You are on page 1of 54

HI 5002

ประวัติศาสตรรวมสมัย
หัวขอ
“The Dragon and Porcupine:
จีนประเด็นไตหวัน”
พ.ต.หญิง ทิพยพาพร อินคุม
7 มิถุนายน 2566
วัตถุประสงค

• เพื่อศึกษาที่มาของความสัมพันธและสถานการณระหวางจีนและ
ไตหวันในปจจุบัน
• เพื่อเขาใจความเปนไปของสถานการณและเชื่อมโยงเหตุและปจจัย
ที่สงผลกระทบตอบริบทของโลกและตอไทย
• เพื่อวิเคราะหแนวโนมของสถานการณระหวางจีนกับไตหวันที่มีผล
ตอทาทีและจุดยืนของประเทศตางๆ ในอนาคต
หัวขอการบรรยาย
• สถานการณปจจุบันระหวางจีนกับไตหวัน (และสหรัฐอเมริกา)
• บริบททางประวัติศาสตรตอกรณีจีนกับไตหวัน
• นโยบายจีนเดียว (One China Policy)
VS หลักการจีนเดียว (One China Principal)
• ทาทีของสหรัฐอเมริกาตอประเด็นไตหวัน
• ผลกระทบของสถานการณตอ ไทย
“Porcupine Strategy”
• ยุทธศาสตรเมน หมายถึง กลยุทธการปองกัน “แบบอสมมาตร” (Asymmetric Defence
Strategy) โดยมาตรการปองกันตนเองนั้นจะทําใหผูบุกรุกตองมีตนทุนสูงมากจนไมคุมกับการ
จะรุกราน
• สําหรับผูปองกันตนเอง กลยุทธนี้ตองใชวิธีการลงทุนจํานวนมากดานความสามารถในการ
ปองกัน เชน อาวุธตอตานอากาศยาน ตอตานเรือรบ และตอตานรถถัง เพื่อสรางความเสียหาย
สูงสุดแกกองกําลังของฝายโจมตี
• จุดมุงหมายที่สําคัญที่สุดของกลยุทธนี้ คือ การใหการปองปรามเบื้องตนตอการบุกรุก และ
ทําใหการเขายึดจากฝายตรงกันขามตองลมเหลว ตามมาดวยการตอบโตที่มีประสิทธิภาพ
สูงสุด
บริบททางประวัติศาสตรตอกรณีจีนกับไตหวัน

สมัยราชวงศชิง
• ปราบปรามขุนศึกของราชวงศหมิงที่หนีการรุกรานมาที่ไตหวัน
ตั้งอาณาจักร “ตงหนิง”
• ไตหวันกลายมาเปนสวนหนึ่งในการปกครองของจีน
สงครามจีน-ญี่ปุน ครั้งที่ 1 ค.ศ. 1894 - 1895
• “สนธิสัญญาชิโมโนเซกิ” หรือ “สนธิสัญญาหมากวน”
• จีนตองยกอํานาจการครอบครองดินแดน ไตหวัน คาบสมุทรเหลียวตง
หมูเกาะเผิงหู คาบสมุทรเกาหลี ใหญี่ปุน
บริบททางประวัติศาสตรตอกรณีจีนกับไตหวัน (ตอ)
• ความสัมพันธระหวางจีนกับไตหวันชวงทศวรรษ 1980
• หลักการ “หนึ่งประเทศ สองระบบ” ของจีน
• มีการผอนคลายกฎเกณฑการเดินทางและการลงทุนระหวางกัน
• มีการเจรจาในวงจํากัดระหวางผูแทนอยางไมเปนทางการของสองฝายหลายครั้ง
• แต จีนยืนกรานวา “รัฐบาลสาธารณรัฐจีน (Republic of China) ของไตหวัน
ไมมีความชอบธรรม”
• การเมืองไตหวันเขาสู “จุดปฏิรูปประชาธิปไตย” ใน ค.ศ. 1996 ดวยระบบการ
เลือกตั้งประธานาธิบดีโดยตรง
บริบททางประวัติศาสตรตอกรณีจีนกับไตหวัน (ตอ)

