You are on page 1of 2

วันธรรมสวนะ

ควาหมายและประวัติของวันพระ หรื อ วันธรรมสวนะ

วันพระ หมายถึง วันประชุมถือศีลธรรมในพระพุทธศาสนา ( ธรรมสวนะ หมายถึง การฟังธรรม )


กาหนดเดือนทางจันทรคติ 4 วัน ได้แก่
• วันขึ้น 8 ค่า
• วันขึ้น 15 ค่า
• วันแรม 8 ค่า
• วันแรม 15 ค่า

ประวัติความเป็ นมา
ในสมัยต้นพุทธกาล พระพุทธเจ้ายังคงไม่ได้ทรงวางระเบียบในเรื่ องนี้ไว้ ต่อมาพระเจ้าพิมพิสาร ได้เข้าเฝ้าพระ
สัมมาสัมพุทธเจ้า และกราบทูลพระราชดาริ ของพระองค์ว่านักบวชศาสนาอื่น มีวนั ประชุมสนทนาเกี่ยวกับหลักธรรมคาสั่ง
สอนในศาสนาของเขา แต่ว่าพุทธศาสนายังไม่มี พระพุทธองค์จึงทรงอนุญาตให้มีการประชุมพระสงฆ์ในวัน 8 ค่า 15 ค่า
และอนุญาตให้พระภิกษุสงฆ์แสดงธรรมเทศนาแก่ประชาชนในวันดังกล่าว จากนั้น พุทธศาสนิกชนจึงถือเอาวันดังกล่าว
เป็ นวันธรรมสวนะสื บมา โดยจะเป็ นวันสาคัญที่พุทธศาสนิกชนจะไปประชุมกันฟังพระธรรมเทศนาจากพระสงฆ์ที่วดั ใน
ประเทศไทยปรากฏหลักฐานว่าได้มีประเพณี วนั พระมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย

ความสาคัญ
วันพระ หรื อวันอุโบสถ เป็ นวันหลักแห่งการทาความดี โดยพระพุทธเจ้าได้ทรงอนุญาตให้ชาวพุทธมีโอกาสทา
ความดีต่างๆ ได้แก่ ทาบุญตักบาตร ให้ทาน เพื่อทาใจให้สงบ

การปฎิบัติตน
ทาบุญตักบาตร ให้ทานอื่นๆ เช่น ถวายสังฆทานสมาทานศีล และรักษาศีล เช่น ศีล 8 หรื อ ศีล 5 เจริ ญภาวนาด้วย
การทาจิตใจให้สงบเป็ นสมาธิฟังธรรมเทศนาด้วยความตั้งใจและความสงบ

หลักธรรมที่เกี่ยวข้ อง
หลักธรรมที่เกี่ยวข้องในวันพระ หรื อ วัดอุโบสถที่นกั เรี ยนควรศึกษาในที่น้ ี คือ สังคหวัตถุ 4

สังคหวัตถุ 4
หมายถึง หลักปฎิบตั ิตนที่เป็ นเครื่ องยึดเหนี่ยวจิตใจผูอ้ ื่นไว้ หรื อหลักในการสงเคราะห์ผูอ้ ื่น มี 4 ประการ คือ
1. การให้ (ทาน) หมายถึง การรู ้จกั การช่วยเหลือ แบ่งปันไม่ว่าสิ่ งนั้นจะเป็ นวัตถุสิ่งของ
2. การพูดจาไพเราะ (ปิ ยวาจา) หมายถึง การพูดไพเราะ น่ารัก พูดด้วยความจริ งใจ
3. การทาประโยชน์ต่อกัน (อัตถจริ ยา) หมายถึง การประพฤติปฎิบตั ิตนให้เป็ นประโยชน์ต่อกัน
4. การวางตัวเสมอต้นเสมอปลาย (สมานัตตตา) หมายถึง การทาตัวให้เข้ากับผูอ้ ื่น โดยไม่ถือตัว

You might also like