของผู ้เข ้าร่ วมประกวด ขนาด A4 ไฟล์ PDF
ผลงาน เข้าร่ วม
ประกวด ส่ งที่ อีเมล: designcompetition@mqdc.com
รู ปแบบ Digital File
3. ไฟล ์นําเสนอผลงาน (Slide) สําหรับผู เ้ ข้ารอบสุ ดท้าย (ผู ผ
้ ่ านการคัดเลื อก
รอบที่ 1) ไฟล์ PDF
A1 A1 ส่ งที่ อีเมล: designcompetition@mqdc.com
(.pdf) (.pdf) A4 A4
(.docx) (.pdf)
Slide
(.pdf)

บอร์ดนําเสนอผลงานแนวตัง้ ขนาด A1 คําอธิ บาย รายละเอี ยด ไฟล์นําเสนอ


ผลงาน ผู เ้ ข้าร่ วม ผลงาน เฉพาะผู ้
ประกวด ผ่ านการคัดเลื อก
23
Competition Rules/Deliverables

Competition Regulation – เงื่ อนไขการเข ้าร่ วมประกวดแบบ

1. ผลงานต้องไม่ เคยมี การเผยแพร่ หรื อส่ งประกวดหรื อถู กสร้างที่ ใดมาก่ อน


2. ผลงานที่ ส่งเข้าประกวดจะต้องเป็ นผลงานของผู ส ้ ่ งเข้าประกวดเองทัง้ หมด ห้ามมี ส่วนหนึ่งส่ วนใดละเมิ ดทรัพย์สินทางปั ญญา
และลิ ขสิ ทธิ ์ของผู อ
้ ื่ น
3. ลิ ขสิ ทธิ ์ของผลงานเป็ นของผู ส้ ่ งเข้าประกวด เจ้าของโครงการประกวดแบบขอสงวนสิ ทธิ ์ในการตี พิมพ์และแสดงผลงานทุ กชิ น ้
ตลอดจนข้อมู ลอื่ น ๆ ที่ ส่งเข้าประกวด เพื่ อเผยแพร่ ต่อสาธารณชนได้ในทุ กรู ปแบบ โดยไม่ มีค่าตอบแทน รวมไปถึง
สื่ อในการจัดแสดงผลงานทัง้ หมดนัน ้ จะเป็ นทรัพย์สินของเจ้าของโครงการประกวดแบบ
4. ผลงานที่ ชนะ หากถู กนํามาพิ จารณาเป็ นส่ วนหนึ่งของแนวคิ ดในการพัฒนาโครงการใด ๆ จะเป็ นการพัฒนาแบบร่ วมกัน
ระหว่ างผู ช ้ นะการประกวดและเจ้าของโครงการ
5. ผลงานที่ เข้ารอบสุ ดท้ายของการประกวด จะต้องเตรี ยมไฟล์ PDF เพื่ อมานําเสนอต่ อหน้าคณะกรรมการตัดสิ น
ในเวลาไม่ เกิ น 10 นาที และตอบคําถามคณะกรรมการตัดสิ น ในเวลาไม่ เกิ น 10 นาที
6. ทุ กผลงานที่ ส่งเข้าประกวดจะถู กจัดแสดงในนิ ทรรศการ
7. ผลงานที่ ชนะอันดับ 1-3 (Gold/Silver/Bronze) ทัง้ ประเภทนิ สิ ต/นักศึกษาและประเภทบุ คคลทั่ วไป จะได้รบ ั เงิ นสนับสนุ น
สําหรับจัดทําโมเดลเพื่ อจัดแสดงในนิ ทรรศการ
8. ขอสงวนสิ ทธิ ์ในการเปลี่ ยนแปลงกฎการประกวดแบบ (กําหนดการ ข้อกําหนด ฯลฯ) ผู เ้ ข้าร่ วมการประกวดจะต้องตรวจสอบ
ข้อกําหนดและเงื่ อนไขหรื อข้อมู ลการแข่ งขันผ่ านช่ องทางออนไลน์ของโครงการ (Facebook Page)
9. การตัดสิ นของคณะกรรมการตัดสิ นถื อเป็ นที่ สุด
10. กรณี ที่มีการผิ ดเงื่ อนไขการประกวดแบบ ผลงานนัน ้ ๆ จะไม่ ได้รบ
ั การพิ จารณา และหากเป็ นที่ ทราบภายหลังว่ า
มี การผิ ดเงื่ อนไขการประกวดแบบ รางวัลและเกี ยรติ คุณทัง้ หมดจะถู กเรี ยกคื น

24
Competition Rules/Deliverables

Criteria for Judging – เกณฑ ์การต ัดสิ น Enquiry – การสอบถามรายละเอี ยดเพิ่ มเติ ม

1. การนําเสนอแนวคิ ดการออกแบบสถาปัตยกรรม หากมี ขอ


้ สงสัยเพิ่ มเติ ม สามารถสอบถามได้ที่
หรื อ การออกแบบองค ์ประกอบใหม่ ของพื ้นที่ E-mail: designcompetition@mqdc.com
ที่ จะแทรกแซงสภาพแวดล้อมและพฤติ กรรมของ Facebook Page:
ชุ มชน (Design Intervention) www.facebook.com/MQDCDesignCompetition
2. การนําเสนอแนวคิ ดการออกแบบกิจกรรม/
งานเทศกาลชวั่ คราวตามบริ บทของพื ้นที่
3. คุ ณภาพของงานออกแบบ ได้แก่ ความคิ ดริ เริ่ ม
Competition Organizers/Core Partners
สร้างสรรค์ ความเป็ นไปได้ของข้อเสนอ
– ผู ้จัดการแข่ งข ันและพ ันธมิ ตรหล ัก
การตอบโจทย์การออกแบบ (Design Challenges)
4. ความสวยงามและความเหมาะสมก ับบริ บท
5. คุ ณภาพของการนําเสนอ
6. การปฏิ บ ัติ ตามเงื่ อนไขการเข ้าร่ วมประกวด
และมี เนื อ
้ หาในการนําเสนอครบถ้วน

25
MQDC Design Competition 2023

RE-imagining
Thai Social Space:
City Festival as Design Intervention
Design Competition Brief (Draft)

โดย
สถาบ ันวิ จย
ั และให้คา
ํ ปรึกษาแห่ งมหาวิ ทยาล ัยธรรมศาสตร ์

15 ธ ันวาคม 2565

You might also like