You are on page 1of 26

พระราชบัญญัต 

ปโตรเลียม 

พ.ศ. 2514 

   

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. 

ใหไว ณ วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2514 

เปนปที่ 26 ในรัชกาลปจจุบัน 

  

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหประกาศวา 

โดยที่เปนการสมควรมีกฎหมายวาดวยปโตรเลียม 

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไว โดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา ดังตอไปนี ้

มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติปโตรเลียม พ.ศ. 2514” 

มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป 

มาตรา  3  บรรดาบทกฎหมาย  กฎ  และขอบังคับอื่นในสวนที่มีบัญญัติไวแลวในพระราชบัญญัติน ี้ หรือซึ่งขัดหรือแยง


กับบทแหงพระราชบัญญัตินี้ ใหใชพระราชบัญญัตินี้แทน 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
  
หมวด 1 
บททั่วไป 
   
  
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัติน ี้
“กิจการปโตรเลียม” หมายความวา การสํารวจ ผลิต เก็บรักษา ขนสง ขาย หรือจําหนายปโตรเลียม 
“ปโตรเลียม”  หมายความวา  นํ้ามันดิบ  กาซธรรมชาติ  กาซธรรมชาติเหลวสารพลอยได  และสารประกอบ
ไฮโดรคารบอนอื่น  ๆ  ที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ  และอยูในสภาพอิสระ  ไมวาจะมีลักษณะเปนของแข็ง  ของหนืด  ของเหลว  หรือกาซ 
และใหหมายความรวมถึงบรรดาไฮโดรคารบอนหนักที่อาจนําขึ้นมาจากแหลงโดยตรง  โดยใชความรอนหรือกรรมวิธีทางเคมี  แตไม
หมายความรวมถึง ถานหิน หินนํ้ามัน หรือหินอื่นที่สามารถนํามากลั่นเพื่อแยกเอานํ้ามันดวยการใชความรอนหรือกรรมวิธีทางเคมี 
“นํ้ามันดิบ”  หมายความวา  นํ้ามันแรดิบ  แอสฟลท  โอโซเคอไรท  ไฮโดรคารบอน  และบิทูเมนทุกชนิดที่เกิดขึ้นโดย
ธรรมชาติ ไมวาในสภาพของแข็ง ของหนืด หรือของเหลว 
“นํ้ามันดิบที่สงออก”  หมายความวา  นํ้ามันดิบที่ผูรับสัมปทานสงออกนอกราชอาณาจักร  นํ้ามันดิบที่ผูรับสัมปทาน
ขายใหแกบุคคลซึ่งซื้อเพื่อสงออกนอกราชอาณาจักร  และใหหมายความรวมถึงนํ้ามันดิบที่ผูรับสัมปทานขายหรือจําหนายใหแกโรง
กลั่นในราชอาณาจักรเฉพาะสวนที่ผลิตภัณฑจากการกลั่นนั้นสงออกนอกราชอาณาจักรตามมาตรา 89 (1) ดวย 
“กาซธรรมชาติ”  หมายความวา  ไฮโดรคารบอนที่มีสภาพเปนกาซทุกชนิดไมวาชื้นหรือแหง  ที่ผลิตไดจากหลุมนํ้ามัน
หรือหลุมกาซ  และใหหมายความรวมถึงกาซที่เหลือจากการแยกไฮโดรคารบอนในสภาพของเหลวหรือสารพลอยไดออกจากกาซชื้น
ดวย 
“กาซธรรมชาติเหลว”  หมายความวา  ไฮโดรคารบอนที่มีสภาพเปนของเหลวหรือที่มีความดันไอสูงซึ่งผลิตขึ้นมาได
พรอมกับกาซธรรมชาติ หรือไดมาจากการแยกออกจากกาซธรรมชาติ 
“สารพลอยได” หมายความวา กาซฮีเลียม คารบอนไดออกไซด กํามะถัน และสารอื่นที่ไดจากการผลิตปโตรเลียม 
“สํารวจ”  หมายความวา  ดําเนินการตามมาตรฐานในการคนหาปโตรเลียมโดยใชวิธีการทางธรณีวิทยา  ธรณีฟสิคส 
และอื่น  ๆ  และใหหมายความรวมถึงเจาะเพื่อทดสอบชั้นหินเพื่อใหทราบวามีปโตรเลียมอยูหรือไมเพียงใด  เพื่อกําหนดวงเขตแหลง
สะสมปโตรเลียม หรือเพื่อใหไดขอมูลอยางอื่นอันเปนสาระสําคัญที่จําเปนแกการผลิตปโตรเลียมดวย 
“ผลิต”  หมายความวา  ดําเนินการใด  ๆ  เพื่อนําปโตรเลียมขึ้นจากแหลงสะสมและใหหมายความรวมถึงใชกรรมวิธีใด 
ๆ เพื่อทําใหปโตรเลียมอยูในสภาพที่จะขายหรือจําหนายได แตไมหมายความรวมถึงกลั่นหรือประกอบอุตสาหกรรมเคมีปโตรเลียม 
“เก็บรักษา” หมายความวา ดําเนินการใด ๆ เพื่อรวมและรักษาปโตรเลียมที่ผูรับสัมปทานผลิตได 
“ขนสง”  หมายความวา  ดําเนินการใด  ๆ  เพื่อนําปโตรเลียมที่ผูรับสัมปทานผลิตไดจากแหลงผลิตไปยังสถานที่เก็บ
รักษา  สถานที่ขายหรือจําหนาย  สถานที่รับซื้อ  และสถานที่สงออกนอกราชอาณาจักร  และใหหมายความรวมถึงขนสงปโตรเลียม
นั้นระหวางสถานที่ดังกลาวดวย 
“ขาย” หมายความรวมถึงแลกเปลี่ยนและโอนโดยมีคาตอบแทนดวย 
“จําหนาย”  หมายความวา  สงนํ้ามันดิบไปยังโรงกลั่นนํ้ามัน  หรือสถานที่เก็บรักษาเพื่อการกลั่นนํ้ามันของผูรับ
สัมปทานนําปโตรเลียมไปใชในกิจการใด ๆ ของผูรับสัมปทาน โดยไมมีการขาย หรือโอนปโตรเลียมโดยไมมีคาตอบแทน 
“ราคาตลาด”  หมายความวา  ราคาในตลาดเปดเผย  หากไมมีราคาดังกลาว  หมายความวา  ราคาที่พึงคิดกันระหวาง
บุคคลซึ่งเปนอิสระตอกันโดยไมมีความสัมพันธในดานทุนหรือการจัดการ 
“ราคาประกาศ” หมายความวา ราคาที่ประกาศตามมาตรา 59 
“แปลงสํารวจ” หมายความวา เขตพื้นที่ที่กําหนดขึ้นสําหรับการสํารวจปโตรเลียม 
“พื้นที่ผลิต” หมายความวา เขตพื้นที่ที่กําหนดขึ้นสําหรับการผลิตปโตรเลียม 
“ราชอาณาจักร”  หมายความรวมถึงเขตไหลทวีปที่เปนสิทธิของประเทศไทยตามหลักกฎหมายระหวางประเทศที่
ยอมรับนับถือกันโดยทั่วไปและตามสัญญากับตางประเทศดวย 
“บริษัท”  หมายความวา  บริษัทจํากัด และนิติบุคคลที่มีสภาพเชนเดียวกับบริษัทจํากัด ซึ่งตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยหรือ
กฎหมายตางประเทศ 
“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการปโตรเลียม 
“พนักงานเจาหนาที่” หมายความวา ผูซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติน ี้
“อธิบดี” หมายความวา อธิบดีกรมทรัพยากรธรณี 
“รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัติน ี้
  
มาตรา 5 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับแกการประกอบกิจการปโตรเลียมทั่วราชอาณาจักร 
  
มาตรา  6  พระราชบัญญัตินี้ไมใชบังคับแกกระทรวง ทบวง กรม ที่มีหนาที่เกี่ยวกับกิจการปโตรเลียม แตถากระทรวง 
ทบวง  กรมใดผลิตปโตรเลียมจากแหลงปโตรเลียมที่มีสมรรถนะเชิงพาณิชย  ใหนําบทบัญญัติหมวด  7  วาดวยคาภาคหลวงมาใช
บังคับ 
  
มาตรา  7  หามมิใหผูใดทําลาย  ดัดแปลง  เคลื่อนยาย  ถอน  หรือทําใหหลุดซึ่งเครื่องหมายกําหนดเขตแปลงสํารวจ
หรือพื้นที่ผลิต  หรือเครื่องหมายหลักฐานการแผนที่ที่พนักงานเจาหนาที่ไดนํามาติดตั้ง  ปก  หรือฝงไว  เวนแตจะไดรับอนุญาตเปน
หนังสือจากอธิบดี 
  
มาตรา  8  หนังสือหรือคําสั่งที่มีถึงบุคคลใดเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติน ี้ ใหนําไปสงในเวลาระหวาง
พระอาทิตยขึ้นและพระอาทิตยตก หรือในเวลาทําการของผูรับ หรือสงโดยทางไปรษณียลงทะเบียน 
ถาไมสามารถจะสงตามวิธีดังกลาวในวรรคหนึ่งดวยเหตุใด  ๆ  ใหสงโดยวิธีปดหนังสือหรือคําสั่งไว  ณ  ที่เห็นไดงายที่
ประตูบาน  สํานักงาน  ภูมิลําเนา  หรือถิ่นที่อยูของผูรับ  หรือจะสงโดยวิธียอความในหนังสือหรือคําสั่งนั้นลงโฆษณาในหนังสือพิมพ
ก็ได 
เมื่อไดสงตามวิธีดังกลาวในวรรคสองและเวลาไดลวงพนไปเจ็ดวันแลว  ใหถือวาบุคคลนั้นไดรับหนังสือหรือคําสั่งนั้น
แลว 
  
มาตรา 9 ในการปฏิบัติหนาที่ ใหพนักงานเจาหนาที่มีอํานาจดังตอไปนี ้
(1)  เขาไปในบริเวณที่ที่ประกอบกิจการปโตรเลียมและสถานที่ทําการของผูรับสัมปทานในเวลาทําการเพื่อตรวจ
กิจการปโตรเลียมใหเปนไปตามสัมปทานและตามพระราชบัญญัติน ี้
(2) สั่งเปนหนังสือใหผูรับสัมปทานงดเวนการปฏิบัติใด ๆ ซึ่งอาจกอใหเกิดอันตรายแกบุคคลหรือทรัพยสินของผูอื่น 
(3)  นําปโตรเลียม  หิน  ดิน  และสิ่งที่ไดจากการสํารวจหรือผลิตปโตรเลียมในปริมาณพอสมควรไปเปนตัวอยางเพื่อ
ตรวจสอบ 
ผูรับสัมปทานมีสิทธิอุทธรณคําสั่งของพนักงานเจาหนาที่ที่สั่งตาม  (2)  ตออธิบดีภายในเจ็ดวันนับแตวันไดรับคําสั่ง  คํา
สั่งของอธิบดีใหเปนที่สุด 
การอุทธรณคําสั่งของพนักงานเจาหนาที่ตามวรรคสองไมเปนเหตุทุเลาการปฏิบัติตามคําสั่ง  เวนแตอธิบดีเห็นสมควร
ใหทุเลาการปฏิบัติตามคําสั่งนั้น 
  
มาตรา 10 พนักงานเจาหนาที่ตองมีบัตรประจําตัวพนักงานเจาหนาที่ตามแบบที่กําหนดในกฎกระทรวง 
ในการปฏิบัติหนาที่ตามพระราชบัญญัติน ี้ พนักงานเจาหนาที่ตองแสดงบัตรประจําตัวพนักงานเจาหนาที่ตอบุคคลซึ่ง
เกี่ยวของ 
  
มาตรา 11 ใหพนักงานเจาหนาที่เปนเจาพนักงานตามความหมายในประมวลกฎหมายอาญา 
  
มาตรา  12  ในกรณีที่ผูรับสัมปทานฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามสัมปทานหรือพระราชบัญญัติน ี้ และการฝาฝนหรือไม
ปฏิบัติตามนั้น กอใหเกิดความเสียหายแกประชาชน หรือทําใหทบวงการเมืองใดตองกระทําการเพื่อบําบัดปดปองความเสียหายเชน
วานั้น  ผูรับสัมปทานตองชดใชคาสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายและคาใชจายในการบําบัดปดปองความเสียหายดังกลาวตาม
จํานวนที่รัฐมนตรีกําหนด แตทั้งนี้ไมตัดสิทธิผูเสียหายที่จะเรียกรองคาสินไหมทดแทนจากผูรับสัมปทานเพราะการละเมิดนั้น 
  
