You are on page 1of 20

วันสำคัญทำงพระพุทธศำสนำ

และศำสนพิธี

จุดประสงค์กำรเรียนรู้
๑. อธิบำยประวัติวันสำคัญทำงศำสนำตำมที่กำหนดและปฏิบัติตนได้ถูกต้อง
๒. ปฏิบัติตนในศำสนพิธี พิธีกรรมได้ถูกต้อง
ประวัติและกำรปฏิบัติตนในวันสำคัญทำงพระพุทธศำสนำ วันวิสำขบูชำ
วันวิสำขบูชำ

ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพำน

• เป็นวันคล้ำยวันประสูติ วันตรัสรู้ และวันปรินิพพำน ของพระพุทธเจ้ำ

• ตรงกับวันเพ็ญเดือน ๖ ของทุกปี

• พุทธศำสนิกชนทั่วโลกประกอบพิธีกรรมเพื่อน้อมระลึกถึงสมเด็จพระสัมมำสัมพุทธเจ้ำ
ประวัติและกำรปฏิบัติตนในวันสำคัญทำงพระพุทธศำสนำ วันวิสำขบูชำ
วันวิสำขบูชำ : วันสำคัญสำกลนำนำชำติ
• ในกำรประชุม International Buddhist Conference ณ กรุงโคลัมโบ พ.ศ. ๒๕๔๑
ผู้ แ ทนจำกประเทศที่ นับถือ พระพุ ท ธศำสนำ ได้ต กลงกัน ที่ จะเสนอให้ สมัชชำ
สหประชำชำติ รั บ รองข้ อ มติ ป ระกำศให้ วั น วิ ส ำขบู ช ำเป็ น วั น หยุ ด ของ
สหประชำชำติ

• วันวิสำขบูชำได้รับกำรยอมรับจำกสหประชำชำติให้เป็นวันสำคัญสำกลนำนำชำติ
(International Day) เนื่องจำกตระหนักว่ำ พระพุทธศำสนำเป็นศำสนำที่เก่ำแก่
ที่สุดศำสนำหนึ่งของโลก ได้หล่อหลอมจิตวิญญำณของมวลมนุษยชำติมำเป็น
เวลำนำนกว่ำ ๒,๕๐๐ ปี ตำมแนวทำงสันติภำพ สมควรได้รับยกย่องกันทั่วโลก
ประวัติและกำรปฏิบัติตนในวันสำคัญทำงพระพุทธศำสนำ วันวิสำขบูชำ

กำรปฏิบัติตนในวันสำคัญทำงศำสนำ

เวลำเช้ำ • พุทธศำสนิกชนจะไปทำบุญตักบำตรที่วัดและฟังธรรม

• ร่วมกันบำเพ็ญสำธำรณประโยชน์ เช่น บริจำคโลหิต พัฒนำ


เวลำกลำงวัน วัด หรือบริจำคทรัพย์เพื่อกำรกุศล
• นำดอกไม้ธูปเทียนไปที่วัด เพื่อร่วมประกอบพิธีเวียนเทียนรอบ
เวลำค่ำ พระอุโบสถ เสร็จแล้วทำวัตรสวดมนต์ฟังเทศน์
ประวัติและกำรปฏิบัติตนในวันสำคัญทำงพระพุทธศำสนำ วันธรรมสวนะและเทศกำลสำคัญ

วันธรรมสวนะ

วันแรม ๘ ค่ำ
วันแรม ๑๕ ค่ำ
วันขึ้น ๘ ค่ำ
วันขึ้น ๑๕ ค่ำ
วันธรรมสวนะ
วันกำหนดประชุมฟังธรรม
หรือเรียกว่ำ “วันพระ”
ซึ่งกำหนดไว้เดือนละ ๔ วัน
บำงครั้งเรียกวันพระเป็น ๒ อย่ำง คือ
วันพระเล็ก ได้แก่ วันขึ้นและวันแรม ๘ ค่ำ
วันพระใหญ่ ได้แก่ วันขึ้น ๑๕ ค่ำ และวันแรม ๑๔
ค่ำ (ในเดือนขำด) หรือ ๑๕ ค่ำ (ในเดือนเต็ม)
ประวัติและกำรปฏิบัติตนในวันสำคัญทำงพระพุทธศำสนำ วันเข้ำพรรษำ

