You are on page 1of 38

เพื่อชาติหรือเพื่อปูติน?

สงครามรัสเซี ย-ยูเครน

ร้อยตรีหญิง วงตะวัน นาคโชติ


วัตถุประสงค์
• เป็ นการสรุปและต่อยอดจากการบรรยายพิเศษสงครามรัสเซีย-ยูเครน
• เพื่อให้เข้าใจสาเหตุ ความเป็ นไปในวิกฤตความขัดแย้งของมหาอานาจ
• สามารถเชื่อมโยง สถานการณ์ เหตุและปัจจัยต่างๆ เพื่อนามาวิเคราะห์
• ทราบถึงผลกระทบต่อไทย
• สามารถวิเคราะห์เพื่อสร้างแนวทาง จุดยืน และท่าทีของไทยในเวทีโลก ในการรักษาดุลยภาพ
ระหว่างมหาอานาจ
• สามารถสร้างและบริหารความสาคัญทางยุทธศาสตร์ของประเทศภายใต้โลกหลายขัว้ อานาจได้
หัวข้อการบรรยาย
1. ทาไมเราต้องเรียน? เกี่ยวข้องกับไทยอย่างไร?
2. ภูมิหลังความสัมพันธ์และความขัดแย้ง
3. ต้นเหตุ ชนวนสงคราม 2022
4. วิกฤตจากการปะทะกันของมหาอานาจ เราเห็นอะไร?
5. ประเมินผลกระทบของสถานการณ์
6. ตอบคาถามเพื่อชาติหรือเพื่อปูติน
7. ก้าวต่อไปของสงคราม
8. บทเรียนที่ได้รบั และอนาคต
1. ทาไมเราต้องเรียน?
สงครามของปูตินกับยูเครน
2. ภูมิหลังความสัมพันธ์และความขัดแย้ง

• ปัจจัยที่ทาให้เกิดความตึงเครียดระหว่างรัสเซีย
และอดีตสหภาพโซเวียต
• ความสัมพันธ์ระหว่างรัสเซียกับประเทศอดีต
สหภาพโซเวียต
• มีปัญหาสั ่งสมเรื่องการปกครอง กลุ่มผลประโยชน์
ชาติพนั ธ์ สังคม-วัฒนธรรม และเขตแดน
• การล่มสลายของสหภาพโซเวียต เกิดรัฐเอกราช
15 รัฐ
“รัสเซีย – ประเทศที่มีอารยธรรม
อันเป็ นเอกลักษณ์ และ
วัฒนธรรมที่ยิ่งใหญ่ เป็ นประเทศ
ที่เชื่อมโยงชะตากรรม ความหวัง
แรงบันดาลใจของบรรพบุรษุ
หลายชัวอายุ่ คนเข้าไว้ด้วยกัน”