มาตรา 13 สิทธิในการถือสัมปทานไมอยูในความรับผิดแหงการบังคับคดี 
  
มาตรา  14  ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงพัฒนาการแหงชาติรักษาการตามพระราชบัญญัติน ี้ และใหมีอํานาจแตงตั้ง
พนักงานเจาหนาที่และออกกฎกระทรวง 
(1) กําหนดหลักเกณฑและวิธีการสํารวจ ผลิต และอนุรักษปโตรเลียม 
(2) กําหนดเขตปลอดภัยและเครื่องหมายในบริเวณที่มีสิ่งติดตั้งและกลอุปกรณที่ใชในการสํารวจและผลิตปโตรเลียม 
(3) กําหนดวิธีการใหความคุมครองแกคนงานและความปลอดภัยแกบุคคลภายนอก 
(4) กําหนดคาธรรมเนียมไมเกินอัตราทายพระราชบัญญัติน ี้
(5) กําหนดกิจการอื่นเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติน ี้
กฎกระทรวงนั้น เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได 
  
 
 
 
 
 
 
 
 
  
หมวด 2 
คณะกรรมการปโตรเลียม 
   
  
มาตรา  15  ใหมีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกวา  “คณะกรรมการปโตรเลียม”  ประกอบดวยปลัดกระทรวง
พัฒนาการแหงชาติเปนประธานกรรมการ  อธิบดีกรมทรัพยากรธรณีอธิบดีกรมที่ดิน  อธิบดีกรมประมง  อธิบดีกรมปาไม  อธิบดีกรม
สรรพากร  ผูแทนกระทรวงกลาโหม  ผูแทนกระทรวงการคลัง ผูแทนกระทรวงอุตสาหกรรม และบุคคลซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งอีกไม
เกินหกคน เปนกรรมการ 
บุคคลซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งตามวรรคหนึ่งไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนที่แตงตั้งตองไมเปนขาราชการในสวน
ราชการที่มีกรรมการโดยตําแหนงสังกัดอยู 
คณะกรรมการจะแตงตั้งกรรมการคนใดคนหนึ่งหรือบุคคลอื่นเปนเลขานุการคณะกรรมการก็ได 
  
มาตรา  16  ใหคณะกรรมการมีอํานาจและหนาที่ตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติน ี้ และใหมีหนาที่ใหคําปรึกษา 
คําแนะนํา และความเห็นแกรัฐมนตรีในเรื่องดังตอไปนี ้
(1) การใหสัมปทาน 
(2) การตอระยะเวลาสํารวจปโตรเลียม 
(3) การตอระยะเวลาผลิตปโตรเลียม 
(4) การขยายอายุสัมปทาน 
(5) การอนุญาตใหผูรับสัมปทานรับบริษัทอื่นเขารวมประกอบกิจการปโตรเลียม 
(6) การอนุญาตใหโอนสัมปทาน 
(7) การเพิกถอนสัมปทาน 
(8) การสั่งใหผูรับสัมปทานจัดหาปโตรเลียมเพื่อใชในราชอาณาจักร 
(9) การหามสงปโตรเลียมออกนอกราชอาณาจักร 
(10) การสั่งใหผูรับสัมปทานเสียคาภาคหลวงเปนปโตรเลียม 
(11) การรับชําระคาภาคหลวงเปนเงินตราตางประเทศ 
(12) เรื่องอื่นตามที่รัฐมนตรีมอบหมาย 
  
มาตรา 17 ใหกรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งมีวาระอยูในตําแหนงคราวละสามป 
ในกรณีที่มีการแตงตั้งกรรมการในระหวางที่กรรมการซึ่งแตงตั้งไวแลวยังมีวาระอยูในตําแหนงไมวาจะเปนการแตงตั้ง
เพิ่มขึ้นหรือแตงตั้งซอม ใหผูไดรับแตงตั้งนั้นอยูในตําแหนงเทากับวาระที่เหลืออยูของกรรมการซึ่งไดแตงตั้งไวแลวนั้น 
กรรมการซึ่งพนจากตําแหนงอาจไดรับแตงตั้งเปนกรรมการอีกได 
  
 
 
 
 
มาตรา  18  นอกจากพนจากตําแหนงตามวาระตามมาตรา  17  วรรคหนึ่งกรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งพนจาก
ตําแหนงเมื่อ 
(1) ตาย 
(2) ลาออก 
(3) คณะรัฐมนตรีใหออก 
(4) เปนบุคคลไรความสามารถหรือเสมือนไรความสามารถ 
(5) ไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตเปนโทษสําหรับความผิดที่ไดกระทําโดยประมาทหรือความ
ผิดลหุโทษ 
  
มาตรา  19  การประชุมคณะกรรมการตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมด  จึง
เปนองคประชุม 
ถาประธานกรรมการไมอยูในที่ประชุม  หรือไมสามารถปฏิบัติหนาที่ไดใหกรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่ง
เปนประธานในที่ประชุม 
  
มาตรา 20 การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมใหถือเสียงขางมาก 
กรรมการคนหนึ่งใหมีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน  ถาคะแนนเสียงเทากัน  ใหประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีก
เสียงหนึ่งเปนเสียงชี้ขาด 
  
มาตรา  21  ในการปฏิบัติการตามหนาที ่ คณะกรรมการมีอํานาจแตงตั้งอนุกรรมการ  เพื่อใหทํากิจการหรือพิจารณา
เรื่องใด  ๆ  อันอยูในขอบเขตแหงหนาที่ของคณะกรรมการ  ตลอดจนเชิญบุคคลใดมาใหขอเท็จจริง  คําอธิบาย  คําแนะนําหรือความ
เห็นได 
ใหนําความในมาตรา 19 และมาตรา 20 มาใชบังคับแกการประชุมคณะอนุกรรมการ 
  
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
หมวด 3 
การสํารวจและผลิตปโตรเลียม 
   
  
มาตรา 22 รัฐมนตรีโดยอนุมัติคณะรัฐมนตรีมีอํานาจ 
(1) ใหสัมปทานตามมาตรา 23 
(2) ตอระยะเวลาสํารวจปโตรเลียมตามมาตรา 25 
(3) ตอระยะเวลาผลิตปโตรเลียมตามมาตรา 26 
(4) อนุญาตใหผูรับสัมปทานรับบริษัทอื่นเขารวมประกอบกิจการปโตรเลียมตามมาตรา 47 
(5) อนุญาตใหโอนสัมปทานตามมาตรา 50 
  
มาตรา  23  ปโตรเลียมเปนของรัฐ  ผูใดสํารวจหรือผลิตปโตรเลียมในที่ใดไมวาที่นั้นเปนของตนเองหรือของบุคคลอื่น 
ตองไดรับสัมปทาน 
การขอสัมปทานใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง 
แบบสัมปทานใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง 
  
มาตรา 24 ผูขอสัมปทานตอง 
(1) เปนบริษัท และ 
(2) มีทุน เครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ และผูเชี่ยวชาญ เพียงพอที่จะสํารวจ ผลิต ขาย และจําหนายปโตรเลียม 
ในกรณีที่ผูขอสัมปทานไมมีลักษณะครบถวนตาม  (2)  ตองมีบริษัทอื่นซึ่งรัฐบาลเชื่อถือและมีลักษณะตาม  (2)  และมี
ความสัมพันธในดานทุนหรือการจัดการกับผูขอสัมปทาน  รับรองที่จะใหทุน  เครื่องจักร  เครื่องมือ  อุปกรณ  และผูเชี่ยวชาญเพียง
พอที่จะสํารวจ ผลิต ขาย และจําหนายปโตรเลียม 
  
มาตรา 25 ระยะเวลาสํารวจปโตรเลียมตามสัมปทานใหมีกําหนดไมเกินแปดปนับแตวันใหสัมปทาน 
ถาผูรับสัมปทานไดปฏิบัติตามสัมปทานทุกประการและขอตอระยะเวลาสํารวจปโตรเลียมกอนสิ้นระยะเวลาสํารวจ
ปโตรเลียมไมนอยกวาหกเดือน  ผูรับสัมปทานมีสิทธิไดรับการตอระยะเวลาสํารวจปโตรเลียมภายใตขอผูกพันในดานปริมาณเงิน 
ปริมาณงาน  หรือทั้งปริมาณเงินและปริมาณงานที่จะตกลงกันอีกครั้งหนึ่งเปนเวลาไมเกินสี่ป  แตถาผูรับสัมปทานขอสํารวจ
ปโตรเลียมไมเกินหาป ไมมีสิทธิไดรับการตอระยะเวลาสํารวจปโตรเลียมอีก 
  
มาตรา  26  ระยะเวลาผลิตปโตรเลียมตามสัมปทานใหมีกําหนดไมเกินสามสิบป  นับแตวันถัดจากวันสิ้นระยะเวลา
สํารวจปโตรเลียม แมจะมีการผลิตปโตรเลียมในระหวางระยะเวลาสํารวจปโตรเลียมดวยก็ตาม 
ถาผูรับสัมปทานไดปฏิบัติตามสัมปทานทุกประการและขอตอระยะเวลาผลิตปโตรเลียมกอนสิ้นระยะเวลาผลิต
ปโตรเลียมไมนอยกวาหกเดือน  ผูรับสัมปทานมีสิทธิไดรับการตอระยะเวลาผลิตปโตรเลียมภายใตขอกําหนด  ขอผูกพัน  และเงื่อนไข
ที่ใชอยูทั่วไปในขณะนั้นไดอีกครั้งหนึ่งเปนเวลาไมเกินสิบป 
  
มาตรา  27  ในกรณีที่การสํารวจหรือผลิตปโตรเลียมหรือการเก็บรักษาหรือขนสงปโตรเลียมเฉพาะสวนที่กระทบ
กระเทือนตอการสํารวจหรือผลิตปโตรเลียมในแปลงสํารวจแปลงใดตองหยุดชะงักลงเปนสวนใหญเพราะเหตุสุดวิสัย  ถาผูรับ
สัมปทานประสงคจะขอขยายอายุสัมปทาน  ใหแจงตอกรมทรัพยากรธรณีภายในเจ็ดวันนับแตวันทราบถึงเหตุสุดวิสัยนั้น  ในกรณี
เชนนี ้ ใหรัฐมนตรีขยายอายุสัมปทานในสวนที่เกี่ยวกับแปลงสํารวจแปลงนั้นออกไปเทากับระยะเวลาที่ผูรับสัมปทานสามารถพิสูจน
ไดวาการสํารวจหรือผลิตปโตรเลียมตองหยุดชะงักลงเพราะเหตุสุดวิสัย 
  
มาตรา  28  ในการใหสัมปทาน  รัฐมนตรีมีอํานาจใหผูขอสัมปทานไดรับสัมปทานไมเกินรายละสี่แปลงสํารวจ  เวนแต
ในกรณีที่รัฐมนตรีพิจารณาเห็นสมควร  อาจใหผูขอสัมปทานไดรับสัมปทานเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งแปลงสํารวจ  แตเมื่อรวมพื้นที่ของแปลง
สํารวจทั้งหมดแลวตองไมเกินหาหมื่นตารางกิโลเมตร 
ผูขอสัมปทานตองกําหนดเขตพื้นที่ที่จะขอสําหรับแปลงสํารวจที่มิใชอยูในทะเลตามหลักเกณฑที่กรมทรัพยากรธรณี
กําหนด และใหมีพื้นที่ไมเกินแปลงละหนึ่งหมื่นตารางกิโลเมตร 
เขตพื้นที่แปลงสํารวจในทะเลใหรวมพื้นที่เกาะที่อยูในแปลงสํารวจนั้นดวยและใหเปนไปตามที่กรมทรัพยากรธรณี
กําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา 
  
มาตรา  29  เพื่อประโยชนในการกําหนดแปลงสํารวจและพื้นที่ผลิต อธิบดีมีอํานาจสั่งพนักงานเจาหนาที่ทําการรังวัด
กําหนดเขตหรือตรวจสอบเขตได 
  
มาตรา  30  ผูรับสัมปทานตองปฏิบัติตามขอผูกพันทั้งในดานปริมาณเงิน  และปริมาณงานสําหรับการสํารวจ
ปโตรเลียมตามที่กําหนดในสัมปทาน 
  