• หลี่ เติงฮุย (1996)


• สนับสนุนใหไตหวันเปนเอกราช
• เดินทางไปเยือนสหรัฐฯ
• รับความชวยเหลือจากนานาชาติ
บริบททางประวัติศาสตรตอกรณีจีนกับไตหวัน (ตอ)

• เฉิน สุยเปยน (2000-2008)


• สนับสนุน “การเปนเอกราช”

• จีนประกาศใช “กฎหมายตอตานการแยกตัว” (2005)


• จีนมีสิทธิใชวิธีการไมสันติตอไตหวันได
ถาไตหวันพยายามแยกตัวออกจากจีน
บริบททางประวัติศาสตรตอกรณีจีนกับไตหวัน (ตอ)

• หมา อิงจิ่ว (2008-2016)


• พัฒนาความสัมพันธกับจีน (ขอตกลงทางเศรษฐกิจ)
• ถูกมองวาเปนตัวแทนของการยินยอมตออํานาจจีน
• มาจากพรรค Kuomintang (KMT)
มีผลตอการเลือกตั้งประธานาธิบดีในเวลาตอมา
บริบททางประวัติศาสตรตอกรณีจีนกับไตหวัน (ตอ)

• ไช อิงเหวิน (2016-ปจจุบัน)


• หัวหนาพรรค Democratic Progressive Party: DPP
• สนับสนุนใหไตหวันเปนเอกราช
ชูนโยบายคงสถานะของไตหวัน
• หากจีนเคารพอธิปไตยและการเลือกตั้งของไตหวัน
ก็พรอมเจรจากับจีน
บริบททางประวัติศาสตรตอกรณีจีนกับไตหวัน (ตอ)
“นโยบายจีนเดียว” (One China Policy)
• คือ จุดยืน/สถานะ ทางการทูตของรัฐบาลจีน วา “มีรัฐบาลจีนเพียงรัฐบาลเดียว”
• สหรัฐฯ ยอมรับ และดําเนินความสัมพันธทางการทูตกับจีนแผนดินใหญ ตั้งแต ค.ศ.1979
• จีนมองไตหวันวาเปน “มณฑล” (省 shěng) หนึ่งใน 23 มณฑลของจีน
และตองกลับมารวมกับจีน (One China Principal)
• คนไตหวันรุนใหมไมยอมรับนโยบายนี้ของจีน และมีแนวคิดเกี่ยวกับ
อัตลักษณความเปนไตหวันที่ตัดขาดจากจีน (Taiwanization)
คือ
สําคัญอยางไร
• Pan-Blue (พรรค KMT)
• กลุมที่ยอมรับนโยบายจีนเดียว
• Pan-Green (พรรค DPP)
• ตอตานนโยบายจีนเดียว สนับสนุนเอกราชของไตหวัน
• Not Chinese, but Taiwanese
• พยายามลดความเปนจีน (Desinicization)
ในแบบเรียนประวัติศาสตรของไตหวัน
ทาทีของสหรัฐอเมริกาในประเด็นไตหวัน
• สหรัฐฯ สถาปนาความสัมพันธทางการทูตอยางเปนทางการกับรัฐบาลจีนใน ค.ศ. 1979
• ทําใหสหรัฐฯ ตองตัดความสัมพันธกับไตหวัน และปดสถานทูตสหรัฐฯ ในกรุงไทเป
• แตในปเดียวกันนั้น สหรัฐฯ ผานกฎหมายความสัมพันธกับไตหวัน (Taiwan Relations Act)
ซึ่งบัญญัติไววา สหรัฐฯ ตองชวยเหลือไตหวันในการปองกันตนเอง (สหรัฐฯ ขายอาวุธให
ไตหวันมาอยางตอเนื่อง)
• สหรัฐฯ ยังคงรักษาความสัมพันธอยางไมเปนทางการผาน “สถาบันอเมริกาในไตหวัน”
