You are on page 1of 4

สั นนิบาตชาติ

ผู้ก่อตั้ง
สันนิบาตชาติเป็ นองค์การรักษาสันติภาพองค์การแรกที่ถูกตั้งขึ้นมา โดยถูกก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 10
มกราคม ค.ศ. 1920 ภายหลังจากการประชุมสันติภาพปารี ส ซึ่งสงครามโลกครั้ งที่หนึ่งได้ยตุ ิลง
ในปี ค.ศ. 1919 วูดโรว์ วิลสัน ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพจาก
บทบาทของเขาในฐานะผูก้ ่อตั้งสันนิบาตชาติ
(ที่มา https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA
%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%8A
%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4 )

ประวัตคิ วามเป็ นมาขององค์ การสั นนิบาตชาติ

บุคคลสำคัญในองค์ กรสั ญนิบาตชาติ


1. ประธานธิปดีวูดโรว์ วิลสั นแห่ งสหรัฐอเมริกา
ประธานาธิบดีวดู โรว์ วิลสันแห่งสหรัฐอเมริ กาเป็ นบุคคลสำคัญที่มีส่วนทำให้สนั นิบาตชาติเป็ น
ความจริ งขึ้นมา การตั้งสันนิบาตชาติเป็ นหนึ่งในหลักการสิ บสี่ ขอ้ ของวิลสัน ซึ่งข้อ 14 ระบุวา่
การรวมตัวกันของประชาชาติควรจะถูกก่อตั้งขึ้นภายใต้พนั ธะที่แน่นอนเพื่อจุดประสงค์ที่
สามารถให้ความช่วยเหลือกันได้กบั ทุกฝ่ าย และให้การรับรองแก่รัฐที่มีขนาดเล็กกว่าเทียบ
เท่ากับตนเอง โดยการจัดตั้งองค์การสันนิบาตชาติข้ ึนมา[13] โดยในระหว่างการประชุมสันติภาพ
ที่ปารี ส ซึ่งมีสามประเทศใหญ่ผชู้ นะสงครามเข้าร่ วมคือ อเมริ กา ฝรั่งเศส สหราชอาณาจักร แนว
ความคิดการก่อตั้งสันนิบาตชาติของวิลสันได้รับการยอมรับ และกลายเป็ นส่ วนหนึ่งของสนธิ
สัญญาแวร์ซายส์

รัฐสมาชิก
1. สมาชิกที่เข้าร่ วมทั้งหมด คือ 58 ประเทศ
2. เมื่อเริ่ มต้นมีรัฐสมาชิกร่ วมก่อตั้งสันนิ บาต 42 ประเทศ แต่มีเพียง 23 ประเทศเท่านั้นที่เป็ น
สมาชิกจนกระทัง่ ยุบสันนิบาตในปี ค.ศ. 1946 ซึ่งประเทศไทยรวมอยูใ่ นประเทศเหล่านี้ดว้ ย

โครงสร้ างหลัก
โครงสร้างหลักขององค์กรที่สำคัญมีอยู่ 3 หน่วยงานคือ
องค์กรที่สำคัญมี 3 องค์กรคือ:

 สมัชชา (Assembly) เป็ นที่ประชุมใหญ่ขององค์การ ประกอบด้วยผูแ้ ทนของประเทศ


สมาชิกทั้งหมด มีหน้าที่พิจารณาปัญหาต่าง ๆ ที่อาจส่ งผลกระทบต่อสันติภาพของโลก
 คณะมนตรี (Council) ทำหน้าที่ควบคุมสมัชชา ประกอบด้วยสมาชิกถาวร 4 ประเทศ คือ
ฝรั่งเศส อังกฤษ อิตาลี และญี่ปุ่น และสมาชิกประเภทไม่ถาวรที่มาจากการเลือกตั้งอีก 4
ประเทศ ทำหน้าที่พิจารณาเรื่ องต่าง ๆ ที่เป็ นภัยคุกคามต่อสันติภาพและปฏิบตั ิตามข้อ
เสนอแนะของสมัชชา ทั้งนี้มติของคณะมนตรี ซ่ ึงเป็ นมติสูงสุ ด จะต้องเป็ นฉันทามติ
เท่านั้นจึงสามารถบังคับใช้ได้ ซึ่งเป็ นเหตุผลที่ท ำให้สนั นิบาตล่มเมื่อญี่ปุ่นและอิตาลี
กลับกลายเป็ นผูค้ ุกคามสันติภาพเสี ยเองในเวลาต่อมา
 สำนักงานเลขาธิการ (Secretary-General) เลขาธิการที่ได้รับเลือกมีหน้าที่จดั ทำรายงาน รักษา
เอกสาร อำนวยการวิจยั และประสานงานกับฝ่ ายต่าง ๆ

