You are on page 1of 20

บทที่ 2

องค ์การระหว่างประเทศ

ผศ.ศรุตม ์ เพชรสกุลวงศ ์
ภาควิชาสาร ัตถศึกษ คณะศิลปศาสตร ์
4.1 องค ์การสหประชาชาติ
(United Nations or UN)
• หลัง WWI ได ้มีการตังองค้ ์การสันนิ บาตชาติขน ึ้
• แต่ประสบความล ้มเหลว จนเกิด WWII ขึน้
4.1.1 ประวัตก ิ ารก่อตัง้
• 14/8/1941 วินสต ัน เชอร ์ชิลล ์&แฟรงกลิน

ดี รู สเวลต ์ เห็นพอ้ งว่าควรจะจัดตังองค ่
์กรเพือ
ร ักษาสันติภาพ
• นาไปสูก ่ ารทากฎบัตรแอตแลนติก ซึงเป็ ่ นคา
ประกาศหลักการร่วมกันเพือสั ่ นติสข ุ ของโลก มี
ร ัฐบาล 10 ประเทศได ้แก่ โซเวียต เบลเยียม เชก
4.1.1 ประวัติการก่อตัง้
้ั
• 1/1/1942 “สหประชาชาติ” ใช ้ครงแรกในเอกสาร
คาประกาศแห่งสหประชาชาติ โดยมีสหร ัฐฯ
อังกฤษ โซเวียต และจีน ลงนาม
• ต่อมามีการจัดการประชุมระหว่างประเทศ
มหาอานาจอีกหลายครง้ั

• 10/1943 ประชุมทีมอสโก 11-12/1943 ประชุมที่
เตหะราน
่ ลตา ตกลงเรืองการออกเสี
• 2/1945 ประชุมทียั ่ ยงใน
คณะมนตรีฯ

การประชุมทีซานฟ
รานซิสโก1945

สานักงานใหญ่ที่
นิ วยอร ์ก
4.1.2 จุดมุ่งหมายของ
สหประชาชาติ

1. ร ักษาสันติภาพและความมันคงระหว่างประเทศ

และเพือปราบปรามการรุ กรานหรือการล่วงละเมิด
่ ต่อสันติภาพ
อืนๆ
2. พัฒนาความสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติ
เคารพต่อหลักการแห่งสิทธิทเท่ ี่ าเทียมกัน
3. ร่วมมือกันแก ้ปัญหาระหว่างประเทศในทาง
เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และมนุ ษยธรรม
4. เป็ นศูนย ์กลางสาหร ับประสานการดาเนิ นการ
้ั
ของประชาชาติทงปวงในอั ่
นทีจะบรรลุสจ
ู่ ด
ุ หมาย