มาตรา 31 ในการกําหนดขอผูกพันตามมาตรา 30 ใหแบงระยะเวลาสํารวจปโตรเลียมออกเปนสามชวง ดังตอไปนี ้
ชวงที่หนึ่ง  ไดแกระยะเวลาสามปแรกแหงระยะเวลาสํารวจปโตรเลียม  ในกรณีที่ระยะเวลาสํารวจปโตรเลียมไมถึงสาม
ป ไดแกระยะเวลาสํารวจปโตรเลียมในสัมปทาน 
ชวงที่สอง ไดแกระยะเวลาสํารวจปโตรเลียมที่เหลือจากชวงขอผูกพันชวงที่หนึ่ง 
ชวงที่สาม ถามีการตอระยะเวลาสํารวจปโตรเลียม ไดแกระยะเวลาสํารวจปโตรเลียมที่ไดรับการตอนั้น 
ในกรณีที่มีการขยายอายุสัมปทานตามมาตรา  27  ในชวงขอผูกพันชวงใดใหขยายชวงขอผูกพันชวงนั้นออกไปเทากับ
ระยะเวลาที่ขยายอายุสัมปทานนั้น 
  
มาตรา  32  เมื่อสิ้นชวงขอผูกพันชวงหนึ่ง  ๆ  ตามมาตรา 31 หรือในกรณีที่มีการคืนพื้นที่แปลงสํารวจทั้งแปลงในชวง
ขอผูกพันชวงที่หนึ่ง  ถาผูรับสัมปทานยังปฏิบัติตามขอผูกพันสําหรับการสํารวจปโตรเลียมในแปลงสํารวจแปลงใดไมครบตามที่
กําหนดไวในสัมปทาน  ผูรับสัมปทานตองจายเงินสวนที่ยังมิไดใชจายไปในชวงขอผูกพันชวงนั้นใหแกกรมทรัพยากรธรณีภายใน
สามสิบวันนับแตวันสิ้นชวงขอผูกพันหรือวันคืนพื้นที่แปลงสํารวจแปลงนั้น แลวแตกรณี 
  
มาตรา  33  การโอนขอผูกพันสําหรับการสํารวจปโตรเลียมในแปลงสํารวจแปลงหนึ่งไปรวมกับขอผูกพันสําหรับการ
สํารวจปโตรเลียมในแปลงสํารวจอีกแปลงหนึ่งจะกระทํามิได เวนแตมีเหตุอันสมควร และไดรับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีแลว 
  
มาตรา  34  ในการสํารวจปโตรเลียมในแปลงสํารวจแปลงใดในชวงขอผูกพันชวงใด  ถาผูรับสัมปทานไดใชจายหรือได
กระทําไปเกินขอผูกพันสําหรับการสํารวจปโตรเลียมในแปลงสํารวจแปลงนั้นในชวงขอผูกพันชวงนั้น  ใหมีสิทธิหักปริมาณเงิน 
ปริมาณงาน  หรือทั้งปริมาณเงิน  และปริมาณงานสวนที่เกินออกจากขอผูกพันสําหรับการสํารวจปโตรเลียมในแปลงสํารวจแปลงนั้น
ในชวงขอผูกพันชวงตอไปได 
  
มาตรา  35  ในกรณีที่มีการเพิกถอนสัมปทานในชวงขอผูกพันชวงที่หนึ่ง  ถาผูรับสัมปทานยังปฏิบัติตามขอผูกพัน
สําหรับการสํารวจปโตรเลียมไมครบตามที่กําหนดไวในสัมปทาน  ผูรับสัมปทานตองจายเงินสวนที่ยังมิไดใชจายไปในชวงขอผูกพัน
ชวงนั้นใหแกกรมทรัพยากรธรณีภายในสามสิบวันนับแตวันที่คําสั่งเพิกถอนสัมปทานมีผลใชบังคับ 
  
มาตรา 36 ภายใตบังคับมาตรา 45 ผูรับสัมปทานตองคืนพื้นที่แปลงสํารวจแปลงหนึ่ง ๆ ตามหลักเกณฑดังตอไปนี ้
(1) เมื่อครบหาปนับแตวันเริ่มระยะเวลาสํารวจปโตรเลียม ตองคืนพื้นที่รอยละหาสิบของพื้นที่แปลงสํารวจแปลงนั้น 
(2)  เมื่อสิ้นระยะเวลาสํารวจปโตรเลียม  และระยะเวลาสํารวจปโตรเลียมนั้นมิไดรับการตอ  ตองคืนพื้นที่ที่เหลือจาก 
(1) 
(3)  เมื่อสิ้นระยะเวลาสํารวจปโตรเลียม  และระยะเวลาสํารวจปโตรเลียมนั้นไดรับการตอ  ตองคืนพื้นที่อีกรอยละยี่สิบ
หาของพื้นที่แปลงสํารวจแปลงนั้น 
(4) เมื่อสิ้นระยะเวลาสํารวจปโตรเลียมที่ไดรับการตอ ตองคืนพื้นที่ที่เหลือทั้งหมด 
เพื่อประโยชนในการคํานวณพื้นที่ที่ตองคืนตามมาตรานี ้ ใหหักพื้นที่ผลิตออกจากพื้นที่แปลงสํารวจแปลงนั้นกอน และ
การคืนพื้นที่ตามมาตรานี้ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่กรมทรัพยากรธรณีกําหนด 
ในกรณีที่ผูรับสัมปทานไมปฏิบัติการใหถูกตองตามวรรคหนึ่ง  ใหกรมทรัพยากรธรณีกําหนดพื้นที่ที่ตองคืนแทนผูรับ
สัมปทาน และเมื่อไดแจงใหผูรับสัมปทานทราบแลว ใหถือวาพื้นที่ที่กําหนดนั้นเปนพื้นที่ที่คืนตามมาตรานี ้
  
มาตรา  37  ภายใตบังคับมาตรา  38  มาตรา  39  และมาตรา  40  ผูรับสัมปทานมีสิทธิคืนพื้นที่แปลงสํารวจทั้งแปลง
หรือบางสวนในเวลาใด ๆ ก็ได 
พื้นที่ที่คืนตามวรรคหนึ่งแลวใหนําไปหักออกจากพื้นที่ที่ตองคืนตามมาตรา 36 ได 
ในการคืนพื้นที่แปลงสํารวจบางสวนตามมาตรานี ้ ใหนําหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดตามมาตรา  36  วรรคสอง  มา
ใชบังคับ 
  
มาตรา  38  ผูรับสัมปทานซึ่งใชสิทธิคืนพื้นที่แปลงสํารวจทั้งแปลงหรือบางสวนในชวงขอผูกพันชวงที่หนึ่ง ไมมีสิทธิได
รับการลดหยอนในการปฏิบัติตามขอผูกพันสําหรับการสํารวจปโตรเลียมในแปลงสํารวจแปลงนั้นในชวงขอผูกพันชวงที่หนึ่ง 
ในกรณีที่มีการคืนพื้นที่แปลงสํารวจแปลงใดทั้งแปลงในชวงขอผูกพันชวงที่หนึ่งตามวรรคหนึ่ง  ใหผูรับสัมปทานพน
จากขอผูกพันสําหรับการสํารวจปโตรเลียมในแปลงสํารวจแปลงนั้น ในชวงขอผูกพันชวงหลังจากนั้น 
  
มาตรา  39  ในกรณีที่ผูรับสัมปทานใชสิทธิคืนพื้นที่แปลงสํารวจในชวงขอผูกพันชวงที่สองหรือชวงที่สาม  ถาเปนการ
คืนพื้นที่ทั้งหมดที่เหลืออยูของแปลงสํารวจแปลงใด  ใหผูรับสัมปทานพนจากขอผูกพันทั้งหมดสําหรับการสํารวจปโตรเลียมที่ผูรับ
สัมปทานยังมิไดปฏิบัติไปในแปลงสํารวจแปลงนั้น 
  
มาตรา  40  ในกรณีที่ผูรับสัมปทานใชสิทธิคืนพื้นที่แปลงสํารวจบางสวนระหวางเริ่มปที่สี่ถึงสิ้นปที่หานับแตวันเริ่ม
ระยะเวลาสํารวจปโตรเลียมในแปลงสํารวจแปลงใด  ถาพื้นที่ที่คืนไมเกินพื้นที่ที่ตองคืนตามมาตรา  36  ผูรับสัมปทานไมมีสิทธิไดรับ
การลดหยอนในการปฏิบัติตามขอผูกพันสําหรับการสํารวจปโตรเลียมในแปลงสํารวจแปลงนั้นในชวงขอผูกพันที่ใชสิทธิคืนพื้นที ่ แต
ถาพื้นที่ที่คืนเกินพื้นที่ที่ตองคืนตามมาตรา  36  ใหผูรับสัมปทานมีสิทธิไดรับการลดหยอนในการปฏิบัติตามขอผูกพันสําหรับการ
สํารวจปโตรเลียมที่ยังคงเหลืออยูในแปลงสํารวจแปลงนั้น  ในชวงขอผูกพันที่ใชสิทธิคืนพื้นที่ตามอัตราสวนของพื้นที่ที่คืนเกินพื้นที่ที่
ตองคืนตามมาตรา  36  กับพื้นที่ที่ผูรับสัมปทานยังถืออยูกอนคืน หักดวยพื้นที่ที่ตองคืนตามมาตรา 36 หรือตามอัตราสวนของระยะ
เวลาที่ยังเหลืออยูในชวงขอผูกพันชวงนั้นกับระยะเวลาทั้งสิ้นของชวงขอผูกพันชวงนั้น สุดแตอัตราใดจะนอยกวา 
เมื่อไดคืนพื้นที่แปลงสํารวจตามมาตรา  36  แลว  ถาผูรับสัมปทานใชสิทธิคืนพื้นที่แปลงสํารวจบางสวนหลังจากสิ้นปที่
หา  นับแตวันเริ่มระยะเวลาสํารวจปโตรเลียมในแปลงสํารวจแปลงนั้น  ใหผูรับสัมปทานมีสิทธิไดรับการลดหยอนในการปฏิบัติตาม
ขอผูกพันสําหรับการสํารวจปโตรเลียมที่ยังคงเหลืออยูในแปลงสํารวจแปลงนั้นในชวงขอผูกพันที่ใชสิทธิคืนพื้นที่ตามอัตราสวนของ
พื้นที่ที่คืนกับพื้นที่ที่ผูรับสัมปทานยังถืออยู  ถามิไดมีการใชสิทธิคืนพื้นที่ในขณะนั้น  หรือตามอัตราสวนของระยะเวลาที่ยังเหลืออยู
ในชวงขอผูกพันชวงนั้นกับระยะเวลาทั้งสิ้นของชวงขอผูกพันชวงนั้น สุดแตอัตราใดจะนอยกวา 
  
มาตรา 41 ในระหวางระยะเวลาสํารวจปโตรเลียม ผูรับสัมปทานจะผลิตปโตรเลียมก็ได 
  
มาตรา  42  กอนผลิตปโตรเลียมจากที่ใดที่หนึ่งในแปลงสํารวจ  ผูรับสัมปทานตองแสดงวาไดพบหลุมปโตรเลียมที่มี
สมรรถนะเชิงพาณิชยและไดกําหนดพื้นที่ผลิตถูกตองแลว  และเมื่อไดรับความเห็นชอบจากอธิบดีโดยอนุมัติของรัฐมนตรีแลว  จึงจะ
ผลิตปโตรเลียมจากพื้นที่ผลิตนั้นได 
การกําหนดสมรรถนะเชิงพาณิชยของหลุมปโตรเลียมและการกําหนดพื้นที่ผลิตใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่
กําหนดในกฎกระทรวง 
  
มาตรา  43  ในระหวางระยะเวลาสํารวจปโตรเลียม  ถาผูรับสัมปทานไดพัฒนาแหลงปโตรเลียมในแปลงสํารวจแปลง
ใดในชวงขอผูกพันชวงใด  ผูรับสัมปทานมีสิทธินําคาใชจายในการพัฒนาแหลงปโตรเลียมไปคํานวณเปนคาใชจายตามขอผูกพัน
สําหรับการสํารวจปโตรเลียมในแปลงสํารวจแปลงนั้นในชวงขอผูกพันชวงนั้นได 
  