วลาดิมีร์ วลาดิมีโรวิช ปูติน


ภูมิหลังความสัมพันธ์และความขัดแย้ง (ต่อ)
• ปัจจัยที่ทาให้เกิดความตึงเครียดระหว่างรัสเซียและอดีตสหภาพโซเวียต
• การล่มสลายของสหภาพโซเวียต = การล่มสลายของรัสเซีย
• นโยบายมุ่งสู่ตะวันตก
ภูมิหลังความสัมพันธ์และความขัดแย้ง (ต่อ)
• ปัจจัยที่ทาให้เกิดความตึงเครียดระหว่าง
รัสเซียและอดีตสหภาพโซเวียต
• ตานาน “การถูกทรยศ”
• สัญญาไม่รกุ รานระหว่างกัน ในช่วงต้น
สงครามโลกครัง้ ที่ 2
กติกาสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบินทร็อพ
(Molotov–Ribbentrop Pact)
• แบ่งแยกโดย “วลีม่านเหล็ก”
• หักหลังโดย “คอร์สเศรษฐกิจพิเศษ”
• การขยายอานาจทางการทหาร NATO
ภูมิหลังความสัมพันธ์และความขัดแย้ง (ต่อ)
• ทาไม? รัสเซียถึงต้องหวงยูเครน ยูเครนสาคัญอย่างไร?
• การเมือง (ภูมิรฐั ศาสตร์/ความสาคัญทางยุทธศาสตร์)
• สังคม - วัฒนธรรม (ชาติพนั ธุ/์ ภาษา/ศาสนา/พลเมือง)
ภูมิหลังความสัมพันธ์และความขัดแย้ง (ต่อ)
• นโยบายต่างประเทศและทิศทางของรัสเซียสมัยใหม่
• หลักนโยบายต่างประเทศของรัสเซีย (1)
• รักษา เสริมสร้างอานาจอธิปไตยและบูรณภาพแห่งดินแดน ดารงไว้ซึ่งสถานะหนึ่ งในมหาอานาจที่มี
อิทธิพลในเวทีระหว่างประเทศสมัยใหม่
• สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกบั ประเทศเพื่อนบ้าน แก้ไขปัญหา ความตึงเครียดและความขัดแย้งที่ เกิดขึน้ ใน
ภูมิภาค
• ให้ความสาคัญกับ 3 กลุ่มประเทศ ได้แก่ 1.พันธมิตรใกล้ชิด เครือรัฐเอกราช 2.กลุ่มประเทศตะวันตก
3.กลุ่มประเทศในภูมิภาคเอเชีย และเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
ภูมิหลังความสัมพันธ์และความขัดแย้ง (ต่อ)
• นโยบายต่างประเทศและทิศทางของรัสเซียสมัยใหม่
• หลักนโยบายต่างประเทศของรัสเซีย (2)
• แสวงหาสถานะความเป็ นมหาอานาจในเวทีโลก
• รักษาสถานะและบทบาทของตนในเวทีระหว่างประเทศ
• ส่งเสริมระเบียบระหว่างประเทศที่มีหลายขัว้ อานาจ (multipolar world order)
• รักษาและขยายอิทธิพลในบริเวณยูเรเชีย
ภูมิหลังความสัมพันธ์และความขัดแย้ง (ต่อ)
• นโยบายต่างประเทศและทิศทางของรัสเซียสมัยใหม่
• หลักนโยบายต่างประเทศของรัสเซีย (3)
• รับรองความปลอดภัยของรัสเซีย อานาจอธิปไตยในทุกขอบเขตและบูรณภาพแห่งดินแดน
• สร้างเงื่อนไขภายนอกที่เอื้ออานวยต่อการพัฒนาประเทศ
• เสริมสร้างตาแหน่ งของรัสเซียในฐานะหนึ่ งในศูนย์กลางที่มีความรับผิดชอบ มีอิทธิพล และเป็ นอิสระของโลก
สมัยใหม่
3. ต้นเหตุ ชนวนสงคราม 2022
เริ่มจากอะไร?
• แนวคิด เรื่องการเมืองและภูมิรฐั ศาสตร์
• ปัจจัยทางด้านสังคม-วัฒนธรรม
(Russophobia)
• การเพิกเฉยต่อเส้นแดง
(ยุทธศาสตร์ปิดล้อมรัสเซีย)
• ทาไมรัสเซียไม่ทาสิ่งเดียวกันในปี 2014?
ท้ายที่สดุ เมื่อรัสเซียยังคงถูกควา่ บาตร?
4. วิกฤตจากการปะทะกันของมหาอานาจ เราเห็นอะไร?