(American Institute in Taiwan) ซึ่งเปนบริษัทเอกชนที่จัดกิจกรรมทางการทูตตางๆ
ทาทีของสหรัฐอเมริกาตอจีนในปจจุบัน
• “การผงาดขึ้นมาของจีน” The Rise of China
• สหรัฐฯ ถือวาจีนเปนคูแขงทางเศรษฐกิจที่สาํ คัญอันดับ 1
- จีนกําลังรุกรานทางเศรษฐกิจโลก (Belt and Road Initiative: BRI)
- จีนกําลังแผอิทธิพลทางภูมิรัฐศาสตรในภูมิภาคตางๆ ของโลก
- จีนกําลังพัฒนาสูความเปนมหาอํานาจทางเทคโนโลยีโลก
- จีนกําลังใชยุทธวิธี Hybrid Warfare
เพื่อครอบงําวัฒนธรรมโลก
ทาทีของสหรัฐอเมริกาตอจีนในปจจุบัน (ตอ)
• มุมมองและทาทีของสหรัฐฯ ตอการแขงขันทางเทคโนโลยี
• พรรครีพับลิกันและพรรคเดโมแครตมีทาทีรวมกัน (bipartisan) วา
จีนเปน “คูแขงเชิงยุทธศาสตร” (strategic competitor) ซึ่งสหรัฐฯ ตองการสกัดกั้น
การกาวขึ้นมาเปนผูนําทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีของจีนในระยะยาว
• สหรัฐฯ และประเทศพันธมิตร เชน ออสเตรเลียและแคนาดา กังวลวา จีนอาจใชประโยชน
จากการลงทุนดานโครงสรางพื้นฐาน/เทคโนโลยี เพื่อตอบสนองผลประโยชนดานการเมือง
และการทหาร
ทาทีของสหรัฐอเมริกาตอจีนในปจจุบัน (ตอ)
• รวมถึงกังวลวา หากประเทศใดพึ่งพาการใชอุปกรณทางเทคโนโลยีจากจีนในโครงสราง
ดานโทรคมนาคมซึ่งถือเปนโครงสรางพื้นฐานสําคัญ (critical infrastructure) มาก
เกินไป อาจสงผลใหจีนสามารถควบคุมการไหลเวียนของขอมูล และเขาถึงขอมูล
ออนไหวของประเทศนั้น ๆ ไดมากขึ้น ซึ่งมีนัยตอการเมือง เศรษฐกิจ และความมั่นคง
ของประเทศผูใช และการแขงขันเชิงยุทธศาสตรระหวางสหรัฐฯ กับจีน
• ดวยเหตุนี้ สหรัฐฯ พยายามกดดันประเทศพันธมิตร รวมถึงประเทศไทย เพื่อหลีกเลี่ยง
การใชเทคโนโลยี 5G ของจีน โดยสนับสนุนการสรางความหลากหลายในหวงโซการ
ผลิตอุปกรณสําหรับเทคโนโลยี 5G
ทาทีของสหรัฐอเมริกาตอจีนในปจจุบัน (ตอ)
แนวโนมในอนาคต
• แมรัฐบาลใหมภายใตประธานาธิบดีโจ ไบเดน ยังคงมองจีนเปนคูแขงเชิงยุทธศาสตร
เชนเดียวกันกับรัฐบาลของอดีตประธานาธิบดีทรัมป แตรัฐบาลใหมของสหรัฐฯ จะดําเนิน
นโยบายตางประเทศตอจีนในรูปแบบของการแขงขันและความรวมมือในประเด็นที่สหรัฐฯ
กับจีนมีผลประโยชนรวมกันแทนการเผชิญหนากับจีนอยางเดียว
• โดย (1) อาศัยเครือขายพันธมิตรของสหรัฐอเมริกาและกรอบความรวมมือระหวาง
