You are on page 1of 187

แนวคิดเกีย่ วกับการบริหารการพัฒนา

องค์ ความร้ ูเกีย่ วกับการบริ หารการพัฒนา


องค์ความรูเ้ กี่ยวกับการบริหารการพัฒนา

1. องค์ความรูเ้ กี่ยวกับการบริหารการพัฒนาของไวด์เนอร์
2. องค์ความรูเ้ กี่ยวกับการบริหารการพัฒนาในหนังสือที่มีสเวิดโลว์
เป็ นบรรณาธิการ
3. องค์ความรูเ้ กี่ยวกับการบริหารการพัฒนาในหนังสือที่มีริกกซ์เป็ น
บรรณาธิการ
4. องค์ความรูเ้ กี่ยวกับการบริหารการพัฒนาในหนังสือที่มีไวด์เนอร์
เป็ นบรรณาธิการ (ค.ศ. 1970)
องค์ความรูเ้ กี่ยวกับการบริหารการพัฒนา

5. องค์ความรูเ้ กี่ยวกับการบริหารการพัฒนาในหนังสือที่มีวอลโด
และเฮฟฟี ย์เป็ นบรรณาธิการ
6. องค์ความรูเ้ กี่ยวกับการบริหารการพัฒนาของแกนท์
7. องค์ความรูเ้ กี่ยวกับการบริหารการพัฒนาโดยเดอกูซแมนและ
คาร์บอนแนล
8. องค์ความรูเ้ กี่ยวกับการบริหารการพัฒนาโดยพาแนนดิเกอร์และ
เชอร์ชาร์การ์
1. องค์ความรูเ้ กี่ยวกับการบริหารการพัฒนา
ของไวด์เนอร์
• บทความ “Development Administration: A New Focus for Research”
ของไวด์เนอร์ ที่ ตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1962 เป็ นบทความแรกที่ ก ระตุ ้นให้
นั ก วิ ช าการหัน มาสนใจการบริ ห ารการพัฒ นากัน อย่า งแพร่ ห ลายและ
จริงจัง
• หลังจากแกนท์และเดอวรีสไ์ ด้เปลี่ยนชื่อ จาก การบริหารงานภายนอก
เป็ น การบริหารการพัฒนา
• ในปี ค.ศ. 1955-1966 บทความนี้ เขียนขึ้ นเพื่อเสนอในการประชุม
ประจาปี ของสมาคมรัฐศาสตร์อเมริกาที่เมืองเซนต์หลุยส์ ในปี ค.ศ.1961
และตีพิมพ์ใน Paper in Comparative Public Administration ปี 1962
องค์ความรูเ้ กี่ยวกับการบริหารการพัฒนา
ของไวด์เนอร์
• ไวด์เนอร์ แบ่งประเภทของระบบบริหารที่เป็ นเครื่องมือซึ่ งจะนาไปสู่
เป้ าหมายของการพัฒนาในด้านต่าง ๆ ออกได้เป็ น 2 ระบบ คือ
1. ระบบที่ มุ่ ง เน้ น การผลิ ต สิ น ค้า และบริ ก ารเพื่ อ เพิ่ ม อัต ราความ
เจริ ญ เติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ซึ่ ง วัด จากการเพิ่ ม ขึ้ นของรายได้
ประชาชาติและรายได้เฉลี่ยต่อหัว
2. ระบบที่ มุ่งเน้น การบริ โ ภคเพื่อรักษาอัต ราความเจริ ญ เติ บ โตทาง
เศรษฐกิจให้คงอยูห่ รือสูงขึ้ น
นอกจากนี้

ระบบบริหารจะใช้เป็ นเครื่องมือที่จะสนองตอบเป้ าหมายของ การพัฒนา


ทางการเมือง ซึ่งอาจรวมถึง
• การมุง่ เน้นประชาธิปไตย
• การมุง่ เน้นด้านคอมมิวนิ สต์
• การมุง่ เน้นการป้ องกันประเทศ
• การมุง่ เน้นการรักษาความเป็ นระเบียบเรียบร้อยภายในประเทศ
ระบบบริหารอาจไม่ได้มุง่ เน้นที่เป้ าหมายของการพัฒนาเลยก็ได้ เช่น
• เน้นการรักษาความสมดุลระหว่างผลประโยชน์และพลังต่าง ๆ ภายใน
สังคม
• เน้นการเล่นพรรคเล่นพวก
• เน้นค่านิ ยมเกี่ยวกับครอบครัวและขนบธรรมเนี ยมประเพณี
• เน้นประสิทธิภาพและความประหยัด
2. องค์ความรูเ้ กี่ยวกับการบริหารการพัฒนา
ในหนังสือที่มีสเวิดโลว์เป็ นบรรณาธิการ

• ผลงานนี้ ตี พิมพ์ในหนั งสือที่ รวบรวมบทความหลากหลายบทความ


เป็ นมาไว้ดว้ ยกันที่ชื่อ Development Administration
Concepts and Problem
• มีสเวิดโลว์เป็ นบรรณาธิ การ และเป็ นผู เ้ ขีย นบทนาและบทความ
เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ ในฐานะที่ เป็ นส่วนหนึ่ งของการบริห ารการ
พัฒนา
รายชื่อ 7 นักวิชาการ
มีนักวิชาการ 7 คนที่เขียนบทความลงในหนังสือ
• เมอร์ล เฟนสอด (Merle Fainsod)
• ลูเซียน ดับบลิว พาย (Lucian W.Pye)
• เจ บี เวสต์คอตต์ (Jay B.Wescott)
• อากีฮานันดา บาราตี (Agehannda Bharati)
• พอล มีโดวส์ (Paul Meadows)
• เอเวอเรตต์ อี ฮาเกน (Everett E.Hage)
• อัลเบอร์ต วอเตอร์สตัน (Albert Waterston)
สเวิดโลว์
• มีความเห็นว่า การบริหารการพัฒนามีความแตกต่างจากการบริ หาร
แบบตะวันตกและอเมริ กัน เพราะการบริ ห ารการพัฒนาเป็ นการ
บริหารของประเทศที่กาลังพัฒนา
• รัฐ บาลของประเทศที่ ก าลัง พัฒ นา มี ปั ญ หา ลัก ษณะ บทบาทและ
โครงสร้า งการบริ ห ารที่ แ ตกต่ า งไปจากลั ก ษณะ บทบาทและ
โครงสร้างการบริหารงานของประเทศที่พฒ ั นาแล้ว
• จาเป็ นต้องใช้วิธีการบริหารที่มีลักษณะพิเศษ หรือ การบริหารการ
พัฒนาของตนเอง
บทความของเฟนสอด

• กล่ า วถึ ง โครงสร้างและปั ญหาของการบริ หารงานในประเทศด้อย


พัฒนา
ประเทศด้อยพัฒนาจะเน้น การปรับปรุ ง โครงสร้างของการบริ ห าร
เพื่อให้เป็ นเครื่องมือในการพัฒนาประเทศ
มิได้คานึ ง ถึ ง การขาดแคลนกาลัง คนที่ มี ค วามมุ่ง มัน่ ในการพัฒนา
ประเทศ ทาให้การพัฒนาประเทศดังกล่าวมักประสบความล้มเหลว
อยูเ่ สมอ
บทความของพาย
• สะท้อนให้เห็นถึงบริบททางการเมืองของการบริหารรัฐกิจในประเทศ
ที่เกิดใหม่
• โดยชี้ ให้เห็นว่า กระบวนการสร้างชาติของรัฐที่พึ่งได้รับ เอกราชใหม่
มัก จะเริ่ ม ต้น ด้ว ยการจัด ตั้ง โครงสร้า งทางกฎหมายและทางการ
บริหารของรัฐบาลสมัยใหม่
• พาย เห็นว่ารัฐบาลที่ มีประสิทธิผล และการแข่งขันทางการเมื องที่
เป็ นไปอย่างสมา่ เสมอในประเทศที่กาลังพัฒนา เป็ นผลพวงของการ
เสริมสร้างองค์ประกอบการมีส่วนร่วมของประชาชนในระบบการเมือง
บทความของเวสต์คอตต์
• พบว่า อินเดียและปากีสถาน มีปัญหาทางการบริหารหลายประการ เช่น
• การขาดการเอาใจใส่
• ปั ญหาการบริหารในระดับกลางและระดับล่าง
• การรวมอานาจบังคับบัญชา และ
• การควบคุมไว้ในส่วนกลางมากเกินไป
• การขาดแคลนบุคลากรระดับกลาง
• การขาดการติดต่อระหว่างผูบ้ งั คับบัญชาและผูใ้ ต้บงั คับบัญชา
• การติดต่อราชการโดยใช้ลายลักษณ์อกั ษรมากเกินไป
• การตอบสนองความต้องการของประชาชน
• ซึ่งปั ญหาการบริหารเหล่านี้ ทาให้การพัฒนาเศรษฐกิจของทั้งสองประเทศเป็ นไปอย่าง
เชื่องช้า จึงเรียกร้องให้มีการปรับปรุงการบริหารรัฐกิจใหม่ เพื่อให้เป็ นเครื่องมือทางการ
บริหารการพัฒนาอย่างแท้จริง
บทความของบาราตี

• กล่าวถึงวิธีปฏิบัติตามขนบธรรมเนี ยมประเพณี ด้ังเดิ มและทัศนคติ


ของคนอินเดียว่าอาจจะขัดขวางหรือช่วยเร่งปฏิบตั ิการทางการพัฒนา
• ซึ่งการศึกษาเกี่ยวกับความขัดแย้งระหว่างขนมธรรมเนี ยมประเพณีดงั ่
เดิมและความเปลี่ยนแปลงนี้ มีประโยชน์ต่อการนาเอานโยบายการ
บริหารการพัฒนาไปปฏิบตั ิ
บทความของมีดโลว์

• ได้ให้คานิ ยามของการบริหารการพัฒนาว่า หมายถึง การ


จัดการเกี่ยวกับความเปลี่ยนแปลง โดยได้ชี้ให้เห็น ว่า การ
ติ ด ต่ อ สื่ อ สารเป็ นหัว ใจส าคัญ ของการที่ จ ะท าให้ป ระชาชน
ยอมรับความเปลี่ยนแปลง
ผลงานของฮาเกน

• สะท้อนให้เห็นถึงความร่วมมือระหว่างภาครัฐบาลและภาคเอกชนว่ามี
ความสาคัญต่อความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
• ชี้ ให้เ ห็ น อุ ป สรรคต่ า ง ๆ ที่ เ กิ ด จากภาครัฐ บาลที่ ค อยขัด ขวางการ
ดาเนิ นงานของภาคเอกชนในการพัฒนาเศรษฐกิจ เช่น ความล่าช้า
ของการตัดสินใจ การเก็บภาษี แบบก้าวหน้าจนเอกชนขาดเงินทุ นใน
การประกอบการ รัฐบาลอาจจะใช้นโยบายประหยัดจนเกินไป
บทความของวอเตอร์สตัน

• ได้วจิ ารณ์ การวางแผน ของประเทศด้อยพัฒนาว่าเป็ นไป


อย่างไม่ค่อยถูกต้อง
• เช่น การวางแผนแบบลวก ๆ ที่ปราศจากการคานึ งถึง
ทรัพยากรและสมรรถนะทางการบริหาร เป็ นต้น
สรุป

• หนั งสือเล่มนี้ ที่ มีสเวิ ดโลว์เป็ นบรรณาธิการพยายามที่ จะให้ความ


กระจ่างในเรื่องความหมายและลักษณะของการบริหารการพัฒนาที่
เกิดขึ้ นในประเทศด้อยพัฒนา
• โดยเฉพาะประเทศด้อยพัฒนาเหล่านี้ มีลกั ษณะพิเศษซึ่งทาให้บทบาท
ของรัฐบาลแตกต่างไปจากบทบาทของรัฐบาลในประเทศพัฒนาแล้ว
• บทบาทที่ แ ตกต่ า งออกไปท าให้ก ารบริ ห ารรัฐ กิ จ ในประเทศด้อ ย
พัฒนาเป็ นที่มาของ การบริหารการพัฒนา
3. องค์ ความรู้ เกีย่ วกับการบริหารการพัฒนา
ในหนังสื อทีม่ ีริกซ์ เป็ นบรรณาธิการ
• หนั งสื อที่ มี ริ ก ซ์ เ ป็ นบร รณ า ธิ การ ชื่ อว่ า Frontiers of
Development Administrationเ ป็ น ห นั ง สื อ ที่ ร ว ม
บทความเกี่ยวกับการบริหารการพัฒนาที่สาคัญอีกเล่มหนึ่ ง
• บทความในหนั งสือเล่มนี้ ได้เสนอให้ที่ประชุ มสัมมนาคอลเลจปาร์ก
มลรัฐแมรีแลนด์ ในเดือน เมษายน ค.ศ. 1966 ส่วนใหญ่เป็ น ผลงาน
ที่ ได้จ ากการสัมมนาภาคฤดูร อ้ นในระหว่างปี ค.ศ. 1963-1965
เพื่อพิจารณากาหนดหัวข้อความสาคัญก่อน หลัง และจุดเน้ นของการ
ศึกษาวิจยั เกี่ยวกับการบริหารการพัฒนา
ผลงานของริกซ์

