You are on page 1of 72

ทหารกับกิจการระหว่าง

ประเทศ

1
วัตถุประสงค์
• เพื่อให้นายทหารนักเรียนเข้าใจสถานการณ์ระหว่าง
ประเทศที่มีอิทธิพลกับ
ความมั่นคงและระเบียบระหว่างประเทศ
• เพื่อให้เข้าใจบทบาทของทหารต่อกิจการความมั่นคงและ
ระเบียบระหว่างประเทศ ตลอดจนความเปลี่ยนแปลงใน
ระบบระหว่างประเทศที่มีผลการทบต่อบทบาทของ
ทหารที่เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลง

2
เอกสารอ้างอิง
 http://J3.rtarf.mi.th/poc
 หลักนิยมของกองทัพไทยสายยุทธการด้านการปฏิบัติ
การเพื่อสันติภาพ
 The Core Pre - deployment Training Materials :
CPTM
 United Nations Peacekeeping Operations Prin-
ciples and Guidelines
 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสหประชาชาติ จาก website ของ
สหประชาชาติ 3
ประวัติผู้สอน
• น.ท.อัศวิน คงประเสริฐ
• เกิด 5 พฤษภาคม 2523
• ภูมิลำเนา ต.เพ อ.เมือง จว.ระยอง
• ที่อยู่ปั จจุบัน ห้อง 419 แฟลต 80 ครอบครัว
ยศ.ทร.
• ระดับมัธยม โรงเรียนระยองวิทยาคม
• นตท.40/นนร.97

2547 - 2558 2558 - 2561 2562 -


นทต.จู่โจม 2559 นยก.กยก. 2563
UNAMID สปก.ยก.ทร.นปค.กพ.

ตำแหน่ง อจ.กวมศ.ฝวก.ยศ.ทร. 2565 - ปั จจุบัน นย.


4
ขอบเขตการบรรยาย
• สถานการณ์ระหว่างประเทศที่มีอิทธิพลกับความมั่นคง
• ระเบียบระหว่างประเทศ
• กิจกรรมระหว่างประเทศ
• การรักษาสันติภาพ

5
สถานการณ์ระหว่างประเทศที่มีอิทธิพลกับ
ความมั่นคง
• ระบบความมั่นคงแบบหลายขั้วอำนาจ
• โลกาภิวัตน์
• การก่อการร้าย >> Jihadist Doctrine >> Lone Ac-
tor
• ภัยคุกคามไซเบอร์
• ประชากรศาสตร์
• โรคอุบัติใหม่
สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา
ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 6
สถานการณ์ระหว่างประเทศที่มีอิทธิพลกับ
ความมั่นคง
• การแช่งขันระหว่างสหรัฐฯ และจีน ในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิ ก
• ความขัดแย้งในทะเลจีนใต้
• การแข่งขันกันในมหาสมุทรอินเดียและทะเลอันดามัน
• การแข่งขันกันในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง
• ลักษณะของความร่วมมือทางทหารภายใต้กรอบ ASEAN
• การเข้ามามีอิทธิพลของชาติต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้

สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา


ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 7
ระเบียบระหว่างประเทศ
กำเนิด
ชาติ A
ชนเผ่า
A
รัฐ A
ประเทศ
A

คำสำคัญ : ชาติ/ รัฐ /ประเทศ / สัญญาประ


สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา
ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 8
ระเบียบระหว่างประเทศ

คำสำคัญ :กฎ
สถานการณ์ระหว่าง
ประเทศ
ระเบียบระหว่าง
ประเทศ
กติกา/Norm
กิจกรรมระหว่าง
ประเทศ
การรักษา
สันติภาพ 9
ระเบียบระหว่างประเทศ

คำสำคัญ :ระบอบ/แนวคิดวิถีปฏิบัติระหว่างประเทศ
สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา
ประเทศ tional Regime)
ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 10
ระเบียบระหว่างประเทศ

คำสำคัญ :ระเบียบโลก/
สถานการณ์ระหว่าง
ประเทศ
ระเบียบระหว่าง
ประเทศ Order/วิถีการปฏิบัติ
กิจกรรมระหว่าง
ประเทศ
การรักษา
สันติภาพ 11
พัฒนาการของ
ระเบียบโลก
อาณาจักรรัฐชาติสมัยใหม่ กลไก ๓ รัฐชาติหลังสมัยใหม่
จักรวรรดินิยม(สงครามเย็น)
(Modern state) (Post modern state)
รัฐบาล
ดินแดนไม่ รัฐบาล ล่าอาณานิคม ประชาธิปไตย ประชาธิปไตย
ชัดเจน ดินแดน กีดกันการค้า การค้าเสรี พลโลก
สถาบันระหว่าง
ประชากรไม่ ประชากร สร้างกองทัพ
ประเทศ
สถาบันระหว่างประเทศ
ชัดเจน อธิปไตย (เน้นความเป็ นมนุษย์)
(เน้นผลประโยชน์ร่วม)
อธิปไตย เอกราช
เอกราช

