You are on page 1of 20

หลักภาษาไทย ม.6 โดย อ.

เปา
โครงสร้ างของภาษาที่แสดงเหตุผล
การใช้ ภาษาเพื่อแสดงเหตุผล จะต้ องมีสว่ นประกอบครบ 2 ส่วน คือ ข้ อสรุป + ข้ อสนับสนุน
ข้ อสรุป หมายถึง ข้ อความที่บอกให้ ร้ ูวา่ เกิดอะไรขึ ้น
ข้ อสนับสนุน หมายถึง ข้ อความที่บอกให้ ร้ ูวา่ เกิดขึ ้นได้ อย่างไร เช่น
น ้าท่วม เพราะ ฝนตกหนัก
( ข้ อสรุป / ผลลัพธ์ / เกิดทีหลัง ) ( ข้ อสนับสนุน / สาเหตุ / เหตุผล / เกิดก่อน )
น ้าท่วม เพราะ ภราดรแพ้ อีกแล้ ว

ข้ อสอบ

1. ข้ อใดมีการใช้ เหตุผล ( Onet/51 )


1. ศึกษาอย่างถูกวิธี ที่ยากก็จะกลายเป็ นง่าย
2. คนเรามักจะขาดความพอดีในเรื่ องการพักผ่อน
3. การเรี ยนที่แท้ นนมิ
ั ้ ได้ จากัดอยูเ่ ฉพาะในมหาวิทยาลัย
4. ครูของเราได้ แก่บุคคลและเหตุการณ์ตา่ งๆที่เกี่ยวข้ องกับชีวิตเรา
2. ข้ อใดเป็ น โครงสร้ าง ของการแสดงเหตุผลในข้ อความต่อไปนี ้ ( Onet/51 )
“ ภาษาท้ องถิ่นในประเทศของเราเป็ นภาษาสาคัญ ที่พวกเราพึงอนุรักษ์ ไว้ มิให้ เพี ้ยน กลาย หรื อสูญไป /
เพราะภาษาท้ องถิ่นเป็ นเครื่ องบ่งบอกถึงขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมของท้ องถิ่นนัน้ / และยังทา
ให้
เห็นสภาพสังคมของถิ่นอีกด้ วย
1. ข้ อสรุป / ข้ อสรุป / ข้ อสนับสนุน 2. ข้ อสนับสนุน / ข้ อสนับสนุน / ข้ อสรุป
3. ข้ อสรุป / ข้ อสนับสนุน / ข้ อสนับสนุน 4. ข้ อสนับสนุน / ข้ อสรุป / ข้ อสนับสนุน
1. ข้ อใดเป็ นประโยคที่ไม่สมั พันธ์ กนั ( มข./51 )
1. เขามีความเฉียบแหลม แยบคายทางธุรกิจ เสียดายที่ไม่ยอมเอาดีด้านนี ้
2. เขาไม่เพียงแต่เป็ นนักการทูตที่สามารถ ยังแสดงการลดหลัน่ เชิงชันทางการปกครอง