สิ่งที่เห็น
• การคืนชีพของ NATO (ขยายที่ทาการ)
• กิจกรรมของพันธมิตร Downline
(AUKUS, QUAD, G7)
สิ่งที่เห็น (ต่อ)
• การทุ่มงบของสหรัฐฯและพันธมิตรเพื่อช่วยเหลือยูเครน
(เงิน, ผูเ้ ชี่ยวชาญ, องค์ความรู้, ยุทโธปกรณ์)
• การทุ่มงบประมาณในอุตสาหกรรมอาวุธของประเทศ
ต่างๆ
สิ่งที่เห็น (ต่อ)
• สมรภูมิปะทุในหลายภูมิภาค และพืน้ ที่เปราะบาง
(ทะเลจีนใต้, คาบสมุทรเกาหลี, ไต้หวัน, ซูดาน)
• คู่ขดั แย้ง สู่ พันธมิตร
(ซาอุดิอาระเบีย – อิหร่าน, เกาหลีใต้ – ญี่ปน,
ุ่
ตุรกี - ซีเรีย)
5. ประเมินผลกระทบของสถานการณ์
• ประเมินผลกระทบของสถานการณ์
• ความสูญเสีย (ชีวิต ทรัพย์สิน โครงสร้างพืน้ ฐาน)
• การเลือกฝ่ ายเลือกข้าง
• รัสเซียยืนโดดเดี่ยวบนเวทีโลก?
• ฝัง่ สหรัฐฯและพันธมิตร
• ฝัง่ รัสเซีย มีใครบ้าง?
• กลุ่มเป็ นกลาง/กลุ่มร่วมงานเฉพาะกิจ
ประเมินผลกระทบของสถานการณ์ (ต่อ)
• บทบาทมหาอานาจ (ต่อ)
• สหรัฐอเมริกา
• แผนการของสหรัฐฯ คืออะไร?
• ปกป้ องยูเครนจากการบุกรุกของรัสเซีย
• สหรัฐฯต้องการอะไร?
• การเจรจาจะเกิดหลายครัง้ แต่สดุ ท้ายก็จบลงที่ให้การสนับสนุนต่อไป
• หรือเป็ นการทาให้เกิดสงคราม/ดึงพันธมิตรเข้าไปร่วม/มีบทบาทแบบไม่เต็มตัว?
• สมรภูมิทางยุทธศาสตร์เพื่อลดทอนอานาจของฝ่ ายตรงข้าม?
• ได้อะไร?
• เสียอะไร?
ประเมินผลกระทบของสถานการณ์ (ต่อ)
• บทบาทมหาอานาจ (ต่อ)
• พันธมิตรตะวันตก
• บทบาทการเป็ นตัวแทนเพื่อสร้างสันติภาพ
• นโยบายความเป็ นอิสระเชิงกลยุทธ์ Strategic Autonomy
• ยูเครน-พันธมิตรตะวันตก
• การกดดันนาโต เรื่องการรับยูเครนเข้าเป็ นสมาชิก
(ซึ่งสะท้อนความสัมพันธ์และท่าทีระหว่างตะวันตกที่มีต่อยูเครน)
• ยูเครนยอมรับสภาพว่าอาจจะไม่ได้เป็ นสมาชิกนาโตกับสหภาพยุโรปภายในระยะเวลา
อันใกล้นี้
• การการันตีเรื่องความมันคงและสถานะให้
่ ยเู ครน
• ผลกระทบของสถานการณ์ต่อภูมิภาคยุโรป
• ภูมิศาสตร์ ภูมิรฐั ศาสตร์
• เศรษฐกิจและการเงิน
• การควา่ บาตร (ช่วยเสริมการพัฒนาทางนวัตกรรม)
• พลังงาน/ก๊าซธรรมชาติ
• การกีดกันสินค้านาเข้าจากยูเครน
• ความช่วยเหลือทางการเงิน/อาวุธ
• ผลกระทบของสถานการณ์ต่อภูมิภาคยุโรป (ต่อ)
• สังคมและวัฒนธรรม
• การอพยพ
• การเมือง
• เสียงแตก ไม่เป็ นหนึ่ งเดียว
ประเมินผลกระทบของสถานการณ์ (ต่อ)
• บทบาทมหาอานาจ (ต่อ)
• จีน
• การฟื้ นฟูความสัมพันธ์ทางการทูตในภูมิภาคตะวันออกกลาง
• สร้างสันติภาพ จีน-ไต้หวัน
• มีบทบาทเป็ นตัวกลาง นาเสนอแผนสันติภาพ รัสเซีย-ยูเครน
• จีนได้ประโยชน์ อะไร? เสียประโยชน์ อะไร?
แผนสันติภาพจีน 12 ข้อ
• เคารพอธิปไตยทุกประเทศ • รักษาความปลอดภัยโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์
• เลิกความคิดสมัยสงครามเย็น • ลดความเสี่ยงการใช้อาวุธนิวเคลียร์
• ยุติความเป็ นศัตรู • อานวยความสะดวกการส่งออกธัญพืช
• ฟื้ นการเจรจาสันติภาพ • ยุติการควา่ บาตรฝ่ ายเดียว
• แก้วิกฤตด้านมนุษยธรรม • รักษาเสถียรภาพการขนส่งสินค้า
• ปกป้ องพลเรือน • สนับสนุนการบูรณะหลังสงคราม
จีนได้ประโยชน์ อะไร? เสียประโยชน์ อะไร?
ประเมินผลกระทบของสถานการณ์ (ต่อ)
• บทบาทมหาอานาจ (ต่อ)
• ตะวันออกกลาง สร้างดุลยภาพด้านพลังงาน