มาตรา  44  ถาผูรับสัมปทานไมสามารถแสดงวาไดพบหลุมปโตรเลียมที่มีสมรรถนะเชิงพาณิชยในแปลงสํารวจแปลง
ใด  หรือมิไดกําหนดพื้นที่ผลิตตามมาตรา  42  ใหถือวาสัมปทานในสวนที่เกี่ยวกับแปลงสํารวจแปลงนั้นสิ้นอายุเมื่อสิ้นระยะเวลา
สํารวจปโตรเลียม 
  
มาตรา 45  เมื่อสิ้นระยะเวลาสํารวจปโตรเลียมในแปลงสํารวจแปลงใดและผูรับสัมปทานไดรับสิทธิผลิตปโตรเลียมใน
แปลงสํารวจแปลงนั้นแลว  ผูรับสัมปทานมีสิทธิสงวนพื้นที่ในแปลงสํารวจแปลงนั้นไวไดไมเกินรอยละสิบสองครึ่งของพื้นที่เดิมของ
แปลงสํารวจแปลงนั้น  จนกวาสิ้นระยะเวลาผลิตปโตรเลียมหรือจนกวาผูรับสัมปทานคืนพื้นที่ที่สงวนไวกอนครบกําหนดเวลาดัง
กลาว และใหผูรับสัมปทานมีสิทธิสํารวจปโตรเลียมในพื้นที่ที่สงวนไวนั้นได 
ในการสงวนพื้นที่ตามวรรคหนึ่ง  ใหผูรับสัมปทานเสียคาสงวนพื้นที่ลวงหนาเปนรายป  และใหเปนไปตามหลักเกณฑ 
วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง 
ในกรณีที่ผูรับสัมปทานพบปโตรเลียมในเขตพื้นที่ที่สงวนไวและประสงคจะผลิตปโตรเลียม  ใหนํามาตรา  42  มาใช
บังคับ 
  
มาตรา  46  ผูรับสัมปทานซึ่งชําระคาสงวนพื้นที่สําหรับปใด  มีสิทธิไดรับคาสงวนพื้นที่ในปนั้นคืนเทากับจํานวนคาใช
จายที่เสียไปในการสํารวจปโตรเลียมในพื้นที่ที่สงวนไวในปนั้นได แตทั้งนี้ตองไมเกินคาสงวนพื้นที่ที่ไดชําระไปแลว 
การขอรับคาสงวนพื้นที่คืนใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง 
  
มาตรา  47  ผูรับสัมปทานอาจรับบริษัทอื่นเขารวมประกอบกิจการปโตรเลียมตามสัมปทานไดเมื่อไดรับอนุญาตจาก
รัฐมนตรี  ในกรณีเชนนี้ผูรวมประกอบกิจการปโตรเลียมแตละรายตองชําระคาภาคหลวง  ภาษีเงินได  และเงินอยางอื่น  และปฏิบัติ
ตามขอผูกพันที่เกี่ยวกับการประกอบกิจการปโตรเลียมในสวนที่เปนของตน 
ผูรวมประกอบกิจการปโตรเลียมทุกรายตองรับผิดรวมกันและแทนกันในการปฏิบัติตามสัมปทานและตามพระราช
บัญญัติน ี้ เวนแตผูรวมประกอบกิจการปโตรเลียมรายหนึ่งไมตองรับผิดชอบในการชําระภาษีเงินไดตามกฎหมายวาดวยภาษีเงินได
ปโตรเลียมในสวนที่เปนของผูรวมประกอบกิจการปโตรเลียมรายอื่น 
ในกรณีที่ผูรวมประกอบกิจการปโตรเลียมรายใดไมชําระภาษีเงินไดที่ตนมีหนาที่ตองเสีย  ใหรัฐมนตรีแจงเปนหนังสือ
ใหผูรวมประกอบกิจการปโตรเลียมรายอื่นทุกรายทราบ  และถามิไดมีการชําระภาษีเงินไดดังกลาวนั้นภายในเกาสิบวันนับแตวันได
รับหนังสือ ใหถือเปนอีกเหตุหนึ่งที่จะเพิกถอนสัมปทานไดดวย 
  
มาตรา  48  ผูรับสัมปทานมีสิทธิโอนสัมปทานทั้งหมด  หรือเฉพาะที่เกี่ยวกับแปลงสํารวจแปลงใดแปลงหนึ่ง  พื้นที่
ผลิตหรือพื้นที่ที่สงวนไวเขตใดเขตหนึ่งใหแกบริษัทอื่นโดยไมตองขอรับอนุญาตในกรณีดังตอไปนี ้
(1) บริษัทผูรับสัมปทานถือหุนในบริษัทผูรับโอนสัมปทานนั้นเกินรอยละหาสิบของหุนที่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนได 
(2) บริษัทผูรับโอนสัมปทานถือหุนในบริษัทผูรับสัมปทานเกินรอยละหาสิบของหุนที่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนได หรือ 
(3)  มีบริษัทที่สามถือหุนเกินรอยละหาสิบของหุนที่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนไดทั้งในบริษัทผูรับสัมปทานและบริษัท
ผูรับโอนสัมปทาน 
การโอนตามวรรคหนึ่งผูรับสัมปทานตองแจงเปนหนังสือใหรัฐมนตรีทราบพรอมทั้งแสดงหลักฐานวาการโอนไดเปนไป
โดยถูกตองตามมาตรานี้ และการโอนนั้นจะใหมีผลนับแตวันใด ใหผูรับสัมปทานระบุไวในหนังสือนั้นดวย 
  
มาตรา  49  ผูโอนสัมปทานและผูรับโอนสัมปทานตามมาตรา  48  ตองรับผิดรวมกันและแทนกันในการปฏิบัติตาม
สัมปทานและตามพระราชบัญญัติน ี้
  
มาตรา  50  นอกจากกรณีตามมาตรา  48  ผูรับสัมปทานอาจโอนสัมปทานทั้งหมด หรือเฉพาะที่เกี่ยวกับแปลงสํารวจ
แปลงใดแปลงหนึ่ง พื้นที่ผลิต หรือพื้นที่ที่สงวนไวเขตใดเขตหนึ่งใหแกบริษัทอื่นไดตอเมื่อไดรับอนุญาตจากรัฐมนตรี 
ผูรับโอนสัมปทานตามวรรคหนึ่งตองมีลักษณะตามมาตรา  24  และจํานวนและพื้นที่แปลงสํารวจที่ผูรับโอนสัมปทานมี
อยูแลวและที่จะรับโอนตองไมเกินที่กําหนดไวในมาตรา 28 วรรคหนึ่ง 
  
มาตรา 51 รัฐมนตรีมีอํานาจเพิกถอนสัมปทาน เมื่อผูรับสัมปทาน 
(1) ไมปฏิบัติตามขอผูกพันสําหรับการสํารวจปโตรเลียม 
(2) ไมปฏิบัติตามวิธีการปฏิบัติงานปโตรเลียมที่ด ี
(3) ไมชําระคาภาคหลวง 
(4) ไมชําระภาษีเงินได หรือ 
(5) ฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามขอกําหนดที่ระบุไวในสัมปทานวาเปนเหตุเพิกถอนสัมปทานได 
  
มาตรา  52  เมื่อมีเหตุที่จะเพิกถอนสัมปทานเกิดขึ้นและเหตุนั้นรัฐมนตรีเห็นวาอาจแกไขได  ใหรัฐมนตรีแจงเปน
หนังสือใหผูรับสัมปทานทราบถึงเหตุนั้น  และกําหนดใหผูรับสัมปทานแกไขภายในเวลาที่เห็นสมควร  ถาผูรับสัมปทานไมสามารถ
แกไขไดภายในเวลาที่กําหนดโดยมีเหตุอันสมควร  ใหขออนุญาตขยายเวลาออกไปไดเทาที่จําเปนกอนครบกําหนดเวลานั้นไมนอย
กวาเจ็ดวัน  ถารัฐมนตรีเห็นสมควรใหมีอํานาจขยายเวลาออกไปไดไมเกินระยะเวลาที่ผูรับสัมปทานขอขยาย  ถาผูรับสัมปทานไม
แกไขภายในเวลาที่กําหนดหรือไมสามารถแกไขภายในเวลาที่ขยายออกไป ใหรัฐมนตรีมีคําสั่งเพิกถอนสัมปทานโดยไมชักชา 
ในกรณีที่มีเหตุที่จะเพิกถอนสัมปทานเกิดขึ้นและเหตุนั้น  รัฐมนตรีเห็นวาไมอาจแกไขได  ใหรัฐมนตรีมีคําสั่งเพิกถอน
สัมปทานโดยไมตองปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง 
คําสั่งเพิกถอนสัมปทานใหมีผลใชบังคับเมื่อพนสามสิบวันนับแตวันที่ผูรับสัมปทานไดรับคําสั่ง  เวนแตผูรับสัมปทานจะ
ดําเนินการตามมาตรา 53 
  
มาตรา  53  ขอพิพาทที่เกี่ยวกับการที่รัฐมนตรีสั่งใหผูรับสัมปทานแกไข  เหตุที่จะสั่งเพิกถอนสัมปทานตามมาตรา  52 
และขอพิพาทที่เกี่ยวกับปญหาที่วาไดมีการปฏิบัติตามสัมปทานหรือไม  ถาไมสามารถตกลงกันได  ใหดําเนินการระงับโดย
อนุญาโตตุลาการตามวิธีการที่กําหนดในสัมปทาน 
ในกรณีที่ผูรับสัมปทานไมยอมปฏิบัติตามคําวินิจฉัยของอนุญาโตตุลาการ  หรือไมปฏิบัติตามคําวินิจฉัยของ
อนุญาโตตุลาการภายในเวลาที่กําหนด  ใหรัฐมนตรีมีอํานาจสั่งเพิกถอนสิทธิหรือประโยชนทั้งหมดหรือบางสวนหรือเพิกถอน
สัมปทานได 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
  
หมวด 4 
การเก็บรักษาและขนสงปโตรเลียม 
   
  
มาตรา 54 ผูรับสัมปทานมีสิทธิเก็บรักษาและมีสิทธิขนสงปโตรเลียม 
การเก็บรักษาและการขนสงปโตรเลียมใหเปนไปตามขอกําหนดในสัมปทาน 
  
มาตรา  55  ในกรณีจําเปนเพื่อปองกันอันตรายเปนการดวน  พนักงานเจาหนาที่หรือผูรับสัมปทานมีอํานาจผานหรือ
เขาไปในที่ดินหรือสถานที่ของบุคคลใดเพื่อ  ตรวจ  ซอมแซม  หรือแกไขทอสงปโตรเลียมในเวลาใด  ๆ ได แตตองแจงใหเจาของหรือผู
มีสิทธิครอบครองที่ดินหรือสถานที่นั้นทราบโดยเร็วที่สุดเทาที่จะทําได 
ถาการผานหรือเขาไปในที่ดินหรือสถานที่ตามวรรคหนึ่ง  เปนเหตุใหเกิดความเสียหาย  เจาของผูมีสิทธิครอบครองหรือ
ผูทรงสิทธิอื่นใดในที่ดินหรือสถานที่นั้นมีสิทธิเรียกคาเสียหายจากพนักงานเจาหนาที่หรือผูรับสัมปทาน  และถาไมสามารถตกลงกัน
ถึงจํานวนคาเสียหายได  ใหมอบขอพิพาทใหอนุญาโตตุลาการวินิจฉัยโดยนําบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง
มาใชบังคับ 
  
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
หมวด 5 
การขายและจําหนายปโตรเลียม 
   
  
มาตรา 56 ภายใตบังคับหมวดนี้ ผูรับสัมปทานมีสิทธิขายและจําหนายปโตรเลียมที่ผูรับสัมปทานผลิตได 
  
มาตรา 57 ในการขายนํ้ามันดิบที่ผลิตไดเพื่อใชภายในราชอาณาจักร ใหผูรับสัมปทานขายในราคาดังตอไปนี ้
(1)  ในกรณีที่ยังไมมีผูรับสัมปทานสงนํ้ามันดิบที่ผลิตไดออกนอกราชอาณาจักรเปนประจํา  ใหขายไมเกินราคานํ้ามัน
ดิบที่สั่งซื้อจากตางประเทศสงถึงโรงกลั่นนํ้ามันภายในราชอาณาจักร 
(2)  ในกรณีที่มีผูรับสัมปทานสงนํ้ามันดิบที่ผลิตไดออกนอกราชอาณาจักรเปนประจํา  ใหขายไมเกินราคาเฉลี่ยที่ไดรับ
จริงสําหรับนํ้ามันดิบที่ผูรับสัมปทานทุกรายสงออกนอกราชอาณาจักรในเดือนปฏิทินที่แลวมา  ในการนี้อธิบดีอาจใหผูรับสัมปทาน
สงหลักฐานที่จําเปนเกี่ยวกับราคาที่ไดรับจริง ณ จุดสงออกดวยก็ได 
(3)  ในกรณีที่นํ้ามันดิบที่ผลิตไดทั่วราชอาณาจักรมีปริมาณถึงสิบเทาขึ้นไป  ของความตองการใชภายในราชอาณาจักร 
ใหขายในราคาที่มีกําไรตามสมควร โดยคํานึงถึงขอตกลงที่เทียบเคียงกันไดในประเทศผูผลิตนํ้ามันดิบรายใหญ 
การกําหนดราคาตามมาตรานี้ใหคํานึงถึงความแตกตางของคุณภาพ คาขนสงและกรณีแวดลอมที่เกี่ยวของทั้งมวลดวย 
  