3. การศึกษาช่วยให้ ชีวิตเราดีขึ ้น และอาจทาให้ เราเป็ นคนโดยสมบูรณ์ ดังนันทุ ้ กคนจึงควรเร่งศึกษาและ
ขวนขวาย
4. เพราะจะเลือกประธานในวันรุ่งขึ ้น วันนี ้ทังฝ่้ ายการเมือง ฝ่ ายนิติบญ ั ญัติ จึงระดมสรรพวิทยายุทธกัน
เต็มที่
2. ข้ อใดเป็ นการแสดงเหตุผลที่สมเหตุสมผล ( มข./51 )
1. กาแฟเป็ นสิง่ เสพติดชนิดหนึง่ ชาไม่ใช่กาแฟ เพราะฉะนันชาไม่ ้ ใช่สงิ่ เสพติด
2. ชาวเหนือเป็ นคนยิ ้มแย้ มแจ่มใส คนเชียงใหม่เป็ นชาวเหนือ ฉะนันคนเชี ้ ยงใหม่เป็ นคนยิ ้มแย้ มแจ่มใส
3. ดอกกุหลาบแดงเป็ นสัญลักษณ์ของความรัก ฉันได้ รับดอกกุหลาบแดง แสดงว่าฉันได้ รับสัญลักษณ์ของ
ความรักมาแล้ ว
4. ผู้ออกกาลังกายสม่าเสมอจะแข็งแรง ทุกคนในครอบครัวฉันออกกาลังกายสม่าเสมอ ดังนันทุ ้ กคนใน
ครอบครัวฉันจึงแข็งแรง
3. ข้ อใดกล่าวถึงข้ อความที่กาหนดให้ นี ้ได้ ถกู ต้ อง ( มข./51 )
“ กาลวงว่าหงส์ให้ ปลงใจ ด้ วยมิได้ ดหู งอนแต่ก่อนมา “
1. แสดงทรรศนะ 2. แสดงเหตุผลอย่างสมเหตุสมผล
3. อธิบายจากผลไปหาเหตุ 4. อนุมานจากผลลัพธ์ ย้อนไปหาสาเหตุ
1. ข้ อใดมีการแสดงเหตุผล ( Onet/50 )
1. บ้ านเมืองสะอาด ประชาชาติปลอดโรค 2. เติมน ้ามันทีไร ขับไปได้ หน่อยเดียว
3. รักชาติศาสน์กษัตริ ย์ เป็ นคุณสมบัติของคนไทย 4. ภูมิปัญญาไทย ขอจงร่วมใจส่งเสริ ม
2. ข้ อความต่อไปนี ้มี โครงสร้ างการแสดงเหตุผล ตามข้ อใด ( Onet/50 )
“ (1) การใช้ พลังงานอย่างผิดวิธีของเด็ก มักเกิดจากความไม่ร้ ูและไม่เข้ าใจ (2) เนื่องจากเขาไม่ได้ เรี ยน
รู้วิธีการประหยัดพลังงานที่ถกู ต้ อง (3) และไม่ได้ ฝึกให้ เคยชินเป็ นนิสยั “
1. (1) และ (2) เป็ นข้ อสรุป (3) เป็ นข้ อสนับสนุน
2. (1) และ (2) เป็ นข้ อสนับสนุน (3) เป็ นข้ อสรุป
3.. (1) เป็ นข้ อสรุป (2) และ (3) เป็ นข้ อสนับสนุน
4. (1) เป็ นข้ อสนับสนุน (2) และ (3) เป็ นข้ อสรุป
1. ข้ อใดมีเนื ้อความ ไม่ สมเหตุสมผล ( มข./49 )
1. ความอดทนเป็ นพื ้นฐานของความสาเร็ จ คนที่ล้มเหลวส่วนใหญ่เพราะไม่ขยันมากพอ
2. บางครัง้ การย้ อนกลับไปดูเส้ นทางเดินของตนเอง นอกจากจะเป็ นการให้ ความบันเทิงใจแล้ ว
ยังเป็ นการถือโอกาสทบทวนชีวิตของตนเอง เพื่อเป็ นบทเรี ยนในอนาคตด้ วย
3. ยิ่งโลกเจริ ญขึ ้นเท่าใด คนก็ยิ่งต้ องหาพวกหารากของตนเอง เป็ นที่ยดึ เกาะเท่านัน้ ยิ่งเราถูกกีดกัน
ถูกระบบการแข่งขันบีบเท่าไร เราก็ยิ่งต้ องการกลับไปหารากเหง้ าของเรา ผ่านวัฒนธรรมมากขึ ้น
เท่านัน้
4. การร้ องเพลงกลายมาเป็ นทักษะทางสังคมที่จาเป็ นอีกประการหนึง่ ในทุกวันนี ้ ดังนันถ้ ้ าจะฝึ กไว้ หากินสัก
2 – 3 เพลงบ้ าง นอกจากจะช่วยให้ รอดตายในกรณีปฏิเสธไม่ได้ แล้ ว ยังเพิ่มเสน่ห์ได้ อีกทางหนึง่ ด้ วย
2. ข้ อความต่อไปนี ้มี โครงสร้ างการแสดงเหตุผล ตามข้ อใด ( มข./49 )
“ (1) ใครอยากมีความสุข อายุยืน และดูอ่อนเยาว์กว่าอายุจริ ง และเป็ นที่รักของบุคคลทัว่ ไป ก็ต้องฝึ ก
ตนให้ มีอารมณ์ขนั มีรอยยิ ้ม มีเสียงหัวเราะ และมีความรัก (2) ทังนี ้ ้เพราะอารมณ์ขนั เป็ นยา
อายุวฒ ั นะ
รอยยิ ้ม เสียงหัวเราะเป็ นระฆังของความสุข และความรักก็เป็ นพลังให้ กายและใจแจ่มใส (3) และที่
สาคัญคือ ไม่ต้องเสียเงินซื ้อยาอายุวฒ ั นะใดๆ หากแต่จะมีคนมาถามหาสูตรจนตอบไม่ไหวทีเดียว “
1. (1) เป็ นข้ อสนับสนุน (2) (3) เป็ นข้ อสรุป 2. (1) เป็ นข้ อสรุป (2) (3) เป็ นข้ อสนับสนุน
3. (1) (3) เป็ นข้ อสนับสนุน (2) เป็ นข้ อสรุป 4. (1) (3) เป็ นข้ อสรุป (2) เป็ นข้ อสนับสนุน
3. คาขวัญข้ อใดแสดงเหตุผล ( Onet/49 )
1. ลูกมากจะยากจน 2. เด็กวันนี ้คือผู้ใหญ่ในวันหน้ า
3. น ้าไหล ไฟสว่าง ทางดี มีงานทา 4. เด็กดีเป็ นศรี แก่ชาติ
4. ข้ อใดมีเนื ้อความ ไม่ สมเหตุสมผล ( Onet/49 )
1. ประเพณีรับน้ องใหม่ควรอนุรักษ์ ไว้ เพราะเป็ นประเพณีที่สบื ทอดกันมานาน แต่ต้องเป็ นไปในทาง
สร้ างสรรค์
2. การเข้ าแถวเคารพธงชาติในตอนเช้ า จะช่วยปลุกสานึกให้ เกิดความรักและภูมิใจในชาติ
3. การปฏิบตั ิตามกฎจราจรอย่างเคร่งครัด จะช่วยลดการเกิดอุบตั ิเหตุได้ มาก
4. การออกกาลังกายในตอนเช้ าดีตอ่ สุขภาพ เพราะเป็ นช่วงเวลาที่คนไม่พลุกพล่านมากนัก
5. ข้ อความต่อไปนี ้มีโครงสร้ างการแสดงเหตุผลตามข้ อใด ( Onet/49 )
“ (1) ความสนุกเกิดจากใจและกายที่สอดคล้ องกันเป็ นอันหนึง่ อันเดียว (2) ใจอยากสนุก ร่างกายไม่
เป็ นใจ ก็นกึ สนุกไม่ได้ (3) ในทางกลับกัน ร่างกายพร้ อมที่จะสนุก ใจไม่เป็ นไปด้ วย ก็หมดโอกาสสนุก “
1. (1) เป็ นข้ อสรุป (2) (3) เป็ นข้ อสนับสนุน 2. (1) เป็ นข้ อสนับสนุน (2) (3) เป็ นข้ อสรุป
3. (1) (3) เป็ นข้ อสรุป (2) เป็ นข้ อสนับสนุน 4. (1) (3) เป็ นข้ อสนับสนุน (2) เป็ นข้ อสรุป
6. ข้ อความตอนใด มี การใช้ เหตุผล ( Anet/49 )
“ (1) พายุใหญ่ที่พดั กระหน่านาวาชีวิตครอบครัวคุณนันหนั ้ กหน่วง คุณควรถือประสบการณ์ครัง้ นี ้เป็ น
บทเรี ยนอันยิ่งใหญ่ (2) หากคุณเป็ นคนเดินเรื อ คุณจะต้ องรู้วา่ พายุนนมี ั ้ อยูค่ ทู่ ะเลเสมอ (3) คุณจะ
หวังว่าชัว่ ชีวิตคุณจะโชคดี ไม่ต้องเผชิญพายุนนไม่
ั ้ ได้ (4) ธรรมชาติอนั ยิ่งใหญ่ให้ บทเรี ยนที่มนุษย์
สามารถเรี ยนรู้ได้ ตลอดไป “
1. ตอนที่ 1 2. ตอนที่ 2
3. ตอนที่ 3 4. ตอนที่ 4
7. คาขวัญในข้ อใดมีการแสดงเหตุผลอย่างสมเหตุสมผล ( Anet/49 )
1. หนึง่ เสียงของท่าน รังสรรค์บ้านเมือง 2. ระบบพรรคดี ผู้สมัครมีคณ ุ ธรรม
3. ไม่ป้องคนพาล ไม่อภิบาลคนชัว่ 4. บ้ านเมืองใช่ของใคร อย่าแยกค่ายแยกมุ้ง
8. ข้ อใด ไม่ แสดงเหตุผล ( มี.ค./48 )
1. หมูไปไก่มา 2. วัวหายล้ อมคอก
3. หนามยอกเอาหนามบ่ง 4. มือถือสากปากถือศีล
9. ข้ อใด ไม่ เป็ นเหตุเป็ นผลกัน ( ต.ค./47 )
1. ฝนตกขี ้หมูไหล 2. ปิ ง้ ปลาประชดแมว
3. ผีบ้านไม่ดี ผีป่าก็พลอย 4. มีทองเท่าหนวดกุ้ง นอนสะดุ้งจนเรื อนไหว
10. “ แหล่งเกษตรกรรมเหลือน้ อยลง เพราะถูกนาไปใช้ ประโยชน์อย่างอื่น “
ข้ อใดเป็ นข้ อสรุป ( ต.ค./47 )
1. พื ้นที่ที่ขาดแหล่งน ้าเพิ่มมากขึ ้น 2. ประเทศจะขาดความเป็ นอู่ข้าวอู่น ้าในอนาคต
3. พื ้นดินจะเกิดสภาพความเป็ นกรดเป็ นด่างมากขึ ้น 4. ผลผลิตทางการเกษตรจะลดตามจานวน
ประชากร
11. ข้ อใด ไม่ใช่ ข้ อสรุปที่สอดคล้ องกับข้ อสนับสนุนต่อไปนี ้ ( มี.ค./47 )
“ ประชากรโลกเพิ่มขึ ้นพร้ อมกับการขยายตัวของเมือง “
1. ความต้ องการอาหารก็เพิ่มขึ ้นด้ วย
2. การค้ าพืชผลทางการเกษตรก็จะขยายตัวตาม
3. เกษตรกรจะมีอานาจต่อรองทางการค้ ามากขึ ้น
4. ความเปลีย่ นแปลงด้ านอาหารและการเกษตรของโลกจะเกิดขึ ้น
9. คาขวัญในข้ อใดมีการแสดงเหตุผล ( มี.ค./47 )
1. เตือนตนให้ มีวินยั เตือนใจให้ มีวฒ ั นธรรม
2. สาธารณสมบัติของชาติ คือเงินทุกบาทของท่าน
3. บ้ านสะอาด เมืองสะอาด คนในชาติมีความสุข
4. สร้ างสรรค์ในบ้ าน สร้ างวิมานในครัวเรื อน
10. “ (1) เป้าหมายของโครงการบ้ านมัน่ คง คือ การแก้ ปัญหาชุมชนแออัดอย่างยัง่ ยืน (2) โดย
มุ่งเน้ น
ให้ ชมุ ชนเป็ นแกนหลักในการแก้ ปัญหากันเอง (3) การแก้ ปัญหาไม่ใช่แค่การสร้ างบ้ านให้ เท่านัน้ แต่
เป็ นการพัฒนาทีอ่ ยูอ่ าศัยแนวใหม่ ทีช่ มุ ชนเป็ นผู้กาหนดและรับผลแห่งการพัฒนาอย่างครบวงจร เช่น
สร้ างบ้ านตามแบบทีช่ มุ ชนกาหนดเอง มีระบบกองทุนภายในกลุม่ ออมทรัพย์ (4) โครงการแล้ วเสร็ จ
เมื่อใด ชุมชนก็จะมีแต่ความสะดวก ปลอดภัย และสิง่ แวดล้ อมทีด่ ี “
ข้ อความส่วนใดเป็ นข้ อสรุป ( มี.ค./47 )
1. (1) 2. (2) 3. (3) 4. (4)
12. ข้ อใดเป็ นข้ อสรุปที่เหมาะที่สดุ ของข้ อสนับสนุนต่อไปนี ้ ( มี.ค./47 )
“ ไม่มีคอมพิวเตอร์ ผมก็ยงั สามารถทางานได้ เหมือนเดิม เพียงแต่ต้นฉบับของผมอาจกะรุ่งกะริ่ งแล้ ว
เลอะ
เทอะกว่านี ้ เพราะต้ องตัดแปะสลับที่กนั บ้ างในเวลาอ่านตรวจทาน แต่สมัยก่อนเมื่อยังไม่มีคอมพิวเตอร์ ใช้
กันแพร่หลาย ต้ นฉบับของใครๆก็มกั จะเป็ นอย่างนี ้ทังนั ้ น้ แม้ แต่ของเชกสเปี ยร์ “
1. ผมไม่คิดว่าคอมพิวเตอร์ เป็ นของจาเป็ น
2. ผมเชื่อว่าต้ นฉบับของคนแต่ก่อนจะดีกว่านี ้ถ้ าใช้ คอมพิวเตอร์
3. ผมเชื่อว่าต้ นฉบับของเชกสเปี ยร์ ก็ไม่เรี ยบร้ อย
4. ผมไม่คิดว่าคุณภาพของงานขึ ้นอยูก่ บั คอมพิวเตอร์
13. ข้ อใดเป็ นเหตุผลที่ถกู ต้ องของข้ อสรุปต่อไปนี ้ ( ต.ค./46 )
“ การอบรมจริ ยธรรมแก่นกั เรี ยนเป็ นหน้ าที่ของครู “
1. ครูต้องสละเวลาส่วนตัวเพื่ออบรมจริ ยธรรมแก่นกั เรี ยน
2. ครูต้องเข้ าใจปั ญหาสังคมปั จจุบนั ที่เปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ ว
3. การอบรมจริ ยธรรมเป็ นสิง่ ที่ครูต้องทานอกจากการสอนทางวิชาการ
4. นักเรี ยนควรรู้จกั ผิดชอบชัว่ ดีตงแต่
ั ้ อยูใ่ นวัยศึกษาเล่าเรี ยน
14. ข้ อใดมีการแสดงเหตุผล ( ต.ค./46 )
1. เรื่ อล่มเมื่อจอด ตาบอดเมื่อแก่ 2. รู้ไว้ ใช่วา่ ใส่บา่ แบกหาม
3. สวยแต่รูป จูบไม่หอม 4. น ้าร้ อนปลาเป็ น น ้าเย็นปลาตาย
หลักภาษาไทย ม.6 โดย อ.เปา
โครงสร้ างของภาษาที่แสดงเหตุผล
การใช้ ภาษาเพื่อแสดงเหตุผล จะต้ องมีสว่ นประกอบครบ 2 ส่วน คือ ข้ อสรุป + ข้ อสนับสนุน
ข้ อสรุป หมายถึง ข้ อความที่บอกให้ ร้ ูวา่ เกิดอะไรขึ ้น
ข้ อสนับสนุน หมายถึง ข้ อความที่บอกให้ ร้ ูวา่ เกิดขึ ้นได้ อย่างไร เช่น
น ้าท่วม เพราะ ฝนตกหนัก
( ข้ อสรุป / ผลลัพธ์ / เกิดทีหลัง ) ( ข้ อสนับสนุน / สาเหตุ / เหตุผล / เกิดก่อน )
น ้าท่วม เพราะ ภราดรแพ้ อีกแล้ ว