• สะท้อ นให้เ ห็ น ถึ ง แนวทางการศึ ก ษาการบริ ห ารการพัฒ นาเชิ ง


นิ เวศวิทยา ที่ ว่า สมมติ ฐานของลัทธิ การบริ หารในสภาพแวดล้ อ ม
หนึ่ งอาจจะประสบความสาเร็ จ อย่า งมาก แต่ อาจจะประสบความ
ล้มเหลวในสภาพแวดล้อมอื่น ๆ
• ริกซ์เชื่อว่า หัวใจของการบริหารการพัฒนาก็คือความสามารถที่จะ
ควบคุมสภาพแวดล้อมให้เป็ นไปในทิศทางที่หน่ วยงานต้องการ
4. องค์ความรูเ้ กี่ยวกับการบริหารการพัฒนา
ในหนังสือที่มีไวด์เนอร์เป็ นบรรณาธิการ (ค.ศ. 1970)
• หนั ง สื อ ที่ มี ไ วด์เ นอร์เ ป็ นบรรณาธิ ก าร ชื่ อ ว่ า Development
Administration in Asia รวมบทความเกี่ยวกับการบริหาร
การพัฒนาในเชิงประยุกต์
• หนังสือเล่มนี้ เป็ นผลจากการสัมมนาเกี่ยวกับการบริหารการพัฒนาที่
ศู น ย์ตะวัน ออก-ตะวัน ตก มหาวิท ยาลัย ฮาวาย ระหว่า งวันที่ 13
มิ ถุ น ายน – 15 กรกฎาคม ค.ศ. 1966 การสัม มนานี้ เน้ น การ
ประยุกต์การบริหารการพัฒนาในเอเชียจากทรรศนะของผูร้ ูช้ าวเอเชีย
6 คน และชาวอเมริกนั 6 คน
การสัมมนา
• นักวิชาการเหล่านี้ ได้ให้ความสาคัญแก่การบริหารการพัฒนาในเอเชีย
มากกว่า แอฟริ กาและลาติ นอเมริ กา เพราะว่า ประเทศต่ า ง ๆ ใน
เอเชียมีความหลากหลาย และเพิ่งได้รบั เอกราชในทศวรรษ 1940
และ 1950 เป็ นจานวนมาก และประเทศเหล่านี้ มีแผนการศึกษาที่ ดี
วันดีคืน
• นอกจากนี้ นั ก วิ ช าการเหล่ า นี้ มี ค วามรู ท้ างด้า นการวิ จัย เกี่ ย วกับ
ภูมิภาคนี้ อย่างแพร่หลาย
• ด้วยเหตุ นี้ การมุ่งเน้นการพัฒนาในเอเชียจึ งชอบด้วยเหตุ ผลและ
กระทากันอย่างแพร่หลาย
หนังสือที่มีไวด์เนอร์เป็ นบรรณาธิการ

หนังสือเล่มนี้แบ่งออกเป็ น 3 ส่วน คือ


• ส่วนที่หนึ่ง ว่าด้วยทฤษฎีการบริหารการพัฒนา
• ส่วนที่สอง ว่าด้วยวิธีปฏิบตั ิของการบริหารการพัฒนา
• ส่วนที่สาม ว่าด้วยการให้ความช่วยเหลือทางวิชาการและ
การบริหารการพัฒนา
บทความของไวด์ เนอร์
วิเคราะห์
• สภาพการณ์ 6 ชุด ที่นาไปสูก่ ารพัฒนา และ
• สภาพการณ์อีก 2 ชุด ที่ก่อให้เกิดความล้มเหลวในการพัฒนา
สภาพการณ์ที่นาไปสู่การพัฒนา ได้แก่
1. สภาพการณ์อุดมคติ ซึ่งมีความเจริญเติบโตอย่างมีทิศทางตามที่
วางแผนไว้ พร้อมกับความเปลี่ยนแปลงของระบบ
2. สภาพการณ์ที่ให้ผลตอบแทนระยะสั้น ซึ่งมีความเจริญเติบโตอย่างมี
ทิศทางตามที่วางแผนไว้ แต่ไม่มีความเปลี่ยนแปลงของระบบ
สภาพการณ์ที่นาไปสู่การพัฒนา

3. สภาพการณ์ที่ให้ผลตอบแทนระยะยาว ซึ่งมีความเปลี่ยนแปลงของ
ระบบตามที่วางแผนไว้ แต่ไม่มีความเจริญเติบโตอย่างมีทิศทาง
4. สภาพการณ์ความล้มเหลวที่มีการวางแผนแต่ไม่มีความเจริญเติบโตหรือ
ความเปลี่ยนแปลงของระบบ
5. สภาพการณ์การกระตุน้ จากสภาพแวดล้อมที่มีความเจริญเติบโตอย่างมี
ทิศทางโดยไม่ได้วางแผนเอาไว้ และมีการเปลี่ยนแปลงของระบบ
6. สภาพการณ์ปฏิบตั ิการนิ ยมที่มีความเจริญเติบโตอย่างมีทิศทางที่ไม่ได้
วางแผนไว้แต่ไม่มีความเปลี่ยนแปลงของระบบ
สภาพการณ์ที่ก่อให้เกิดความล้มเหลวต่อการพัฒนา

ได้แก่
• สภาพการณ์วิกฤติการณ์ที่มีความเปลี่ยนแปลงของระบบโดย
มิได้วางแผนไว้และไม่มีความเจริญเติบโตอย่างมีทิศทาง
• สภาพการณ์สงั คมคงที่ไม่มีแผน และไม่มีความเปลี่ยนแปลง
ของระบบ
5. องค์ความรูเ้ กี่ยวกับการบริหารการพัฒนา
ในหนังสือที่มีวอลโดและเฮฟฟี ย์เป็ นบรรณาธิการ

• ผลงานที่มีวอลโดเป็ นบรรณาธิการ เน้นสภาพแวดล้อม


ทางด้านเวลาของการบริหารการพัฒนา
--------------------------------------------
• ผลงานที่มีเฮฟฟี ย์เป็ นบรรณาธิการ เน้นสภาพแวดล้อมที่
เกี่ยวกับสถานที่ของการบริหารการพัฒนาและผลงาน
6. องค์ความรูเ้ กี่ยวกับการบริหารการพัฒนาของแกนท์

• ผลงานของแกนท์ ที่ศึกษาการบริหารการพัฒนา โดยเน้นการบริหาร


เพื่อการพัฒนา หรือการเน้นเป็ นภาค (sectors) เช่น ภาคเกษตร
ภาคประชากร ภาคการศึกษา ภาครัฐวิสาหกิจ ภาคการวางแผน
ภาคการบริหารงานส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น เป็ นต้น
7. องค์ความรูเ้ กี่ยวกับการบริหารการพัฒนา
โดย เดอกูซแมน และคาร์บอนแนล
• ได้ศึกษาวิจยั ในประเทศฟิ ลิปปิ นส์ กาหนดสมมติฐานไว้ คือ ลักษณะ
ทางเศรษฐกิจ และสังคมของผูบ้ ริหารฟิ ลิปปิ นส์มีความสัมพันธ์กบั
ความมุง่ มัน่ ในการพัฒนาประเทศ
• ผลของการทดสอบสมมติฐานปรากฏว่า
• ปริญญาบัตรทางวิชาชีพมีความสัมพันธ์กบั การหลีกเลี่ยงความขัดแย้ง
และความห่วงใยในชาติ
• อาชีพบิดามีความสัมพันธ์กบั ความกล้าเสี่ยง
• นอกจากความสัมพันธ์ดงั กล่าวแล้ว เดอกูซแมนและคาร์บอนแนลไม่
พบว่าตัวแปรอื่น ๆ มีค วามสัมพันธ์กันอย่า งมีนัยสาคัญ ทางสถิ ติที่
พอจะยอมรับได้
8. องค์ความรูเ้ กี่ยวกับการบริหารการพัฒนา
โดย พาแนนดิเกอร์ และ เชอร์ชาร์การ์
• ได้ต้งั สมมติฐานในการวิจยั ไว้วา่
• ลักษณะโครงสร้างและพฤติกรรมของระบบราชการ (ในความหมาย
ของเวเบอร์) มีความสัมพันธ์กับบทบาทในการพัฒนาประเทศของ
ข้าราชการอินเดีย
• ซึ่งผลการศึกษาพบว่า ตัวแปรลักษณะโครงสร้างของระบบราชการใน
อินเดีย(เช่น สายการบังคับบัญชา การแบ่งงานกันทา และระบบการ
กาหนดกฎเกณฑ์) มิได้มีความสัมพันธ์หรือเอื้ อต่อบทบาทในการ
พัฒนาประเทศแต่อย่างใด ต่อ
องค์ความรูเ้ กี่ยวกับการบริหารการพัฒนา
โดยพาแนนดิเกอร์และเชอร์ชาร์การ์

• แต่พิจารณาดูตวั แปรลักษณะพฤติกรรม(เช่น การไม่คานึ ง ถึ งบุคคล


การใช้เหตุผล และการมุง่ ปฏิบตั ิตามกฎเกณฑ์)
• พบว่ า มี ส่ ว นที่ เ อื้ อและขั ด ขวางบทบาทในการพั ฒ นาประเทศ
(เช่ น การไม่ ค านึ ง ถึ ง บุ ค คล มี ค วามสัม พัน ธ์กับ บทบาทในการ
ปฏิบตั ิงานให้สมั ฤทธิผล และการใช้เหตุผลมีความสัมพันธ์ กบั ความ
เปลี่ยนแปลง การปฏิบตั ิงานให้สมั ฤทธิผล เป็ นต้น)
สรุป

• จากองค์ความรูเ้ กี่ยวกับการบริหารการพัฒนาที่ได้จากต่า งประเทศ


ทาให้เราสามารถประเมินสถานภาพปั จจุบนั ของวิชาการบริหารการ
พัฒนา ได้ดงั นี้
1. คานิ ยมของการบริหารการพัฒนา หมายถึง การพัฒนาการบริหาร
และการบริหารเพื่อการพัฒนา ดูเหมือนจะได้รบั การยอมรับมากขึ้ น
ฉะนั้นจึงมีการอภิปรายและถกเถียงกันเกี่ยวกับเรื่องนี้ น้อยลง
2. องค์ป ระกอบของการบริ ห ารการพัฒ นามิ ได้มุ่ง เน้ น แต่ ก ารพัฒ นา
เศรษฐกิจแต่ เพียงอย่างเดี ยว แต่ เน้นการพัฒนาการบริ หาร การ
พัฒนาทางการเมือง การพัฒนาสังคม การพัฒนาชุมชนเมือง การ
พัฒนาชนบท การพัฒนารัฐวิสาหกิจและการพัฒนาความช่วยเหลื อ
จากต่างประเทศ และเรื่องอื่น ๆ ด้วย
3. เป้ าหมายของการพัฒนามิใช่รายได้ประชาชาติต่อหัวแต่เพียงอย่าง
เดียวเหมือนแต่ก่อน แต่หนั มาเน้นการกระจายและแบ่งปั นความมัง่
คัง่ และรายได้เสมอภาคและเป็ นธรรม
4. อิทธิพลของทฤษฎีพึ่งพา และมาร์กซิสต์เริ่มเข้ามามีอิท ธิพลในการ
วิเคราะห์ การพัฒนาและด้อยพัฒนามากขึ้ น

5. ยัง ไม่ มี ผู ้ใ ดเขี ย นต ารามาตรฐานใหม่ ๆ เกี่ ย วกับ การบริ ห ารการ


พัฒนาออกมาสู่สายตาของชุ มชนวิชาการมากนั ก ไม่ว่าจะเป็ นใน
ต่างประเทศหรือในประเทศไทยก็ตาม ส่วนใหญ่ผลงานที่ เกี่ยวกับ
การบริหารการพัฒนามักจะออกมาในรูปของบทความหรือผลวิจยั
ความเป็ นมา
 ค.ศ. 1930 -1939 (ในช่ ว งปี พ.ศ.2473 -2482 )
ได้เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต ่าครั้งใหญ่ทั ่วโลก
 ในขณะนั้ น รู ส เวลท์ ได้ร ั บ ชั ย ชนะในการเลื อ กตั้ ง เป็ น
ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา
 ให้ค วามส าคั ญ ของการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมใน
ประเทศสหรัฐอเมริกาเป็ นอย่างมาก
 เพื่อที่จะแก้ไขปั ญหาทางเศรษฐกิจ และสังคมที่เกิดขึ้น
รัฐบาลกลาง (Federal government)