ความสำเร็จและความล้มเหลวขององค์การสั นนิบาตชาติ
1. ความสำเร็จ

 สามารถแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับเรื่ องสิ ทธิมนุษยชน ปัญหาแรงงาน การค้าทาส สิ ทธิ


สตรี และปัญหาที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด
 เป็ นจุดเริ่ มต้นขององค์กรหรื อหน่วยงานมากมายที่เกิดขึ้นมาภายหลังจากการที่องค์กร
สันนิบาตชาติโดนยุบและกลายเป็ นองค์กรที่ต่อเนื่องในองค์กรสหประชาชาติแทน
2. ความล้ มเหลว

 สันนิบาตล้มเหลวในการแทรกแซงความขัดแย้งมากมายที่น ำไปสู่ สงครามโลกครั้งที่สอง รวมทั้ง


การรุ กรานอบิสซิเนียของอิตาลี สงครามกลางเมืองสเปน และสงครามจีน -ญี่ปุ่นครั้งที่สอง

สั นนิบาตชาติสู่ องค์ การสหประชาชาติ


หน่วยงานที่เคยสังกัดในองค์การสันนิบาตชาติ ซึ่งเมื่อองค์การสันนิบาตชาติถูกยุบไปก็ได้ถ่าย
โอนหน้าที่ไปอยูใ่ นสังกัดของสหประชาชาติแทน
 ศาลยุติธรรมถาวรระหว่างประเทศ (ต่อมากลายเป็ นศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ) ทำหน้าที่พิจารณา
คดีและตัดสิ นข้อพิพาทระหว่างประเทศ
 องค์การแรงงานระหว่างประเทศ มีผลงานโดดเด่นได้แก่ การรณรงค์ให้ท ำงานแปดชัว่ โมงต่อวัน
การรณรงค์คดั ค้านแรงงานเด็ก และสนับสนุนสิ ทธิ ของผูห้ ญิงในสถานที่ท ำงาน
 องค์การอนามัย (ต่อมากลายเป็ นองค์การอนามัยโลก) มีผลงานโดดเด่นทางด้านการต่อสู ้โรคเรื้ อน
มาลาเรี ย ไข้เหลือง และไข้รากสาดใหญ่
 คณะกรรมการทาส ทำหน้าที่ขจัดระบอบทาสและการบังคับขายประเวณี โดยเฉพาะในประเทศ
อาณานิคม
 คณะกรรมการเพื่อผูล้ ้ ีภยั มีผลงานโดดเด่นคือการนำเชลยศึกสงคราม 427,000 คน จากประเทศรัสเซี ย
ส่ งกลับประเทศดั้งเดิม 26 ประเทศ
 คณะกรรมการเศรษฐกิจและการเงิน
 คณะกรรมการดูแลดินแดนใต้อาณัติสนั นิบาต (ดูที่ดินแดนใต้อาณัติ)
 คณะกรรมการศึกษาสถานะทางกฎหมายของสตรี ต่อมากลายเป็ นคณะกรรมการเพื่อสถานะของ
สตรี ในสหประชาชาติ
 คณะกรรมการการสื่ อสารและคมนาคม มีผลงานจัดตั้งอนุสญ ั ญาเพื่อควบคุมท่าเรื อ น่านน้ำ และทาง
รถไฟ ระหว่างประเทศ
 คณะกรรมการเพื่อความร่ วมมือทางปั ญญา (ต่อมากลายเป็ นองค์การยูเนสโก) ทำหน้าที่ปกป้ อง
ทรัพย์สินทางปัญญา สนับสนุนความร่ วมมือระหว่างมหาวิทยาลัย การแลกเปลี่ยนวารสารและสิ่ งตี
พิมพ์ระหว่างประเทศ

ดินแดนใต้ อาณัติ
เป็ นดินแดนที่ได้มาจากประเทศที่แพ้สงครามแล้วไปอยูใ่ นความดูแลของสันนิบาตชาติ
แต่สนั นิบาตชาติไม่ได้เป็ นคนที่ดุแลโดยตรงแต่ผา่ นเหล่าประเทศมหาอำนาจหรื อประเทศที่เป้ น
ฝ่ ายชนะสงครามโลกครั้งที่ 1 จะเป็ นประเทสที่ปกครองดินแดนต่าง ๆ ใต้อาณัติของสันนิบาต
ได้แก่ สหราชอาณาจักร, สหพันธ์แอฟริ กาใต้, ฝรั่งเศส, เบลเยียม, นิวซีแลนด์, ออสเตรเลีย และ
ญี่ปุ่น

You might also like