ข้ อสอบ

1. ข้ อใดมีการใช้ เหตุผล ( Onet/51 )


1. ศึกษาอย่างถูกวิธี ที่ยากก็จะกลายเป็ นง่าย
2. คนเรามักจะขาดความพอดีในเรื่ องการพักผ่อน
3. การเรี ยนที่แท้ นนมิ
ั ้ ได้ จากัดอยูเ่ ฉพาะในมหาวิทยาลัย
4. ครูของเราได้ แก่บุคคลและเหตุการณ์ตา่ งๆที่เกี่ยวข้ องกับชีวิตเรา
2. ข้ อใดเป็ น โครงสร้ าง ของการแสดงเหตุผลในข้ อความต่อไปนี ้ ( Onet/51 )
“ ภาษาท้ องถิ่นในประเทศของเราเป็ นภาษาสาคัญ ที่พวกเราพึงอนุรักษ์ ไว้ มิให้ เพี ้ยน กลาย หรื อสูญไป /
เพราะภาษาท้ องถิ่นเป็ นเครื่ องบ่งบอกถึงขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมของท้ องถิ่นนัน้ / และยังทา
ให้
เห็นสภาพสังคมของถิ่นอีกด้ วย
1. ข้ อสรุป / ข้ อสรุป / ข้ อสนับสนุน 2. ข้ อสนับสนุน / ข้ อสนับสนุน / ข้ อสรุป
3. ข้ อสรุป / ข้ อสนับสนุน / ข้ อสนับสนุน 4. ข้ อสนับสนุน / ข้ อสรุป / ข้ อสนับสนุน
1. ข้ อใดเป็ นประโยคที่ไม่สมั พันธ์ กนั ( มข./51 )
1. เขามีความเฉียบแหลม แยบคายทางธุรกิจ เสียดายที่ไม่ยอมเอาดีด้านนี ้
2. เขาไม่เพียงแต่เป็ นนักการทูตที่สามารถ ยังแสดงการลดหลัน่ เชิงชันทางการปกครอง