วันเข้ำพรรษำ
• วันเข้ำพรรษำ คือ วันที่พระสงฆ์อธิษฐำนว่ำ จะอยู่ประจำในอำวำสตลอด ๓ เดือน โดยไม่ไป
แรมคืนในที่ อื่น ตรงกับวั น แรม ๑ ค่ำ เดื อน ๘ คือ วั นถัดจำกวั นอำสำฬหบูชำ ถ้ำ ปีใ ดมี
อธิกมำสก็เลื่อนเป็นวันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๘

• พุทธศำสนิกชนชำวไทยได้เริ่มบำเพ็ญกุศลเนื่องในเทศกำลเข้ำพรรษำมำตั้งแต่สมัย สุโขทัย ดัง


ข้อควำมในศิลำจำรึกพ่อขุนรำมคำแหงมหำรำชว่ำ

“พ่อขุนรำมคำแหง เจ้ำเมืองสุโขไท ทั้งชำวแม่ ชำวเจ้ำ ท่วยปั่ว ท่วยนำง ลูกเจ้ำ


ลูกขุน ทั้งสิ้น ทั้งหลำย ทั้งผู้ชำย ผู้หญิง ฝูงท่วยศรัทธำในพระพุทธศำสนำ ทรง
ศีลเมื่อพรรษำทุกคน”
ประวัติและกำรปฏิบัติตนในวันสำคัญทำงพระพุทธศำสนำ วันเข้ำพรรษำ

ประเพณีแห่เทียนพรรษำ
• ประเพณีแห่เทียนพรรษำเกิดจำกควำมจำเป็นที่ในสมัยก่อนยังไม่มีไฟฟ้ำใช้ เมื่อ
พระสงฆ์มำจำพรรษำรวมกันมำกๆ ก็จำเป็นต้องปฏิบัติสมณกิจ ซึ่งเป็นกิจกรรม
ที่ต้องกำรแสงสว่ำง โดยเฉพำะเทียนที่พระสงฆ์จุดบูชำพระรัตนตรัยต้องสว่ำง

• พุทธศำสนิกชนนิยมหล่อเทียนต้นใหญ่ ไปถวำยพระภิก ษุใ นวั ดใกล้ๆ บ้ำน เป็น พุท ธบูชำ


เพื่อให้สำมำรถจุดอยู่ได้ตลอดเวลำ ๓ เดือน เทียนดังกล่ำวเรียกว่ำ “เทียนจำนำพรรษำ”
โดยมีขบวนแห่กันอย่ำงสนุกสนำน เรียกว่ำ “ประเพณีแห่เทียนจำนำพรรษำ”
ประวัติและกำรปฏิบัติตนในวันสำคัญทำงพระพุทธศำสนำ วันออกพรรษำ

วันออกพรรษำ

• วันออกพรรษำ ตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ พุทธศำสนิกชนจะ


ร่วมกันทำบุญ ตักบำตรและฟังเทศน์ เรียกว่ำ “ทำบุญออกพรรษำ”
หรือเรียกว่ำ “วันปวำรณำ”

• วันนี้พระพุทธเจ้ำทรงอนุญำตให้พระสงฆ์ทำปวำรณำแทน โดยไม่
ต้องสวดปำฏิโมกข์

• เป็ น วั น คล้ ำ ยวั น ที่ พ ระพุ ท ธเจ้ ำ ได้ เ สด็ จ ลงจำกเทวโลก


พุท ธศำสนิกชนจะเตรี ยมอำหำรไปทำบุญตัก บำตร เรี ยกว่ำ
“ตักบำตรเทโว”

• “ตักบำตรเทโว”ย่อมำจำกคำว่ำ “เทโวโรหณะ” เสร็จจำกกำรตัก


บำตรพุทธศำสนิกชนก็จะไปฟังธรรมและรักษำศีลอุโบสถ
ศำสนพิธี พิธีทำบุญงำนมงคลและงำนอวมงคล
• งำนหลักของกำรทำบุญ คือ กำรเลี้ยงพระ เรียกว่ำ “กำรทำบุญ
เลี้ยงพระ” นิยมทำกัน ทั้งงำนมงคลและงำนอวมงคล
• เจ้ำภำพมักนิมนต์พระมำเจริญหรือสวด พระพุทธมนต์ในตอนเย็น เรียกว่ำ “สวดมนต์เย็น”
• เช้ำวันรุ่งขึ้นหรือเวลำเพลก็ถวำยภัตตำหำรเมื่อเย็นวำน เรียกว่ำ “เลี้ยง
พระเช้ำ หรือ เลี้ยงพระเพล” บำงทีเรียก “ฉันเช้ำ หรือ ฉันเพล”
ศำสนพิธี พิธีทำบุญงำนมงคลและงำนอวมงคล