• อินเดีย
• ทาไมจึงเลือกที่จะไม่ประนามรัสเซีย
• แล้วทาไมถึงยังสนิทกับสหรัฐฯได้ด้วย
ประเมินผลกระทบของสถานการณ์ (ต่อ)
• ผลกระทบจากสงครามต่อรัสเซีย?
• เศรษฐกิจ การเงิน
• การถูกควา่ บาตร (พลังงาน/สินค้าเกษตร)
• ถูกตัดออกจากระบบ SWIFT
• นาเข้า/ส่งออก
• ทาไมการควา่ บาตรไม่ได้ผล
• ผลกระทบจากสงครามต่อรัสเซีย? (ต่อ)
• เสถียรภาพในเวทีโลก
• ความชอบธรรมของผลประชามติ?
• อาชญากรสงคราม
• เป็ นประธานคณะมนตรีความมันคงในสหประชาชาต
่ ิ ตามวาระ 1 เดือน
• เสถียรภาพและความเข้มแข็งของการเมืองภายในและความเป็ นไปได้
ที่รสั เซียจะแตก?
• บทเรียนจากการล่มสลายหรือการเปลี่ยนระเบียบภายในรัสเซีย
จากอดีต
• กระแสชาตินิยมรัสเซีย อดีต/ปัจจุบนั
• คะแนนความนิยม
• แคมเปญโฆษณาเข้าร่วมรบกับกองทัพรัสเซีย
• ผลกระทบจากสงครามต่อรัสเซีย? (ต่อ)
• ถ้าแตกใครจะเข้ามาเป็ นผูน้ า?
• ความสัมพันธ์ที่ระหองระแหงระหว่างเครือข่ายอานาจ
• กระทรวงกลาโหมรัสเซีย Обороны РФ
• กลุ่มวากเนอร์ Вагнер
• กลุ่มคอนวอย «Конвой» “Сергей Аксенов”
• หากปูตินต้องลงจากอานาจ
• ผลกระทบต่อไทย
• สังคมวัฒนธรรม
• ด้านเศรษฐกิจ
• ระบบการเงิน
• ราคาน้ามัน
• การเกษตร
• ด้านการเมือง ท่าทีไทยในสหประชาชาติ
• ด้านการทหาร
(การพัฒนาทางด้านอาวุธ เราจะฝึ กร่วมกับใคร?)
6. เพื่อชาติหรือเพื่อปูติน?
7. ก้าวต่อไปของสงคราม
• จะจบไหม?
• กว่าจะถึงการเจรจา
• ข้อเรียกร้องทัง้ สองฝ่ ายเพื่อการเจรจายุติสงคราม
• ฝ่ ายรัสเซีย
• ฝ่ ายยูเครน
• จะจบเมื่อไหร่?
• 2023? 2024? ...........?
• อะไรจะมาเป็ นจุดเปลี่ยน?
• การเลือกตัง้ ? มหาอานาจ
• การเมืองภายใน? มหาอานาจต่าง?
ก้าวต่อไปของสงคราม (ต่อ)
• สถานการณ์ที่น่าจับตามองต่อไป?
• สัญญาณบางประการ
• ปัญหา/นโยบาย ที่ส่งผลทาให้เลิกให้ความช่วยเหลือต่อกัน
(ควบคุมอาวุธ/สะสมอาวุธ)
• การโจมตีจดุ ยุทธศาสตร์ของคู่สงครามทาให้บนทอนความเชื
ั่ ่อมันภายใน