3. การศึกษาช่วยให้ ชีวิตเราดีขึ ้น และอาจทาให้ เราเป็ นคนโดยสมบูรณ์ ดังนันทุ ้ กคนจึงควรเร่งศึกษาและ
ขวนขวาย
4. เพราะจะเลือกประธานในวันรุ่งขึ ้น วันนี ้ทังฝ่้ ายการเมือง ฝ่ ายนิติบญ ั ญัติ จึงระดมสรรพวิทยายุทธกัน
เต็มที่
2. ข้ อใดเป็ นการแสดงเหตุผลที่สมเหตุสมผล ( มข./51 )
1. กาแฟเป็ นสิง่ เสพติดชนิดหนึง่ ชาไม่ใช่กาแฟ เพราะฉะนันชาไม่ ้ ใช่สงิ่ เสพติด
2. ชาวเหนือเป็ นคนยิ ้มแย้ มแจ่มใส คนเชียงใหม่เป็ นชาวเหนือ ฉะนันคนเชี ้ ยงใหม่เป็ นคนยิ ้มแย้ มแจ่มใส
3. ดอกกุหลาบแดงเป็ นสัญลักษณ์ของความรัก ฉันได้ รับดอกกุหลาบแดง แสดงว่าฉันได้ รับสัญลักษณ์ของ
ความรักมาแล้ ว
4. ผู้ออกกาลังกายสม่าเสมอจะแข็งแรง ทุกคนในครอบครัวฉันออกกาลังกายสม่าเสมอ ดังนันทุ ้ กคนใน
ครอบครัวฉันจึงแข็งแรง
3. ข้ อใดกล่าวถึงข้ อความที่กาหนดให้ นี ้ได้ ถกู ต้ อง ( มข./51 )
“ กาลวงว่าหงส์ให้ ปลงใจ ด้ วยมิได้ ดหู งอนแต่ก่อนมา “
1. แสดงทรรศนะ 2. แสดงเหตุผลอย่างสมเหตุสมผล
3. อธิบายจากผลไปหาเหตุ 4. อนุมานจากผลลัพธ์ ย้อนไปหาสาเหตุ
1. ข้ อใดมีการแสดงเหตุผล ( Onet/50 )
1. บ้ านเมืองสะอาด ประชาชาติปลอดโรค 2. เติมน ้ามันทีไร ขับไปได้ หน่อยเดียว
3. รักชาติศาสน์กษัตริ ย์ เป็ นคุณสมบัติของคนไทย 4. ภูมิปัญญาไทย ขอจงร่วมใจส่งเสริ ม
2. ข้ อความต่อไปนี ้มี โครงสร้ างการแสดงเหตุผล ตามข้ อใด ( Onet/50 )
“ (1) การใช้ พลังงานอย่างผิดวิธีของเด็ก มักเกิดจากความไม่ร้ ูและไม่เข้ าใจ (2) เนื่องจากเขาไม่ได้ เรี ยน
รู้วิธีการประหยัดพลังงานที่ถกู ต้ อง (3) และไม่ได้ ฝึกให้ เคยชินเป็ นนิสยั “
1. (1) และ (2) เป็ นข้ อสรุป (3) เป็ นข้ อสนับสนุน
2. (1) และ (2) เป็ นข้ อสนับสนุน (3) เป็ นข้ อสรุป
3.. (1) เป็ นข้ อสรุป (2) และ (3) เป็ นข้ อสนับสนุน
4. (1) เป็ นข้ อสนับสนุน (2) และ (3) เป็ นข้ อสรุป
1. ข้ อใดมีเนื ้อความ ไม่ สมเหตุสมผล ( มข./49 )
1. ความอดทนเป็ นพื ้นฐานของความสาเร็ จ คนที่ล้มเหลวส่วนใหญ่เพราะไม่ขยันมากพอ
2. บางครัง้ การย้ อนกลับไปดูเส้ นทางเดินของตนเอง นอกจากจะเป็ นการให้ ความบันเทิงใจแล้ ว
ยังเป็ นการถือโอกาสทบทวนชีวิตของตนเอง เพื่อเป็ นบทเรี ยนในอนาคตด้ วย
3. ยิ่งโลกเจริ ญขึ ้นเท่าใด คนก็ยิ่งต้ องหาพวกหารากของตนเอง เป็ นที่ยดึ เกาะเท่านัน้ ยิ่งเราถูกกีดกัน
ถูกระบบการแข่งขันบีบเท่าไร เราก็ยิ่งต้ องการกลับไปหารากเหง้ าของเรา ผ่านวัฒนธรรมมากขึ ้น
เท่านัน้
4. การร้ องเพลงกลายมาเป็ นทักษะทางสังคมที่จาเป็ นอีกประการหนึง่ ในทุกวันนี ้ ดังนันถ้ ้ าจะฝึ กไว้ หากินสัก
2 – 3 เพลงบ้ าง นอกจากจะช่วยให้ รอดตายในกรณีปฏิเสธไม่ได้ แล้ ว ยังเพิ่มเสน่ห์ได้ อีกทางหนึง่ ด้ วย
2. ข้ อความต่อไปนี ้มี โครงสร้ างการแสดงเหตุผล ตามข้ อใด ( มข./49 )
“ (1) ใครอยากมีความสุข อายุยืน และดูอ่อนเยาว์กว่าอายุจริ ง และเป็ นที่รักของบุคคลทัว่ ไป ก็ต้องฝึ ก
ตนให้ มีอารมณ์ขนั มีรอยยิ ้ม มีเสียงหัวเราะ และมีความรัก (2) ทังนี ้ ้เพราะอารมณ์ขนั เป็ นยา
อายุวฒ ั นะ
รอยยิ ้ม เสียงหัวเราะเป็ นระฆังของความสุข และความรักก็เป็ นพลังให้ กายและใจแจ่มใส (3) และที่
สาคัญคือ ไม่ต้องเสียเงินซื ้อยาอายุวฒ ั นะใดๆ หากแต่จะมีคนมาถามหาสูตรจนตอบไม่ไหวทีเดียว “
1. (1) เป็ นข้ อสนับสนุน (2) (3) เป็ นข้ อสรุป 2. (1) เป็ นข้ อสรุป (2) (3) เป็ นข้ อสนับสนุน
3. (1) (3) เป็ นข้ อสนับสนุน (2) เป็ นข้ อสรุป 4. (1) (3) เป็ นข้ อสรุป (2) เป็ นข้ อสนับสนุน
3. คาขวัญข้ อใดแสดงเหตุผล ( Onet/49 )
1. ลูกมากจะยากจน 2. เด็กวันนี ้คือผู้ใหญ่ในวันหน้ า
3. น ้าไหล ไฟสว่าง ทางดี มีงานทา 4. เด็กดีเป็ นศรี แก่ชาติ
4. ข้ อใดมีเนื ้อความ ไม่ สมเหตุสมผล ( Onet/49 )
1. ประเพณีรับน้ องใหม่ควรอนุรักษ์ ไว้ เพราะเป็ นประเพณีที่สบื ทอดกันมานาน แต่ต้องเป็ นไปในทาง
สร้ างสรรค์
2. การเข้ าแถวเคารพธงชาติในตอนเช้ า จะช่วยปลุกสานึกให้ เกิดความรักและภูมิใจในชาติ
3. การปฏิบตั ิตามกฎจราจรอย่างเคร่งครัด จะช่วยลดการเกิดอุบตั ิเหตุได้ มาก
4. การออกกาลังกายในตอนเช้ าดีตอ่ สุขภาพ เพราะเป็ นช่วงเวลาที่คนไม่พลุกพล่านมากนัก
5. ข้ อความต่อไปนี ้มีโครงสร้ างการแสดงเหตุผลตามข้ อใด ( Onet/49 )
“ (1) ความสนุกเกิดจากใจและกายที่สอดคล้ องกันเป็ นอันหนึง่ อันเดียว (2) ใจอยากสนุก ร่างกายไม่
เป็ นใจ ก็นกึ สนุกไม่ได้ (3) ในทางกลับกัน ร่างกายพร้ อมที่จะสนุก ใจไม่เป็ นไปด้ วย ก็หมดโอกาสสนุก “
1. (1) เป็ นข้ อสรุป (2) (3) เป็ นข้ อสนับสนุน 2. (1) เป็ นข้ อสนับสนุน (2) (3) เป็ นข้ อสรุป
3. (1) (3) เป็ นข้ อสรุป (2) เป็ นข้ อสนับสนุน 4. (1) (3) เป็ นข้ อสนับสนุน (2) เป็ นข้ อสรุป
6. ข้ อความตอนใด มี การใช้ เหตุผล ( Anet/49 )
“ (1) พายุใหญ่ที่พดั กระหน่านาวาชีวิตครอบครัวคุณนันหนั ้ กหน่วง คุณควรถือประสบการณ์ครัง้ นี ้เป็ น
บทเรี ยนอันยิ่งใหญ่ (2) หากคุณเป็ นคนเดินเรื อ คุณจะต้ องรู้วา่ พายุนนมี ั ้ อยูค่ ทู่ ะเลเสมอ (3) คุณจะ
หวังว่าชัว่ ชีวิตคุณจะโชคดี ไม่ต้องเผชิญพายุนนไม่
ั ้ ได้ (4) ธรรมชาติอนั ยิ่งใหญ่ให้ บทเรี ยนที่มนุษย์
สามารถเรี ยนรู้ได้ ตลอดไป “
1. ตอนที่ 1 2. ตอนที่ 2
3. ตอนที่ 3 4. ตอนที่ 4
7. คาขวัญในข้ อใดมีการแสดงเหตุผลอย่างสมเหตุสมผล ( Anet/49 )
1. หนึง่ เสียงของท่าน รังสรรค์บ้านเมือง 2. ระบบพรรคดี ผู้สมัครมีคณ ุ ธรรม
3. ไม่ป้องคนพาล ไม่อภิบาลคนชัว่ 4. บ้ านเมืองใช่ของใคร อย่าแยกค่ายแยกมุ้ง
8. ข้ อใด ไม่ แสดงเหตุผล ( มี.ค./48 )
1. หมูไปไก่มา 2. วัวหายล้ อมคอก
3. หนามยอกเอาหนามบ่ง 4. มือถือสากปากถือศีล
9. ข้ อใด ไม่ เป็ นเหตุเป็ นผลกัน ( ต.ค./47 )
1. ฝนตกขี ้หมูไหล 2. ปิ ง้ ปลาประชดแมว
3. ผีบ้านไม่ดี ผีป่าก็พลอย 4. มีทองเท่าหนวดกุ้ง นอนสะดุ้งจนเรื อนไหว
10. “ แหล่งเกษตรกรรมเหลือน้ อยลง เพราะถูกนาไปใช้ ประโยชน์อย่างอื่น “
ข้ อใดเป็ นข้ อสรุป ( ต.ค./47 )
1. พื ้นที่ที่ขาดแหล่งน ้าเพิ่มมากขึ ้น 2. ประเทศจะขาดความเป็ นอู่ข้าวอู่น ้าในอนาคต
3. พื ้นดินจะเกิดสภาพความเป็ นกรดเป็ นด่างมากขึ ้น 4. ผลผลิตทางการเกษตรจะลดตามจานวน
ประชากร
11. ข้ อใด ไม่ใช่ ข้ อสรุปที่สอดคล้ องกับข้ อสนับสนุนต่อไปนี ้ ( มี.ค./47 )
“ ประชากรโลกเพิ่มขึ ้นพร้ อมกับการขยายตัวของเมือง “
1. ความต้ องการอาหารก็เพิ่มขึ ้นด้ วย
2. การค้ าพืชผลทางการเกษตรก็จะขยายตัวตาม
3. เกษตรกรจะมีอานาจต่อรองทางการค้ ามากขึ ้น
4. ความเปลีย่ นแปลงด้ านอาหารและการเกษตรของโลกจะเกิดขึ ้น
9. คาขวัญในข้ อใดมีการแสดงเหตุผล ( มี.ค./47 )
1. เตือนตนให้ มีวินยั เตือนใจให้ มีวฒ ั นธรรม
2. สาธารณสมบัติของชาติ คือเงินทุกบาทของท่าน
3. บ้ านสะอาด เมืองสะอาด คนในชาติมีความสุข
4. สร้ างสรรค์ในบ้ าน สร้ างวิมานในครัวเรื อน
10. “ (1) เป้าหมายของโครงการบ้ านมัน่ คง คือ การแก้ ปัญหาชุมชนแออัดอย่างยัง่ ยืน (2) โดย
มุ่งเน้ น
ให้ ชมุ ชนเป็ นแกนหลักในการแก้ ปัญหากันเอง (3) การแก้ ปัญหาไม่ใช่แค่การสร้ างบ้ านให้ เท่านัน้ แต่
เป็ นการพัฒนาทีอ่ ยูอ่ าศัยแนวใหม่ ทีช่ มุ ชนเป็ นผู้กาหนดและรับผลแห่งการพัฒนาอย่างครบวงจร เช่น
สร้ างบ้ านตามแบบทีช่ มุ ชนกาหนดเอง มีระบบกองทุนภายในกลุม่ ออมทรัพย์ (4) โครงการแล้ วเสร็ จ
เมื่อใด ชุมชนก็จะมีแต่ความสะดวก ปลอดภัย และสิง่ แวดล้ อมทีด่ ี “
ข้ อความส่วนใดเป็ นข้ อสรุป ( มี.ค./47 )
1. (1) 2. (2) 3. (3) 4. (4)
12. ข้ อใดเป็ นข้ อสรุปที่เหมาะที่สดุ ของข้ อสนับสนุนต่อไปนี ้ ( มี.ค./47 )
“ ไม่มีคอมพิวเตอร์ ผมก็ยงั สามารถทางานได้ เหมือนเดิม เพียงแต่ต้นฉบับของผมอาจกะรุ่งกะริ่ งแล้ ว
เลอะ
เทอะกว่านี ้ เพราะต้ องตัดแปะสลับที่กนั บ้ างในเวลาอ่านตรวจทาน แต่สมัยก่อนเมื่อยังไม่มีคอมพิวเตอร์ ใช้
กันแพร่หลาย ต้ นฉบับของใครๆก็มกั จะเป็ นอย่างนี ้ทังนั ้ น้ แม้ แต่ของเชกสเปี ยร์ “
1. ผมไม่คิดว่าคอมพิวเตอร์ เป็ นของจาเป็ น
2. ผมเชื่อว่าต้ นฉบับของคนแต่ก่อนจะดีกว่านี ้ถ้ าใช้ คอมพิวเตอร์
3. ผมเชื่อว่าต้ นฉบับของเชกสเปี ยร์ ก็ไม่เรี ยบร้ อย
4. ผมไม่คิดว่าคุณภาพของงานขึ ้นอยูก่ บั คอมพิวเตอร์
13. ข้ อใดเป็ นเหตุผลที่ถกู ต้ องของข้ อสรุปต่อไปนี ้ ( ต.ค./46 )
“ การอบรมจริ ยธรรมแก่นกั เรี ยนเป็ นหน้ าที่ของครู “
1. ครูต้องสละเวลาส่วนตัวเพื่ออบรมจริ ยธรรมแก่นกั เรี ยน
2. ครูต้องเข้ าใจปั ญหาสังคมปั จจุบนั ที่เปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ ว
3. การอบรมจริ ยธรรมเป็ นสิง่ ที่ครูต้องทานอกจากการสอนทางวิชาการ
4. นักเรี ยนควรรู้จกั ผิดชอบชัว่ ดีตงแต่
ั ้ อยูใ่ นวัยศึกษาเล่าเรี ยน
14. ข้ อใดมีการแสดงเหตุผล ( ต.ค./46 )
1. เรื่ อล่มเมื่อจอด ตาบอดเมื่อแก่ 2. รู้ไว้ ใช่วา่ ใส่บา่ แบกหาม
3. สวยแต่รูป จูบไม่หอม 4. น ้าร้ อนปลาเป็ น น ้าเย็นปลาตาย
หลักภาษาไทย ม.6 โดย อ.เปา
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
การนาสาเหตุและผลลัพธ์ มาอนุมาน