Pre modern Modern สมุททานุภาพ สมุททานุภาพกองทัพเรือหลังสมัยใหม่


Navy Navy แบบมาฮาน แบบมาฮาน สมุททานุภาพแบบทิลล์
สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา
ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 12
กิจกรรมระหว่างประเทศ
• การทูตทางทหารถือเป็ นเครื่องมือสำคัญอย่างหนึ่งในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง
ประเทศ
• กำลังทหารสามารถสร้างบรรยากาศในการเจรจาในสภาวะวิกฤต หรือความแตกต่างกัน
ทางวัฒนธรรมของสองสังคมได้
• สามารถแสดงออกทางด้านการทูตหรือการแสดงกำลังให้กับประเทศอื่นได้ เพื่อสร้างความ
ได้เปรียบทางการเมืองหรือการรักษาความมั่นคง หรือการคงไว้ซึ่งการมีอิทธิพลต่อกลุ่ม
เป้ าหมายทางยุทธศาสตร์
• สำหรับชาติมหาอำนาจสามารถใช้เครื่องมือนี้ในการเสริมสร้างความร่วมมือสำหรับเผชิญ
ภัยคุกคามจากชาติมหาอำนาจฝั่ งตรงข้ามได้ ด้วยการลงทุนทางทหารเพื่อสร้างความ
มั่นคงทางทหารให้แก่รัฐเป้ าหมาย
• สามารถมีบทบาทในเชิงการขยายลัทธิเสรีนิยมประชาธิปไตย สร้างพันธมิตรทางทหาร
และปฏิบัติการช่วยเหลือด้านสิทธิมนุษยชน
• ควรใช้ร่วมกับกำลังอำนาจของชาติด้านอื่น ๆ เช่น การเมือง เศรษฐกิจ และข้อมูลข่าวสาร
(DIE)
สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา
ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 13
การรักษาสันติภาพของ
สหประชาชาติ
• การรักษาสันติภาพของสหประชาชาติ เป็ น
บทบาทของทบวงปฏิบัติการสันติภาพแห่ง
สหประชาชาติในฐานะ "เครื่องมือที่องค์การพัฒนา
ขึ้น เพื่อเป็ นหนทางช่วยเหลือประเทศที่แตกแยก
จากความขัดแย้ง เพื่อสร้างเงื่อนไขให้เกิดสันติภาพ
อย่างยั่งยืน"

สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา


ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 14
ธรรมชาติของความขัดแย้ง (Nature
of Conflict)

สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา


ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 15
วิธีการปฏิบัติเพื่อให้เกิด
สันติภาพ
• Conflict Preven-
tion
• Peace Making
• Peace Enforce-
ment
• Peacekeeping
ประเทศ
• Peace
สถานการณ์ระหว่าง Building
ระเบียบระหว่าง
ประเทศ
กิจกรรมระหว่าง
ประเทศ
การรักษา
สันติภาพ 16
การป้ องกันความขัดแย้ง (Conflict
Prevention)
• เป็ นสิ่งที่กระทบกับ 3 เสาหลักของการรักษา
สันติภาพของสหประชาชาติ ได้แก่ สันติภาพและ
ความปลอดภัย การพัฒนา และสิทธิมนุษยชน
• เป็ นความยากของสหประชาชาติที่จะทำให้
สถานการณ์ความขัดแย้ง ในแต่ละครั้งสงบ
ลง และเป็ นความท้าทายที่จะทำให้ความขัดแย้งนั้น
ๆ หมดไป
• ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นมีความหลากหลาย แตกต่าง
กันไป ทำให้สหประชาชาติต้องใช้เครื่องมือเพื่อ
กำจัดความขัดแย้งที่แตกต่างกันไปเช่นกัน
สถานการณ์ระหว่าง
ประเทศ
ระเบียบระหว่าง
ประเทศ
กิจกรรมระหว่าง
ประเทศ
การรักษา
สันติภาพ 17
การทูตเชิงป้ องกัน (Preventive
Diplomacy)
• เป็ นการดำเนินการเพื่อป้ องกันความขัดแย้งระหว่างฝ่ าย
ต่าง ๆ ไม่ให้ความขัดแย้งเหล่านั้นขยายวงกว้างเพิ่มขึ้น
• ภายหลังสงครามเย็นประชาคมโลกได้ให้ความสำคัญกับ
การทูตเชิงป้ องกันมากขึ้น โดยเฉพาะสหประชาชาติ
(มาตรา 99) และองค์กรระดับภูมิภาค
• สามารถดำเนินการได้โดยสหประชาชาติ องค์กรระดับ
ภูมิภาค หรือแม้กระทั่งตัวแสดงอื่นที่ไม่ใช่รัฐ เช่น NGO
• ตย. เช่น the UN peacekeeping mission
in Macedonia (UNPREDEP) in 1995 – 1999. ซึ่ง
เป็ นภารกิจแรกของสหประชาชาติที่นำเอาการทูตเชิง
ป้ องกันนี้มาใช้
สถานการณ์ระหว่าง
ประเทศ
ระเบียบระหว่าง
ประเทศ
กิจกรรมระหว่าง
ประเทศ
การรักษา
สันติภาพ 18
ธรรมชาติของความขัดแย้ง (Nature
of Conflict)

สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา


ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 19
• เป็ นการเปลี่ยนความขัดแย้งในรูปแบบต่าง ๆ ไปสู่ความ
การสร้างสันติภาพ
สงบเรียบร้อยอย่างถาวร
• ดำเนินการด้วยวิธีการต่าง ๆ ที่กำหนดในกฎบัตร
(Peace Making)
สหประชาชาติ หมวด 6 มาตรา 33
• สร้างข้อตกลงร่วมกันระหว่างคู่ขัดแย้งเกี่ยวกับประเด็น
อันเป็ นเหตุให้เกิด
ความขัดแย้ง
• จัดตั้ง Good Offices เพื่อเป็ นตัวกลางในการดำเนิน
การ
• เมื่อถูกนำไปใช้ในแง่ของการะบวนการยุติธรรมทาง
อาญา (Criminal Justice)
จะถูกเรียกว่า กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์
(restorativeระเบียบระหว่าง
สถานการณ์ระหว่าง justice) หรือกิจกรรมระหว่าง การรักษา
ความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน
ประเทศ ประเทศ ประเทศ (transformative
สันติภาพ
20
ธรรมชาติของความขัดแย้ง (Nature
of Conflict)

สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา


ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 21
การบังคับให้เกิดสันติภาพ
(Peace Enforcement)
• เป็ นวิธีการที่ใช้กำลังทางทหารเพื่อรักษาความสงบอันเกิดจาก
ความขัดแย้ง โดยปกติจะเป็ นกำลังทหาร
• แตกต่างจากการสร้างสันติภาพ เนื่องจากเป็ นการใช้กำลังทหาร
เข้าปฏิบัติการโดยตรงกับ
คู่ขัดแย้ง
• สภาความมั่นคงแห่งสหประชาชาติอาศัยอำนาจตาม กฎบัตร
สหประชาชาติ หมวด 7 ให้สามารถจัดกำลังทหารและดำเนิน
การให้เกิดการหยุดยิ่งของฝ่ ายที่คขัดแย้งกัน
• สามารถทำให้เกิดการหยุดยิงโดยการใช้กำลังทหารเข้าทำการ
รบกับกลุ่มที่ขัดแย้ง
• อย่างไรก็ตาม วิธีการนี้ไม่ค่อยจะประสบความสำเร็จมากนัก
เนื่องจากมิได้เกิดจากความยินยอมของคู่ขัดแย้งกันโดยสมัครใจ
และจะทำให้เกิดความขัดแย้งรอบใหม่ขึ้นได้อีก
สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา
ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 22
ธรรมชาติของความขัดแย้ง (Nature
of Conflict)

สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา


ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 23
• เป็นการดำเนินการหลังจากได้รับความเห็นชอบจากคู่ขัดแย้งโดยการลง
การรักษาสันติภาพ
นามในข้อตกลงเพื่อให้เกิดสันติภาพแล้ว
• กองกำลังรักษาสันติภาพ จะต้องดำเนินการภายใต้หลักการ 3
(Peacekeeping)
ประการ คือ การยินยอม (Consent) การดำรงความเป็ นกลาง
(Impartiality) และการไม่ใช้กำลัง (Non-Use of Force)
• กองกำลังรักษาสันติภาพมีหน้าที่ในการสังเกตการณ์ความรุนแรงที่
ละเมิดข้อตกลง
• การดำเนินการทำได้หลายลักษณะ เช่น สร้างความเชื่อมั่นให้ทุก
ฝ่ าย สร้างสมดุลอำนาจของ
คู่ขัดแย้ง สนับสนุนการจัดให้มีการเลือกตั้ง และการบังคับใช้
กฎหมายของรัฐ
• กองกำลังรักษาสันติภาพไม่ได้มีเพียงทหาร หากแต่ยังประกอบด้วย
ตำรวจ และภาคพลเรือน
องค์กรอื่น
ประเทศ