ได้มีการริเริม่ ในการพัฒนาโครงการพัฒนาในด้านต่าง ๆ เช่น


 โครงการพัฒนาลุม ่ น้ าเทนเนสซี
 การจัดให้มีไฟฟ้ าในชนบท
 สร้างระบบความมั ่นคงปลอดภัยให้สงั คม
 โครงการงานสาธารณะ
 การให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอุตสาหกรรม
การพัฒนาโครงการพัฒนาในด้านต่าง ๆ (เพิ่มเติม)

 โครงการให้ความช่วยเหลือเกษตรกร
 การออกฎหมายเกี่ยวกับธนาคารเพื่อเป็ นหลักประกันความ
มั ่นคงทางการเงิน
 ด้านสวัสดิการสังคมและด้านอนามัยของประชาชน
 การดาเนินงานของโครงการอยูภ่ ายใต้การดูแลของ
คณะกรรมการวางแผนทรัพยากรแห่งชาติ
การพัฒนาตามโครงการดังกล่าว
การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศอเมริกาในช่วง
นั้น นับว่ าเป็ นแบบอย่างในการพัฒนาแก่ประเทศอื่ น ๆ
ในเรื่ อ งการก าหนดนโยบาย การวางแผน การบริ ห าร
โครงการ การกาหนดหน้าที่ขององค์การในการบริหารงาน
ให้บรรลุผลสาเร็จ
สหรัฐอเมริกาจึงเป็ นแบบอย่างในการพัฒนาประเทศ ของ
ในอีกหลายๆประเทศ
ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
 ประเทศในยุ โ รปส่ ว นใหญ่ ไ ด้รั บ ผลกระทบจากภาวะ
สงครามท าให้ส ภาพความเป็ นอยู่แ ละสภาวะเศรษฐกิ จ
เลวร้ายอย่างไม่เคย มีมาก่อน
 สหรัฐอเมริกาจึงเข้าไปมีบทบาทในการให้ความช่วยเหลื อ
ประเทศในยุ โ รป ให้ฟ้ ื นตัว จากสภาพของสงครามและ
พัฒนาประเทศ
 เป้ าหมายอยูท
่ ี่การยกระดับภาวะทางด้านเศรษฐกิจให้ดีข้ ึน
โดยได้ ก าหนดแผนมาร์ แ ชล (Marshall Plan)
ขึ้นมา
 แผนมาร์แชลล์ (อังกฤษ: Marshall Plan) หรือชื่อทางการ
คือ แผนงานฟื้ นฟูยุโรป (European Recovery Programme:
ERP) เกิดขึ้ นเมื่อ 5 มิถุนายน ค.ศ. 1947 ของนายพล จอร์จ
แคตเลตต์ มาร์แชลล์ (George Catlett Marshall) เป็ น
โครงการช่วยเหลื อทางเศรษฐกิจ ของสหรัฐอเมริ กาแก่ ยุโรป
ตะวันตก เพื่อป้ องกันการพังทลายทางเศรษฐกิจ และเพื่ อฟื้ นฟู
ระบบเศรษฐกิจแบบทุ นนิ ยมรัฐชาติ ของยุโรปตะวันตกขึ้ นมา
ใหม่
แผนมาร์แชล (Marshall Plan)
 แผนมาร์แชล (Marshall Plan) ได้ถูกกาหนดขึ้น
เพื่อให้ความช่วยเหลือในด้านเงินทุน ด้านทรัพยากร และ
ด้านเทคโนโลยี
 โดยยึดหลักการช่วยเหลือตนเอง (self-help) และการ
ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน (mutual-help)
แผนมาร์แชล (Marshall Plan)
 ระหว่างปี พ.ศ. 2492 –2501 การฟื้ นฟูเศรษฐกิจยุโรป
ประสบความสาเร็จอย่างมาก และก่อให้เกิดแนวคิดเกี่ ยว
กับ โครงการระดับ ชาติ และเกิ ด แนวทางในการพัฒ นา
เศรษฐกิจและสังคม
 ในขณะเดี ยวกัน ในระยะเวลาที่ใ กล้เคี ยงกัน ได้มีก ารต่ อ สู ้
เรียกร้องเอกราชเพื่อบูรณภาพแห่งดินแดน รวมทั้งการ
สร้างชาติใหม่ ของโลก 3 ส่วน คือ เอเชีย แอฟริกา และ
ลาตินอเมริกา
จุดเริ่มต้นวิชาการบริหารการพัฒนา

 จุดเริม่ ต้นของหลักวิชาการหรือแนวคิดใหม่ในเรื่องการ
บริหารการพัฒนา มาจากการประชุมสัมมนา ซึ่งเป็ นระบบ
ที่มีการถ่ายทอดให้ความรูก้ นั ที่เรียกว่า วิชา พัฒนบริหาร
ศาสตร์
 ในระหว่างปี พ.ศ. 2498-2508 เป็ นระยะของการค้นคว้า
กาหนดหลักเกณฑ์เนื้อหาสาระวิชา คาอธิบายเค้าโครง
ทฤษฎีตา่ ง ๆ
วิชาการบริหารการพัฒนา

 หลังปี พ.ศ. 2508 เป็ นต้นมาก็มีบทความและหนังสือ


เกี่ยวกับการบริหารการพัฒนาออกมาจานวนมาก
 ในปั จจุบน
ั วิชาพัฒนบริหารศาสตร์จงึ เป็ นวิชาทีว่ ่าด้วยการ
บริหารการพัฒนาได้รบั การยอมรับว่าเป็ นสาขาหนึ่งใน
สังคมศาสตร์
ความหมายของการบริหารการพัฒนา

มีนก
ั วิชาการได้ให้ความหมายในลักษณะที่แตกต่าง
กันดังนี้
1. ยอร์จ แกนท์ (George Gant)
2. เอดเวิรด ์ ดับเบิลยู ไวด์เนอร์ (Edward
W.Weidner)
3. เฟรด ริกส์ (Fred W.Riggs)
1. ยอร์จ แกนท์
 ผูค
้ วบคุมโครงการพัฒนาลุ่มน้ าเทนเนสซี
 เป็ นบุคคลแรกที่ใช้คาว่า การบริหารการพัฒนา
 จาแนกประเภทการพัฒนา ออกตามความมุ่งหมายและ
วิชาการที่ตา่ งกันได้ 2 ประเภท คือ
(1) การบริหารงานภายใน
(2) การบริหารงานภายนอก
o การบริหารงานภายใน มุ่งที่ประสิทธิภาพของการบริห าร
ภายในองค์การ ซึ่งทาได้โดยอาศัยเทคนิคการจัดการ เช่น
การบริหารงานบุคคล การวางแผน การบริหารงานคลัง
และ การตัดสินใจ เป็ นต้น
o การบริห ารงานภายนอก ครอบคลุม ปั จ จัย ภายนอกและ
รับผิดชอบในการติดต่อสัมพันธ์กับปั จจัยภายนอกองค์การ
ให้ม าส่ ง เสริ ม ร่ ว มมื อ เพื่ อ ช่ ว ยให้ก ารปฏิ บั ติ ง าน ของ
องค์การสัมฤทธิผล
สรุ ป แกนท์ ได้ ใ ห้ ค วามส าคั ญ กั บ การบริ ห าร
ภายนอกมาก เพราะการพัฒนาประเทศนั้นจะมุ่งอยู่แต่การ
บริ หารภายในอย่ า งเดีย วไม่ เพีย งพอ จาเป็ นต้องคานึ งถึ ง
ส่วนรวมด้วย
จึง ทาให้ต้องมีก ารติดต่อสั มพั นธ์กับปั จจั ยภายนอก
เพิ่มมากขึน้ การบริหารงานโดยวิธีการทาองค์การให้มีส่วน
ในการพัฒนานี้ เรียกว่า การบริหารการพัฒนา
2. เอดเวิรด์ ดับเบิลยู ไวด์เนอร์
 กาหนดแนวคิดเกี่ยวกับการบริหารการพัฒนาเป็ น 2 ด้าน คือ
1. ด้านกระบวนการ (process) หมายถึง กระบวนการที่นา
องค์การไปสู่สมั ฤทธิผลตามจุดมุ่งหมายที่ ตอ้ งการ เพื่อให้เกิด
ความเจริญก้าวหน้าทั้งในทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง
2. ด้านวิชาการ (area of study) การบริหารการพัฒนา
เป็ นส่ ว นหนึ่ ง ของวิ ช ารัฐ ประศาสนศาสตร์ มี จุ ด สนใจอยู่ ที่
หลักการอย่างหนึ่ง ซึ่งจะมีมากน้อยขึ้นอยูก่ บั บุคคล กลุ่ม และ
ประเทศ ว่าจะเชื่อมั ่นในหลักการนั้นเพียงใด
3. เฟรด ริกส์ (Fred W.Riggs)
ได้รวบรวมแนวคิดจากนักวิชาการ ไว้ 2 ประเด็น คือ
(1) การบริ ห ารการพัฒ นา หมายถึ ง การบริ ห ารโครงการ
พัฒนาทั้งหลายเพื่อให้นโยบายและแผนงานที่กาหนดไว้
บรรลุวตั ถุประสงค์ในการพัฒนา
(2) การบริหารการพัฒนา หมายถึง การเพิ่มสมรรถนะของ
การบริหารให้เข้มแข็ง คือ ถ้าโครงการพัฒนาของรัฐใน
ด้านอื่น ๆ ประสบผลสาเร็จแล้ว จะมีผลทาให้ตอ้ งเพิ่ม
ขีดความสามารถของระบบบริหารมากขึ้นด้วย
 ดังนั้นการบริหารจึงเป็ นเครื่องมือที่สาคัญที่ ทาให้บรรจุมุ่ง
หมายของการพัฒนา
สรุ ป การบริ ห ารการพั ฒ นา หมายถึ ง ระบบการ
บริ ห ารที่ มี เ ป้ าหมายแน่ น อน ซึ่ ง ก่ อ ให้ เ กิ ด การพั ฒ นา
เศรษฐกิจ สังคม การเมืองและการบริหาร
โดยจะต้องมีการปรับปรุ งกลไกในการบริหารงานของ
ระบบราชการให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ลมากขึ้น
เพื่ อ ให้ เ ป็ นระบบที่ ต อบสนองต่ อ การพั ฒ นาประเทศโดย
ส่วนรวมต่อไป
ลักษณะของการบริหารการพัฒนา

มีนกั วิชาการได้เสนอแนวความคิดแตกต่างกันดังนี้
 เอดเวิรด ์ ไวด์เนอร์
 เฟรด ริกส์
 ซอล แคทซ์
 ยอร์จ แกนท์
1.เอดเวิรด์ ไวด์เนอร์
กาหนดลักษณะที่สาคัญของการเปลี่ยนแปลงในระบบสังคม
1. การเจริ ญ เติ บ โตอย่ า งมี ทิ ศ ทาง (directional
Growth) เกิดขึ้นในระดับการกระทาการหรือเกิดขึ้น
จากผลผลิ ต (output) ของระบบ จึ ง เป็ นเรื่ อ งที่
เกี่ยวข้องกับขนาดคุณสมบัตแิ ละปริมาณ
2. การเปลี่ยนแปลงระบบ (system change) เป็ น
การเปลี่ยนแปลงในระบบกระทาการ ซึ่งก่อให้เกิดผลใน
ด้านความเจริญรุง่ เรืองและความก้าวหน้า
3. การวางแผนหรือจุดมุ่งหมายในการเปลี่ยนแปลง
(planning or intended change)