ประเทศ และ (2) เปลี่ยนกลยุทธ จากเดิมในลักษณะ “หมากรุก” ในลักษณะการแขงขันที่
มีฝายหนึ่งแพฝายหนึ่งชนะ (zero-sum game) มาเปน “หมากลอม” โดยมุงเสริมสราง
พันธมิตรและเปดหลายสนามรบพรอมกันมากขึ้น ซึ่งสนามรบดานขอมูล/เทคโนโลยี จะ
เปนสนามสําคัญ
ทาทีของสหรัฐอเมริกาตอจีนในปจจุบัน (ตอ)
• คาดวาสหรัฐฯ จะรวมกับญี่ปุนและสหภาพยุโรป เพื่อสราง “Tech Alliance” โดยมีขอ
ริเริ่ม Clean Network เปนพื้นฐานในการผลักดันหวงโซอุปทาน 5G เปนทางเลือกแทน
เทคโนโลยี 5G ของจีน
• ดังนั้น ญี่ปุน ไตหวัน และเกาหลีใต จะมีบทบาทโดดเดนขึ้น ในการเปนตัวเลือกดานหวงโซ
อุปทานการผลิตชิป/เทคโนโลยี 5G และการรวมสรางบรรทัดฐานดานความมั่นคงทาง
ขอมูล (Data Security)
• การคว่ําบาตรทางเทคโนโลยีของสหรัฐฯ ตอจีน จะผลักดันใหจีนพยายามเพิ่มขีด
ความสามารถในการผลิตเทคโนโลยีชิปขั้นสูงเปนของตนเองมากยิ่งขึ้น ในขณะที่ สหรัฐฯ
และสหภาพยุโรปผลักดันการกระจายการจัดตั้งโรงงานผลิตชิปขั้นสูงในภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออก ซึ่งมีสัดสวนการผลิตชิปมากถึงรอยละ 80 ของโลกของมายังสหรัฐฯ และยุโรป
มากขึ้น เพื่อรักษาการเขาถึงทางเทคโนโลยี
• รายงานของ Center for Strategic &
International Studies: CSIS (Jan 2023)
• สถานการณจําลองจากเกม Next War: Taiwan
• จีนโจมตีกองทัพเรือและกองทัพอากาศของ
ไตหวัน และปดลอมดวยการยกพลขึ้นบก
• ผล คือ Taiwan - ยังปกปองตนเองได แตตองไม
ถอดใจกอนที่จะไดรับการสนับสนุนจากภายนอก
• ชัยชนะแบบ Pyrrhic Victory (ไดไมคุมเสีย)
https://www.csis.org/analysis/first-battle-next-war-wargaming-chinese-invasion-taiwan
An operational map for
a wargame envisioning a
Chinese invasion of
Taiwan (courtesy of
CSIS)
Section Title
Add Your Text Here
Pyrrhic Victory
• สหรัฐฯ และญี่ปุน
สูญเสียเรือรบหลายสิบลํา เครื่องบินหลายรอยลํา กําลังพลหลายพันคน
• ไตหวัน
ความสามารถของกองทัพลดลง เศรษฐกิจเสียหายหนัก ไฟฟาและ
สาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานถูกตัดขาด
• จีน
ความเสียหายอยางหนักของกองทัพเรือ กองกําลังสะเทินน้ําสะเทินบก กําลังพล
รวมถึงความสั่นคลอนในการปกครองของพรรคคอมมิวนิสตจีน
แนวทางการเตรียมความพรอม