4.1.3 สมาชิก
• สมาชิกภาพขององค ์การสหประชาชาติมี 2
ประเภท คือ
้ ม คือประเทศทีร่่ วมประชุมที่
• สมาชิกประเภทดังเดิ
่ ทงหมด
ซานฟรานซิสโก ซึงมี ้ั 51 ประเทศ
่ ครใหม่ภายหลัง คือสมาชิกภายหลังที่
• สมาชิกทีสมั
ยอมร ับระเบียบสหประชาชาติ และได ้ร ับการ
ร ับรองจากสมัชชาคะแนน 2 ใน 3
• ในปัจจุบนั (10/2011) UN มีสมาชิกรวม 193
ประเทศ
4.1.4 ประเทศไทยกับสหประชาชาติ
• ประเทศไทยเป็ นสมาชิกลาดับที่ 55 เมือวั
่ นที่
16/12/1946
• ไทยเป็ นศูนย ์กลางของหน่ วยงานขององค ์การ
สหประชาชาติและองค ์กรระหว่างประเทศต่างๆ ใน
ภูมภ ิ าคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต ้
่ งขององค
• เป็ นทีตั ้ ์กรในระดับภูมภ
ิ าคและสานักงาน
ของหน่ วยงานต่างๆของสหประชาชาติถงึ 16
องค ์กร
4.2 ระบบการบริหารขององค ์การ
สหประชาชาติ
• 4.2.1 องค ์กรหลักประกอบด ้วย
1.สมัชชาใหญ่ คือ ทีประชุ่ มใหญ่ของสมาชิกทัง้
่ าเสนอ ถกเถียง โต ้แย ้ง แสดง
193 ประเทศ เพือน
ความเห็น แต่ละประเทศมีสท ิ ธิในการออกเสียง
ประเทศละ 1 เสียงเท่าเทียมกัน
2.คณะมนตรีความมันคง ่ ทาหน้าทีร่ ักษา
สันติภาพของโลก (เสมือนเป็ นกรรมการตัดสิน
่ ยวกั
ปัญหาทีเกี ่ บความมั่นคง) ประกอบด ้วย
• 1. สมาชิกถาวร มี 5 ชาติ: สหร ัฐฯ อังกฤษ
่ มคณะมนตรีความมั่นคงถาวร
ทีประชุ
4.2 ระบบการบริหารขององค ์การ
สหประชาชาติ
• 2. สมาชิกไม่ถาวร ประกอบด ้วยสมาชิก 10
ประเทศ มีวาระครงละ้ั 2 ปี สมาชิกไม่ถาวรไม่มส ิ ธิ ์
ี ท
ใช ้อานาจยับยัง้ ประเทศไทยเคยได ้ร ับเลือกให ้ดารง
ตาแหน่ งสมาชิกไม่ถาวรในระหว่าง ค.ศ. 1985-
1986
3.คณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคม มีหน้าทีให ่ ้
คาเสนอแนะในการแก ้ปัญหาด ้านสังคมและ
เศรษฐกิจ
4.คณะกรรมการภาวะทร ัสตี ดูแลดินแดนทียั ่ ง
4.2 ระบบการบริหารขององค ์การ
สหประชาชาติ
• ปัจจุบน
ั มีเลขาธิการสหประชาชาติ 8 ท่าน ได ้แก่
• 1.นายทริกเว ลี ชาวนอร ์เวย ์
ค.ศ.1946-1952
• 2.นายดัก๊ ฮัมมาโชลด ์ ชาวสวีเดน
ค.ศ.1953-1961
• 3.นายอู ถัน่ ชาวพม่า ค.ศ.1961-1971
• 4.นายเคิร ์ต วอลด ์ไฮม ์ ชาวออสเตรีย
ค.ศ.1972-1981
• 5.นายฮาเวียร ์ เปเรส เดอ เควยาร ์ ชาวเปรู
4.2.2 ทบวงการชานาญพิเศษ
• ปฎิบตั งิ านเฉพาะสาขา มีคณะมนตรีเศรษฐกิจและ
สังคมกับสมัชชาใหญ่คอยประสานงาน องค ์การ
่ าคัญ มี 9 องค ์การได ้แก่
ทีส
• - องค ์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ
(FAO)
• มีหน้าที่ คือ ให ้อาหารแก่ชาวโลกเพือขจั
่ ดความ
ขาดแคลน สนับสนุ นการพัฒนาเกษตร ปร ับปรุง
การทาประมง
• - องค ์การศึกษาวิทยาศาสตร ์และวัฒนธรรมแห่ง
4.2.2 ทบวงการชานาญพิเศษ
• - องค ์การอนามัยโลก (WHO) มีบทบาทและหน้าที่
คือ ต่อต ้านโรคและควบคุมการแพร่ของโรค
ช่วยเหลือและฟื ้ นฟูสข
ุ ภาพอนามัยของผูป้ ่ วย
เผยแพร่ขา่ วการกาจัดโรค และวิจยั วิธก
ี ารร ักษา
โรค
• - กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) มีบทบาท
และหน้าที่ จัดระบบการเงินโลก กากับกติการทาง
เศรษฐกิจของโลก และสร ้างเสถียรภาพเงินซึงเป็ ่ น
เงินสารองระหว่างประเทศ