มาตรา 58 ในการขายกาซธรรมชาติที่ผลิตไดเพื่อใชภายในราชอาณาจักร ใหผูรับสัมปทานขายในราคาดังตอไปนี ้
(1)  ราคาที่ตกลงกับคณะกรรมการโดยความเห็นชอบของรัฐมนตรี  แตราคาที่ตกลงกันนั้นตองไมสูงกวาราคาเฉลี่ยของ
กาซธรรมชาติที่สงออกนอกราชอาณาจักร ทั้งนี้ โดยคํานึงถึงความแตกตางของคุณภาพและคาขนสงดวย 
(2)  ในกรณีที่กาซธรรมชาติที่ผลิตไดทั่วราชอาณาจักรมีปริมาณมากกวาความตองการใชภายในราชอาณาจักร  ใหขาย
ในราคาที่มีกําไรตามสมควร  โดยคํานึงถึงกรณีแวดลอมที่เกี่ยวของทั้งมวล  และขอตกลงที่เทียบเคียงกันไดในประเทศผูผลิตกาซ
ธรรมชาติรายใหญ 
  
มาตรา  59  กอนสงนํ้ามันดิบออกนอกราชอาณาจักร  เวนแตสงออกเพื่อการวิเคราะหหรือทดลอง  ผูรับสัมปทานตอง
ประกาศราคา เอฟ โอ บี ณ จุดที่สงออก ตามชนิดความถวงจําเพาะและคุณภาพ 
ราคาที่ประกาศตามวรรคหนึ่งตองกําหนดและเปลี่ยนแปลงเปนครั้งคราว  ตามวิธีกําหนดคุณภาพที่ทันสมัยที่สุด  ทั้งนี ้
โดยคํานึงถึงราคาประกาศของนํ้ามันดิบที่เทียบเคียงกันในอาวเปอรเซีย  ที่ตั้งทางภูมิศาสตรของจุดที่สงออกและจุดที่รับซื้อรวมทั้ง
ชองทางที่จําหนายไดในตลาดและคาขนสงดวย 
  
มาตรา  60  เมื่อรัฐมนตรีพิจารณาเห็นสมควร  อาจสั่งใหผูรับสัมปทานจัดหาปโตรเลียมที่มีคุณภาพเหมาะสมเพื่อใหมี
ปริมาณเพียงพอกับความตองการใชภายในราชอาณาจักรตามราคาที่กําหนดในมาตรา  57  ได  โดยผูรับสัมปทานตองจัดหา
ปโตรเลียมดังกลาวตามอัตราสวนของปโตรเลียมที่ตนผลิตได กับปโตรเลียมที่ผลิตไดทั่วราชอาณาจักรในรอบหกเดือนที่แลวมา 
ในกรณีที่รัฐมนตรีสั่งใหผูรับสัมปทานเสียคาภาคหลวงเปนปโตรเลียมสําหรับปโตรเลียมที่มิไดสงออกตามมาตรา  83 
และตอมาไดมีการสงปโตรเลียมนั้นออกนอกราชอาณาจักร  ในกรณีเชนนี ้ การสั่งใหผูรับสัมปทานจัดหาปโตรเลียม  ตามวรรคหนึ่ง
เพื่อทดแทนปโตรเลียมนั้นจะกระทํามิได 
ในการสั่งใหผูรับสัมปทานจัดหาปโตรเลียมตามวรรคหนึ่ง  รัฐมนตรีตองแจงเปนหนังสือกําหนดเดือนเริ่มตนสําหรับการ
จัดหาปโตรเลียมใหผูรับสัมปทานทราบลวงหนาไมนอยกวาสามเดือน  และจะกําหนดเดือนสิ้นสุดสําหรับการจัดหาปโตรเลียมไวดวย
ก็ได  ในกรณีที่รัฐมนตรีมิไดกําหนดเดือนสิ้นสุดดังกลาว  ใหรัฐมนตรีบอกเลิกการจัดหาปโตรเลียมไดเมื่อแจงเปนหนังสือใหผูรับ
สัมปทานทราบลวงหนาไมนอยกวาสามเดือน 
  
มาตรา  61  ในกรณีที่มีความจําเปนเกี่ยวกับความปลอดภัยของประเทศหรือเพื่อใหมีปโตรเลียมเพียงพอกับความ
ตองการใชภายในราชอาณาจักร  ใหรัฐมนตรีมีอํานาจประกาศหามสงปโตรเลียมที่ผูรับสัมปทานผลิตไดทั้งหมดหรือบางสวนออก
นอกราชอาณาจักร หรือหามสงไป ณ ที่ใดเปนการชั่วคราวได 
ในกรณีที่มีการประกาศหามสงปโตรเลียมที่ผูรับสัมปทานผลิตไดบางสวน  ใหรัฐมนตรีหามผูรับสัมปทานสงปโตรเลียม
ที่ผลิตไดออกตามอัตราสวนของปโตรเลียมที่ตนผลิตไดกับปโตรเลียมที่ผลิตไดทั่วราชอาณาจักรในรอบหกเดือนที่แลวมา 
การประกาศตามมาตรานี้ใหประกาศในราชกิจจานุเบกษา 
  
มาตรา  62  ในกรณีที่มีการหามสงปโตรเลียมออกเพื่อใหมีปโตรเลียมเพียงพอกับความตองการใชภายในราช
อาณาจักรตามมาตรา  61  ถาผูรับสัมปทานรองขอ  ใหรัฐมนตรีจัดใหมีผูซื้อปโตรเลียมที่หามสงนั้นในราคาตามมาตรา  57  หรือ
มาตรา 58 แลวแตกรณี 
  
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
หมวด 6 
ประโยชน สิทธิ และหนาที่ของผูรับสัมปทาน 
   
  
มาตรา  63  การใหสัมปทานตามพระราชบัญญัตินี้ไมตัดสิทธิการใหสัมปทานหรือการอนุญาตตามกฎหมายอื่นเพื่อให
ไดมาซึ่งทรัพยากรธรรมชาติอื่นใดเวนแตปโตรเลียม 
  
มาตรา 64 ใหผูรับสัมปทานไดรับหลักประกันวา 
(1)  รัฐจะไมบังคับโอนทรัพยสินและสิทธิในการประกอบกิจการปโตรเลียมของผูรับสัมปทานมาเปนของรัฐ  เวนแต
เปนการโอนตามขอกําหนดในสัมปทาน 
(2) รัฐจะไมจํากัดการสงปโตรเลียมออกนอกราชอาณาจักร เวนแตกรณีตามมาตรา 61 
  
มาตรา  65  เพื่อประโยชนในการประกอบกิจการปโตรเลียม  ใหคณะกรรมการมีอํานาจอนุญาตใหผูรับสัมปทานถือ
กรรมสิทธิ์ในที่ดินไดเทาที่จําเปน ทั้งนี้ แมวาจะเกินกําหนดที่พึงจะมีไดตามกฎหมายอื่น 
ผูรับสัมปทานโอนกรรมสิทธิ์ในที่ดินที่ไดมาตามวรรคหนึ่งไดเมื่อไดรับอนุญาตจากคณะกรรมการ 
การอนุญาตของคณะกรรมการตามมาตรานี้ใหอธิบดีแจงเปนหนังสือใหผูรับสัมปทานทราบ 
  
มาตรา  66  ผูรับสัมปทานมีสิทธิประกอบกิจการปโตรเลียมในแปลงสํารวจและพื้นที่ผลิตที่ไดรับสัมปทาน แตในกรณี
ที่ที่ดินในแปลงสํารวจหรือพื้นที่ผลิตที่ผูรับสัมปทานมีความจําเปนตองใชในการประกอบกิจการปโตรเลียม  รวมทั้งที่ดินนอกแปลง
สํารวจหรือพื้นที่ผลิตดังกลาวที่ผูรับสัมปทานมีความจําเปนตองใชในการเก็บรักษาหรือขนสงปโตรเลียมเปนที่ดินที่บุคคลหรือสวน
ราชการเปนเจาของ มีสิทธิครอบครองหรือมีหนาที่ดูแลตามกฎหมาย ใหผูรับสัมปทานปฏิบัติดังตอไปนี ้
(1)  ในกรณีที่ดินอันเปนสาธารณสมบัติของแผนดินที่ราษฎรมิไดใชประโยชนรวมกัน  ผูรับสัมปทานมีสิทธิผานเขาออก
และใชในการกอสรางใด ๆ ไดโดยไมตองขออนุญาตและไมตองเสียคาทดแทน 
(2)  ในกรณีที่ดินที่สวนราชการใดเปนเจาของ  มีสิทธิครอบครองหรือมีหนาที่ดูแลตามกฎหมาย  ผูรับสัมปทานตองขอ
อนุญาตตอสวนราชการนั้น 
(3) ในกรณีที่ดินที่บุคคลใดเปนเจาของ หรือมีสิทธิครอบครอง ผูรับสัมปทานตองทําความตกลงกับบุคคลนั้น 
  
มาตรา  67  ในกรณีที่ผูรับสัมปทานมีความจําเปนตองเขาไปในที่ดินที่บุคคลใดเปนเจาของหรือมีสิทธิครอบครองเพื่อ
สํารวจปโตรเลียม ใหขออนุญาตเจาของหรือผูมีสิทธิครอบครองที่ดินนั้นกอน 
ถาเจาของหรือผูมีสิทธิครอบครองที่ดินตามวรรคหนึ่งไมอนุญาต  และพนักงานเจาหนาที่เห็นวามีความจําเปนตอง
เขาไปสํารวจปโตรเลียมในที่ดินนั้นและการไมอนุญาตนั้นไมมีเหตุอันสมควรเมื่อพนักงานเจาหนาที่แจงใหเจาของหรือผูมีสิทธิครอบ
ครองที่ดินนั้นทราบลวงหนาไมนอยกวาเจ็ดวันวาจะเขาไปสํารวจปโตรเลียมในที่ดินนั้นแลว  ใหผูรับสัมปทานเขาไปสํารวจ
ปโตรเลียมในที่ดินนั้นในความควบคุมดูแลของพนักงานเจาหนาที่ได 
ถาการเขาไปในที่ดินตามวรรคสองเปนเหตุใหเกิดความเสียหาย  เจาของผูมีสิทธิครอบครองหรือผูทรงสิทธิอื่นใดใน
ที่ดินนั้นมีสิทธิเรียกคาเสียหายจากผูรับสัมปทาน  และถาไมสามารถตกลงกันถึงจํานวนคาเสียหายได  ใหมอบขอพิพาทให
อนุญาโตตุลาการวินิจฉัย โดยนําบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงมาใชบังคับ 
  
มาตรา  68  เมื่อมีความจําเปนที่จะตองไดมาซึ่งอสังหาริมทรัพยเพื่อใชในกิจการปโตรเลียม  ใหดําเนินการเวนคืนตาม
กฎหมายวาดวยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย 
  
มาตรา  69  ภายใตบังคับกฎหมายวาดวยคนเขาเมืองเพียงเทาที่กฎหมายนี้มิไดบัญญัติไวเปนอยางอื่น  ผูรับสัมปทาน
และผูรับจาง  ซึ่งไดทําสัญญาจางเหมาโดยตรงกับผูรับสัมปทานมีสิทธินําชางฝมือและผูเชี่ยวชาญ  รวมตลอดถึงคูสมรสและบุตรที่อยู
ในอุปการะซึ่งเปนคนตางดาวเขามาในราชอาณาจักรตามความจําเปนในการประกอบกิจการปโตรเลียมไดตามจํานวนและระยะ
เวลาที่คณะกรรมการมีคําสั่งตามที่เห็นสมควร  ทั้งนี ้ แมวาจะเกินอัตราจํานวนคนเขาเมืองและระยะเวลาตามที่บัญญัติไวใน
กฎหมายวาดวยคนเขาเมือง 
ผูรับสัมปทานมีสิทธิอุทธรณคําสั่งของคณะกรรมการตอรัฐมนตรีไดภายในสามสิบวันนับแตวันไดรับคําสั่ง  คําวินิจฉัย
ของรัฐมนตรีใหเปนที่สุด 
  