• การพูดคุยแผนการรบกับพันธมิตรใหชัดเจน
• การหลีกเลี่ยงที่จะจูโจมหรือลวงล้ําเขาไปในจีนแผนดินใหญ
• การเตรียมใจกับการสูญเสียกําลังพล
• การขยายฐานทัพอากาศในญี่ปุนและกวม
• การคุมกันเครื่องบินรบไมใหถูกโจมตีกอนขึ้นบิน
กุญแจสําคัญในการปกปองไตหวัน
(1) ไตหวันตองไมถอดใจในการปองกันตนเอง และเสริมกําลังในกองกําลังภาคพื้นดินเปนหลัก
• Porcupine Strategy ของไตหวันมีประสิทธิภาพจริงหรือ?
• ไตหวันควรลงทุนกับอาวุธขนาดเล็กเคลื่อนที่เร็ว เชน
- Stinger Missile
- Jevelin Missile
กุญแจสําคัญในการปกปองไตหวัน (ตอ)
(2) สหรัฐฯ ตองสงอาวุธที่จําเปนใหไตหวันในยามสงบ และรวมรบโดยตรงเมื่อเกิดสงคราม
• หากสหรัฐฯ ลาชาหรือชวยไมเต็มที่ สถานการณจะยากขึ้น
• สหรัฐฯ จะไดรับความเสียหายมากขึ้น และเสี่ยงตอความขัดแยงกับจีนที่ยกระดับสูงขึ้น
(3) สหรัฐฯ ตองสามารถใชฐานทัพในญี่ปุนเพือ่ ปฏิบัติการรบได
• สหรัฐฯ ควรกระชับความสัมพันธทางการทูตและการทหารกับญี่ปุนใหมากยิ่งขึ้น
(4) สหรัฐฯ ตองโจมตีฝูงเรือจีนไดอยางรวดเร็วจากพื้นที่ดานนอกเขตคุมกันของจีน
• การใชเครื่องบินทิ้งระเบิดและจรวดพิฆาตเรือรบ
สถานการณดังกลาวหลีกเลี่ยงไดหรือไม ?
• ภารกิจหลักของพรรคคอมมิวนิสตจีนตอจากนีค้ ือ การนําชาวจีนจากทุกกลุม ชาติพันธุรวมกัน
พยายามไปสูการบรรลุเปาหมายในรอยปที่สองของการสรางจีนใหเปนประเทศสังคมนิยมที่มี
ความยิ่งใหญทุกประการ และเดินหนาฟนฟูชาติจีนใหยิ่งใหญในทุกดาน
• พรรคคอมมิวนิสตจีนจะใชนโยบายเพื่อแกปญหาไตหวันในยุคใหม และผลักดันการรวมชาติ
อยางแนวแน โดยไตหวันถือเปนปญหาภายในที่จีนจะแกไขผานแนวทางอันสันติ ดวยความ
จริงใจและความพยายามอยางสูงสุด แตหากมีการแทรกแซงจากภายนอก จีนอาจจําเปนตอง
ใชกําลังและมาตรการขั้นเด็ดขาดเพือ่ ตอบโต โดยมุงเปาไปที่คนบางกลุมที่พยายามแสวงหา
เอกราชและแบงแยกดินแดน ไมไดมีเปาหมายที่เพื่อนรวมชาติในไตหวันของเรา
การประชุมสมัชชาใหญพรรคคอมมิวนิสต (CPC) ครั้งที่ 20 (16 ต.ค. 2022)
ผลกระทบจากสถานการณความขัดแยงจีน-ไตหวัน
• กรณีการเยือนไตหวันของนางแนนซี เพโลซี ประธานสภาผูแทนราษฎรของประเทศสหรัฐฯ (2022)
ซึ่งจีนเห็นวาเปนการละเมิดอธิปไตยและบูรณาภาพทางดินแดนของจีน
• จีนตอบโตโดยกรมศุลกากรของจีนประกาศอยางเปนทางการเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2565 วาหามนําเขา