•สถานการณ์ระหว่าง นอกเหนือจากสหประชาชาติสามารถดำเนินการได้
ระเบียบระหว่าง
ประเทศ
กิจกรรมระหว่าง
ประเทศ
การรักษา
สันติภาพ
เช่น 24
ธรรมชาติของความขัดแย้ง (Nature
of Conflict)

สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา


ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 25
การสร้างสันติภาพ
(Peace Building)
• เป็ นการดำเนินการในระยะยาวเพื่อเป็ น
หลักประกันความมั่นคงของสันติภาพที่
เกิดขึ้นแล้ว ไม่ให้เกิดความขัดแย้งขึ้นมา
ใหม่ ด้วยการแก้ที่รากของปั ญหา เช่น
พัฒนาเศรษฐกิจ Security Sector Re-
form, Rebuild Justice System
สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา
ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 26
re
ct

on
i

e-fi
nfl

cti

ID
Co

as

E le
Ce
•12/18/2023 • 27
Thailand Peace Operations in East Timor
INTERFET UNTAET UNMISET

1999 – 2000 2000 - 2001 2001 - 2002

สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา


ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 28
Thailand Peace Operations in East Timor

สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา


ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 29
การปฏิบัติการเพื่อรักษาสันติภาพของ
สหประชาชาติ
• ข้อเท็จจริง
• กฎบัตรสหประชาชาติ
• วิวัฒนาการกระบวนการรักษา
สันติภาพ

สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา


ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 30
1945 – 2023 รวม 75 ภารกิจ
สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา
ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 31
สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา
ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 32
สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา
ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 33
กฎบัตรสหประชาชาติ
• หมวด 6 การระงับข้อพิพาทโดย
สันติ
• การเจรจาต่อรอง
• การสอบสวน
• การไกล่เกลี่ย
• การประนีประนอม
• การใช้อนุญาโตตุลาการ
• การตัดสินโดยศาล

สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา


ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 34
กฎบัตรสหประชาชาติ
• หมวด 7 เป็ นการใช้อำนาจบังคับอย่าง
จำเป็ น
• ภัยคุกคามต่อสันติภาพ
• การละเมิดสันติภาพ
• การกระทำในลักษณะรุกราน
• ใช้กำลังทหาร เช่น คูเวต 1991 โซมาเลีย
1992 และติมอร์ตะวันตก 1999
• ไม่ใช่กำลังทหาร แต่ใช้วิธีการบังคับอื่น เช่น
อิรัก และยูโกสลาเวีย 1999
สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา
ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 35
กฎบัตรสหประชาชาติ
• หมวด 8 สนับสนุนมาตรการจัดการใน
ระดับภูมิภาค
• สำหรับการจัดการกับความขัดแย้งที่เกิดขึ้นใน
พื้นที่ จะต้องได้รับอนุมัติจากคณะมนตรีความ
มั่นคงฯ ในการดำเนินการลักษณะ
การบังคับฯ
• เช่น ติมอร์ตะวันออก และยูโกสลาเวีย

สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา


ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 36
วิวัฒนาการของการรักษาสันติภาพ
50’s Static
TRADITIONAL PEACEKEEPING / Inter-State
Interposition Monitor Report