ในการอธิบายให้ ผ้ อู ่ืนเข้ าใจในสาเหตุและผลลัพธ์ ทเ่ี กิดขึ ้น สามารถทาได้ หลายวิธี เช่น


1.. การอนุมานจาก สาเหตุ ไปหา ผลลัพธ์ เช่น
“ นักกีฬาของเราฝึ กซ้ อมกันอย่างตังใจ ้ > ในที่สดุ ก็ได้ รับชัยชนะ “
2.. การอนุมานจาก ผลลัพธ์ ไปหา สาเหตุ เช่น
“ เขาสอบโควตาไม่ติด > เพราะเขาเตรี ยมตัวน้ อยและเลือกคณะที่คะแนนสูงเกินไป “
3.. การอนุมานจาก ผลลัพธ์ ไปหา ผลลัพธ์ เช่น
“ เขาอ่อนคณิตศาสตร์ > เพราะไม่ชอบทาแบบฝึ กหัดด้ วยตนเอง > ทาให้ เขาอ่อนฟิ สกิ ส์ด้วย “

ข้ อสอบ

1. ข้ อความต่อไปนี ้ใช้ การอนุมานประเภทใด ( Onet/51 )


“ การกินหมูกระทะได้ รับความนิยมอย่างต่อเนื่องในรอบ 4 – 5 ปี ที่ผา่ นมา อาจเป็ นด้ วยราคาเหมาจ่ายที่
ไม่แพง และวิธีการกินเป็ นกลุม่ แบบปิ ง้ ๆย่างๆ ที่ช่วยสร้ างบรรยากาศให้ สนุกสนานเป็ นกันเองได้ เป็ นอย่างดี