สินคา จากไตหวันกวา 2,000 รายการ (จากทั้งหมดกวา 3,200 รายการ) โดยใหเหตุผลวาสินคาเหลานี้
ไมไดรับการลงทะเบียนอยางถูกตองตามมาตรฐานของจีน
• ครอบคลุมสินคาของไตหวันกวา 35 ประเภท เชน ปลาและอาหารทะเล น้ํามันปรุงอาหาร บิสกิตและเคก
เปนตน
• จีนไดประกาศการซอมรบของกองทัพปลดแอกประชาชนจีน (PLA) และการซอมรบดวยการยิงกระสุน
จริงใน 6 พื้นที่ทางทะเลรอบเกาะไตหวัน ตลอดจนนานฟาของพืน้ ที่ดังกลาว พรอมเตือนไมใหเรือหรือ
เครื่องบินใดลวงเขาไปในพืน้ ที่ดังกลาว
ผลกระทบตอโลก จากสถานการณความขัดแยงจีน-ไตหวัน
• หากสถานการณความขัดแยงรุนแรงขึ้นจะสงผลกระทบตอเศรษฐกิจโลก คือ ปญหา Supply Chain
(กระทบมากขึ้นจากสถานการณความขัดแยงรัสเซีย-ยูเครน) โดยเฉพาะชิป เนื่องจากบริษัท Taiwan
Semiconductor Manufacturing Company (TSMC) เปนผูผลิตชิป รายใหญของโลก
• ไตหวันมีกําลังการผลิตสูงสุด รอยละ 22 ของการผลิตของโลก (2020) (เกาหลีใตรอยละ 21 และจีน
รอยละ 15) โดยหากสถานการณรุนแรงมากขึ้นจะสงผลใหราคามีแนวโนมสูงขึ้น ซึ่งกระทบตอตนทุนการ
ผลิตสินคาที่ใชชิปเปนสวนประกอบได เชน สมารทโฟน ยานยนต อุปกรณอิเล็กทรอนิกส เปนตน
• กรณีนี้เปนการซ้ําเติมภาวะเงินเฟอเพิม่ มากขึ้น สงผลใหเศรษฐกิจโลกจะชะลอตัวลง
• หรือความขัดแยงอาจจะไมรุนแรง แตการซอมรบของจีนบริเวณรอบเกาะไตหวันอาจลุกลามมาจนถึง
ทะเลจีนใต หากทะเลจีนใตและจีนตะวันออกไมสามารถใชในการขนสงสินคาไดเหมือนปกติ จะทําให
ประเทศรอบทะเลไดผลกระทบ เชน ไตหวัน ฮองกง สิงคโปร เวียดนาม และไทย ซึ่งเสนทางการเดินเรือ
นี้มีมูลคาการคากวา 5 ลานลานดอลลารสหรัฐฯ หรือคิดเปนมูลคากวารอยละ 60 ของมูลคาการคาโลก
สถานการณการสงออกของไทยไปจีนและไตหวัน
• จีน
• การสงออกรวมในป 2564 เปนมูลคา 3.6 หมื่นลานดอลลารสหรัฐฯ คิดเปน รอยละ 13.7 (อันดับที่ 2) ของ
มูลคาการสงออกรวมทั้งหมด (2.7 แสนลานดอลลารสหรัฐฯ) สินคาสําคัญ ไดแก ผลไม ยางธรรมชาติ อะไหล
และอุปกรณเสริมสําหรับรถยนต หนวยประมวลผลขอมูล
• ไตหวัน
• การสงออกรวมในป 2564 เปนมูลคา 4.6 พันลานดอลลารสหรัฐฯ คิดเปนรอยละ 1.7 (อันดับที่ 16) ของ
มูลคาการสงออกรวมทั้งหมด (2.7 แสนลานดอลลารสหรัฐฯ) สินคาสําคัญ ไดแก วงจรรวมอิเล็กทรอนิกส
เครื่องปรับอากาศ หนวยประมวลผลขอมูล