 ความทันสมัย นาเอาสิ่งดีจากสังคมที่พฒ ั นาแล้วมาปรับปรุ ง


หรือใช้ให้เหมาะสมกับสภาพสังคมของตน ซึ่งเป็ นไปได้ท้งั ทาง
เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง
 การสร้า งชาติ เน้น ให้ค นในสั ง คมมี ค วามรู ้สึ ก ร่ ว มกั น ใน
ขนบธรรมเนียมประเพณีและ ค่ า นิ ย มเดี ย วกัน โดยมี รัฐ บาล
เป็ นผูใ้ ช้อานาจในทางการเมืองแต่เพียงผูเ้ ดียว
 ความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจและสังคม ก่อให้เกิดความ
เป็ นอยู่ ที่ ดี ข้ ึ นในสั ง คมเพื่ อ คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ข้ ึ น ขจัด ความ
ยากจน และส่งเสริมให้ประชากรมี ปัจจัยพื้นฐานในการ
ดารงชีวิตที่ดีข้ ึน
2. เฟรด ริกส์
ริกส์ระบุลก
ั ษณะที่สาคัญของการพัฒนาไว้ 2 ลักษณะ คือ
(1) มีลก
ั ษณะเป็ นการบริหารงานโครงการพัฒนา ซึ่งเป็ น
วิธีการที่ใช้ในองค์กรภาครัฐที่ทาให้นโยบายและเป้ าหมาย
ที่วางไว้ เพื่อการพัฒนาบรรลุผลสาเร็จตามที่ตอ้ งการ
(2) มีลกั ษณะเกี่ยวข้องกับสมรรถนะทางการบริหาร ซึ่งเป็ น
วิธีการพัฒนาการบริหารทั้งด้านคน เงิน วัสดุอุปกรณ์และ
การจัดการ เพื่อผสมผสานทรัพยากรต่าง ๆ ที่มีอยูม่ าใช้
ในการบริหารอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
3. ซอล แคทซ์
 ใช้แนวการศึกษาแบบระบบมาใช้ในการศึกษาการบริหาร
การพัฒนา
โดยเห็ น ว่ า การพัฒ นาเป็ นระบบซึ่ ง มี ก ระบวนการที่ มี
ทิ ศ ทางและมุ่ ง ก่ อ ให้เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงของสัง คมให้
เป็ นไปตามเป้ าหมายที่วางไว้ และ
ในสั ง คมระบบราชการจะเป็ นตั ว แทนที่ ส าคั ญ ในการ
ดาเนินการให้ประเทศบรรลุเป้ าหมายที่วางไว้
ระบบการบริหารการพัฒนา
เป็ นเรือ
่ งที่เกี่ยวกับคน เงิน วัสดุอุปกรณ์ พฤติกรรมและ
การจัดสรรเงินเพื่อให้เหมาะสมกับความต้องการในด้าน
กลวิธีและเทคนิคในการที่จะทางานให้บรรลุผลสาเร็จตาม
เป้ าหมายที่ต้งั ไว้
ความต้องการในด้านกลวิธีและเทคนิค หมายถึง ความรู ้
เชิงวิทยาศาสตร์และวิชาชีพ
การบริหารการพัฒนาตามแนวคิดของแคทซ์
มีลกั ษณะที่สาคัญ 5 ประการ คือ
1.ระบบบริหารการพัฒนาต้องมีเป้ าหมาย
2.ระบบบริหารการพัฒนาจะมีระบบย่อย
3.ระบบย่อ ยจะมี ค วามสัม พัน ธ์เ ป็ นพลวัต กับ ปั จ จัย น าเข้า และ
ปั จจัยนาออก อันก่อให้เกิดความสมดุลแบบพลวัต
4.การเปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้ นชัว่ ระยะหนึ่ งเมื่อปั จจัยเปลี่ยนแปลง
แล้วก็จะกลับคืนสู่สภาพเดิม
5.ระบบบริหารการพัฒนามีหน้าที่ในการทาให้เป้ าหมายบรรลุผล
อยู่ 4 หน้าที่ คือ การตัดสินใจ การติดต่อสื่อสาร การควบคุม
และการแบ่งแยกงานเฉพาะอย่าง
4. ยอร์จ แกนท์
 เ ป็ น บุ ค ค ล แ ร ก ที่ ใ ช้ ค า ว่ า development
administration โดยมองว่า การบริหารการพัฒนา
สามารถแยกตามความมุ่ งหมายและวิ ธีการ ออกเป็ น 2
ระดับ คือ

ระดับจุลภาค และ ระดับมหภาค


ระดับจุลภาค

เป็ นการบริหารในองค์การมุ่งประสิทธิภาพของการ
จัดการโดยอาศัยเทคนิคการดาเนินการ เช่น
 การบริหารงานบุคคล
 การวางแผน
 การบริหารงานคลัง และ
 การตัดสินใจ เป็ นต้น
ระดับมหภาค

เป็ นการบริหารภายนอกองค์การมุ่งเน้นโครงสร้างการ
ดาเนินงานที่ครอบคลุมถึงภายนอก เช่น
 ปั จจัยภายนอก
 สภาพแวดล้อมต่าง ๆ ของระบบการบริหารต้องติดต่อ
สัมพันธ์กบั ระบบต่าง ๆ ภายนอกองค์การอยูต่ ลอดเวลา
สรุป ลักษณะที่สาคัญของการบริหารการพัฒนา

1. การบริหารการพัฒนาเป็ นการบริหารงานที่เกี่ยวข้องกับ
การพัฒนาประเทศ
2. การบริหารการพัฒนามีลกั ษณะอ่อนไหวปรับตัวให้เข้ากับ
สถานการณ์ และสภาพแวดล้อมได้ง่าย
3. การบริหารการพัฒนาต้องการความคิดสร้างสรรค์ใหม่
ของนักบริหาร
จุดเน้นของการบริหารการพัฒนา
ประการแรก
 เป็ นจุดเน้นของการบริหารการพัฒนาในฐานะที่เป็ น
เรื่องที่เกี่ยวกับการพัฒนาการบริหาร
 (Development of Administration = D of A)
ประการที่สอง
 เป็ นจุดเน้นของการบริหารการพัฒนาในฐานะที่เป็ น
เรื่องเกี่ยวกับการบริหารเพื่อการพัฒนา
 (Administration of Development = A of D)
จุดเน้นของการบริหารการพัฒนา
ในยุคก่อนปี ค.ศ. 1970
 เป็ นการพิจารณาว่า
การบริหารพัฒนา คือ การพัฒนาการบริหาร

 เป็ นการนาเอาแนวคิดเกี่ยวกับการบริหารงานภายใน
องค์การ ที่เกี่ยวข้องกับ

โครงสร้าง ระบบ สภาพแวดล้อม


การบริหารการพัฒนาในฐานะการพัฒนาการบริหาร
มีจุดเน้นทีส่ าคัญ 3 ประการ คือ

1. จุ ด เน้ น เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งโครงสร้ า งหน้ า ที่ข ององค์ก ารเป็ น


ประการสาคัญ กระบวนการบริหารอันได้แก่ การวางแผน
การบริหารงานบุคคล การจัดองค์การ และการตัดสินใจ จึ ง
มีความสาคัญ
2. จุ ด เน้ น เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งระบบ ซึ่ ง การบริ ห ารการพั ฒ นา
จ าเป็ นที่ จ ะต้ อ งค านึ ง ถึ ง ความสั ม พั น ธ์ร ะหว่ า งระบบกั บ
สภาพแวดล้ อ ม และต้ อ งพั ฒ นาถึ ง การบริ ห ารงานภายใน
องค์การให้มีความสัมพันธ์ต่อสภาพแวดล้อมด้วย
3. จุด เน้ น เกี่ย วกั บสภาพแวดล้ อ ม ซึ่ง ในการบริ ห ารการ
พั ฒ นาให้ ป ระสบผลส าเร็ จ นั้ น จ าเป็ นที่ ต้ อ งค านึ ง ถึ ง
สภาพแวดล้อมทีม่ ีอทิ ธิพลต่อการบริหารการพัฒนา
ในบางครั้งการบริหารการพัฒนาจะประสบผลสาเร็จ
ไปมิ ไ ด้ เ ลย ถ้ า มี ส ภาพแวดล้ อ มทางการเมื อ ง เศรษฐกิ จ
สังคมและการบริหาร ไม่เอือ้ อานวยต่อการพัฒนาดังกล่าว
จุดเน้นของการบริหารการพัฒนา
ในฐานะที่เป็ นการบริหารเพื่อการพัฒนา
 การบริหารการพัฒนาเป็ นเรื่องที่เกี่ยวกับการเพิ่มสมรรถนะ
ของการบริหาร
 พิจารณาถึงปั จจัยด้านโครงสร้างหน้าที่ ระบบ และ
สภาพแวดล้อมเป็ นประการสาคัญ
 ผลของการเพิ่มสมรรถนะของการบริหาร จะก่อให้เกิดการ
นาเอาโครงการพัฒนาด้านต่าง ๆ ไปดาเนินการให้บรรลุผล
สาเร็จตามเป้ าหมายที่กาหนดไว้
 ซึ่งเป็ นจุดเน้นที่สาคัญประการหนึ่งของการบริหารการพัฒนา
หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เป็ นการบริหารเพื่อการพัฒนา
การบริหารการพัฒนา
ตัง้ แต่ปี ค.ศ. 1970 จนถึงปั จจุบนั

เน้นการบริหารการพัฒนาในฐานะที่เป็ นการบริหาร
โครงการพั ฒ นา ให้เ ป็ นไปตามนโยบาย แผนงานและ
โครงการที่กาหนดขึ้นเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ของการพัฒนา
โดยมีขอบข่ายครอบคลุมทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิ จ
สังคม และการบริหาร
การบริหารโครงการพัฒนา
 เป็ นจุดเน้นที่สาคัญของการบริหารการพัฒนา
 เพราะการบริหารการพัฒนานั้นมีลก ั ษณะที่แตกต่างไปจาก
การบริหารงานปกติ
 การจัดรูปหน่วยงานของการบริหารโครงการจะแตกต่างกับ
การจัดรูปหน่วยงานปกติ
 การบริหารโครงการพัฒนาอาจจัดรูปหน่วยงานเป็ นแบบ
เมตริกซ์ แบบเน้นโครงการ และแบบคณะกรรมการ
เป็ นต้น
จุดเน้นของการบริหารการพัฒนา

 สามารถแบ่งได้ 3 ประการ คือ


1. การให้ความสาคัญต่อโครงการ
2. การให้ความสาคัญต่อการพัฒนาเฉพาะด้าน
3. การให้ความสาคัญต่อการนานโยบายไปสูก่ ารปฏิบตั ิ
1.การให้ความสาคัญต่อโครงการ
 มุ่งเน้นความสาคัญของแต่ละโครงการซึ่งมีพ้ นที
ื ่อยูใ่ นความ
รับผิดชอบของหน่วยงานเล็ก ๆ ที่มีความอิสระพอสมควร
ในการตัดสินใจและมีระยะเวลาของการปฏิบตั งิ าน เมื่อ
โครงการเสร็จงานก็ส้ นสุ
ิ ด
 จุดเน้นดังกล่าวมีส่วนทาให้องค์การระหว่างประเทศหันมา
ให้ความสนใจงานพัฒนาในโครงการเล็ก ๆ ที่จะปฏิบตั ิให้
บรรลุผล
 โดยจุดสนใจนั้นให้ความสาคัญกับการบริหารงานภายนอก
องค์การมากขึ้น
2. การให้ความสาคัญต่อการพัฒนาเฉพาะด้าน
การบริหารการพัฒนาเฉพาะด้านเป็ นแนวคิดที่
 ยอร์จ แกนท์ ได้ให้คานิยามการบริหารการพัฒนาว่าคือ
 การพัฒนาเฉพาะด้าน ได้แก่ ด้านการเกษตร การแรงงาน
การศึกษา การสาธารณสุข การพัฒนาการเมือง และการ
พัฒนาชนบท เป็ นต้น
 การพัฒนาในแต่ละด้านมีส่วนสาคัญต่อการพัฒนาประเทศ
 แนวการศึกษาการพัฒนาเฉพาะด้านที่เด่นชัดมากที่สุ ด คือ
การพัฒนาชนบท
3. การให้ความสาคัญต่อการนานโยบายไปสู่
การปฏิบตั ิ
 การศึกษาการบริหารการพัฒนาในปั จจุบนั ให้ความสาคัญ
ของการศึ ก ษาการน านโยบายไปสู่ ก ารปฏิ บัติ โ ดยอาศัย
กรอบแนวคิดของนักวิ ชาการที่ว่า การบริหารการพัฒนา
เป็ นเรื่ อ งของการบริ ห ารนโยบาย โครงการ เพื่ อ ให้
สามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ของการพัฒนาแล้ว
3. การให้ความสาคัญต่อการนานโยบายไปสู่
การปฏิบตั ิ