1. จากเหตุไปหาผล 2. จากผลไปหาเหตุ
3. จากเหตุไปหาเหตุ 4. จากผลไปหาผล
2. ข้ อใดมีวิธีแสดงเหตุผลต่างกับข้ ออื่น ( Onet/51 )
1. สุวิทย์สนใจรายละเอียดทุกเรื่ องที่เรี ยน เขาอยากรู้เนื ้อหาวิชา
2. สุพลอยากได้ คะแนนดี เขาหมัน่ ทาแบบฝึ กหัดส่งครูทกุ วัน
3. สุรัชนัง่ อ่านหนังสือในห้ องสมุดจนค่า บ้ านเขาไม่มีห้องส่วนตัว
4. สุพจน์มกั คิดเรื่ องอื่นๆทุกครัง้ ที่อ่านตารา เขาเป็ นคนไม่มีสมาธิ
1. วิธีการอนุมานในข้ อใด ต่าง กับข้ ออื่น ( Anet/50 )
1. นักเรี ยนคนนันอาจสอบตก
้ เขาฟั งคาอธิบายไม่ทนั เข้ าเรี ยนก็สาย
2. คนมาชมการแสดงมากเกินความคาดหมายจนเกิดความแออัด อาจมีคนเป็ นลมได้
3. ผู้ปกครองกับครูประจาชันร่ ้ วมมือกันดูแลบุตรหลานดีเช่นนี ้ นักเรี ยนคงมีผลการเรี ยนดีขึ ้น
4. อาจารย์ที่ปรึกษาอธิบายวิธีทาแบบทดสอบเกือบชัว่ โมง นักเรี ยนน่าจะเข้ าใจได้ แจ่มแจ้ ง
1. ข้ อความต่อไปนี ้เป็ นการอ้ างเหตุผลตามข้ อใด ( Onet/50 )
“ จังหวัดสระแก้ วเป็ นสวรรค์สาหรับคนรักธรรมชาติ พื ้นที่สว่ นใหญ่ประกอบด้ วยเทือกเขาสูงใหญ่ มีต้นน ้า
สาคัญหลายสาย ที่เกิดจากหุบเขาเหล่านี ้ “
1. จากสาเหตุไปหาผลลัพธ์ 2. จากผลลัพธ์ ไปหาสาเหตุ
3. จากผลลัพธ์ ไปหาผลลัพธ์ 4. จากสาเหตุไปหาสาเหตุ
1. ข้ อใดเสนอ ผล ก่อน เหตุ ( มข./49 )
1. เพราะคณะปฏิรูปคานึงถึงความสงบสุขของบ้ านเมือง การประกาศกฎอัยการศึกจึงยังต้ องคงไว้
2. การให้ การศึกษาพื ้นฐานแก่ทกุ คนเป็ นสิง่ สาคัญ เพราะจักทาให้ เขาไม่ตกเป็ นเบี ้ยล่างของผู้จ้องจะฉวย
ประโยชน์
3. มหาวิทยาลัยต้ องชี ้แจงเรื่ องคดีแก่ประชากรของตนอย่างชัดแจ้ ง เรื่ องชื่อเสียงของสถาบันเป็ นเรื่ องมอง
ข้ ามไม่ได้
4. ช่วงปี 2538 น ้าท่วมกรุงเทพฯและปริ มณฑลเสียหายหนัก หลังจากนันรั ้ ฐได้ จดั ตังคณะกรรมการป
้ ้ องกัน
อุทกภัยขึ ้นมาดูแลเรื่ องนี ้
2. ข้ อใดเสนอ ผล ก่อน เหตุ ( Anet/49 )
1. การผลักดันเรื่ องป่ าชุมชนเป็ นบทเรี ยนสาคัญทาให้ คนในป่ าชุมชนเรี ยนรู้ที่จะรักและหวงแหนทรัพยากร
ของตน
2. ช่วงปี 2534 – 2535 ป่ าถูกทาลาย ชุมชนย่าแย่ จากนันชาวบ้้ านได้ จดั ตังคณะกรรมการป่
้ าชุมชนขึ ้นมา
ดูแลป่ า
3. โดยที่คณะกรรมการจัดทาโครงการคานึงถึงวิถีชีวิตและการทามาหากินของชาวบ้ าน ชาวบ้ านยังคงเข้ า
ไปหาปูหาปลาได้
4. รัฐควรชี ้แจงโครงการแก่ประชาชนอย่างชัดเจน เรื่ องโครงการหมู่บ้านป่ าไม้ แผนใหม่เป็ นเรื่ องละเอียดอ่อน
3. ข้ อใดมีโครงสร้ างการใช้ ภาษาแสดงเหตุผล แบบเหตุไปสูผ่ ล ( มี.ค./48 )
1. ต้ นร้ ายปลายดี 2. ยิ ้มด้ วยปาก ถากด้ วยตา
3. รักดีหามจัว่ รักชัว่ หามเสา 4. เอาหูไปนา เอาตาไปไร่

4. “ เมื่อคนเราตกใจ ตื่นเต้ น กลัวหรื อโกรธอย่างรุนแรง ต่อมหมวดไตจะหลัง่ อะดีนารี นออกมา จานวน


มาก
อย่างรวดเร็ ว เป็ นผลให้ เกิดการกระตุ้นกระบวนการเปลีย่ นแปลงในร่างกาย เพิ่มกาลังกล้ ามเนื ้อและความ
ทรหดทนทาน เพิ่มน ้าตาลในเลือดและอื่นๆ “
ข้ อความนี ้ใช้ วิธีอนุมานแบบใด ( ไทย กข/37 )
1. สาเหตุ ไปหา ผลลัพธ์ 2. ผลลัพธ์ ไปหา สาเหตุ
3. ผลลัพธ์ ไปหา ผลลัพธ์ 4. สาเหตุ ไปหา สาเหตุ
5. “ การหาความรู้ใส่ตวั นัน้ เป็ นสิง่ ที่สาคัญอย่างยิ่งสาหรับทุกคน เพราะว่าต่อไปในชีวิต ถ้ าขาดความรู้
ความสามารถ จะไม่อาจเลี ้ยงตัวให้ รอดได้ “
ข้ อความข้ างต้ นเป็ นการอนุมานด้ วยวิธีใด ( ไทย กข/37 )
1. จากเหตุ ไปหา เหตุ 2. จากเหตุ ไปหา ผลลัพธ์
3. จากผลลัพธ์ ไปหา สาเหตุ 4. จากผลลัพธ์ ไปหา ผลลัพธ์
6. “ คุณเป็ นผู้ที่มีความสามารถมาก ได้ รับความเชื่อถือจากเจ้ านาย และเพื่อนร่วมงานเป็ นอย่างดี และ
สามารถทางานที่ไหนก็ได้ คุณได้ ก้าวมาถึงจุดสูงสุดในหน้ าที่การงานแล้ ว ยังมีอะไรที่คณ ุ ต้ องกังวลต่อไป
อีก “ ( สามัญ 2/37 )
ข้ อความคูใ่ ดมีความสัมพันธ์ กนั ในลักษณะ “ สาเหตุ – ผลลัพธ์ “ ตามข้ อเท็จจริ งข้ างต้ น
1. คุณทางานที่ไหนก็ได้ - คุณก้ าวมาถึงจุดสูงสุด
2. คุณก้ าวมาถึงจุดสูงสุด - คุณไม่มีความกังวลอีกต่อไป
3. คุณมีความสามารถ - คุณได้ รับความเชื่อถือจากเพื่อนร่วมงาน
4. คุณได้ รับความเชื่อถือจากเพื่อนร่วมงาน - คุณทางานที่ไหนก็ได้
7. “ ภาษาไทยวันนี ้น่าจะเปรี ยบได้ กบั คนไทยลูกครึ่งฝรั่ง โดยเฉพาะฝรั่งอเมริ กนั คาฝรั่งสนิทสนมกลม
เกลียว
ไปกับคาไทย คนไทยหมดปั ญญาหาคาไทยมาใช้ แทนคาฝรั่ง ( คาไทยในที่นี ้รวมทังค ้ าแขก คาเขมร ) โดย
เฉพาะในเรื่ องวิชาการสมัยใหม่ “ ( สามัญ 1/38 )
ข้ อความนี ้ใช้ วิธีอนุมานแบบใด
1. สาเหตุ ไปหา ผลลัพธ์ 2. ผลลัพธ์ ไปหา สาเหตุ
3. ผลลัพธ์ ไปหา ผลลัพธ์ 4. สาเหตุ ไปหา สาเหตุ
8. “ ถ้ าคุณไม่ลงมือทางาน เพราะมัวแต่กลัวผิดพลาด คุณก็จะยังทาอะไรไม่ได้ คนที่ไม่เคยผิดพลาดเลย
นัน้ คือคนที่ไม่เคยทาอะไร “ ( สามัญ 1/37 )
ข้ อความคูใ่ ดมีความสัมพันธ์ กนั ในลักษณะ สาเหตุ - ผลลัพธ์ ตามข้ อเท็จจริ งข้ างต้ น
1. คุณไม่ลงมือทางาน - คุณกลัวผิดพลาด 2. คุณกลัวผิดพลาด - คุณไม่ได้ ทาอะไร
3. คุณไม่เคยผิดพลาด - คุณไม่เคยทาอะไร 4. คุณไม่เคยทาอะไร - คุณเคยผิดพลาด
หลักภาษาไทย ม.6 โดย อ.เปา