มาตรา  70  ผูรับสัมปทานและผูรับจาง  ซึ่งไดทําสัญญาจางเหมาโดยตรงกับผูรับสัมปทานมีสิทธินําเครื่องจักร  เครื่อง
มือ  เครื่องใช  โครงกอสราง  ยานพาหนะ  สวนประกอบ  อุปกรณและวัสดุอื่น  ๆ  ที่ใชในการประกอบกิจการปโตรเลียมเขามาในราช
อาณาจักรได  โดยใหไดรับยกเวนการเสียอากรขาเขาตามกฎหมายวาดวยพิกัดอัตราศุลกากรและภาษีการคาตามประมวลรัษฎากร 
แตของดังกลาวตองเปนของที่คณะกรรมการมีคําสั่งเห็นชอบวาจําเปนในการประกอบกิจการปโตรเลียม 
ผูรับสัมปทานมีสิทธิอุทธรณคําสั่งของคณะกรรมการตอรัฐมนตรีไดภายในสามสิบวันนับแตวันไดรับคําสั่ง 
  
มาตรา  71  ในการประกอบกิจการปโตรเลียม ใหผูรับสัมปทานไดรับยกเวนการเสียภาษีอากร และเงินที่ราชการสวน
กลาง ราชการสวนภูมิภาค และราชการสวนทองถิ่นเรียกเก็บทุกชนิด เวนแต 
(1) ภาษีเงินไดตามกฎหมายวาดวยภาษีเงินไดปโตรเลียม 
(2) คาภาคหลวงไม คาบํารุงปา และคาธรรมเนียมตามกฎหมายวาดวยปาไมและกฎหมายวาดวยปาสงวนแหงชาติ 
(3) คาภาคหลวง และคาธรรมเนียมตามพระราชบัญญัติน ี้
(4) คาธรรมเนียมเพื่อตอบแทนบริการตามกฎหมายอื่น 
  
มาตรา  72  เพื่อประโยชนในการอนุรักษปโตรเลียมหรือการปฏิบัติงานปโตรเลียมที่ด ี ในกรณีที่ผูรับสัมปทานหลาย
รายมีพื้นที่ผลิตคาบเกี่ยวกันในแหลงสะสมปโตรเลียมแหลงเดียวกัน  รัฐมนตรีมีอํานาจสั่งใหผูรับสัมปทานดังกลาวรวมกันผลิต
ปโตรเลียมได 
  
มาตรา  73  ในการสํารวจหรือผลิตปโตรเลียม  ถาพบโบราณวัตถุ  ซากดึกดําบรรพ  หรือแรที่มีคุณคาทางเศรษฐกิจ 
หรือทางการศึกษาในดานธรณีวิทยา ผูรับสัมปทานตองรายงานใหกรมทรัพยากรธรณีทราบภายในสามสิบวันนับแตวันพบ 
  
มาตรา  74  ในการประกอบกิจการปโตรเลียมในทะเล  ผูรับสัมปทานตองไมกอใหเกิดผลกระทบกระเทือนโดย
ปราศจากเหตุอันสมควรตอการเดินเรือ  การเดินอากาศ  การอนุรักษทรัพยากรมีชีวิตในทะเล  หรือการวิจัยทางวิทยาศาสตร  และ
ตองไมทําการอันเปนการกีดขวางตอการวางสายเคเบิลหรือทอใตนํ้า หรือกอใหเกิดความเสียหายแกสายเคเบิลหรือทอใตนํ้า 
  
มาตรา  75  ในการประกอบกิจการปโตรเลียม ผูรับสัมปทานตองปองกันโดยมาตรการอันเหมาะสมตามวิธีการปฏิบัติ
งานปโตรเลียมที่ดีเพื่อมิใหที่ใดโสโครกดวยนํ้ามัน โคลนหรือสิ่งอื่นใด 
ในกรณีที่ที่ใดเกิดความโสโครกดวยนํ้ามัน  โคลน  หรือสิ่งอื่นใดเนื่องจากการประกอบกิจการปโตรเลียมโดยผูรับ
สัมปทาน ผูรับสัมปทานตองบําบัดปดปองความโสโครกนั้นโดยเร็วที่สุด 
  
มาตรา  76  ผูรับสัมปทานตองรายงานผลการประกอบกิจการปโตรเลียมตอกรมทรัพยากรธรณีตามหลักเกณฑและ
วิธีการที่กรมทรัพยากรธรณีกําหนด 
รายงานตามวรรคหนึ่งใหถือเปนความลับและมิใหเปดเผยจนกวาพนสองป  นับแตวันที่สัมปทานสิ้นอายุหรือถูกเพิก
ถอนแลวแตกรณี เวนแต 
(1)  เปนการเปดเผยในการปฏิบัติราชการแกสวนราชการหรือบุคคลซึ่งมีหนาที่ตองปฏิบัติตามกฎหมายหรือระเบียบ
ของทางราชการ 
(2)  เปนการนําขอสนเทศจากรายงานนั้นไปใชในการเรียบเรียงและเผยแพรรายงานหรือบันทึกทางวิทยาศาสตร 
เทคนิค หรือสถิติ โดยไดรับอนุมัติจากรัฐมนตรีแลว แตทั้งนี้ตองหลีกเลี่ยงการเปดเผยขอสนเทศดานพาณิชยใหมากที่สุด หรือ 
(3)  ไดรับความยินยอมเปนหนังสือจากผูรับสัมปทานใหเปดเผยได  แตการใหหรือไมใหความยินยอมของผูรับสัมปทาน
ตองกระทําโดยไมชักชา 
  
มาตรา  77  ผูรับสัมปทานตองเสนองบบัญชีคาใชจายในการประกอบกิจการปโตรเลียมตอกรมทรัพยากรธรณีตาม
หลักเกณฑและวิธีการที่กรมทรัพยากรธรณีกําหนด 
  
มาตรา  78  ผูรับสัมปทานมีสิทธิเก็บรักษาเงินตราตางประเทศและนําหรือสงเงินออกนอกราชอาณาจักรเปนเงินตรา
ตางประเทศได เมื่อเงินนั้นเปนเงินที่ไดมาจากการประกอบกิจการปโตรเลียม 
  
มาตรา  79  อธิบดีมีอํานาจอนุญาตใหราชการสวนกลาง  ราชการสวนภูมิภาคหรือราชการสวนทองถิ่นใชประโยชน
จากนํ้าในหลุมเจาะใด  ๆ  ที่ผูรับสัมปทานไมตองการใชในการประกอบกิจการปโตรเลียม  แตสวนราชการนั้นตองใหคาทดแทนที่เปน
ธรรมสําหรับคาวัสดุที่ผูรับสัมปทานยังสามารถนําไปใชประโยชนอยางอื่นใหแกผูรับสัมปทาน 
  
มาตรา  80  ในการประกอบกิจการปโตรเลียม  ไมวาสิทธิสํารวจหรือผลิตปโตรเลียมตามสัมปทานจะสิ้นอายุแลวหรือ
ไม  ผูรับสัมปทานตองดําเนินการใหถูกตองตามหลักเทคนิคและวิธีการปฏิบัติงานปโตรเลียมที่ด ี สําหรับการประกอบกิจการ
ปโตรเลียมและการอนุรักษทรัพยากรปโตรเลียม 
  
มาตรา  81  ผูรับสัมปทาน  ตัวแทน  และลูกจางของผูรับสัมปทานมีหนาที่อํานวยความสะดวกใหแกพนักงานเจา
หนาที่เกี่ยวกับการปฏิบัติหนาที่ตามพระราชบัญญัติน ี้
  
 
 
 
หมวด 7 
คาภาคหลวง 
   
  
มาตรา  82  ใหผูรับสัมปทานเสียคาภาคหลวงสําหรับปโตรเลียมที่ขายหรือจําหนาย  แตไมตองเสียคาภาคหลวง
สําหรับปโตรเลียมดังตอไปนี ้
(1) ปโตรเลียมที่สงชําระเปนคาภาคหลวง 
(2)  ปโตรเลียมที่ผลิตและใชไปในสภาพเดิมในราชอาณาจักรเพื่อการวิเคราะหทดลอง  สํารวจ  ผลิต  อนุรักษ เก็บรักษา 
และขนสงปโตรเลียม 
(3) ปโตรเลียมที่สงออกนอกราชอาณาจักรเพื่อการวิเคราะหและทดลอง 
(4) กาซธรรมชาติที่โอนโดยไมมีคาตอบแทนใหแกผูรับสัมปทานรายอื่น เพื่อการอนุรักษทรัพยากรปโตรเลียมเมื่อไดรับ
อนุมัติจากอธิบดี 
(5) กาซธรรมชาติที่จําเปนตองเผาทิ้งระหวางการผลิตปโตรเลียม 
กรณีตาม (2) ถึง (5) ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กรมทรัพยากรธรณีกําหนด 
  
มาตรา  83  ใหผูรับสัมปทานเสียคาภาคหลวงเปนตัวเงิน  แตรัฐมนตรีอาจสั่งใหผูรับสัมปทานเสียคาภาคหลวงเปน
ปโตรเลียมแทนทั้งหมดหรือบางสวนตามประเภทและชนิดของปโตรเลียมที่ตองเสียคาภาคหลวงนั้นได 
ในการสั่งตามวรรคหนึ่ง  รัฐมนตรีตองแจงเปนหนังสือกําหนดวาจะใหผูรับสัมปทานเสียคาภาคหลวงเปนปโตรเลียม
สําหรับปโตรเลียมที่สงออกหรือปโตรเลียมที่มิไดสงออกหรือทั้งสองอยาง  และกําหนดเดือนเริ่มตนสําหรับการเสียคาภาคหลวงเปน
ปโตรเลียมใหผูรับสัมปทานทราบลวงหนาไมนอยกวาหกเดือน  และจะกําหนดเดือนสิ้นสุดสําหรับการเสียคาภาคหลวงเปน
ปโตรเลียมไวดวยก็ได  ในกรณีที่รัฐมนตรีมิไดกําหนดเดือนสิ้นสุดดังกลาว  ใหรัฐมนตรีบอกเลิกรับชําระคาภาคหลวงเปนปโตรเลียม
ไดเมื่อแจงเปนหนังสือใหผูรับสัมปทานทราบลวงหนาไมนอยกวาหกเดือน 
  
มาตรา 84 ใหผูรับสัมปทานเสียคาภาคหลวงดังตอไปนี ้
(1) ในกรณีที่เสียเปนตัวเงิน ใหเสียในอัตรารอยละสิบสองครึ่งของมูลคาปโตรเลียมที่ขายหรือจําหนาย หรือ 
(2)  ในกรณีที่เสียเปนปโตรเลียม  ใหเสียเปนปริมาณที่มีมูลคาเทากับหนึ่งในเจ็ดของมูลคาปโตรเลียมที่ขายหรือ
จําหนาย  แตถาเปนกรณีนํ้ามันดิบที่สงออก  ใหเสียเปนปริมาณที่มีมูลคาเทากับหนึ่งในเจ็ดของปริมาณนํ้ามันดิบที่สงออกคูณดวย
ราคาประกาศ และหารดวยราคามาตรฐานตามกฎหมายวาดวยภาษีเงินไดปโตรเลียม 
  