กำรทำบุญงำนมงคล

• เป็นกำรทำบุญในโอกำสต่ำงๆ เพื่อให้เกิดควำมสุข ควำมเจริญ ควำมเป็นสิริมงคล หรือเพื่อ


ฉลองควำมสำเร็จ เช่น บุญขึ้นบ้ำนใหม่ ทำบุญแต่งงำน ทำบุญในวันคล้ำยวันเกิด ทำบุญฉลอง
พระบวชใหม่

กำรทำบุญงำนอวมงคล

• เป็นกำรทำบุญที่เกี่ยวเนื่องกับกำรตำย นิยมทำกัน ๒ อย่ำง คือ ทำบุญหน้ำศพ ที่เรียกว่ำ ทำบุญ


๗ วัน ๕๐ วัน หรือ ๑๐๐ วัน และทำบุญอัฐิ ซึ่งเป็นกำรทำบุญระลึกถึงกำรตำยของบรรพบุรุษ
ผู้ล่วงลับไปแล้วในวันคล้ำยวันตำยของท่ำนผู้นั้น
ศำสนพิธี กำรเตรียมศำสนพิธี

• ระเบียบพิธีปฏิบตั ิ ขัน้ ตอนและพิธีกำรในกำรทำบุญงำนมงคลและงำนอวมงคล

กำรนิมนต์พระภิกษุ
กำรปูลำดอำสนะ
กำรเตรียมที่ตั้งพระพุทธรูป
และเครื่องบูชำ
กำรเตรียมเครื่องรับรอง
กำรวงด้ำยสำยสิญจน์
กำรจุดธูปเทียน
ศำสนพิธี กำรเตรียมศำสนพิธี

กำรนิมนต์พระภิกษุ
งำนมงคล
• กำรนิมนต์พระสงฆ์มำเจริญพระพุทธมนต์นิยมกำหนดจำนวน คือ ไม่ต่ำกว่ำ ๕ รูป
อำจเป็น ๗ รูป หรือ ๙ รูป ไม่นิยมนิมนต์เป็นจำนวนคู่ เว้นแต่งำนมงคลสมรส มัก
นิยมนิมนต์จำนวนคู่ ในกำรอำรำธนำใช้คำว่ำ “ขออำรำธนำเจริญพระพุทธมนต์”

งำนอวมงคล
• นิยมอำรำธนำพระสงฆ์จำนวน ๘ รูป หรือ ๑๐ รูป หรือมำกกว่ำนั้นแล้วแต่กรณี
แต่ต้องเป็นจำนวนคู่ ในกำรอำรำธนำใช้คำว่ำ “ขออำรำธนำสวดพระพุทธมนต์”
ประวัติพุทธสำวก พุทธสำวิกำ พระอัญญำโกณฑัญญะ
ประวัติ
• เดิมชื่อ โกณฑัญญะ เกิดในตระกูลพรำหมณ์แห่งบ้ำนโทณวัตถุ กรุงกบิลพัสดุ์
• เป็นพรำหมณ์ที่มำทำนำยพระลักษณะของเจ้ำชำยสิทธัตถะหลังประสูติได้ ๕ วัน โดยทำนำยว่ำ
“เจ้ำชำยน้อยนี้ ต่อไปจะเสด็จออกผนวชและได้เป็นศำสดำเอกของโลกแน่นอน”
• ภำยหลังเมื่อพระพุท ธเจ้ำ ตรัสรู้แล้ว โกณฑัญญะฟังธรรมจน (ดวงตำเห็นธรรม) และทู ลขอ
อุปสมบทเป็นพระสงฆ์รูปแรกในพระพุทธศำสนำ

คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่ำง

• เป็นผู้มีประสบกำรณ์มำก มีควำมรอบรู้ทั้งทำงโลกและทำงธรรม
• เป็นคนรักสันโดษ ชอบชีวิตสงบ
• ทำตนเป็นแบบอย่ำงที่ดีในด้ำนควำมประพฤติ
• เป็นผู้เห็นกำรณ์ไกล
ประวัตพิ ทุ ธสำวก พุทธสำวิกำ พระนำงมหำปชำบดีโคตมีเถรี
ประวัติ
• พระนำงมหำปชำบดีโคตมี เป็นพระน้ำนำงของพระพุทธเจ้ำ
• เมื่อพระพุทธเจ้ำเสด็จเมืองเวสำลี พระนำงประชำบดีโคตรมีและนำงสำกิยำนีจำนวน
มำกได้ปลงพระเกศำ ห่มผ้ำกำสำยะเพื่อทูลขอบวช ทำให้พระพุทธเจ้ำทรงวำงหลักปฎิบัติ
ครุธรรม ๘ ประกำร สำหรับสตรีผู้จะมำบวช
• พระนำงประชำบดี โคตรมีทรงยิน ดีปฏิ บัติตำมครุ ธรรม ๘ ประกำร จึง ได้รั บกำร
อุปสมบท ออกผนวชเป็นภิกษุณีรูปแรกในพระพุทธศำสนำ
คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่ำง
• เป็นผู้มีควำมตั้งใจแน่วแน่หรือแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ เมื่อตั้งใจกระท ำอะไรแล้ ว
จะไม่ละควำมพยำยำมง่ำยๆ
• เป็นผู้มีควำมอดทนสูงยิ่ง
• เป็นผู้มีคำรวธรรมอย่ำงยิ่ง มีควำมเคำรพ น้อมรับฟังและปฏิบัติตำมอย่ำงว่ำง่ำย
ประวัตพิ ทุ ธสำวก พุทธสำวิกำ พระเขมำเถรี
ประวัติ
• พระนำงเขมำเป็นพระรำชธิดำของพระเจ้ำสำคละแห่งสำคลนคร ในมัททรัฐ ต่อมำเมื่อ
เจริญวัยได้เป็นมเหสีของพระเจ้ำพิมพิสำร
• ระยะแรกมิได้ฝักใฝ่ในพระพุทธศำสนำ ทรงหลงใหลในพระรูปสมบัติของตนเอง จึงไม่
ยอมเข้ำเฝ้ำพระพุทธเจ้ำ
• พระเจ้ำพิมพิสำรทรงหำอุบำย โดยให้กวีแต่งชมควำมงำมของพระวิหำรเวฬุวัน จนใน
ที่สุดพระนำงเขมำก็ได้รับฟังธรรมจำกพระพุทธเจ้ำ จึงทูลขอบวชและบรรลุอรหัตผล
คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่ำง

• เป็นผู้มีปัญญำมำก จนกระทั่งได้รับกำรยกย่องจำกพระพุทธเจ้ำว่ำเป็นเลิศกว่ำผู้อื่น
ได้รับกำรแต่งตั้งเป็นพระอัครสำวิกำเบื้องขวำฝ่ำยภิกษุณี
• เป็นผู้มีปฏิภำณ มีไหวพริบที่ดี เรำสำมำรถฝึกฝนได้เช่นเดียวกัน
ประวัตพิ ทุ ธสำวก พุทธสำวิกำ พระเจ้ำปเสนทิโกศล
พระรำชประวัติ

• พระเจ้ำปเสนทิโกศลเป็นพระรำชโอรสของพระเจ้ำโกศล ผู้ครองเมืองสำวัตถี แคว้นโกศล


• ก่อนนั้นนับถือนักบวชนอกพระพุทธศำสนำ ต่อมำนับถือพระพุทธศำสนำ เพรำะเห็นจริยวัตรอัน
งดงำมของพระสงฆ์
• พระเจ้ำปเสนทิโกศลทรงมีควำมมั่นคงในพระรัตนตรัยและเคำรพต่อพระพุทธเจ้ำอย่ำงยิ่ง ทุกครั้ง
ที่เข้ำเฝ้ำจะอภิวำทหรือกรำบอย่ำงนอบน้อม
• ภำยหลังถูกกำรำยนอำมำตย์ก่อกบฏ และต่อมำก็เสด็จสวรรคต

คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่ำง
• ทรงมั่นคงในพระรัตนตรัย
• ทรงรักษำควำมมั่นคงของพระพุทธศำสนำอย่ำงดียิ่ง
• ทรงมีพระทัยกว้ำง ยอมรับควำมคิดเห็นของคนอื่น
• ทรงยอมรับผิดและพร้อมจะแก้ไข
ศาสนิกชนตัวอย่าง หม่อมเจ้าหญิงพูนพิสมัย ดิศกุล
พระประวัติ

• หม่อมเจ้าหญิงพูนพิศมัย ดิศกุล เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรม


พระยาดารงราชานุภาพ และหม่อมเฉื่อย
• ทรงเป็นผู้มีความสนพระทัยในพระพุทธศาสนาอย่างยิ่ง
• ทรงมีความรู้ในพระพุทธธรรมอย่างลึกซึ้งเช่น
• ทรงบรรยายหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาทั้งในประเทศและต่างประเทศอยู่เสมอ
ศำสนิกชนตัวอย่ำง หม่อมเจ้ำหญิงพูนพิสมัย ดิศกุล
คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่ำง