4.2.2 ทบวงการชานาญพิเศษ

• - ทีประชุ
มสหประชาชาติเรืองการค ่ ้าและการ
พัฒนา (UNCTAD) ร ับผิดชอบเรืองการค ่ ้า
การเงิน การลงทุน วิเคราะห ์สภาวะเศรษฐกิจโลก
และให ้ความช่วยเหลือทางวิชาการแก่ประเทศ
กาลังพัฒนา
• ไทยเป็ นเจ ้าภาพประชุมอังค ์ถัด ครงที ้ั ่ 10 เมือ่
2/2000
• ดร.ศุภช ัย พานิ ชภักดิ ์ เป็ นเลขาธิการตังแต่้
ค.ศ.2005 ถึงปัจจุบน ั
4.2.2 ทบวงการชานาญพิเศษ
• - สานักงานบรรเทาทุกข ์และจัดหางานของ
สหประชาชาติ สาหร ับผู ้ลีภั ้ ยปาเลสไตน์ ใน
ตะวันออกใกล ้ (UNRWA) เป็ นองค ์การทีให ่ ้ความ
ี ้ ยชาวปาเลสไตน์
ช่วยเหลือด ้านต่างๆ แก่ผูล้ ภั
โดยเฉพาะ
• - องค ์การพัฒนาอุตสาหกรรมแห่งสหประชาชาติ
(UNIDO) มีวต ั ถุประสงค ์สาคัญเพือส่่ งเสริมและ
เร่งร ัดการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศกาลัง
พัฒนาโดยเฉพาะ
4.2.3 องค ์การอิสระระหว่างประเทศ
• - ศาลยุตธิ รรมระหว่างประเทศ (ICJ) ทาหน้าที่
พิจารณาคดีระหว่างประเทศ ทีคู ่ ก
่ รณี ยอมนา
กรณี เข ้าสูก่ ารพิจารณาของศาลระหว่างประเทศ
เช่น กรณี เขาพระวิหารระหว่างไทยกับกัมพูชา
• - ทบวงการพลังงานปรมาณู ระหว่างประเทศ
(IAEA) ทาหน้าทีส่ ่ งเสริมความร่วมมือด ้านการใช ้
พลังงานปรมาณู เพือสั ่ นติ
• ในปัจจุบน ั มีบทบาทตรวจสอบการพัฒนาอาวุธ

นิ วเคลียร ์ทัวโลก เช่น อิร ัก อิหร่าน และเกาหลี
เหนื อ
4.3 ผลงานขององค ์การ
สหประชาชาติ
• 4.3.1 การระงับกรณี พพ ิ าทระหว่างประเทศ
โดยส่งกองกาลังจากประเทศสมาชิกเข ้าร่วมรบ

หรือตรึงกาลังของทังสองฝ่ ่ านมา
ายไว ้ ผลงานทีผ่
เช่น สงครามเกาหลี สงครามตะวันออกกลาง
สงครามกลางเมืองในบอสเนี ย สงครามในติมอร ์
ตะวันออก เป็ นต ้น
• 4.3.2 สหประชาชาติเป็ นเวทีในการต่อสู ้
ระหว่างกลุ่มต่างๆ ทาให ้คูก ่ รณี ระบายความ
กดดันในเวทีของ UN
• - เป็ นเวทีตอ
่ สู ้ในช่วงสงครามเย็น โดยการใช ้สิทธิ
4.3 ผลงานขององค ์การ
สหประชาชาติ
• - การขจัดปัญหาความยากจนและความอดอยาก
ในประเทศทีล ่ ้าหลังและด ้อยพัฒนาซึงไม่
่ อาจช่วย
ตนเองได ้
• - การฟื ้ นฟูสงั คมในประเทศด ้อยพัฒนา โดย
ช่วยเหลือผ่านองค ์การเช่น UNICEF WHO และ
UNESCO เป็ นต ้น
• - ช่วยเหลือด ้านมนุ ษยธรรม เช่น ช่วยเหลือ

ประชาชนทีอดอยากในเอธิ โอเปี ย ช่วยชาว
กัมพูชาและบอสเนี ย เพราะสงครามกลางเมือง
• - การอนุ ร ักษ ์ศิลปะและวัฒนธรรม เช่น UNESCO

You might also like