มาตรา 85 ในการคํานวณมูลคาปโตรเลียมสําหรับเสียคาภาคหลวงใหเปนไปตามหลักเกณฑดังตอไปนี ้
(1)  สําหรับปริมาณ  ใหถือเอาปริมาณปโตรเลียมที่มีอุณหภูม ิ 6๐  องศาฟาเรนไฮท  และความดัน  14.7  ปอนดตอหนึ่ง
ตารางนิ้วเปนเกณฑ 
(2) สําหรับราคา ใหถือราคาดังตอไปนี ้
(ก) นํ้ามันดิบที่สงออก ใหถือราคาประกาศ 
(ข) นํ้ามันดิบที่สงชําระเปนคาภาคหลวงสําหรับนํ้ามันดิบที่มิไดสงออกใหถือราคาตลาด 
(ค)  นํ้ามันดิบที่สงชําระเปนคาภาคหลวงสําหรับนํ้ามันดิบที่สงออก  ใหถือราคามาตรฐานตามกฎหมายวาดวยภาษีเงิน
ไดปโตรเลียม 
(ง) ปโตรเลียมที่สงชําระเปนคาภาคหลวงเฉพาะสวนที่มิใชนํ้ามันดิบ ใหถือราคาตลาด 
(จ)  ปโตรเลียมนอกจาก  (ก)  ถึง  (ง)  ใหถือราคาที่ขายไดจริงในกรณีที่มีการขาย  และใหถือราคาตลาดในกรณีที่มีการ
จําหนายสําหรับกาซธรรมชาติเหลวและสารพลอยไดใหหักคาใชจายในการใชกรรมวิธีใด  ๆ  ในโรงงานเพื่อทําใหกาซธรรมชาติเหลว
หรือสารพลอยไดอยูในสภาพที่จะขายหรือจําหนายไดออกจากราคาที่ขายไดจริงหรือราคาตลาด แลวแตกรณี 
ทั้งนี ้ ใหคิดมูลคาปโตรเลียม ณ สถานที่ขายหรือจําหนายในราชอาณาจักรที่อธิบดีและผูรับสัมปทานจะไดตกลงกัน แต
สําหรับนํ้ามันดิบที่สงออก  ใหคิดมูลคา  ณ  สถานที่สงออก  และในกรณีที่สถานที่ขายหรือจําหนายปโตรเลียมตาม  (จ)  แตกตางไป
จากสถานที่ขายหรือจําหนายที่ไดตกลงกัน  ใหปรับปรุงราคาโดยคํานึงถึงความแตกตางของคาขนสงระหวางสถานที่ขายหรือ
จําหนายนั้นกับสถานที่ขายหรือจําหนายที่ไดตกลงกันแลวดวย 
  
มาตรา  86  เพื่อประโยชนในการคํานวณมูลคาปโตรเลียมตามมาตรา  85  ถาจําเปนตองคํานวณเงินตราตางประเทศ
เปนเงินตราไทย ใหคํานวณตามหลักเกณฑดังตอไปนี ้
(1)  ในกรณีราคาประกาศ  ใหคํานวณเงินตราตางประเทศเปนเงินตราไทยตามอัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยในรอบระยะ
เวลาสามเดือนที่มีการชําระคาภาคหลวงตามมาตรา  87โดยคิดจากอัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยรายวันที่ธนาคารพาณิชยรับซื้อเงินตรา
ตางประเทศที่ธนาคารแหงประเทศไทยไดคํานวณไว 
(2)  ในกรณีอื่น  ใหคํานวณเงินตราตางประเทศหรือสิทธิเรียกรองที่มีมูลคาเปนเงินตราตางประเทศที่ไดรับตามอัตรา
แลกเปลี่ยนที่ไดขายเงินตราตางประเทศนั้น  ถามิไดมีการขายเงินตราตางประเทศ  ใหคํานวณเงินตราตางประเทศหรือสิทธิเรียกรอง
นั้นตามอัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยในรอบระยะเวลาหนึ่งเดือนกอนเดือนที่ไดรับ  โดยคิดจากอัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยรายวันที่
ธนาคารพาณิชยรับซื้อเงินตราตางประเทศที่ธนาคารแหงประเทศไทยไดคํานวณไว 
  
มาตรา  87  ในกรณีที่ใหเสียคาภาคหลวงเปนตัวเงิน  ใหผูรับสัมปทานชําระเปนรายรอบระยะเวลาสามเดือนปฏิทิน 
ซึ่งเริ่มตนในเดือนมกราคม เมษายน กรกฎาคม และตุลาคม 
คาภาคหลวงสําหรับปโตรเลียมที่ขายหรือจําหนายในรอบระยะเวลาสามเดือนใดใหถือเปนคาภาคหลวงสําหรับรอบ
ระยะเวลาสามเดือนนั้น  และใหผูรับสัมปทานชําระตอพนักงานเจาหนาที่ภายในเดือนถัดไป  ณ  สถานที่ที่อธิบดีกําหนดพรอมกับยื่น
แบบแสดงรายการเสียคาภาคหลวงตามที่อธิบดีกําหนด  โดยแสดงรายการครบถวนตามแบบนั้น  และยื่นเอกสารประกอบตามที่
อธิบดีกําหนดดวย 
ผูรับสัมปทานจะยื่นคําขอชําระคาภาคหลวงเปนเงินตราตางประเทศสกุลใดก็ไดเมื่อรัฐมนตรีพิจารณาเห็นสมควร  จะ
อนุมัติใหชําระเปนเงินตราตางประเทศสกุลนั้นตามเงื่อนไขและวิธีการที่กําหนดก็ได 
  
มาตรา  88  ผูซึ่งดําเนินกิจการโรงกลั่นนํ้ามัน  หากสงผลิตภัณฑที่กลั่นจากนํ้ามันดิบที่ผลิตไดในประเทศออกนอกราช
อาณาจักร ใหเสียคาภาคหลวงดังตอไปนี ้
(1)  ถากิจการโรงกลั่นนํ้ามันเปนของผูรับสัมปทานหรือเปนบุคคลซึ่งมีความสัมพันธในดานทุนหรือการจัดการกับผูรับ
สัมปทาน  ใหผูรับสัมปทานเสียคาภาคหลวงสําหรับนํ้ามันดิบที่กลั่นเปนผลิตภัณฑสงออกนอกราชอาณาจักรนั้นเสมือนหนึ่งเปน
นํ้ามันดิบที่สงออกแตอยางเดียว 
(2)  ถากิจการโรงกลั่นนํ้ามันเปนของบุคคลอื่น  ใหบุคคลนั้นเสียคาภาคหลวงสําหรับนํ้ามันดิบที่กลั่นเปนผลิตภัณฑสง
ออกนอกราชอาณาจักร  เปนจํานวนเทากับความแตกตางระหวางรายไดของรัฐที่พึงไดรับจากผูรับสัมปทานถาผูรับสัมปทานเปนผู
สงนํ้ามันดิบออกเอง  กับรายไดของรัฐที่รัฐไดรับจากผูรับสัมปทานเมื่อผูรับสัมปทานขายหรือจําหนายนํ้ามันดิบภายในราช
อาณาจักรใหแกโรงกลั่นนํ้ามัน 
  
มาตรา 89 การเก็บคาภาคหลวงตามมาตรา 88 มีหลักเกณฑดังตอไปนี ้
(1)  ปริมาณนํ้ามันดิบที่สงออกในรอบระยะเวลาสามเดือนไดแกปริมาณนํ้ามันดิบที่ผูรับสัมปทานขายหรือจําหนายให
แกโรงกลั่นนํ้ามันทั้งสิ้นในรอบระยะเวลาสามเดือนคูณดวยปริมาณผลิตภัณฑจากโรงกลั่นที่สงออกนอกราชอาณาจักรในรอบระยะ
เวลาสามเดือนนั้นหารดวยปริมาณผลิตภัณฑจากการกลั่นทั้งสิ้นในรอบระยะเวลาสามเดือน  แตอธิบดีอาจตกลงกับผูที่จะตองเสียคา
ภาคหลวงกําหนดวิธีการคํานวณปริมาณนํ้ามันดิบที่สงออกเปนอยางอื่นเพื่อใหไดปริมาณที่ใกลเคียงกันมากที่สุดกับปริมาณนํ้ามัน
ดิบที่กลั่นเปนผลิตภัณฑสงออกนอกราชอาณาจักรได 
(2)  ราคาประกาศและราคาที่ขายไดจริงใหใชราคาประกาศและราคาที่ขายไดจริงของผูรับสัมปทานซึ่งขายหรือ
จําหนายนํ้ามันดิบนั้น  ในกรณีที่ไมมีราคาประกาศ  ใหใชราคาประกาศสําหรับนํ้ามันดิบที่มีคุณภาพอยางเดียวกันหรือคลายกันของ
ผูรับสัมปทานรายอื่น และถาไมมีราคาประกาศดังกลาวอีก ใหอธิบดีกําหนดราคาประกาศตามมาตรา 59 
(3)  ในกรณีที่ราคาประกาศหรือราคาที่ขายไดจริงมีหลายราคาในรอบระยะเวลาสามเดือน  ใหใชราคาเฉลี่ยถวงนํ้าหนัก
ของราคาประกาศหรือราคาที่ขายไดจริง แลวแตกรณี 
(4) การคํานวณความแตกตางของรายไดของรัฐตามมาตรา 88 (2) ใหเปนไปตามหลักเกณฑที่กําหนดในกฎกระทรวง 
(5)  คาภาคหลวงที่พึงเก็บจากนํ้ามันดิบที่ขายหรือจําหนายใหแกโรงกลั่นนํ้ามันในรอบระยะเวลาสามเดือนใด  ใหถือ
เปนคาภาคหลวงสําหรับรอบระยะเวลาสามเดือนนั้น 
ทั้งนี้ ใหนําบทบัญญัติเกี่ยวกับคาภาคหลวงมาใชบังคับ 
  
มาตรา  9๐  ในกรณีที่ใหเสียคาภาคหลวงเปนปโตรเลียมใหผูรับสัมปทานชําระเปนรายรอบระยะเวลาสามเดือนตาม
มาตรา  87  วรรคหนึ่ง  และการชําระคาภาคหลวงสําหรับรอบระยะเวลาสามเดือนใด  ใหชําระตอพนักงานเจาหนาที่ภายในเวลาและ
ตามวิธีการที่อธิบดีกําหนด  ณ  สถานที่ตามมาตรา  85  วรรคสอง  พรอมกับยื่นแบบแสดงรายการเสียคาภาคหลวงตามที่อธิบดี
กําหนด โดยแสดงรายการครบถวนตามแบบนั้น และยื่นเอกสารประกอบตามที่อธิบดีกําหนดดวย 
ในกรณีที่ใหผูรับสัมปทานสงชําระคาภาคหลวงเปนปโตรเลียม  ณ  สถานที่อื่นนอกจากสถานที่ที่อธิบดีและผูรับ
สัมปทานตกลงกันตามมาตรา 85 วรรคสอง ผูรับสัมปทานไมจําตองเสียคาขนสงเกินจํานวนที่พึงตองเสีย 
  
มาตรา 91 อธิบดีมีอํานาจประเมินคาภาคหลวงและเงินเพิ่มตามพระราชบัญญัตินี้ เมื่อ 
(1) ผูรับสัมปทานมิไดยื่นแบบแสดงรายการเสียคาภาคหลวงภายในเวลาที่กําหนด 
(2)  ผูรับสัมปทานยื่นแบบแสดงรายการเสียคาภาคหลวงไวไมถูกตองหรือมีขอผิดพลาดทําใหจํานวนคาภาคหลวงที่
ตองเสียคลาดเคลื่อนไป 
(3)  ผูรับสัมปทานไมปฏิบัติตามหนังสือเรียกของอธิบดีหรือไมตอบคําถามของพนักงานเจาหนาที่ผูมีอํานาจตรวจสอบ
คาภาคหลวงโดยไมมีเหตุอันสมควร หรือไมสามารถแสดงหลักฐานในการคํานวณคาภาคหลวง 
  
มาตรา 92 เพื่อประโยชนในการดําเนินการตามมาตรา 91 อธิบดีมีอํานาจ 
(1)  จัดทํารายการลงในแบบแสดงรายการเสียคาภาคหลวงที่เห็นวาถูกตองเมื่อมิไดมีการยื่นแบบแสดงรายการเสียคา
ภาคหลวง 
(2)  แกไขเพิ่มเติมรายการในแบบแสดงรายการเสียคาภาคหลวงหรือในเอกสารที่ยื่นประกอบแบบแสดงรายการเสียคา
ภาคหลวงเพื่อใหถูกตอง 
(3)  กําหนดมูลคาของปโตรเลียมตามราคาตลาดในเมื่อมีการจําหนายหรือมีการขายโดยมีคาตอบแทนตํ่ากวาราคา
ตลาดโดยไมมีเหตุอันสมควร 
(4) กําหนดจํานวนคาภาคหลวงตามที่รูเห็นหรือพิจารณาวาถูกตองเมื่อมีกรณีตามมาตรา 91 (3) 
  