• ทรงเป็นอุบำสิกำที่เคร่งครัด ทรงมีควำมสนพระทัยในพระพุทธศำสนำมำตั้งแต่ยังทรงพระ
เยำว์ ทรงมีควำมเชื่อมั่นในหลักกำรของพระพุทธศำสนำและเลื่อมใสศรัทธำในพระรัตนตรัย
อย่ำงมั่นคง

• ทรงเป็ น พหูสู ต ทรงศึ ก ษำภำษำบำลี อ ย่ ำ งจริ ง จัง จนให้ ท รงศึ ก ษำพระพุ ท ธศำสนำได้
แตกฉำนและยังทรงนิพนธ์หนังสือธรรมที่ชื่อว่ำ ศำสนคุณ ได้อย่ำงยอดเยี่ยม

• ทรงเป็นแบบอย่ำงของพลเมืองดี ทรงจงรักภักดีและพิทักษ์รักษำสมบัติล้ำค่ำของชำติ ผลงำน


พระนิ พ นธ์ ต่ ำ งๆ ของพระบิ ด ำได้ บ ริ จ ำคให้ กั บ ทำงรั ฐ บำล เพื่ อ เก็ บ ไว้ เ ป็ น สมบั ติ ช ำติ ใ ห้
ประชำชนได้ศึกษำ
ศำสนิกชนตัวอย่ำง ศำสตรำจำรย์สัญญำ ธรรมศักดิ์
ประวัติ

• ศำสตรำจำรย์สัญญำ ธรรมศักดิ์ เป็นบุตรของมหำอำมำตย์ตรี พระยำธรรมสำรเวทย์


วิเศษภักดี ศรีสัตยำวัตตำพิริยพำหะ (ทองดี ธรรมศักดิ์) กับคุณหญิงชื้น ธรรมศักดิ์
• ท่ำนเกิดเมื่อวันที่ ๕ เมษำยน พ.ศ. ๒๔๕๐
• สมรสกับท่ำนผู้หญิงพะงำ เพ็ญชำติ มีบุตรด้วยกัน ๒ คน คือ นำยชำติศักดิ์ ธรรมศักดิ์
กับนำยแพทย์จักรธรรม ธรรมศักดิ์
• ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ ๖ มกรำคม พ.ศ.๒๕๔๕ สิริรวมอำยุได้ ๙๔ ปี
ศำสนิกชนตัวอย่ำง ศำสตรำจำรย์สัญญำ ธรรมศักดิ์
คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่ำง

• เป็ น ผู้ ใ ฝ่ รู้ ใ ฝ่ ศึ ก ษำ มี ค วำมวิ ริ ย อุ ต สำหะจนสำมำรถสอบเป็ น เนติ บั ณ ฑิ ต อั ง กฤษ ใฝ่ รู้ ใ ฝ่ เ รี ย นศึ ก ษำ
พระพุทธศำสนำและปฏิบัติธรรมอย่ำงเคร่งครัด

• เป็นผู้มีควำมกตัญญูกตเวที เมื่อครั้งสิ้นบิดำ ก็ได้รับควำมช่วยเหลือจำกพระยำอรรถกฤตินิรุตติ์ ศิษย์ของ


บิดำ เมื่อมีโอกำสสนองคุณท่ำนก็ยินดีทำ

• เป็ น ผู้ ซื่ อ สัต ย์ สุ จ ริ ต ได้ รั บ กำรหล่ อ หลอมโดยสำยเลื อ ดจำกบิ ด ำผู้ เ ป็น นั ก กฎหมำยที่ มี ค วำมซื่ อ สั ต ย์
ยุติธรรม เข้ำรับรำชกำรก็ยึดมั่นในคุณธรรมจนปรำกฏแก่สำยตำของสังคม

• เป็นผู้ใฝ่ธรรม ได้อุปสมบท เมื่อลำสิกขำออกมำแล้วก็ใส่ใจศึกษำธรรมตลอดเวลำ เป็นผู้รู้ธรรมะลึกซึ้ง


และปฏิบัติได้ตำมที่รู้ที่ศึกษำมำ

• เป็นผู้จงรักภักดีต่อสถำบันพระมหำกษัตริย์ ท่ำนมีโอกำสได้รับใช้ใต้เบื้องพระยุคลบำทอย่ำงใกล้ชิด ท่ำนได้


ใช้ควำมรู้ควำมสำมำรถทำงำนสนองพระเดชพระคุณด้วยควำมซื่อสัตย์สุจริต

You might also like