90’s
MULTI-FUNCTIONAL PEACEKEEPING / Intra-State
Humanitarian Security Political

2000’ COMPLEX MULTI-DIMENSIONAL OPERATIONS Mobile


s
POC Institutions Elections Law & Order SSR/DDR

Military Police Civilians


Unity of Effort
สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา
ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 37
รูปแบบการปฏิบัติการรักษาสันติภาพ
สมัยใหม่
• ตอบสนองต่อความขัดแย้งใน
ประเทศ
• มีผู้เกี่ยวข้องเพิ่มขึ้น
• การปฏิบัติงานของหลายหน่วย
งาน องค์กร
พลเรือน/องค์กรเอกชนในพื้นที่
• อาณัติที่มีความซับซ้อนและรวม
ถึงกาคคุ้มครองพลเรือน
• กิจกรรมด้านการเมืองเป็ นหลัก
• ทหารและตำรวจมีบทบาท
สนับสนุน
สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา
ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 38
รูปแบบการปฏิบัติการรักษาสันติภาพ
สมัยใหม่
• เน้นที่การคุ้มครองพลเรือน
• ภูมิประเทศที่มีความยากลำบาก
และ
การปฏิบัติงานหลายมิติ
• มีความเสี่ยงจากภัยการสู้รบ
• ปฏิบัติงานท่ามกลางสภาวะโรค
ระบาด
• ต้องระมัดระวังเรื่องการรักษา
สภาพแวดล้อม
• เทคโนโลยีสมัยใหม่ เช่น โดรน
ปั ญญาประดิษฐ์
สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา
ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 39
กว่าจะมาเป็ นภารกิจรักษาสันติภาพ
สมัชชา เสนองบประมาณให้สมัชชา
ใหญ่ ใหญ่พิจารณา
ออกข้อมติ (Resolution)
จัดตั้งภารกิจรักษาสันติภาพ
อนุมัติ
เลขาธิการ คณะมนตรีความ หลัก สำนักงานเลขาธิการ
สหประชาชาติ มั่นคงฯ การ สหประชาชาติ

Concept of Operations

Implemented Plan

ประเทศ - APPOINT SRSG, FC, Chief MILOB,


Chief CIVPOL
สมาชิก
ภัยคุกคามต่อสันติภาพและความมั่นคง
ของประชาคมโลก

สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา


ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 40
การจัดตั้งกองกำลังของกองทัพไทย
สหประชาชาติ กรณีเป็ นหน่วย
แจ้งตอบ
แจ้งตอบ
คณะผู้แทนถาวรฯ
ประสานงาน

แจ้งตอบ
แจ้งตอบ นรม.
กต. ออนุนุมัมัติติ
//ไไม่ม่ออนุ
นุมัมัติติ
เห็นชอบ
เห็นชอบ
คณะกรรมการฯ
พิพิจจาารร
ณณาา ครม.
หารือ
หารือ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องพิจารณาเห็นชอบ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องพิจารณาเห็นชอบ
กห.(สภา กห.)/บก.ทท., มท., ตร., สงป.ฯลฯ
สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา
ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 41
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
คณะผู้แทนถาวรไทยประจำ สภากลาโหม
สหประชาชาติ ศูนย์ปฏิบัติการเพื่อ
ณ นครนิวยอร์ก สันติภาพ
สำนักงานที่ปรึกษาทางทหาร กองทัพบก กองทัพเรือ
ประจำ กองทัพอากาศ
คณะผู้แทนถาวรฯ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
คณะรัฐมนตรี กระทรวงยุติธรรม
สภาความมั่นคงแห่งชาติ
กรมองค์การระหว่างประเทศ,
สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา
กต. ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 42
กองทัพไทยกับการรักษา
สันติภาพ
• กองทัพไทย ได้เข้าร่วมภารกิจรักษาสันติภาพกับ
นานาชาติ กว่า 12 ภารกิจ
• CMF 151 ถือเป็ นภารกิจหนึ่งของสหประชาชาติ
• ภารกิจที่มีชื่อเสียงมาก คือ กกล.ฉก.980 ใน
ภารกิจ UNAMID รัฐดาร์ฟูร์
ประเทศซูดาน
• กองทัพไทย มอบหมายให้ ศูนย์สันติภาพ กรม
ยุทธการทหาร
เป็ นหน่วยประสานงานหลัก
สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา
ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 43
ศูนย์รักษาสันติภาพ กรมยุทธการ
ทหาร กองทัพไทย
• เป็ นศูนย์ฝึ กการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพนานาชาติ
ของกองทัพไทย และ
ในระดับภูมิภาค
• เป็ นฝ่ ายอำนวยการด้านการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพ
• เป็ นศูนย์กลางวิทยาการด้านการปฏิบัติการเพื่อ
สันติภาพ
• เป็นหน่วยประสานงานกับศูนย์บัญชาการทางทหารใน
สายการบังคับบัญชาของชาติให้แก่กำลังที่เข้าปฏิบัติ
ภารกิจการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพในภูมิภาคต่าง ๆ

สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา


ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 44
ศูนย์รักษาสันติภาพ กรมยุทธการ
ทหาร กองทัพไทย

สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา


ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 45
นโยบายรัฐบาล
“ไทยจะส่งนายทหารฝ่ าย
เสนาธิการ และ
หน่วยทหารด้านการพัฒนาที่มี
ความเชี่ยวชาญด้านการพัฒนา
ความเป็ นอยู่ของประชาชนและ
ด้านวิศวกรรมการก่อสร้าง เข้า
ร่วมในปฏิบัติการสันติภาพของ
สหประชาชาติและไทยพร้อมที่
จะร่วมมือเพิ่มเติมกับ
สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา
สหประชาชาติและประเทศอื่นๆ
ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 46
กรอบนโยบายและยุทธศาสตร์

สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา


ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 47
๒๕๖ ๒๕๖ ๒๕๖ ๒๕๖ ๒๕
๓ ๔ ๕ ๖ ๖๗ ผลลัพธ์
๓. การพัฒนาขีดความสามารถและการพัฒนาความ
ร่วมมือกับมิตรประเทศ

สันติภาพเป็ นเครื่องมือในการสนับสนุน
การรักษาผลประโยชน์และความมั่นคง
๓.๑ การพัฒนามาตรฐานของหลักสูตร
ขอ UN
ต่ออายุ
ต่ออายุการ

ทท. สามารถใช้การปฏิบัติการเพื่อ
ขอ UN ขอรับ การ
รับรอง รับรอง
รับรอง
รองUN รับรอง
หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร
MEM หลักสูตร
PDT CP PDT
UNSOC

๓.๒ ปรับปรุงและพัฒนา สถานที่ฝึ กอบรมและเครื่องช่วยฝึ ก


จัดหาเครื่องช่วยฝึ กทดแทนของเดิมที่ชำรุดและหมดอายุการใช้งาน

ของชาติ
ปรับปรุงและพัฒนาสถานที่สำหรับจัดการฝึ กอบรม ให้สามารถจัดการฝึ กอบรมแบบนานาชาติได้

๓.๓ การพัฒนาความร่วมมือด้านการรักษาสันติภาพกับมิตร
ดำรงรักษาความร่วมมือที่มีอยู่ (AAPTC, IAPTC, Germany, Pakistan etc.)
ประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ
แสวงความร่วมมือใหม่ ด้านการแลกเปลี่ยน (ครูฝึ ก/ นักเรียน) และความร่วมมืออื่นๆ กับ
ประเทศในภูมิภาคที่ยังไม่เคยมีความร่วมมือ

๓.๔ พัฒนาและปรับปรุงมาตรฐานและกระบวนการของการ
DIGITAL HQ / บัญชีรายชื่อพร้อมเรียกปฏิบัติงาน/ บัญชีรายชื่อวิทยากรแลกเปลี่ยน/
ปฏิบัติงาน ทบทวนแผนปฏิบัติราชการ แผนงาน/ ฯลฯ
๒๕๖ ๒๕๖ ๒๕๖ ๒๕ ๒๕
48
ยุทธศา การเตรียม
นโยบา
ย/ สั่ง สตร์
แผน
งาน
ความร่วม
มือ
ความร่วม
มือ กำลัง การใช้
การ พหุภาคี ทวิภาคี กำลัง

ไทย – On Call List


เยอรมัน
แลกเปลี่ยน
PCRS
แผนปฏิบัติการเพื่อ ADMM การเยือน
คำมั่น นรม. ในการ แลกเปลี่ยนวิทยากร แลกเปลี่ยน
ประชุม Leader’s พัฒนาศักยภาพ ทท. ประชุม COE กำกับดูแลฯ
วิทยากรแลก
Summit in PKO ด้านการปฏิบัติการ แลกเปลี่ยนนักเรียน เปลี่ยน สน.นตต.
2015 : สนับสนุน เพื่อสันติภาพ ปี 63 - นักเรียน เผ้าตรวจ/ ติดตาม เกาหลี
คน+หน่วย / 67UN
ศูนย์แห่งความเป็ น ไทย – อิน สถานการณ์
กรอบ เลิศอาเซียน UNMISS
สนับสนุนการฝึ
นโยบาย รมว.กห. กอบ: ประชุมประจำปี 1 โดนิเซีย
แลกเปลี่ยน
รมฯ ครั้ง การเยือน ประชุม
ส่งเสริมความร่วมมือ UNMOGIP
ด้านPKO กับ ฝึ กร่วม/ผสม UNGA
มิตรประเทศ/ กรอบ ASEAN
ADMM-Plus ฝึ กอบรม
Future UN
ภูมิภาค/ องค์กร แลกเปลี่ยนวิทยากร UNMEM
ฝึ กอบรม
นโยบาย ผบ.ทสส. ปี
ระหว่างประเทศ ไทย – PK Missions
61 : ส่งเสริมความ แลกเปลี่ยนนักเรียน มาเลเซีย
แลกเปลี่ยน UNSOC
ร่วมมือ พัฒนา วิทยากร ฝึ กอบรมครู
ด้านความมั่นคงกับ ขีดความสามารถ การฝึ กร่วม/ผสม
แลกเปลี่ยน
การเยือน
หน่วย
ร่วมการ
ASEA
มิตรประเทศ/ ประชุม/สัมมนา ฝึ ก&สังเกตการณ์ N PKF
ภูมิภาค/ องค์การ ประจำปี 2 ครั้ง
ไทย – ฯ นานาชาติ
ระหว่างประเทศ ฝึ ก STAFF EX
การประชุม ออสเตรเลีย
ไทย – อซ.
AAPTC ฝึ กร่วม/ผสม
ทบทวน ไทย – สหรัฐ
ข้อมูล
การประชุม ไทย –
ฝึ กพิราบ –
ยุทธศาสตร์และ
งานด้าน
ป้ อน
กลับ IAPTC ปากีสถาน จาบิรู
แผนงาน
ไทย –
เวียดนาม