การอนุมาน

การอนุมาน หมายถึง กระบวนการคิดหาข้ อสรุปจากเหตุผลที่มีอยู่ มี 2 แบบคือ


1.. การอนุมานด้ วยวิธีนิรนัย เป็ นการหาข้ อสรุปจาก หลักการทัว่ ไป > กรณีเฉพาะ > ข้ อสรุป เช่น
คนทุกคนต้ องตาย > นาย ก เป็ นคน > นาย ก ต้ องตาย
( ข้ อสรุป ด้ วยวิธีนิรนัย ต้ องเป็ นเช่นนันแน่
้ นอน )
2.. การอนุมานด้ วยวิธีอปุ นัย เป็ นการหาข้ อสรุปจาก ข้ อสังเกตหลายๆกรณี > ข้ อสรุป เช่น
นักเรี ยน ม.6 ในจังหวัดอุบลราชธานีจํานวน 5,000 คน นิยมใช้ แชมพูซลั ซิล > นักเรี ยน ม. 6
ทัว่ ประเทศน่าจะนิยมใช้ แชมพูซลั ซิล เช่นกัน
( ข้ อสรุป ด้ วยวิธีอปุ นัย น่าจะเป็ นเช่นนัน้ )

ข้ อสอบ

1. ข้ อใด ไม่ใช่ วิธีนิรนัย ( มข./49 )


1. นักเรี ยนจะถูกปรับตกทุกวิชาตามกฎของกระทรวง ถ้ าทุจริตแม้ วิชาเดียว
2. นักเรี ยนทุกคนตังใจเรี
้ ยนวิชาคณิตศาสตร์ นักเรี ยนส่วนใหญ่จงึ สอบได้ คะแนนดี
3. ถ้ านักเรี ยนอยากรอบรู้ ก็ควรต้ องทังอ่ ้ านและฟั งให้ มาก เพราะการอ่านและฟั งเป็ นกระบวนการรับเข้ า
ที่ทําให้ เรามีแต่ได้ อย่างกว้ างขวาง
4. นักเรี ยนชันมั ้ ธยมศึกษาตอนปลายทุกคนต่างต้ องการเรี ยนต่อระดับอุดมศึกษา สุขศรี อยู่ ม.6
เธอก็อยากเรี ยนต่อมหาวิทยาลัยเช่นกัน
2.. “ ในภาษาไทยมีคําที่เกี่ยวกับใจหลายคํา “
เมื่อพิจารณาข้ อความนี ้ ข้ อใดอนุมานด้ วยวิธีอปุ นัย ไม่ ถูกต้ อง ( ต.ค./47 )
1. คนไทยให้ ความสําคัญแก่เรื่ องใจ
2. คนไทยมีความละเมียดละไมในด้ านจิตใจ
3. คนไทยมีคําเกี่ยวกับใจใช้ มากเช่นในภาษาอื่นๆ
4. คนไทยแยกแยะอารมณ์ ความรู้สกึ หรื อใจได้ อย่างหลากหลายและลึกซึ ้ง
3.. ข้ อใดเป็ นการอนุมานแบบ อุปนัย
1. กฎหมายห้ ามสูบบุหรี่ ในเขตปลอดบุหรี่ ถ้ าใครฝ่ าฝื นจะถูกปรับไม่เกิน 1,000 บาท
2. ปลาทูเป็ นอาหารทะเลที่มีคณ ุ ค่าทางอาหารสูง สัตว์ทะเลอื่นๆก็นา่ จะมีคณุ ค่าทางอาหารสูงด้ วย
3. มลพิษทางนํ ้ามีผลกระทบต่อสัตว์นํ ้าและผู้คน ผู้อยูร่ ิมนํ ้าจึงต้ องร่วมมือกันแก้ ปัญหา
4. ปรากฏการณ์เอลนีโญ่มีผลกระทบต่อประเทศต่างๆ ปี หน้ าประชากรโลกจึงต้ องประสบภาวะขาดแคลน
อาหารแน่นอน
4.. ข้ อใดเป็ นการอนุมานแบบ นิรนัย ( สามัญ 1/40 )
1. ปี ที่ผา่ นมาเศรษฐกิจของไทยตกต่อ เพราะเศรษฐกิจทัว่ โลกไม่ดี
2. วัยรุ่นสมัยใหม่ต้องแต่งตัวสวย เดินศูนย์การค้ า และมีโทรศัพท์มือถือ
3. ความรักของพ่อแม่คือ ความปรารถนาให้ ลกู ประสบความสําเร็จ
4. อุบตั เิ หตุทงหลายเกิ
ั้ ดขึ ้น เพราะความประมาทขาดความระมัดระวัง
5. ข้ อความต่อไปนี ้เป็ นการอ้ างเหตุผลตามข้ อใด ( มี.ค./46 )
“ 80 % ของคนไทยที่ผมพบเป็ นคนเอื ้อเฟื อ้ ผมจึงเชื่อว่า ในประเทศไทยมีคนไทยที่เอื ้อเฟื อ้ อยู่ 80 % “
1. การอ้ างเหตุผลแบบอุปนัย 2. การอ้ างเหตุผลแบบนิรนัย
3. การอ้ างเหตุผลโดยอาศัยสถิติ 4. การอ้ างเหตุผลโดยอาศัยแนวเทียบ
6. อํานวยพูดว่า “ อํานาจคงสอบภาษาฝรั่งเศสไม่ผา่ นหรอก เพราะว่าเขาอ่อนภาษาอังกฤษ “
อํานาจมีวิธีแสดงเหตุผลแบบข้ อใด ( ไทย กข/36 )
1. การอนุมานด้ วยวิธีอปุ นัย ข2 การอนุมานด้ วยวิธีนิรนัย
3. การอนุมานจากผลลัพธ์ไปหาสาเหตุ 4. การอนุมานจากผลลัพธ์ไปหาผลลัพธ์
7. ข้ อใดเป็ นการอนุมานด้ วยวิธี นิรนัย ( ไทย กข/29 )
1. นักเรี ยนทุกคนตังใจเรี
้ ยนวิชาคณิตศาสตร์ นักเรี ยนส่วนใหญ่สอบได้ คะแนนดี
2. การจัดดนตรี การกุศลในวันปิ ดภาคต้ นได้ กําไร การจัดดนตรี การกุศลในวันปิ ดภาคปลายควรจะได้ กําไร
เช่นกัน
3. นักเรี ยนชันมั ้ ธยมปลายทุกคนต้ องการเรี ยนต่อขันอุ
้ ดมศึกษา วิชยั ก็อยากเรี ยนต่อมหาวิทยาลัยเช่นกัน
4. เดือนมีนาคมปี นี ้อากาศหนาวกว่าเดือนกุมภาพันธ์ เดือนมีนาคมทุกปี อากาศจะหนาวเช่นกัน
8. ข้ อใดเป็ นการแสดงเหตุผลโดยวิธี นิรนัย ( ไทย กข/28 )
1. นักเรี ยนห้ องนี ้ส่วนมากไม่ตงใจเล่
ั ้ าเรี ยน ผลการสอบจึงไม่เป็ นที่พอใจ
2. มนุษย์ทกุ คนต้ องการอาหาร ที่อยูอ่ าศัย เครื่ องนุง่ ห่ม และยารักษาโรค ฉันก็ต้องการเช่นกัน
3. เขาฝึ กซ้ อมการเล่นปิ งปองมาเป็ นอย่างดี เขาน่าจะชนะเลิศในการแข่งขันครัง้ นี ้
4. นักเรี ยนที่สอบคณิตศาสตร์ ตก มักจะสอบฟิ สิกส์ตกด้ วย
หลักภาษาไทย ม.6 โดย อ.เปา