 การนานโยบายไปสู่การปฏิบตั ิก็เป็ นเรื่องของความสามารถ


ที่ จ ะผลั ก ดั น ให้ก ารท างานของกลไกที่ ส าคั ญ สามาร ถ
บรรลุผลสาเร็จตามที่ได้ต้งั ไว้
 เริม่ ตั้งแต่การกาหนดนโยบาย แผน แผนงานหรือโครงการ
ไปสูก่ ารปฏิบตั ิ
แนวทางหรือตัวแบบ
การศึกษาการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการนานโยบายไปสู่
การปฏิบตั อิ าจแยกพิจารณาได้เป็ น 6 แนวทางหรือตัวแบบ
คือ
1. แนวทางที่เน้นการวางแผนและการควบคุม หรือที่เรียกว่า
ตัวแบบที่ยดึ หลักเหตุผล
2. แนวทางที่เน้นสมรรถนะขององค์การ หรือที่เรียกว่า
ตัวแบบทางด้านการจัดการ
แนวทางหรือตัวแบบ
3. แนวทางที่เน้นการมีสว่ นร่วม การสร้างความผูกพันและ การ
ยอมรับหรือที่เรียกว่า ตัวแบบทางด้านการพัฒนาองค์การ
4. แนวทางที่เน้นการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับสภาพความเป็ นไป
ในระบบราชการหรือ ที่เรียกว่า ตัวแบบทางด้านกระบวนการ
ของระบบราชการ
5. แนวทางที่เน้นการเจรจาและการต่อรองหรือที่เรียกว่า
ตัวแบบทางการเมือง
6. แนวทางที่เน้นการวิเคราะห์เชิงระบบ หรือที่เรียกว่า
ตัวแบบทั ่วไป
สรุป จุดเน้นของการบริหารการพัฒนา
ตัง้ แต่ 1970 เป็ นต้นมา
เน้นไปสู่การศึกษาการพัฒนาเฉพาะด้านมากขึน้ เช่น การศึก ษา
การคมนาคม การเกษตร การพัฒนาชนบทแ ละการพัฒนาเมือง เป็ นต้น
นอกจากนีย้ งั มุ่งศึกษาการนานโยบายไปสูก่ ารปฏิบตั ิ โดยการศึกษา
ตัวแปรหรือปั จจัยที่มีอิทธิพลต่อความสาเร็จ หรือความล้มเหลวของการนา
นโยบายไปสูก่ ารปฏิบตั ิวา่ มีอะไรบ้าง
ซึง่ แนวทางดังกล่าวได้รบั ความสนใจจากนักวิชาการในกลุม่ ประเทศ
ที่ ก าลัง พัฒ นา เพราะผลของการศึ ก ษาดัง กล่ า วสามารถที่ จ ะน ามา
ประยุกต์ใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และการบริหารได้
สภาพแวดล้ อมของการบริหารการพัฒนา
ความหมายของสภาพแวดล้ อม
ของการบริหารการพัฒนา
เฟลิกซ์ เอ ไนโกร และลอยด์ จี ไนโกร
(Felix A. Nigro and Lloyd G.Nigro)
• สภาพแวดล้อม หมายถึง สรรพสิ่งทางกายภาพและสังคมซึ่งอยู่
ล้อมรอบองค์การและมีอิทธิพลเหนือพฤติกรรมการบริหาร
• ในทางกลั บ กั น สภาพแวดล้อ มมี อิ ท ธิ พ ลเหนื อ พฤติ ก รรม
การบริหาร
• ในขณะเดี ย วกั น พฤติ ก รรม การบริ ห ารก็ มี อิ ท ธิ พ ลเหนื อ
สภาพแวดล้อมด้วย
• สรุ ป สภาพแวดล้อ มของไนโกร เน้น ความหมายในแง่ ข อง
นิเวศวิทยา
เอ็ดการ์ เอฟ ฮิวส์ และ เจมส์ แอล โบวดิตซ์
(Edgar F. Huse and James L. Bowditch)
o สภาพแวดล้อม หมายถึง คนและสภาพการณ์ หรื อเงื่อนไขซึ่ งอยู่
ภายนอกองค์การที่มีผลกระทบต่อหรือได้รบั ผลกระทบจากองค์การ
o ปั จจั ย ทั้ งหมดที่ มี อ ยู่ ภ ายนอกองค์ ก ารประกอบกั น ขึ้ นเป็ น
สภาพแวดล้อม
เฮอร์เบอร์ต จี ฮิกส์ (Herbert G. Hicks)
o สภาพแวดล้อม หมายถึง ผลรวมของปั จจัยต่าง ๆ ที่อยู่รอบ ๆ
องค์การ
o เช่ น สงครามและสัน ติภ าพ วัฒ นธรรม จริย ธรรม ทัศ นคติ
ทางด้านการเมือง และเศรษฐกิจระหว่างประเทศของประเทศ
พันธมิตร รูปแบบทางด้านจารีตประเพณีและวัฒนธรรม สภาพ
ทางการเมื อ งและเศรษฐกิ จระดับท้อ งถิ่ น และระดับประเทศ
สหภาพแรงงาน ทัศนคติของประชาชน และผลประโยชน์ของ
กลุม่ ผูบ้ ริโภค ผูถ้ ือหุน้ และประชาชนโดยทั ่วไป
วอเรน บี บราวน์ และเดนนิส เจ โมเบอร์ก
(Warren B.Brown and Dennis J. Moberg)

• สภาพแวดล้อม หมายถึง สิ่งของ บุคคล และองค์การอื่น ๆที่


อยูร่ อบๆองค์การเป้ าหมาย
• รวมทั้งแหล่งที่องค์การเหล่านั้นได้อาศัยวัตถุดิ บ และตลาดที่
องค์การเหล่านั้นใช้เป็ นที่จาหน่ ายสินค้าและบริการอีกด้วย
ลินตัน เค คอลด์เวลล์ (Lynton K. Caldwell)

 สภาพแวดล้อ ม หมายถึ ง แหล่ ง รวมของปั จจั ย ทาง


ชีววิทยา กายภาพ จิตวิทยา และสังคมซึ่งมีปฏิกิริยาโต้ตอบกับ
คนและสังคม
ปี เตอร์ บาร์เทลมัส (Peter Bartelmus)

• สภาพแวดล้อม หมายถึง สภาพและอิทธิ พลภายนอกที่ มี


ผลกระทบต่อชีวติ และพัฒนาการของอินทรีย์
สรุป

• สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนา หมายถึง สิ่งที่เป็ น


รู ป ธรรมและนามธรรมทั้ ง ภายในและภายนอกและรอบ ๆ
องค์ก าร ซึ่ ง มี อิ ท ธิ พ ลเหนื อ โครงสร้า ง กระบวนการ และ
พฤติกรรมของการพัฒนาการบริหาร การบริหารเพื่อการพัฒนา
(หรือการบริหารการพัฒนา)
สภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนา

• สภาพแวดล้อมที่เป็ นรูปธรรมอาจรวมถึงสภาพภูมิศาสตร์ ประชากร


เทคโนโลยีกายภาพ
• สภาพแวดล้อมที่เป็ นนามธรรมได้แก่ การประดิษฐ์คิดค้นทางสังคม
รวมถึง บรรษัท สหภาพแรงงาน กลุ่มผลประโยชน์ อุดมการณ์ อารย
ธรรมธุ รกิจ ปั จเจกชนนิ ยม ระบบการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม
เป็ นต้น
ประเภทของสภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนา
• สภาพแวดล้อมภายนอกประเทศ ได้แก่ ประชากร เทคโนโลยี
กายภาพ และชีวภาพ สิ่งประดิษฐ์คิดค้นทางสังคม และอุดมการณ์
เป็ นต้น
• สภาพแวดล้อมภายในประเทศ ได้แก่ สภาพแวดล้อมทางการเมือง
เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
• สภาพแวดล้อมภายในองค์การ ได้แก่ ปฏิกิริยาโต้ตอบหรือความ
ขัดแย้งระหว่างองค์การและบุคคล ความขัดแย้งระหว่างบทบาทที่
องค์การมอบให้บุคคลและบุคลิกภาพของบุคคล และความขัดแย้ง
ระหว่างความคาดหวังขององค์การและความต้องการของบุคคล
ผลกระทบของสภาพแวดล้อมของการบริหารการพัฒนา

ผลกระทบของสภาพแวดล้อมจากภายนอกประเทศ
• ทอฟเลอร์ เห็นว่าสภาพแวดล้อมของประเทศสหรัฐอเมริกาและของ
โลกมีความเปลี่ยนแปลงเร็วมาก
• ซึ่งอัตราเร่งของความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมมีผลกระทบต่อ
สัง คมและบุ ค คลมากกว่ า ทิ ศ ทางของความเปลี่ ย นแปลง และถ้า
บุค คลได้รับความกดดันจากผลกระทบของความเปลี่ ยนแปลงของ
สภาพแวดล้อมมากเกินไปในระยะเวลาอันกะทันหัน
เนสบิตต์

ได้ชี้ให้เห็นว่าในศตวรรษที่ 21 สหรัฐอเมริกาและประเทศพัฒนาแล้วมี
สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างน้อยที่สุด 10 ประการ คือ
• เปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรม เป็ นสังคมข่าวสาร
• เปลี่ยนจากเทคโนโลยีธรรมดา เป็ นเทคโนโลยีระดับสูง
• เปลี่ยนจากเศรษฐกิจระดับประเทศ เป็ นเศรษฐกิจโลก
• เปลี่ยนจากการวางแผนระยะสั้น เป็ นการวางแผนระยะยาว
• เปลี่ยนจากการรวมอานาจ เป็ นการกระจายอานาจ
เนสบิตต์

• เปลี่ยนจากการช่วยเหลือจากสถาบันของรัฐบาลและเอกชนมาเป็ น
การพึ่งพาตนเอง
• เปลี่ยนจากประชาธิปไตยโดยมีผแู ้ ทนมาเป็ นประชาธิปไตยแบบมีส่วน
ร่วม
• เปลี่ยนจากสายการบังคับบัญชามาเป็ นโครงข่าย (Networking)
• เปลี่ยนจากการมีทางเลือกเพียงสองทางเลือก มาเป็ นทางเลือกหลาย
ๆ ทางเลือก
• ประชาชนในสหรัฐเอมริกาเปลี่ยน/ย้ายถิ่นที่อยูจ่ ากภาคเหนื อและ
ตะวันออกของประเทศ ไปอยูภ่ าคใต้หรือภาคตะวันตก
สาเหตุที่เป็ นเช่นนี้เพราะ

• เชื่ อ ว่า ประเทศโลกที่ ส ามและประเทศอุ ต สาหกรรมใหม่ไ ด้เ ข้า มา


ประกอบการทางด้านอุตสาหกรรมแทนสหรัฐอเมริกาแล้ว
• ดังนั้ นอเมริ กาจะต้องเตรี ยมทางานที่ ไม่ซ้ า แบบกับประเทศเหล่านี้
แต่จะต้องเตรียมทางานที่นาไปสู่การประดิษฐ์คิดค้นงานใหม่ ๆ ใน
อนาคต
ผลกระทบจากประชากร
• กระทบต่อรายได้และการจ้างงาน
• กระทบต่ ออการกาหนดนโยบาย และการราเอานโยบายพัฒนาไป
ปฎิบตั ิ
• ทาให้เกิดมลพิษ
• รัฐบาลต้องจัดหาบริการ เช่น การศึกษา การมีงานทา การแพทย์และ
สาธารณสุข การคมนาคมและการขนส่ง
ผลกระทบจากเทคโนโลยีกายภาพและชีวภาพ
• สาหรับเทคโนโลยีกายภาพ รวมถึง เครื่องบิน รถยนต์ การสื่อสาร
และคมนาคม การปฏิบตั ิการเครื่องมือทางการเกษตร คอมพิวเตอร์
และพลังนิ วเคลียร์ เป็ นต้น
• ข้อดี เราสามารถทางานได้เร็วแม่นยามากขึ้ น
• ข้อเสีย ทาให้คนมีความแปลกแยกกับงาน
ผลกระทบจากเทคโนโลยีกายภาพและชีวภาพ
• เทคโนโลยีกายภาพและชีวภาพ ย่อมส่งผลกระทบต่อการบริหารการ
พัฒ นา เพราะอ านวยความสะดวกสบายแก่ ค นมากขึ้ น แต่ ก็ เ ป็ น
ปั ญ หาส าหรับ การบริ ห ารพัฒ นาในแง่ ข องนิ เ วศวิ ท ยา การออก
ระเบียบกฎเกณฑ์บงั คับเพื่อความปลอดภัยของประชาชน และการ
ห้องกันอุบตั ิเหตุและอุบตั ิภยั เป็ นต้น
• แต่ผลกระทบของเทคโนโลยีกายภาพอาจจะมีความรุนแรงน้อยกว่า
ผลกระทบของเทคโนโลยีชีวภาพ
ผลกระทบจากสิ่งประดิษฐ์คิดค้นทางสังคม
• บรรษัท
• สหภาพแรงงาน
• กลุ่มผลประโยชน์
ตลอดจนโครงการให้ความช่วยเหลือแก่ต่างประเทศ ซึ่ง
สภาพแวดล้อมเหล่านี้ ย่อมมีผลกระทบต่อการบริหารการพัฒนา และ
พฤติกรรมขององค์การและข้าราชการที่เกี่ยวข้องอย่างไม่ตอ้ งสงสัย
บรรษัท
• เป็ นสิ่ ง ประดิ ษ ฐ์คิ ด ค้น ทางสัง คมที่ มี ผ ลกระทบต่ อ การบริ ห ารการ
พั ฒ นา และพฤติ ก รรมขององค์ ก ารและบุ ค คลไม่ น้ อ ยไปกว่ า
เทคโนโลยีกายภาพและชีวภาพ
• บรรษัทไม่พียงแต่จะทาให้กรรมสิทธิ์เปลี่ยนมือจากการดาเนิ นงาน
ของระบบการทาธุรกิจแบบครอบครัวเท่านั้น
• แต่ยงั เป็ นคู่แข่งและ/หรือผูใ้ ห้ความร่วมมือกับรัฐบาลในอันที่จะจัดหา
สินค้าและบริการให้แก่ประชาชน
สหภาพแรงงาน
• มีอิทธิพลเหนื อการบริหารการพัฒนา เพราะแต่เดิมสหภาพแรงงาน
ยังไม่ค่อยมีพลังมากนัก ส่วนใหญ่จะอยู่ในกากับของรัฐบาลแต่ละยุค
แต่ละสมัย
• แต่ในปั จจุบนั สหภาพแรงงานของไทยมีความแข็งแกร่งขึ้ นมาก เพราะ
ได้รบั การสนั บสนุ นจากนิ สิต นั กศึกษา ชาวนา และสหภาพแรงงาน
จากต่างประเทศ
• ฉะนั้ น การเจรจาต่ อ รองระหว่า งนายจ้า งและลู ก จ้า ง โดยมี ก รม
สวัสดิการแลคุม้ ครองแรงงานและศาลแรงงานยืนมือเข้ามาเกี่ย วข้อง
อยูด่ ว้ ย จึงต้องทากันตามตัวบทกฎหมายและด้วยความอะลุม้ อล่วย
กลุม่ ผลประโยชน์
• กลุ่มผลประโยชน์ที่สาคัญที่สุด คือ กลุม่ ข้าราชการประจา (พลเรือน
ทหารและต ารวจ) กลุ่ม พ่ อ ค้า กลุ่ม ที่ ห น่ ว ยราชการบางแห่ ง
สนับสนุ น(เช่น กลุ่มลูกเสือชาวบ้าน) และกลุ่มที่ประชาชนจัดตั้ง
ขึ้นมาเอง เช่น สหภาพแรงงาน องค์การนิสิตนักศึกษา เป็ นต้น
ผลกระทบจากอุดมการณ์