PKOS
ไทย – ฝรั่งเศส
49
ไทย – อังกฤษ
กรอบความร่วมมือของ ADMM
(ASEAN Defense Ministers’ Meeting: ADMM Co-
operation Framework)
ASEAN Peacekeeping Partnership : APP

Thailand has assigned to responsible on

ASEAN Center for Excellence

• UN Staff Officer
Course
• Children and Armed
Conflicts
• Sustainable
สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา
ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 50
Development
กรอบความร่วมมือ ADMM - Plus

สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา


ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 51
การแลกเปลี่ยนครูฝึ กระหว่างประเทศ

สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา


ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 52
การแลกเปลี่ยนครูฝึ กระหว่างประเทศ

สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา


ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 53
การฝึ กร่วม Pirab - Jabiru

สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา


ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 54
หลักสูตรฝ่ ายอำนวยการของ
สหประชาชาติ
United Nations Staff Officers
Course (UNSOC)

สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา


ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 55
หลักสูตรผู้สังเกตุการณ์ทางทหารของ
สหประชาชาติ
United Nations Military Observer
Course (UNMOC)

สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา


ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 56
การสนับสนุนกำลังพลในภารกิจสหประชาชาติ
ของ ทท. ในปั จจุบัน
UNMISS ๘ อัตรา (เซาท์ (ข้อมูล ณ ๒๓
United Nations Mission in South
ซูดาน) ก.ค.๖๕) UNC ๑๐ อัตรา
วาระ ๑ ปี ตั้งแต่
Sudanพ.ศ.๒๕๖๐ -
ปั จจุบัน (เกาหลี
วาระ ๑ ปี ตั้งแต่ ใต้) - ปั จจุบัน
United Nations Command (Korea)
พ.ศ.๒๔๙๓

ร้อย.ช.ฉก.ไทย/เซาท์ซูดาน ผลัด UNMOGIP ๖ อัตรา (อินเดีย - ปากีสถาน


ที่ ๓ United Nations Military Observer Group in
วาระ ๑ ปีIndia
ตั้งแต่and
พ.ศ.๒๕๕๕
Pakistan - ปั จจุบัน
ในภารกิจ UNMISS ๒๗๓
อัตรา

สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา


ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 57
ณ สำนักงานใหญ่สหประชาชาติ
(ข้อมูล ณ ๒๓
ก.ค.๖๕)
สน.ทปษ.คผถ.ฯ
๑. พ.อ. เทอดศักดิ์ ใจอารีย์ - ทปษ.คผถ.ฯ
๒. จ.ส.อ. ชลากร ภรัณญูวิภัช - เสมียน New York
ประจำ สน.ทปษ.คผถ.ฯ
บก.สหประชาชาติ
น.ท.หญิง อรพิม ภักดีสงคราม (บุคลากร
ยืมตัว)
ผู้สังเกตการณ์ทางทหาร UNMOGIP (2016
– 2017)

สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา


ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 58
รูปแบบการเตรียมกำลัง
แบบเป็ นบุคคล แบบเป็ นหน่วย

สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา


ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 59
การเตรียมกำลังเป็ นบุคคล
1. สอบคัดเลือก 2. ฝึ กอบรม

3. จัดลำดับ 4. ส่งไปปฏิบัติ
งาน

สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา


ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 60
การเตรียมกำลังเป็ นหน่วย

สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา


ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 61
การเตรียมความพร้อมก่อนการวางกำลัง

สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา


ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 62
แนวทางการดำเนินงาน
ตามแผนงานการจัดเตรียมบัญชีรายชื่อ
พร้อมเรียกปฏิบัติงาน
(On Call List) เพื่อใช้ในการเตรียมส่งกำลัง
ประเภทบุคลของ ทท.
เพื่อสนับสนุนภารกิจรักษาสันติภาพที่ได้รับ
การร้องขอ
จากนานาชาติ
สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา
ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 63
คณะกรรมการพิจารณาคัดเลือกนายทหารสัญญาบัตรเพื่อไปปฏิบัติ
หน้าที่ร่วมกับสหประชาชาติ
คณะอนุกรรมการพิจารณาคัดเลือกนายทหารสัญญาบัตรเพื่อไป
ปฏิบัติหน้าที่ร่วมกับสหประชาชาติ

สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา


ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 64
วัตถุประสงค์ของแผนงาน
• บูรณาการการคัดเลือกกำลังพลประเภท
บุคคลเพื่อสนับสนุนภารกิจการรักษา
สันติภาพ
• บริหารจัดการกำลังพลที่เหมาะสมใน
การบรรจุเข้าบัญชีรายชื่อพร้อมเรียก
ปฏิบัติงาน (On Call List)
• หน่วยที่สนับสนุนกำลังพล
สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง สามารถการรักษา
กิจกรรมระหว่าง
ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 65
กลุ่มตำแหน่งที่มีการคัดเลือก
• กลุ่มตำแหน่งผู้เชี่ยวชาญทางการทหาร

(Military Observer/Military Li-


aison Officer/
Military Adviser)
• กลุ่มนายทหารฝ่ ายอำนวยการ
• หมายเหตุระเบียบระหว่าง
สถานการณ์ระหว่าง ผู้สมัครจะต้องสมัครทั้ง
กิจกรรมระหว่าง 2
การรักษา
ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 66
คุณสมบัติของผู้สมัครเข้ารับการ
พิจารณาคัดเลือก
• ชั้นยศนายทหารสัญญาบัตรชาย/หญิง
ร.อ. – พ.ท./น.ท.
• อายุไม่เกิน 50 ปี ณ 1 ต.ค. ของปี ที่จะ
สอบคัดเลือก
• วุฒิการศึกษาไม่ต่ำกว่าปริญญาตรี
สำเร็จการศึกษาหลักสูตรชั้นนายร้อย
หรือเทียบเท่าขึ้นไป และรับราชการมา
ไม่น้อยกว่า ประเทศ
6 ปี
สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา
ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 67
คุณสมบัติของผู้สมัครเข้ารับการ
พิจารณาคัดเลือก
• ใช้ภาษาอังกฤษได้เป็ นอย่างดี มีคะแนน
ALCPT ร้อยละ 80 ขึ้นไป หรือเกณฑ์
ผ่านตามที่ สภท.บก.สปท. กำหนด
• ใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมพื้นฐานอยู่ใน
เกณฑ์ดี สามารถขับรถยนต์ และมีใบ
อนุญาตขับรถยนต์
• เป็ นผู้ที่กลับมาจากภารกิจรักษา
สันติภาพในต่างประเทศ
สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา
ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 68
คุณสมบัติของผู้สมัครเข้ารับการ
พิจารณาคัดเลือก
• ผู้สมัครต้องเป็ นผู้ที่ไม่ประสงค์จะลาออกจาก
ราชการ หรือปรับย้ายออกนอก กห.
• หน่วยต้นสังกัดต้องรับรองเรื่องต่าง ๆ ดังนี้
• รับรองความประพฤติว่าต้องไม่อยู่ใน
ระหว่างการถูกสอบสวนในคดีความต่าง
ๆ และยินยอมให้ผู้สมัครเข้ารับการฝึก
อบรมด้านการปฏิบัติการรักษาสันติภาพ ทั้ง
ในและนอกประเทศ
สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง
ตาม
กิจกรรมระหว่าง การรักษา
ห้วงเวลาที่ประเทศ
ประเทศ ยก.ทหาร กำหนด ประเทศ สันติภาพ 69
คุณสมบัติของผู้สมัครเข้ารับการ
พิจารณาคัดเลือก
• ดำเนินการลงโทษกำลังพลที่อยู่ในระหว่าง
ปฏิบัติหน้าที่
ที่มีความประพฤติไม่เรียบร้อย และไม่ปฏิบัติ
ตามกฎหมาย ข้อบังคับ คำสั่ง ระเบียบ และ
แบบธรรมเนียมของทางราชการ
ทำให้เสื่อมเสียชื่อเสียงของ ทท. และ
ประเทศชาติ และกระทำความผิดใด ๆ อัน
เป็ นเหตุให้ทางราชการต้องเรียกตัวกลับต้น
สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา
สังกัด หรือถูกส่งตัวกลับก่อนครบวาระที่
ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 70
แนวทางการพิจารณาคะแนนเพื่อจัด
ลำดับ

สถานการณ์ระหว่าง ระเบียบระหว่าง กิจกรรมระหว่าง การรักษา


ประเทศ ประเทศ ประเทศ สันติภาพ 71
คำถาม

72

You might also like