การอนุมาน

การอนุมาน หมายถึง กระบวนการคิดหาข้ อสรุปจากเหตุผลที่มีอยู่ มี 2 แบบคือ


1.. การอนุมานด้ วยวิธีนิรนัย เป็ นการหาข้ อสรุปจาก หลักการทัว่ ไป > กรณีเฉพาะ > ข้ อสรุป เช่น
คนทุกคนต้ องตาย > นาย ก เป็ นคน > นาย ก ต้ องตาย
( ข้ อสรุป ด้ วยวิธีนิรนัย ต้ องเป็ นเช่นนันแน่
้ นอน )
2.. การอนุมานด้ วยวิธีอปุ นัย เป็ นการหาข้ อสรุปจาก ข้ อสังเกตหลายๆกรณี > ข้ อสรุป เช่น
นักเรี ยน ม.6 ในจังหวัดอุบลราชธานีจํานวน 5,000 คน นิยมใช้ แชมพูซลั ซิล > นักเรี ยน ม. 6
ทัว่ ประเทศน่าจะนิยมใช้ แชมพูซลั ซิล เช่นกัน
( ข้ อสรุป ด้ วยวิธีอปุ นัย น่าจะเป็ นเช่นนัน้ )

ข้ อสอบ

1. ข้ อใด ไม่ใช่ วิธีนิรนัย ( มข./49 )


1. นักเรี ยนจะถูกปรับตกทุกวิชาตามกฎของกระทรวง ถ้ าทุจริตแม้ วิชาเดียว
2. นักเรี ยนทุกคนตังใจเรี
้ ยนวิชาคณิตศาสตร์ นักเรี ยนส่วนใหญ่จงึ สอบได้ คะแนนดี
3. ถ้ านักเรี ยนอยากรอบรู้ ก็ควรต้ องทังอ่ ้ านและฟั งให้ มาก เพราะการอ่านและฟั งเป็ นกระบวนการรับเข้ า
ที่ทําให้ เรามีแต่ได้ อย่างกว้ างขวาง
4. นักเรี ยนชันมั ้ ธยมศึกษาตอนปลายทุกคนต่างต้ องการเรี ยนต่อระดับอุดมศึกษา สุขศรี อยู่ ม.6
เธอก็อยากเรี ยนต่อมหาวิทยาลัยเช่นกัน
2.. “ ในภาษาไทยมีคําที่เกี่ยวกับใจหลายคํา “
เมื่อพิจารณาข้ อความนี ้ ข้ อใดอนุมานด้ วยวิธีอปุ นัย ไม่ ถูกต้ อง ( ต.ค./47 )
1. คนไทยให้ ความสําคัญแก่เรื่ องใจ
2. คนไทยมีความละเมียดละไมในด้ านจิตใจ
3. คนไทยมีคําเกี่ยวกับใจใช้ มากเช่นในภาษาอื่นๆ
4. คนไทยแยกแยะอารมณ์ ความรู้สกึ หรื อใจได้ อย่างหลากหลายและลึกซึ ้ง
3.. ข้ อใดเป็ นการอนุมานแบบ อุปนัย
1. กฎหมายห้ ามสูบบุหรี่ ในเขตปลอดบุหรี่ ถ้ าใครฝ่ าฝื นจะถูกปรับไม่เกิน 1,000 บาท
2. ปลาทูเป็ นอาหารทะเลที่มีคณ ุ ค่าทางอาหารสูง สัตว์ทะเลอื่นๆก็นา่ จะมีคณุ ค่าทางอาหารสูงด้ วย
3. มลพิษทางนํ ้ามีผลกระทบต่อสัตว์นํ ้าและผู้คน ผู้อยูร่ ิมนํ ้าจึงต้ องร่วมมือกันแก้ ปัญหา
4. ปรากฏการณ์เอลนีโญ่มีผลกระทบต่อประเทศต่างๆ ปี หน้ าประชากรโลกจึงต้ องประสบภาวะขาดแคลน
อาหารแน่นอน
4.. ข้ อใดเป็ นการอนุมานแบบ นิรนัย ( สามัญ 1/40 )
1. ปี ที่ผา่ นมาเศรษฐกิจของไทยตกต่อ เพราะเศรษฐกิจทัว่ โลกไม่ดี
2. วัยรุ่นสมัยใหม่ต้องแต่งตัวสวย เดินศูนย์การค้ า และมีโทรศัพท์มือถือ
3. ความรักของพ่อแม่คือ ความปรารถนาให้ ลกู ประสบความสําเร็จ
4. อุบตั เิ หตุทงหลายเกิ
ั้ ดขึ ้น เพราะความประมาทขาดความระมัดระวัง
5. ข้ อความต่อไปนี ้เป็ นการอ้ างเหตุผลตามข้ อใด ( มี.ค./46 )
“ 80 % ของคนไทยที่ผมพบเป็ นคนเอื ้อเฟื อ้ ผมจึงเชื่อว่า ในประเทศไทยมีคนไทยที่เอื ้อเฟื อ้ อยู่ 80 % “
1. การอ้ างเหตุผลแบบอุปนัย 2. การอ้ างเหตุผลแบบนิรนัย
3. การอ้ างเหตุผลโดยอาศัยสถิติ 4. การอ้ างเหตุผลโดยอาศัยแนวเทียบ
6. อํานวยพูดว่า “ อํานาจคงสอบภาษาฝรั่งเศสไม่ผา่ นหรอก เพราะว่าเขาอ่อนภาษาอังกฤษ “
อํานาจมีวิธีแสดงเหตุผลแบบข้ อใด ( ไทย กข/36 )
1. การอนุมานด้ วยวิธีอปุ นัย ข2 การอนุมานด้ วยวิธีนิรนัย
3. การอนุมานจากผลลัพธ์ไปหาสาเหตุ 4. การอนุมานจากผลลัพธ์ไปหาผลลัพธ์
7. ข้ อใดเป็ นการอนุมานด้ วยวิธี นิรนัย ( ไทย กข/29 )
1. นักเรี ยนทุกคนตังใจเรี
้ ยนวิชาคณิตศาสตร์ นักเรี ยนส่วนใหญ่สอบได้ คะแนนดี
2. การจัดดนตรี การกุศลในวันปิ ดภาคต้ นได้ กําไร การจัดดนตรี การกุศลในวันปิ ดภาคปลายควรจะได้ กําไร
เช่นกัน
3. นักเรี ยนชันมั ้ ธยมปลายทุกคนต้ องการเรี ยนต่อขันอุ
้ ดมศึกษา วิชยั ก็อยากเรี ยนต่อมหาวิทยาลัยเช่นกัน
4. เดือนมีนาคมปี นี ้อากาศหนาวกว่าเดือนกุมภาพันธ์ เดือนมีนาคมทุกปี อากาศจะหนาวเช่นกัน
8. ข้ อใดเป็ นการแสดงเหตุผลโดยวิธี นิรนัย ( ไทย กข/28 )
1. นักเรี ยนห้ องนี ้ส่วนมากไม่ตงใจเล่
ั ้ าเรี ยน ผลการสอบจึงไม่เป็ นที่พอใจ
2. มนุษย์ทกุ คนต้ องการอาหาร ที่อยูอ่ าศัย เครื่ องนุง่ ห่ม และยารักษาโรค ฉันก็ต้องการเช่นกัน
3. เขาฝึ กซ้ อมการเล่นปิ งปองมาเป็ นอย่างดี เขาน่าจะชนะเลิศในการแข่งขันครัง้ นี ้
4. นักเรี ยนที่สอบคณิตศาสตร์ ตก มักจะสอบฟิ สิกส์ตกด้ วย

You might also like