You are on page 1of 43

กลยุทธ์การปรับตัวธุรกิจสู่การ

เปลี่ยนแปลงหลัง Covid 19

รศ.ดร.วันชัย รัตนวงษ์
ผู้อานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาโลจิสติกส์
มหาวิ ท ยาลั ย หอการค้ า ไทย
สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
1. สถานการณ์ที่เป็นบวก คือกลุ่มสถานการณ์ ในมุมขวาบนของภาพ ได้แก่ สถานการณ์
A1, A2, A3 และ A4 ซึ่งล้วนเกิดจากความสาเร็จในการควบคุมการแพร่ระบาดของ
โรคในระดับปานกลางถึงระดับดีมาก ประกอบกับ มาตรการทางเศรษฐกิจในระดับ
ปานกลางถึงระดับดีมาก

2. เป็นที่น่าสังเกตว่า มาตรการที่ดีเพียง ด้านใดด้านหนึ่ง(ควบคุมโรคได้ดี แต่กระตุ้น


เศรษฐกิจไม่ได้ หรือ กระตุ้นเศรษฐกิจได้ดีและไม่สามารถควบคุมโรคได้) เป็น
สถานการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ เช่นเดียวกับสถานการณ์ที่ควบคุมโรคไม่ได้เลย และ
มาตรการกระตุ้น เศรษฐกิจไม่เป็นผล (ได้แก่ สถานการณ์ B1, B2, B3, B4 และ B5)

สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
แนวโน้มการฟื้นตัวของธุรกิจหลังปลดล็อกดาวน์สามารถแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม
1.กลุ่มธุรกิจฟื้นแบบ V-Shape (ภายใน 3 เดือน) ได้แก่ สินค้าอุปโภคบริโภค บรรจุภัณฑ์
โรงพยาบาล/คลินิก และยารักษาโรค ฟาร์มไก่ ฟาร์มหมู อาหารสัตว์ ไอทีและสื่อสาร กลุ่ม
นี้จะเริ่มฟื้นตัวกลับมา จากลักษณะสินค้าที่มีความจาเป็นต่อชีวิตประจาวันและส่วนใหญ่
พึ่งพิงตลาดในประเทศ ซึ่งทาให้ธุรกิจเหล่านี้ยังคงการจ้างงานที่มีอยู่จานวน 4.8 ล้านคน
หรือคิดเป็น 29.6% ของการจ้างงานรวมของภาคธุรกิจที่จดทะเบียนธุรกิจ ซึ่งกระจายตัว
ไปในธุรกิจผลิต-ขายปลีกขายส่งสินค้าอุปโภคบริโภคมากที่สุด รองลงมาเป็นกลุ่มธุรกิจ
สุขภาพและผลิตไฟฟ้า เป็นต้น

สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
2. กลุ่มธุรกิจฟื้นแบบ U-Shape (ในช่วง 3-6 เดือน) ได้แก่ อาหารและครือ่ งดื่ม เคมีภัณฑ์
พลังงานเครื่องใช้ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องจักรกล การขนส่งผู้โดยสารและสินค้าทางบก
และทางเรือ บริการธุรกิจ รับเหมาก่อสร้าง กลุ่มนี้จะได้อานิสงส์จากการฟื้นตัวแบบค่อยเป็น
ค่อยไปจากการคลายล็อกดาวน์ของตลาดในประเทศและตลาดส่งออก ต้องอาจใช้เวลา
พอสมควรกว่าการคลายล็อกดาวน์จะครอบคลุมทั้งในประเทศและต่างประเทศ และช่วยให้
ธุรกิจเหล่านี้ทยอยจ้างงานเพิ่มขึ้นในช่วง 6 เดือนข้างหน้า จากการจ้างงานปกติอยู่ที่ 6.4
ล้านคน หรือมีสัดส่วน 39.5% กระจายตัวไปในธุรกิจบริการทางธุรกิจ รับเหมาก่อสร้างและ
อาหารเครื่องดื่ม

สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
3. กลุ่มธุรกิจฟื้นแบบ L-Shape (มากกว่า 6 เดือน) ได้แก่ โรงแรม ร้านอาหาร ธุรกิจการบิน
ธุรกิจบันเทิงและการกีฬา ยานยนต์และชิ้นส่วน อสังหาริมทรัพย์ เฟอร์นิเจอร์ สินค้าแฟชั่น
เหล็ก ยางพารา คาดว่ากลุ่มนี้อาจจะฟื้นตัวไม่ทันปีนี้ แม้ว่าปลดล็อกดาวน์แล้วแต่ยังคงได้
ผลกระทบจากโควิด-19 จากมาตการรัฐและพฤติกรรมของผู้คนเพื่อป้องกันการแพร่ระบาด
และติดเชื้อ และที่สาคัญกลุ่มนี้ยังได้รับผลกระทบจากปัจจัยด้านกาลังซื้อที่หดหายไป รวมถึง
ปัจจัยเสี่ยงภายในธุรกิจจากภัยธรรมชาติ การแข่งขันภายในธุรกิจ การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี
กฎระเบียบของภาครัฐ ฯลฯ คาดว่าในปี 2564 ธุรกิจเหล่านี้จะกลับมาจ้างงานได้ในระดับ
ใกล้เคียงกับปี 2562 ที่จานวน 5 ล้านคน หรือมีสัดส่วน 30.9% กระจายไปอยู่ในธุรกิจร้าน
โรงแรมร้านอาหาร อสังหาริมทรัพย์และกลุ่มยานยนต์

สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
แนวทางการวางแผนและบริหารจัดการองค์กรในภาวะวิกฤต 5 ข้อ
1. Resolve จัดการกับความท้าทายที่ส่งผลกับลูกจ้าง ลูกค้า ธุรกิจ เทคโนโลยี
และออกมาตรการพื้นฐานเพื่อปกป้องสภาพคล่อง เช่น นโยบายสาหรับลูกจ้าง
โดยให้ทางานจากที่บ้าน หรือเพิ่มระยะห่างทางสังคมในที่ทางาน และการดูแล
ความปลอดภัยของพนักงาน ซึ่งการเปลี่ยนแปลงนี้ส่งผลให้เกิดความเครียดและ
ทาให้ประสิทธิภาพในการทางานลดลง ตัวอย่างแนวทางการแก้ไขคือ การจัดทีม
ขนาดเล็กที่มีประสิทธิภาพ การตั้งเป้าหมายการบริหารงานแบบให้ทางานทางไกล
ได้ (Remote Working) โดยมีเป้าประสงค์ชัดเจน และ การนาเทคโนโลยีมาช่วย
เพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน
สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
•2. Resilience ความรวดเร็วในการตอบสนองและวินัย คือปัจจัยสาคัญในการตอบ
รับกับความท้าทาย จากการบริหารการเงินในระยะสั้น และเป็นสิ่งที่ควรเรียนรู้จาก
องค์กรที่รอดพ้นจากวิกฤติการตกต่าทาง เศรษฐกิจในอดีต บริษัทเหล่านี้ไม่ได้ประสบ
ความสาเร็จในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจจากการมีทุนเดิมอยู่ แต่เป็นการ ปรับตัวต่อวิกฤต
ซึ่งมี 6 ขั้น ได้แก่
2.1 ระบุและจัดลาดับความเสีย่ ง
2.2 สร้างแบบจาลองสถานการณ์ (Scenarios) จากความเสี่ยงขั้นสูงสุด
2.3 ทาการทดสอบความสามารถในการรับผลกระทบทางการเงินที่หน่วยงานทนรับได้ (Financial Stress Test)
2.4 ระบุแนวทางการดาเนินงาน,
2.5 เพิ่มความโปร่งใสและการบริหารการเงินที่รัดกุม
2.6 สร้าง ศูนย์รวมข้อมูล (Dashboard) เพื่อติดตามตัวชี้วัดที่สาคัญ
สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
3. Return วางแผนการกลับมาทางานในภาวะปกติอย่างละเอียด โดยเริ่มต้นจากการติดตาม
สถานการณ์ อย่างใกล้ชิดว่ามีจานวนผู้ติดเชื้อที่ลดลง มาตรการจากภาครัฐที่ให้มีการกักตัวที่
ผ่อนคลายลง มีชุดทดสอบโรค ใช้อย่างกว้างขวางและทราบผลอย่างรวดเร็ว หรือมีวัคซีน
ป้องกันโรคที่ใช้ได้ผล หากสถานการณ์คลี่คลายลง จึงนาไปสู่การพิจารณาการดาเนินการ
ระดับองค์กรเพื่อปกป้องลูกจ้าง โดยมีมาตรการ เช่น วัดไข้ ล้างมือบ่อยๆ สร้างความมั่นใจแก่
ลูกค้าว่าองค์กรมีมาตรการที่รัดกุม เช่น มีเจลฆ่าเชื้อ กลับมาทางานร่วมกับหน่วยงานในห่วง
โซ่อุปทาน (Supply Chain) โดยพยายามกระจายห่วงโซ่อุปทานออกไปยังภูมิภาคต่างๆเพื่อ
เป็นการลดความเสี่ยง จากนั้นจึงพิจารณาผลกระทบจากการหยุดชะงักทางธุรกิจ และ
พิจารณาว่าต่อไปควรดาเนินธุรกิจแบบเดิม หรือปรับปรุงแนวทางการดาเนินงานไปอย่างไร

สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
•4. Reimagination จินตนาการว่า สภาพสังคมใหม่หลังจากโควิด-19 หรือ
“next normal” จะเป็นไป ในรูปแบบใด การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ส่งผล
อย่างไร และองค์กรควรปรับตัวอย่างไร เช่น การเปลี่ยนรูปแบบ ของการ
สาธารณสุขให้ครอบคลุมโดยใช้เทคโนโลยีต่างๆ เข้ามาช่วย เช่น ระบบ
ปัญญาประดิษฐ์ (AI) และการใช้ ระบบการแพทย์ทางไกล (Telemedicine)
ทั้งนี้ ต้องพึงระลึกว่าการปรับให้เข้าสู่ “new normal” เป็นเรื่องที่ ยาก
•5. Reform ภาครัฐจาเป็นต้องเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องกับการปฏิรูปกฎระเบียบ
ต่างๆ เพื่อให้การทาางานมี ประสิทธิภาพสูงขึ้น เช่น การลดข้อจากัดทาง
การค้า (trade barriers) และ การกาหนดและปกป้องสิทธิของ แรงงานใน
การทางานแบบทางไกล (Remote Working) หรือการทางานจากบ้าน
(Work
สำหรั From
บงานสั Home)
มมนา เป็นand
Logistics ต้นSupply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0
Thank you

สำหรับงานสัมมนา Logistics and Supply Chain Innovation for Industry & LSP 4.0

You might also like