• อุดมการณ์ หมายถึง แบบอย่างความคิดเห็น ความเชื่อ รวมทั้ ง


วิธีการคิดอันเป็ นลักษณะของกลุ่มคน เช่น ชาติ ชนชั้น วรรณะ กลุ่ม
วิชาชีพ นิ กาย ศาสนา และพรรคการเมือง ฯลฯ
• อุดมการณ์เป็ นสภาพแวดล้อมอีกประการหนึ่ งที่มีผลกระทบต่ อการ
บริหารการพัฒนา
• อุ ด มการณ์ ที่ เ น้ น การท างานหนั ก ประหยัด และแข่ ง ขัน กัน หรื อ
จรรยาบรรณ
ในต่างประเทศ
• ผลกระทบของอุดมการณ์อาจจะเห็นได้จากแนวความคิดของ ซ้ายเก่า
ซ้ายใหม่ ขวาเก่า และขวาใหม่ และลัทธิและวิธีปฏิบตั ิทางการบริหาร
การพัฒนาในสหรัฐอเมริกา
• ซึ่งแต่ละฝ่ ายจะมีความคิดเห็นแตกต่างกันจึงทาให้เกิดผลกระทบต่อ
การบริหาร การพัฒนา
ในประเทศไทย
• สิ่งที่ได้รบั ผลกระทบจากอุดมการณ์ เช่น
• การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
• เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516
• เหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 และ
• การได้รบั อุดมการณ์การบริหารการพัฒนาจากสหรัฐอเมริกา
นับตั้งแต่ประมาณปี พ.ศ. 2498
ผลกระทบจากการเมือง
• มีอิทธิพลเหนื อการบริหารการพัฒนา เพราะในปั จจุบนั นี้ รัฐบาลเริ่มยึด
แนวการเมืองนาเศรษฐกิจการบริหารและอื่น ๆ ด้วย
• การเมืองจะสามารถช่วยให้การกาหนดนโยบายพัฒนา การปฏิบตั ิตาม
นโยบายการพัฒนา และการประเมินผลนโยบายพัฒนาเป็ นไปอย่าง
ราบรื่น
• นอกจากนั้น การเมืองยังสามารถกระจายความมัง่ คัง่ และรายได้ออกไป
อย่างทัว่ ถึงและเป็ นธรรมได้มากขึ้ น
• นอกจากนี้ ความมีเสถียรภาพและไม่มีเสถียรภาพของการเมืองก็มีอิทธิพล
เป็ นอันมากต่อโครงการพัฒนาของรัฐบาล หรืออาจกล่าวว่า การเมืองที่มี
เสถียรภาพเอื้ อต่อการบริหารการพัฒนา
ผลกระทบจากเศรษฐกิจ
• รายได้ประชาชาติส่วนรวมได้เพิ่มขึ้ นอย่างมาก เท่ากับเป็ นการยืนยัน
ว่า ผลของการบริ ห ารการพัฒ นาในระยะเวลาที่ ผ่ า นมานั้ น ประสบ
ความส าเร็ จ เป็ นที่ น่ า พอใจ และผลกระทบจากเศรษฐกิ จ ย่ อ มมี
ผลกระทบต่อการบริหารการพัฒนา คือ สามารถทาให้คนบางคนรวย
ขึ้ น และคนบางคนจนลง
ผลกระทบจากสังคม
• ประการแรก สังคมไทยเป็ นสังคมเน้นช่วงชั้นทางสังคม
• ประการที่ ส อง สัง คมไทยมี ลัก ษณะค่ อ นข้า งจะเป็ นเผด็ จ การ มี
ลักษณะที่ต่อต้านอุดมการณ์ประชาธิปไตย
• ประการสุ ด ท้า ย สัง คมไทยได้ชื่ อ ว่ า เป็ น “สัง คมที่ มี โ ครงสร้า ง
หละหลวม” ค่อนข้างมาก คือ เป็ นสังคมที่คานึ งถึงตัวใครตัวมัน ขาด
ความคงเส้นคงวา ขาดระเบียบวินัย และไม่ให้ความสาคัญแก่เ วลา
เป็ นต้น
ลักษณะเด่น ๆ ทางสังคม
• การเน้นช่วงชั้นทางสังคมมากเกินไปอาจกระทบกระเทือนถึงความ
เสมอภาคซึ่งเป็ นหัวใจประการหนึ่ งของการบริหารการพัฒนา
• ลักษณะเผด็จการหรือต่อต้านประชาธิปไตยอาจเป็ นผลเสียต่อการมี
ส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการการบริหารการพัฒนา
• โครงสร้างสังคมที่หละหลวมอาจทาให้ผูท้ ี่เกี่ยวข้องกับ การบริหารการ
พัฒนาขาดความรับผิดชอบ ขาดการประสานงาน อันจะเป็ นผลเสีย
ต่อการบริหารการพัฒนาโดยส่วนรวม เป็ นต้น
ผลกระทบที่เกิดจากปฏิกิรยิ าโต้ตอบระหว่างองค์การและบุคคล

• โดยสภาพธรรมชาติแล้วองค์การมักจะขัดแย้งกับคนอยูเ่ สมอ บทบาท


ที่ อ งค์ก ารมอบให้กับ คนก็ มัก จะขัด แย้ง กับ บุ ค ลิ ก ภาพของคน และ
ความคาดหวัง ที่ อ งค์ก ารคิ ด จะได้รับ จากคนก็ มัก จะขัด กับ คว าม
ต้องการส่วนตัวของบุคคลนั้น
• ฉะนั้ น พฤติ ก รรมพัฒ นา/ไม่พัฒ นาของบุ ค คลจึ ง เป็ นผลพวงของ
ปฏิกิริยาโต้ตอบดังกล่าว ตลอดจนสถานการณ์ในขณะใดขณะหนึ่ ง
ด้วย
สรุป

• การบริ ห ารการพัฒ นาจะประสบความส าเร็ จ หรื อ ไม่ ขึ้ นอยู่ กั บ


สภาพแวดล้อมด้วย
• การบริหารการพัฒนามิใช่เป็ นฝ่ ายถูกกระทา คือยอมสยบอยู่ ภายใต้
อิ ท ธิ พลของสภาพแวดล้อมเพีย งแต่ อย่า งเดี ย ว ตรงกัน ข้า ม การ
บริหารการพัฒนาที่ดีน้ัน จาเป็ นต้องเข้าไปควบคุมสภาพแวดล้อมให้
เบี่ยงเบนไปในทิศทางที่เราต้องการด้วย หรือยิ่งเราสามารถควบคุม
สภาพแวดล้อมได้มากเพียงใด ก็ยิ่งมีโอกาสที่จะประสบความสาเร็จ
ในการบริหารการพัฒนาได้มากขึ้ นเพียง
การพัฒนา
การบริหาร

การพัฒนา การบริหาร
การเมือง โครงการ
ขอบเขต
การบริหาร
การพัฒนา

การพัฒนา การพัฒนา
สังคม เมือง

การพัฒนา
ชนบท
1.การบริหารการพัฒนาทีเ่ น้นการพัฒนาการบริหาร
 ก า ร พั ฒ น า ก า ร บ ริ ห า ร ห ม า ย ถึ ง ก า ร จั ด เ ต รี ย ม
เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ป รั บ ป รุ ง ห รื อ ป ฏิ รู ป โ ค ร ง ส ร้ า ง
ก ร ะ บ ว น ก า ร ( ร ว ม ถึ ง เ ท ค โ น โ ล ยี ) แ ล ะ พ ฤ ติ
กรรมการบริหาร
 เพื่อให้มีความสามารถที่จะรองรับนโยบาย แผน แผนงาน
โครงการ และกิจกรรมสาหรับการบริหารการพัฒนา
 เนื้อหาของการพัฒนาการบริหาร จะครอบคลุ มถึงสภาพ
แวดล้อมในด้านต่าง ๆ เช่น โครงสร้าง กระบวนการ และ
พฤติ ก รรมการบริ ห ารที่ เ อื้ อ ต่ อ การพั ฒ นา รวมทั้ ง
บรรยากาศการบริหารและคุณภาพชีวิตในการทางาน
การพัฒนาโครงสร้างทางการบริหาร
 โครงสร้ างทางการบริ ห ารนั้ นมี อิ ท ธิ พ ลเหนื อพฤติ
กรรมการบริหาร
 เช่ น ข้ า ราชการที่เ ข้ า มาอยู่ ภ ายใต้ “สถานการณ์ร ะบบ
ราชการ” จาเป็ นต้องปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์นั้น ๆ
หลักการของการจัดโครงสร้างทางการบริหาร
ประกอบด้วย
1. การแบ่ ง แยกหน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบและมอบให้ แ ต่ ละ
บุคคลกระทาเพื่อสะดวกในการติดตามประเมินผลและ
การส่ ง ข้ อ มู ล ย้ อ นกลั บ ว่ า ใครรั บ ผิ ด ชอบอะไร และ
ปฏิบัตงิ านได้ดมี ากน้อยเพียงใด
2. การประสานหน้ า ที่ความรั บผิดชอบที่แบ่งแยก ให้มีการ
ประสานงานและความกลมกลื น เพื่ อ โน้ ม น้ า วการ
ปฏิบัตงิ าน ให้เป็ นไปตามทิศทางทีจ่ ะบรรลุวัตถุประสงค์ท่ี
เอือ้ ต่อการพัฒนาประเทศ
รู ปแบบโครงสร้างทางการบริหาร แบบที่ 1

หัวหน้า

ลูกน้อง
จะพบเห็นได้ในหน่วยงานราชการทั่ว ๆ ไป ซึง่ มีหวั หน้าที่มีอานาจสูงสุด
เพียงคนเดียว
รู ปแบบโครงสร้างทางการบริหาร แบบที่ 2
หัวหน้า

ลูกน้อง
จะพบเห็นได้ในรัฐวิสาหกิจซึง่ มีหวั หน้าที่มีอานาจสูงสุดหลายคน
(คืออยูใ่ นรูปแบบของคณะกรรมการการบริหาร)
รูปแบบโครงสร้างทางการบริหาร แบบที่ 3

ลูกน้อง

หัวหน้า
จะพบเห็นได้ในมหาวิทยาลัยซึง่ ผูบ้ งั คับบัญชาเป็ นหัวหน้าในทางนิตินยั
ส่วนลูกน้องเป็ นผูบ้ งั คับบัญชาในทางพฤตินยั
รู ปแบบโครงสร้างทางการบริหาร แบบที่ 4