ทั้งนี้ ไทยมีการคากับจีนเปนอันดับตนๆ จึงมีความจําเปนที่ตองติดตามสถานการณและผลกระทบที่จะเกิดตอ


ภาคอุตสาหกรรมของไทยตอไป
ผลที่คาดวาจะเกิดขึ้นกับอุตสาหกรรมของไทย

• ประโยชนที่อาจเกิดขึ้น:
• ความขัดแยงระหวางจีนและไตหวัน สงผลใหจีนงดการสั่งซื้อสินคาจากไตหวันหลาย
ประเภทสินคา เชน ปลาและอาหารทะเล น้ํามันปรุงอาหาร บิสกิตและเคก ผลไมรส
เปรี้ยว และผลิตภัณฑจากปลา อาจสงผลใหจีนมีการนําเขารายสินคาดังกลาวจาก
ประเทศคูคาอื่นรวมทั้งไทยเพิ่มขึ้นได
• ไทยอาจมีการผลิตและสงออกในรายสินคาดังกลาวเพิม่ ขึ้น และสงผลตอการขยายตัวทาง
เศรษฐกิจอุตสาหกรรมของไทย โดยกลุมอุตสาหกรรมที่คาดวาจะไดรับอานิสงส ไดแก
อุตสาหกรรมเกษตร และอาหาร
ผลที่คาดวาจะเกิดขึ้นกับอุตสาหกรรมของไทย (ตอ)
• ผลกระทบ:
• การที่จีนระงับสงออกทรายธรรมชาติไปไตหวัน จะสงผลกระทบตอการผลิตชิปของไตหวัน เนื่องจาก
เปนอุตสาหกรรมตนน้ําของการผลิตแผงวงจรรวม (Integrated Circuit: IC) ของไทย
• ป 2564 ไทยนําเขาชิปเปนมูลคา 1.5 หมื่นลานดอลลารสหรัฐฯ (รอยละ 5.6 ของการนําเขาทั้งหมด)
โดยนําเขาจากไตหวันมากที่สุดที่รอยละ 30.5 รองลงมา คือ ญี่ปุนรอยละ 13.8 จีนรอยละ 11.6 เกาหลี
ใตรอยละ 8.6 และสหรัฐฯ รอยละ 8.4 ตามลําดับ ซึ่งนําเขามาเพื่อประกอบแผงวงจรรวม
(IC packaging) แลวสงออกหรือนําไปประกอบเปนแผงวงจรพิมพ (Printed Circuit Board
Assembly: PCBA) จากนั้นจึงสงออกตอไปประกอบเปนผลิตภัณฑปลายทาง
• หากไตหวันไมสามารถผลิตชิปได จะสงผลตอการขาดแคลนวัตถุดิบในภาคการผลิตของไทย ใน
อุตสาหกรรมที่ใชชิปเปนหลัก โดยเฉพาะอุตสาหกรรมยานยนต และอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส
ภาพรวมของผลกระทบตอไทย
• 1. การคาระหวางประเทศ
การขนสง โลจิสติกส ทําไดยากขึ้น คาใชจายแพงขึ้น แตในบางกลุมสินคาอาจจะไดประโยชนจากการนําเขา
และสงออกสินคาทดแทน
• 2. การลงทุนระหวางประเทศ
บริษัทตางชาติอาจจะหันมาลงทุนในภูมภิ าคใกลเคียง ยายฐานการผลิต เพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ยงดาน
ภูมิรัฐศาสตรโลกที่สูงขึ้น
• 3. อัตราเงินเฟอเรงตัว
หวงโซอุปทานสําคัญของสหรัฐฯ และจีนไดรับผลกระทบ จึงตองหันมาพึ่งพาการผลิตในประเทศหรือภูมภิ าค
เดียวกันมากขึ้น สงผลใหตนทุนการผลิตสูงขึ้นกวาเดิม อัตราเงินเฟอเรงตัวขึ้น