มาตรา 93 ใหการดําเนินการตามมาตรา 91 หรือมาตรา 92 อธิบดีมีอํานาจ 
(1) ออกหนังสือเรียกผูรับสัมปทานหรือบุคคลซึ่งเกี่ยวของมาใหถอยคํา 
(2)  ออกคําสั่งใหผูรับสัมปทานหรือบุคคลซึ่งเกี่ยวของตอบคําถามเปนหนังสือสงบัญชี  หลักฐาน  รายงาน  หรือเอกสาร
อื่นอันควรแกกรณีมาตรวจสอบไตสวน 
ทั้งนี้ ตองใหเวลาแกผูรับหนังสือหรือคําสั่งไมนอยกวาเจ็ดวันนับแตวันไดรับหนังสือหรือคําสั่งนั้น 
  
มาตรา  94  เมื่ออธิบดีไดประเมินคาภาคหลวงแลว  ใหแจงผลการประเมินเปนหนังสือไปยังผูรับสัมปทานพรอมกับ
กําหนดเวลาใหผูรับสัมปทานชําระคาภาคหลวงตามที่ประเมินภายในสามสิบวันนับแตวันไดรับแจงผลการประเมิน 
ถาผูรับสัมปทานไมพอใจในผลการประเมินของอธิบดีอาจเสนอเพื่อระงับขอพิพาทไดตามวิธีการที่กําหนดไวใน
สัมปทาน 
การดําเนินการเพื่อระงับขอพิพาทตามวรรคสองไมเปนเหตุทุเลาการชําระคาภาคหลวง 
เพื่อประโยชนในการชําระคาภาคหลวงในระหวางดําเนินการเพื่อระงับขอพิพาทตามวรรคสอง  จํานวนคาภาคหลวงให
ถือตามที่ผูรับสัมปทานแจงในแบบแสดงรายการเสียคาภาคหลวง ถาผูรับสัมปทานมิไดแจงหรือแจงเมื่อพนเวลาที่กําหนด ใหถือตาม
ที่อธิบดีกําหนดตามมาตรา 92 
  
มาตรา 95 การประเมินของอธิบดีใหกระทําไดภายในกําหนดเวลาดังตอไปนี ้
(1)  หาปนับแตวันสุดทายแหงกําหนดเวลายื่นแบบแสดงรายการเสียคาภาคหลวงในกรณีที่ผูรับสัมปทานยื่นแบบแสดง
รายการเสียคาภาคหลวงภายในเวลาที่กําหนด 
(2)  หาปนับแตวันที่ผูรับสัมปทานยื่นแบบแสดงรายการเสียคาภาคหลวงในกรณีที่ผูรับสัมปทานยื่นแบบแสดงรายการ
เสียคาภาคหลวงเมื่อพนเวลาที่กําหนด แตตองไมเกินสิบปนับแตวันสุดทายแหงกําหนดเวลายื่นแบบแสดงรายการเสียคาภาคหลวง 
(3)  สิบปนับแตวันสุดทายแหงกําหนดเวลายื่นแบบแสดงรายการเสียคาภาคหลวงในกรณีที่ผูรับสัมปทานมิไดยื่นแบบ
แสดงรายการเสียคาภาคหลวง  หรือยื่นแบบแสดงรายการเสียคาภาคหลวงที่ตองชําระขาดไปเกินรอยละยี่สิบหาของคาภาคหลวงที่
ตองเสีย 
  
มาตรา  96  ถาผูรับสัมปทานมิไดชําระคาภาคหลวงภายในกําหนดเวลาตามมาตรา  87  หรือชําระคาภาคหลวงขาด
จากจํานวนที่ควรตองเสีย  ใหเสียเงินเพิ่มอีกรอยละสองตอเดือนหรือเศษของเดือนของคาภาคหลวงที่ตองชําระหรือชําระขาดแลว
แตกรณี 
การคํานวณเงินเพิ่มตามวรรคหนึ่งมิใหคิดทบตน  และใหเริ่มนับแตวันสิ้นสุดแหงกําหนดเวลายื่นแบบแสดงรายการเสีย
คาภาคหลวงจนถึงวันที่ชําระ 
เงินเพิ่มตามมาตรานี้มิใหเกินจํานวนคาภาคหลวงที่ตองชําระหรือชําระขาด แลวแตกรณี 
  
มาตรา  97  ถาผูรับสัมปทานมิไดชําระคาภาคหลวงเปนปโตรเลียมภายในเวลาที่อธิบดีกําหนดตามมาตรา  9๐  หรือ
ชําระคาภาคหลวงเปนปโตรเลียมขาดจากจํานวนที่ตองเสีย ผูรับสัมปทานตองชําระคาภาคหลวงเปนปโตรเลียมจนครบจํานวน และ
ใหเสียเงินเพิ่มอีกรอยละสองตอเดือนหรือเศษของเดือนของมูลคาปโตรเลียมที่ตองชําระเปนคาภาคหลวงหรือที่ชําระขาด  แลวแต
กรณี 
การคํานวณมูลคาของปโตรเลียมตามวรรคหนึ่งใหถือราคาตลาดในเวลาที่ตองเสียคาภาคหลวง  และใหนํามาตรา  96 
วรรคสองและวรรคสามมาใชบังคับ 
  
มาตรา 98 เงินเพิ่มอาจงดหรือลดลงไดตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง 
  
มาตรา  99  เพื่อใหเหมาะสมกับเหตุการณหรือภาวะการผลิตปโตรเลียมคาภาคหลวงตามพระราชบัญญัตินี้อาจลดลง
เปนการชั่วคราวไดไมเกินรอยละสามสิบตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง 
  
มาตรา  1๐๐  ในการเก็บคาภาคหลวงจากบุคคลตามมาตรา 88 (2) รัฐมนตรีจะมอบใหกรมสรรพสามิตเก็บแทนกรม
ทรัพยากรธรณีก็ได 
  
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
หมวด 8 
บทกําหนดโทษ 
   
  
มาตรา  101  ผูใดฝาฝนมาตรา  7  ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งเดือนหรือปรับไมเกินหนึ่งพันบาท  หรือทั้งจําทั้ง
ปรับ 
  
มาตรา  102  ผูใดไมปฏิบัติตามกฎกระทรวงออกตามมาตรา  14  (1)  (2)  หรือ  (3)  ตองระวางโทษปรับไมเกินหาหมื่น
บาท 
  
มาตรา  103  ผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา  23  วรรคหนึ่ง  ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสองป  หรือปรับไมเกินสี่แสนบาท 
หรือทั้งจําทั้งปรับ 
  
มาตรา  104  ผูรับสัมปทานผูใดผลิตปโตรเลียมโดยมิไดรับความเห็นชอบจากอธิบดี  ตามมาตรา  42  วรรคหนึ่ง  ตอง
ระวางโทษปรับไมเกินหาหมื่นบาท 
  
มาตรา 105 ผูใดฝาฝนมาตรา 61 วรรคหนึ่ง ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสองป และปรับไมเกินสี่แสนบาท 
  
มาตรา  106  ผูรับสัมปทานผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา  73  ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่น
บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ 
  
มาตรา  107  ผูรับสัมปทานผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา 74 มาตรา 76 วรรคหนึ่ง หรือมาตรา 77 ตองระวางโทษปรับไม
เกินหนึ่งหมื่นบาท 
  
มาตรา 108 ผูรับสัมปทานผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา 75 ตองระวางโทษปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท 
  
มาตรา  109  ผูใดไมอํานวยความสะดวกใหแกพนักงานเจาหนาที่ตามมาตรา  81  ตองระวางโทษปรับไมเกินหาพัน
บาท 
  
มาตรา  110  ผูใดแจงขอความอันเปนเท็จ  ใหถอยคําเท็จ  ตอบคําถามดวยถอยคําอันเปนเท็จ  นําพยานหลักฐานเท็จ
มาแสดง  หรือกระทําการใด  ๆ  เพื่อหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงการเสียคาภาคหลวง  ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตสามเดือนถึง
เจ็ดป และปรับตั้งแตสองพันบาทถึงสองแสนบาท 
  
มาตรา  111  บรรดาปโตรเลียม  เครื่องมือ เครื่องใช ยานพาหนะ หรือเครื่องจักรกลใด ๆ ที่บุคคลไดมา ไดใชในการก
ระทําความผิด  หรือไดใชเปนอุปกรณใหไดรับผลในการกระทําความผิดตามมาตรา  103  มาตรา  104  หรือมาตรา 105 ใหริบเสียทั้ง
สิ้น ไมวาจะมีผูถูกลงโทษตามคําพิพากษาหรือไม เวนแตทรัพยสินนั้นเจาของมิไดรูเห็นเปนใจดวยในการกระทําความผิดนั้น 
  
บทเฉพาะกาล 
   
  
มาตรา  112  บทบัญญัติเกี่ยวกับการสํารวจปโตรเลียมตามพระราชบัญญัตินี้มิใหใชบังคับแกการสํารวจหาแหลง
นํ้ามันแรดิบตามสัญญาที่กรมทรัพยากรธรณีทําไวกอนวันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2507 
  
มาตรา  113  ภายในหกเดือนนับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชชังคับ ใหผูถืออาชญาบัตรผูกขาดสํารวจปโตรเลียม และ
ผูถือประทานบัตรทําเหมืองปโตรเลียมตามพระราชบัญญัติแร  พ.ศ.  2510  ที่ออกใหตามสัญญาปโตรเลียมที่ทําไวกอนวันที ่ 4 
กรกฎาคม พ.ศ. 2511 ดําเนินการขอสัมปทานใหถูกตองตามพระราชบัญญัติน ี้
รัฐมนตรีมีอํานาจใหสัมปทานแกผูขอสัมปทานตามวรรคหนึ่งโดยสัมปทานนั้นจะมีขอความเกี่ยวกับสิทธิในการสํารวจ
และผลิตปโตรเลียมตรงตามที่กําหนดไวในสัญญาปโตรเลียมซึ่งไดกลาวถึงในวรรคหนึ่ง  และสัมปทานนั้นใหนับระยะเวลาสํารวจ
และผลิตปโตรเลียมในสัมปทานยอนหลังไปจนถึงวันออกอาชญาบัตรผูกขาดสํารวจปโตรเลียมและประทานบัตรทําเหมือง
ปโตรเลียม  และใหอาชญาบัตรผูกขาดสํารวจปโตรเลียมและประทานบัตรทําเหมืองปโตรเลียมนั้นสิ้นอายุในวันที่รัฐมนตรีให
สัมปทาน 
ในกรณีที่มิไดมีการปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง  ใหถือวาผูถืออาชญาบัตรผูกขาดสํารวจปโตรเลียมหรือผูถือประทานบัตรทํา
เหมืองปโตรเลียม  แลวแตกรณี สละสิทธิ และใหอาชญาบัตรผูกขาดสํารวจปโตรเลียม หรือประทานบัตรทําเหมืองปโตรเลียมนั้นสิ้น
อายุในวันครบกําหนดระยะเวลาตามวรรคหนึ่ง  แตผูถืออาชญาบัตรผูกขาดสํารวจปโตรเลียม  หรือผูถือประทานบัตรทําเหมือง
ปโตรเลียมนั้นยังคงตองรับผิดตามสัญญาปโตรเลียม 
  
  
ผูรับสนองพระบรมราชโองการ 
จอมพล ถนอม กิตติขจร 
นายกรัฐมนตรี 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
  
อัตราคาธรรมเนียม   
  
(1) คําขอสัมปทาน ฉบับละ 100 บาท 
(2) คาสงวนพื้นที่ตารางกิโลเมตร 
หรือเศษของตารางกิโลเมตรละ 6,000 บาท ตอป 
(3) คารังวัดตามความยาวของระยะ 
ที่วัดกิโลเมตรหรือเศษของกิโลเมตรละ 180 บาท 
(4) คาหลักเขตบนพื้นดิน หลักละ 750 บาท 
  
  
หมายเหตุ  :-  เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี ้ คือ  เนื่องจากรัฐบาลมีนโยบายที่จะสงเสริมใหมีการ
สํารวจและผลิตปโตรเลียมภายใตมาตรการควบคุมที่เหมาะสม  เพื่ออํานวยประโยชนใหแกรัฐผูประกอบกิจการปโตรเลียมและ
ประชาชน แตขณะนี้ยังไมมีกฎหมายวาดวยการนี้โดยเฉพาะ จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัติน ี้
  
  
  
  
  
  
  
  
  
  
  
  
  
  
  
  
ภคินี/แกไข 
27/2/2545 
A+B (C) 
  
ปญญา/แกไข 
30 กรกฎาคม 2552 

You might also like