• สงครามยืดเยือ้ ได้ประโยชน์ หรือเสียประโยชน์
• ยุทธศาสตร์ปิดล้อมตะวันตก
• เอเชีย ตะวันออกกลาง แอฟริกา ลาตินอเมริกา
8. บทเรียนที่ได้รบั และอนาคต
• บทเรียนที่ได้รบั
• พันธมิตรตะวันตกและนาโตรวมพลังกันเป็ นหนึ่ งเดียวและเหนี ยวแน่ นที่สดุ
• จากยุโรปเคยซื้อพลังงาน ก๊าซธรรมชาติจากรัสเซีย หันมาซื้อพลังงานจากสหรัฐฯ
• สหรัฐฯ ประกาศว่าจะไม่มาร่วมรบในยูเครน จึงไม่ต้องมาพัวพันกับความวุ่นวายในสมรภูมิ
อย่ า งเต็ม ตัว ขณะเดี ย วกัน สร้ า งให้ จี น และรัส เซี ย เป็ นภัย คุก คาม ยิ่ ง เป็ นการผลัก ดัน ให้
พันธมิตรของสหรัฐฯหันมาร่วมกดดันและปิดล้อมจีนหนักขึน้ กว่าเดิม
• สหรัฐฯยังคงเป็ นมหาอานาจด้านเศรษฐกิจอันดับหนึ่ งของโลก พันธมิตรของสหรัฐฯที่ ร่วม
ควา่ บาตรด้วยกันมีขนาดเศรษฐกิจร่วมกันมากว่าร้อยละ 50 ของโลกในขณะที่จีนมีประมาณ
ร้อยละ 18 ส่วนรัสเซียมีเพียงร้อยละ 2 เท่านัน้
• ระบบการชาระเงินใหม่แทนระบบ SWIFT VS Crypto currency
• บทเรียนที่ได้รบั (ต่อ)
• อย่ายืมจมูกคนอื่นหายใจ
• สร้างความเข้มแข็งจากภายใน (กาลังอานาจของชาติ)
• สบับสนุนการศึกษาจนเกิดการพัฒนาทางนวัตกรรม
• DE-GLOBALIZATION > REGIONALIZATION > LOCALIZATION / SUPPLY CHAIN
• กระจายความเสี่ยง/สร้างพันธมิตร
• FRIEND-RESHORING > RESHORING
• อนาคต
• ระเบียบโลกที่อาจกาลังจะเปลี่ยนไป?
“BAMBOO BENDING IN THE WIND”
ที่มาของแหล่งข้อมูล
• Администрация Президента России.
• Министерство иностранных дел Российской
Федерации (МИД России).
• Министерство обороны Российской Федерации
(Минобороны России).
• Министр финансов.
• Министр экономического развития.
• Интерфакс (Interfax).
• ТАСС (TASS).
• РИА (RIA).
• Россия 1.

You might also like