• 4. ความผันผวนทางดานตลาดการเงินสูงขึ้น
หวงโซอุปทานสําคัญของสหรัฐฯ และจีนไดรับผลกระทบ จึงตองหันมาพึ่งพาการผลิตในประเทศหรือภูมภิ าค
เดียวกันมากขึ้น สงผลใหตนทุนการผลิตสูงขึ้นกวาเดิม อัตราเงินเฟอเรงตัวขึ้น
สรุป
• กรณีที่ 1 • กรณีที่ 2 • กรณีที่ 3
• คว่ําบาตรเชิงสัญลักษณ ไมรายแรงมาก • มีความตึงเครียด ปดน้ํานาน กระทบตอ
• เลวรายสุด คือสงครามของจีนและ
(มีความเปนไปไดมากที่สุด) หวงโซอุปทานโลกและเศรษฐกิจภูมิภาค
แตไมถึงขั้นสงครามหรือใชอาวุธและ ไตหวัน เศรษฐกิจโลกแบงขาง
• จีนกับไตหวัน อาจจะมีการคว่ําบาตรเชิง
กําลังทหารเขาปะทะ ชัดเจน
สัญลักษณ เพิ่มการซอมรบชั่วคราว
• สิ่งที่นาเปนหวงมากที่สุด คือ เซมิคอนดัก
• สหรัฐฯ ไมคว่ําบาตรจีน สถานการณยังไมมี
เตอร จะขาดแคลนเพราะไตหวันเปน
• จีนและสหรัฐฯ เขาสูสภาวะ
ความรุนแรง มีความคลุมเครือทาง
ผูผลิตที่สําคัญที่สุดของโลก ถดถอย
ยุทธศาสตร ไมมีการเผชิญหนากันโดยตรง
• กรณีนี้ เปนแคความตึงเครียดระหวาง • ทางฝงสหรัฐฯ อาจคว่ําบาตรเศรษฐกิจ • การคาระหวางประเทศหยุดชะงัก
ประเทศ ไมมีการปะทะหรือใชกําลังทหาร จีน ซึ่งจะทําใหเศรษฐกิจโลกขยายตัวได
เพียงราวๆ 2% เพราะมูลคาทางการคา ในหลายพื้นที่ และเศรษฐกิจโลก
แตผลกระทบที่จะเกิดขึ้น คือ มีการแบงขั้ว
ทางเศรษฐกิจชัดเจน กระทบตอเศรษฐกิจ ของจีน สูงกวาของรัสเซียอยูมาก อาจขยายตัวเพียง 1% เทานั้น
โลกไมมาก
ตัวอยางขอมูลอางอิง
• Taiwan is not Chinese! A History of Taiwanese Nationality, 2007 (ไตหวันไมใชสวนหนึ่งของจีน :
ประวัติศาสตรชาติไตหวัน) เขียนโดย Hsueh Hua-yuan, Tai Pao-tsun และ Chow Mei-li
• กองวิจัยเศรษฐกิจอุตสาหกรรม. สถานการณความขัดแยงจีน-ไตหวัน และผลกระทบตออุตสาหกรรมไทย.
(สิงหาคม 2565)
• https://www.csis.org/analysis/first-battle-next-war-wargaming-chinese-invasion-taiwan
• Karoonp, Chetpayark. จีนเดียวเปนไปไดไหม ? สรุปความขัดแยงแบงแยกดินแดนของจีนกับพื้นที่ตางๆ
Posted On 8 September 2020 (https://thematter.co/quick-bite/chinese-authorities-
conflict/122968)
• กาแฟดํา. ‘ยุทธศาสตรเมน’ ของไตหวัน จะสูมังกรยักษพนไฟไดหรือ? 20 กันยายน 2565
(https://www.thaipost.net/columnist-people/212630/)
• ฯลฯ

You might also like