แบบผสม
 รูปแบบของโครงสร้างทางการบริหาร ทัง้ 4 แบบ
มีทงั้ ข้อดีและข้อเสีย และแต่ละรู ปแบบก็เหมาะกับงานแต่
ละประเภท ไม่มีโครงสร้างรู ปแบบใดที่ดีที่สุด ขึน้ อยู่กับว่า
หน่ ว ยงานใดจะน ารู ป แบบใดไปใช้ ใ ห้ เ หมาะสมกั บ งานที่
รับผิดชอบให้เกิดประโยชน์ให้มากทีส่ ุดแก่หน่วยงานนั้น ๆ
2. การพัฒนากระบวนการการบริหาร
 การขจั ด จุ ด อุ ด ตั น ของการไหลของงาน การย่ น
ระยะเวลาเดินทางของงาน และการทางานให้ง่ายเข้า
เพื่อเพิ่มสมรรถนะขององค์การที่จะสนองตอบเป้าหมายการ
พัฒ นาของประเทศ เช่ น เดี ย วกัน กับ การพัฒ นาโครงสร้า ง
ทางการบริหาร
 มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ การพั ฒ นาโครงสร้า งทางการบริ ห าร
เพราะถ้ า องค์ก ารตั ด สิ น ใจเลื อ กใช้ รู ป แบบโครงสร้ า ง
ทางการบริหารรู ปแบบใดรู ปแบบหนึ่งกระบวนการการ
บริหารก็จะเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย
การพัฒนากระบวนการการบริหาร
 กระบวนการบริ ห ารมี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ เทคโนโลยี ถ้ า
อ ง ค์ ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี ร ะ บ บ ส า ย พ า น
กระบวนการการบริหารต้องดาเนินไป ตามขั้นตอน 1-2-3
จะข้ามขั้นตอนมิได้
 หากองค์การตัดสินใจใช้เทคโนโลยีท่ี ม่งุ ให้บุคคลสองฝ่ ายมา
พบปะเพื่ อ ท าธุ ร กิ จ กั น เช่ น เครื่ อ งถอนเงิ น อั ต โนมั ติ
กระบวนการการบริหารก็อาจจะสัน้
3. การพัฒนาพฤติกรรมการบริหาร
 พฤติ กรรมพัฒ นา/ไม่พัฒ นาของบุค ลากร อาจเกิ ด จากปั จ จั ย
หลายประการ เช่น สภาพแวดล้อม โครงสร้าง และกระบวนการ
การบริหาร หรือ อาจเกิดจากนโยบายขององค์การและภูมิหลั ง
ทางเศรษฐกิจ และสังคม
พฤติกรรมทีเ่ อือ้ ต่อการพัฒนา
ได้แก่ พฤติกรรมทีเ่ อือ้ ต่อการปฏิบัตภิ ารกิจของการบริหาร
การพัฒนาทีเ่ น้นเรื่อง
 การวางแผนไว้ล้วงหน้าอย่างมีทศ ิ ทาง
 ความทันการณ์ หรือ สถานการณ์
 เน้นการประดิษฐ์คิดค้น อย่างสร้างสรรค์
พฤติกรรมและบทบาท
ผู้บริหารสมัยใหม่หรือนักบริหารการพัฒนาควรมี
 นั ก การเมื อ ง ควรน าเอาข่ า วสารเกี่ ย วกั บ สั ง คมสมั ย ใหม่
เช่น อุตสาหกรรม เทคนิค และวิทยาศาสตร์ ไปบอกกล่าว
ในประเทศด้อยพัฒนา
 ผู้ประกอบการ ควรจะเป็ นนักประดิษฐ์คิดค้น
 ผู้ บ ริ ห ารโครงการ ควรดู แ ลและอ านวยการให้ โ ครงการ
พัฒนาสาเร็จไปด้วยดี
 ผู้ใช้อานาจ ควรแบ่งปั นผลประโยชน์แก่ผู้ทเี่ กี่ยวข้อง
แนวทางการพัฒนาการบริหาร

1. ด้านมหภาค
2. ด้านจุลภาค
แนวทางการพัฒนาการบริหารทางด้านมหภาค
 นักวิชาการกลุ่มหนึ่ง คิดว่า ควรพัฒนาพรรคการเมือง ระบบ
เลื อ กตั้ง ฝ่ ายนิ ติ บัญ ญัติ และกลุ่ม ผลประโยชน์ ให้ มี พ ลัง
ทัดเทียมกับระบบราชการเพื่อคอยถ่วงอานาจและตรวจสอบซึ่ง
กันและกัน ฝ่ ายนีไ้ ด้ช่ือว่า “ฝ่ ายทฤษฎีหน่วยการปกครองการ
บริหารที่สมดุล”
 ส่วนนักวิชาการอีกฝ่ ายหนึ่ง คือ “ฝ่ ายทฤษฎีหน่วยการปกครอง
การบริหารที่ไม่สมดุล” เชื่อว่า การพัฒนาการบริหารไม่จาเป็ น
จะต้องมีลกั ษณะสมดุลกับระบบหรือฝ่ ายอื่น ๆ ก็ได้
การพัฒนาการบริหารทางด้านจุลภาค
ครอบคลุม
1. ด้านโครงสร้าง
2. ด้านกระบวนการ
3. ด้านพฤติกรรมการบริหาร
1.การพัฒนาด้านโครงสร้างทางการบริหาร
ทาได้หลายวิธี คือ
1. วิ เ คราะห์ วิ จั ย เพื่ อ ดู ว่ า โครงสร้ า งทางการบริ ห ารใน
ปั จจุบันเอือ้ หรือขัดขวางการบริหารการพัฒนามากน้อย
เพียงใด
2. หลังจากการวิเคราะห์วิจัยแล้ว ถ้าจาเป็ นจะต้องสร้างหรือ
พัฒนา “หน่วยงาน” ขึน้ มาเพือ่ รับผิดชอบงานใหม่ ๆ
3. การจัดองค์การแบบเมทริกซ์
4. พิจารณาขนาดขององค์การว่าขนาดเท่าใดจึงจะเหมาะสม
กับภารกิจทีร่ ับผิดชอบอยู่
5. การพัฒนาควรจะต้องเน้นการเปิ ดโอกาสให้ประชาชนได้
เข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
6. ควรเน้นการประสานงานในแนวนอนเท่า ๆ กับในแนวตัง้
7. ควรทาไปพร้อม ๆ กับการออกแบบงาน
8. ค านึ ง ถึ ง หลั ก การบริ ห ารงานบุ ค คลและการแรงงาน
สัมพันธ์
9. ควรยึด แนวทางของ “องค์ก ารกลยุ ทธ์” คื อ การจั ด
โครงสร้างและภารกิจขององค์การที่สามารถสนองความ
ต้องการของประชาชน
2. การพัฒนาด้านกระบวนการการบริหาร
1. พยายามที่จะทาให้เส้นทางเดินของงานสัน้ เข้า ทัง้ แนวตัง้ และ
แนวนอน เพื่อประหยัดทรัพยากรทางการบริหาร
2. พยายามทางานให้ง่ายขึน้
3. กระจายอานาจออกไปยัง หน่ ว ยต่า งๆ ที่ อยู่เบือ้ งล่างเพื่ อลด
ความแออัดของภารกิจของงานที่สว่ นกลาง
3. การพัฒนาพฤติกรรมทางการบริหาร
จากการศึกษาเกี่ยวกับลักษณะทางพฤติกรรมของระบบ
ราชการพบว่า
1. การไม่ ค านึ ง ถึ ง เรื่ อ งส่ ว นตัว มี ส่ ว นเอื อ้ ต่ อ การปฏิ บ ัติ ง าน ให้
สัมฤทธิผล
2. ความมีเหตุมีผลมีสว่ นเอือ้ ต่อความเปลี่ยนแปลงการปฏิบตั ิงาน
ให้สมั ฤทธิผล
3. การยอมให้ประชาชนเข้ามีสว่ นร่วมในการตัดสินใจ
Q/A
การพัฒนา
การบริหาร

การพัฒนา การบริหาร
การเมือง โครงการ
ขอบเขต
การบริหาร
การพัฒนา

การพัฒนา การพัฒนา
สังคม เมือง

การพัฒนา
ชนบท
การบริหารโครงการ
(Project Management) คืออะไร

 การเริ่มต้น วางแผน ดาเนินการ ตรวจสอบควบคุม และปิ ด


โครงการ ของงานโครงการ ผ่ า นทางเครื่ อ งมื อ ความรู้
ทรัพยากร และกิจกรรมต่างๆของคนในองค์กร โดยเป้ าหมาย
ก็คอื การบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการภายในระยะเวลาและ
ข้อจากัดอย่างอืน่ ทีก่ าหนดไว้
ขั้นตอนการบริหารโครงการนั้นแบ่งออกมาเป็ น 5 ส่วน คือ

1. การเริ่มต้น (Initiating)
2. การวางแผน (Planning)
3. การดาเนินการ (Executing)
4. การตรวจสอบและควบคุม (Monitoring and
Controlling)
5. การปิดโครงการ (Closing)
2. การบริหารการพัฒนาทีเ่ น้น
การบริหารโครงการพัฒนา
 การบริหารโครงการพัฒนา หมายถึง การจัดการเกี่ยวกับ
ภารกิจหรืองานที่เพิ่มมากขึน้ ทัง้ ด้านขนาด ความสลับซับซ้อน
และความจาเป็ นอื่น ๆ ที่ ออกมาในรู ปของโครงการเฉพาะที่
ขนานไปกับการบริหารกิจการประจาวันอื่น ๆ
การบริหารโครงการพัฒนา
ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ
1. การจัด เตรี ย มเรื่ อ งการจั ด การ หมายถึ ง การเตรีย มการ
ประสานงานโดยการจัดองค์การไว้รองรับ คือ การแบ่งแยก
หน้า ที่ กัน ท าให้เ ป็ น สัด ส่ ว น แต่ ใ นขณะเดี ย วกัน ต้ อ งมี ก าร
ประสานระหว่างหน้าที่ท่ีแบ่งแยกไปแล้วให้กลมกลืนกันด้วย
2. การจัดเตรียมเทคนิคการบริหาร ได้แก่ การกาหนดประเภท
ของงาน การส ารวจความต้อ งการทรัพ ยากรที่ จ ะใช้ การ
กาหนดตารางเวลาการปฏิบตั ิงาน การกาหนดคุณภาพของ
สินค้าและบริการที่จะผลิต การโฆษณาสินค้าและบริการ และ
การวัดผลโครงการพัฒนา
ประเภทของโครงการพัฒนา
1. แบ่งตามมิติระดับของหน่วยงานที่รบั ผิดชอบ เช่น โครงการพัฒนา
ระดับชาติ ระดับภูมิภาค และระดับท้องถิ่น
2. แบ่งตามมิ ติระยะเวลาดาเนิ นงาน เช่ น โครงการพัฒ นาระยะสัน ้
โครงการพัฒนาระยะกลาง และโครงการพัฒนาระยะยาว
3. แบ่ ง ตามมิ ติ พื น
้ ที่ ดาเนิ นงาน เช่ น โครงการพัฒ นาในเขตเมื อ ง
โครงการพัฒนาในเขตชนบท
4. แบ่ ง ตามมิ ติ ภ าคของการพั ฒ นา เช่ น โครงการพั ฒ นาภาค
การเกษตร ภาคอุตสาหกรรม และโครงการพัฒนาภาคบริการ
5. แบ่งตามมิติวต ั ถุประสงค์ เช่น โครงการพัฒนาที่ม่งุ ไปที่วตั ถุหรือ
โครงการพัฒนาที่ม่งุ ไปที่ตวั คนหรือจิตใจ
โครงการพัฒนาทีแ่ บ่งตามมิตวิ ัตถุประสงค์
 โครงการทดลอง เป็ น โครงการทดลองมี ขนาดเล็ก ไม่ห วัง ผล
ทันทีทนั ใด มุ่งที่จะกาหนดปั ญหา และหาวิธีแก้ปั ญหาให้บรรลุ
เป้าหมายที่วางไว้
 โครงการนาร่อง เป็ นโครงการที่ ม่งุ ทดลองวิธีการดาเนิ นงานให้
เหมาะสมกับท้องถิ่น
 โครงการสาธิ ต เป็ นโครงการที่ แสดงให้เห็นว่าวิธีการใหม่ ดีกว่า
วิธีการเก่า และน่าจะนามาใช้
 โครงการผลิตซา้ เพื่อนามาใช้
สภาพแวดล้อมของการบริหารโครงการพัฒนา

 สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม


 ทัง้ จากภายนอกประเทศ และภายในประเทศ
การนาเอาโครงการพัฒนาไปปฏิบัติ
 การแปลงแผนงาน ออกมาเป็ นกิจกรรมและการนาเอากิจกรรม
นัน้ ๆ มาปฏิบตั ิ รวมถึงการบันทึกความก้าวหน้า การเปลี่ยน
ลาดับความสาคัญก่อนหลังหากมีวิกฤติการณ์เกิดขึน้ และการ
ประสานงานในบรรดาผูท้ ่ีเกี่ยวข้อง
การนานโยบายไปสู่การปฏิบัติ
นโยบายสาธารณะ

แผน
ทา
ทา
อย่างไร
ทาไม
How แผนงาน WHY
to

โครงการ

กิจกรรม
การนาเอาโครงการพัฒนาไปปฏิบัติ
มีได้หลายฐานะคือในฐานะที่เป็ น
 การเมือง แรงกดดัน การเจรจาต่อรอง การดึงและการดัน และ
การยักย้ายถ่ายเท
 การระดมฉัน ทานุมัติ โดยน าเอาทุก คนที่ เ กี่ ย วข้อ งมาหาทาง
ปรองดองกัน
 การควบคุมทางการบริหารโดยข้าราชการเอง
 การเจรจาต่อรองระหว่างหน่วยงานของรัฐบาล
 การกระท าร่ว มกัน เพื่ อ จัด กิ จ การความร่ว มมื อ ในขอบข่ า ยที่
ใหญ่โต ยุง่ ยากและสลับซับซ้อน
การประเมินผลโครงการพัฒนา
 เป็ นการประเมินผลการดาเนินงานของโครงการพัฒนา เพื่อจะ
ได้ท ราบว่ า โครงการพั ฒ นาที่ ด าเนิ น การไปแล้ว มี ผ ลการ
ดาเนินงานเป็ นอย่างไร
 แต่ถา้ ไม่มีการประเมินผลโครงการพัฒนาอย่างมีประสิทธิ ภาพ
การบริหารโครงการพัฒนาก็ยากที่จะประสบความสาเร็จ
การประเมินผลโครงการ
อาจจะทาได้หลายวิธี เช่น
 การประเมินสิ่งที่ปอ้ นเข้าไป เช่น บุคลากร เงินเดือนครู หรือ
 การประเมินผลที่ออกมา เช่น จานวนผูท ้ ่ีจบการศึกษา หรือเชิง
คุณภาพ เช่น สัดส่วนระหว่างครูและนักเรียน เป็ นต้น
แนวทางการบริหารโครงการพัฒนา
 มักจะเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเทศะ
 มักจะเน้นในเรื่องต่าง ๆ ที่เป็ นองค์ประกอบของการบริห ารการ
พัฒนา คือ การพัฒนาเศรษฐกิจ การเมือง สังคม การพัฒนา
เมือง การพัฒนาชนบท เป็ นต้น
ลักษณะของโครงการพัฒนาทีด่ ี
• มีความชัดเจน คือ สามารถตอบคาถามของผูอ้ ่านได้อย่างตรง
จุด ทัง้ ในเรือ่ งของเนือ้ หา รวมทัง้ ความชัดเจนของภาษา
• มีความเป็ นไปได้ คือ ต้องมีความชัดเจน เมื่อดาเนินงานแล้ว
จะต้องเห็นแสงสว่างว่าจะประสบความสาเร็จ
• ประหยัด การที่จะไปสูค่ วามสาเร็จได้ คุณจะต้องพบเจอกับ
อุปสรรคนานาชนิด โดยเฉพาะ ‘ปั ญหา’ โดยในแต่ละวิธีจาเป็ นต้อง
มีคา่ ใช้จ่ายในการดาเนินงาน, ระยะเวลา รวมทัง้ ทรัพยากรต่างๆ
เพราะฉะนัน้ จึงควรเลือกทางเลือกเสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สดุ , ต้อง
ประหยัดเวลา, ทรัพยากรมากสุด ซึง่ ต้องมาจากการขบคิดทัง้ สิน้
• มีประสิทธิภาพ ขัน้ ตอนดาเนินโครงการอันมีคณ ุ สมบัติ
ประหยัดเวลา, ทรัพยากร จนกระทั่งได้ผลลัพธ์ตาม ประสงค์ หรือได้
ตามวัตถุประสงค์ท่ีตงั้ ไว้ ถือว่ามีประสิทธิภาพ
• มีความเชื่อมั่นในระดับดีเยีย่ ม โครงการที่ดีตอ้ งมีความเชื่อมั่น
ในตัวเอง เล็งเห็นความเป็ นไปได้ นอกจากนีถ้ า้ หากมีเหตุ
จาเป็ นต้องเปลี่ยนผูด้ าเนินโครงการ ก็สามารถดาเนินงานได้ประสบ
ผลสาเร็จได้ใกล้เคียงกัน
• ประเมินผลได้ ต้องสามารถประเมินผลได้ คิดวิเคราะห์แยกแยะ
ว่ามีความแตกต่างกัน มาก – น้อยเพียงใด เมื่อนามาเทียบกับ
วัตถุประสงค์ท่ีตงั้ ไว้ เพราะฉะนัน้ ผลลัพธ์ คือ ตัวบ่งบอกผลสัมฤทธิ์
ได้ดีท่ีสดุ
• ผลประโยชน์ เมื่อโครงการสาเร็จเสร็จสิน้ ผูด้ าเนินงานต้องบอก
ได้วา่ ใครเป็ นผูไ้ ด้รบั ประโยชน์จากเรือ่ งนี ้ สามารถบอกกล่าวทัง้
ผลประโยชน์โดยตรง – ผลประโยชน์ทางอ้อมได้
ปั ญหาของการบริหารโครงการพัฒนา
1.ปั ญหาที่เกิดจากสภาพแวดล้อมจากต่างประเทศ ซึง่
ประกอบด้วยสภาพแวดล้อม ทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม
ของโลก
2. ปั ญหาที่เกิดจากสภาพแวดล้อมภายในประเทศ และ
ภายนอกหน่วยงาน
3. ปั ญหาที่เกิดจากการกาหนดนโยบายการพัฒนาประเทศ
ที่ไม่แน่นอน ไม่ตอ่ เนื่องและ ผิดพลาด
4. ปั ญหาที่เกิดจากโครงสร้างของการบริหารโครงการ
พัฒนา
5.ปั ญหาที่เกิดจากระบวนการการบริหารโครงการพัฒนา
และเทคโนโลยี
6.ปั ญหาที่เกิดจากพฤติกรรม
Q/A
การบริหารการพัฒนา
(การเมือง)

1
แนวคิดการพัฒนาทางการเมือง

มิติ มิติ
เฉพาะ
ทั่วไป เจาะจง

ความ ความ ความเป็น


การพัฒนา
เปลี่ยนแปลง เจริญเติบโต สมัยใหม่
ทาง
ทาง ทาง ทาง
การเมือง
การเมือง การเมือง การเมือง

2
การเมือง?
 Harold D. Lasswell : ใครได้อะไร เมื่อใด และอย่างไร
 David Easton : การจัดสรรสิ่งที่มีค่าซึ่งมีผลบังคับตาม
กฎหมาย
 Marion J.Levy : การจัดสรรอานาจบังคับบัญชา และ
ความรับผิดชอบ
 Maotse-tung : สงครามที่ปราศจากการสูญเสียเลือด
เนื้อ

3
ไอแซค : การเมือง?
เกี่ยวกับอานาจ อานาจหน้าที่ และความขัดแย้ง เป็น
กระบวนการทางสังคม
การชิงดีชิงเด่น
การร่วมมือกันในการใช้อานาจเพือ่ ตัดสินใจในนามของ
กลุ่ม
 การจัดสรรทรัพยากรที่มีคณ
ุ ค่าสาหรับกลุ่ม องค์การ
และสังคม

4
5
การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ?
1 รัฐประหาร 2 การปกครองในระบอบเผด็จการทหาร

7 วิกฤติการณ์ 3 การประกาศใช้ รธน.

6 ข้อขัดแย้ง 4 การเลือกตั้ง

5 กระบวนการทางรัฐสภา

6
การเจริญเติบโตทางการเมือง&การพัฒนาทางการเมือง

 การขยาย การเพิ่มขนาด น้าหนัก อานาจหรือจานวน


ที่สามารถวัดปริมาณได้ และก้าวไปสู่วุฒิภาวะทาง
การเมือง โดยกระบวนการทางธรรมชาติ แบบค่อยเป็น
ค่อยไป
 เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของรัฐบาลในการใช้
ทรัพยากรมนุษย์และวัตถุ เพื่อวัตถุประสงค์ของชาติ
 การที่ยอมให้ประชาชนที่มิได้เป็นสมาชิกของชนชั้นหัว
กะทิเข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจกาหนดชะตากรรม
ของประเทศ

7
การพัฒนาทางการเมือง
ผลงาน องค์กร/
ประ หน่วย
ของ ปกครอง
ชาชน รัฐบาล การบริหาร

การเปลี่ยนจาก การเพิ่มสมรรถนะของ การแบ่งแยกหน้าที่


สถานภาพไพร่ฟ้า ระบบการเมืองในการ ในการปฏิบัติภารกิจ
(ราษฎร/ข้าแผ่นดิน) ให้บริการสาธารณะ ทางการเมืองมีภารกิจที่
มาเป็น ปชช.ที่มีส่วน การควบคุมความ เฉพาะเจาะจง มีการบูร
ร่วมในการกาหนด ขัดแย้งและการสนอง ณาการขององค์การ
ชะตากรรมของ ความต้องการของ และสถาบันเข้ามามี
ประเทศ ปชช. ส่วนร่วมมากขึ้น

8
ความเป็นสมัยใหม่ทางการเมือง?

 กระบวนการที่มีพื้นฐานอยู่บนการใช้ทรัพยากรอย่างมี
เหตุผล เพื่อสร้างสังคมสมัยใหม่ขึ้น
การหล่อหลอมหรือปลูกฝั่งสิ่งที่เรียกว่า วัฒนธรรมโลก
ซึ่ ง มี พื้ น ฐานอยู่ บ นเทคโนโลยี แ ละวิ ท ยาศาสตร์ ที่
ก้าวหน้า
กระบวนการเปลี่ ย นแปลงโครงสร้ า งทางการเมื อ ง
เศรษฐกิจ และสัง คม สนับ สนุ น ซึ่ งกั น และกัน จนเกิ ด
การมีส่วนร่วมทางการเมือง เศรษฐกิจมีประสิทธิภาพ
มีความเสมอภาคทางสังคม

9
สรุปความหมายของการพัฒนาทางการเมือง?

 การแก้ไข เปลี่ยนแปลง และปรับปรุงกิจกรรม เนื้อหา


กระบวนการ พฤติกรรมทางการเมือง
 เป็นผลที่เกิดจากการพัฒนาด้านอื่นๆ เช่น การพัฒนา
พรรคการเมือง การมีส่วนร่วมทางการเมือง ความชอบ
ธรรมทางการเมือง การบริหารความขัดแย้ง
 การพัฒนาทางการเมืองเป็นปรากฎการณ์ของประเทศ
ที่กาลังพัฒนา เป็นผลพวงของการพัฒนาเศรษฐกิจ

10
การพัฒนาทางการเมือง ครอบคลุม?

 เอกภาพหรือบูรณาการทางการเมือง
 สมรรถนะหรือความสามารถของระบบการเมือง
 ผลประโยชน์
 ความยุติธรรม
 ความเสมอภาค
 เสรีภาพ
 ประชาธิปไตย
 ความเป็นสถาบันทางการเมือง
 การมีส่วนร่วมทางการเมือง
 อานาจ
 นโยบายสาธารณะ
 วัฒนธรรมทางการเมือง
 การอบรมบ่มนิสัยทางการเมือง

11
แนวทางการพัฒนาทางการเมือง?

1. แนวทางโครงสร้าง-ภารกิจนิยม
2. แนวทางกระบวนการทางสังคม
3. แนวทางประวัติศาสตร์เปรียบเทียบ
4. แนวทางที่เน้นการพัฒนาเศรษฐกิจ
5. แนวทางอื่นๆ

12
ปัญหาการเมืองไทยในปัจจุบัน?

 ระบบอุปถัมภ์จากระบบทาสเดิม
 เงินเดือนข้าราชการน้อย
 ระบบอุปถัมภ์ในระบบราชการ
 การเลี้ยงดูในระดับครอบครัว
 ระบบการศึกษา
 ความอ่อนแอของประชาชน
 การเมืองไทยหลังการปกครอง 2475
 กลุ่มสื่อมวลชล
13
14
15
16
17
18
19
20
ระบบการเมืองที่ดี

ระบบการเมืองที่สามารถนามาซึ่งความเป็นธรรมในสังคม

ความเป็นธรรมในสังคม

การเมือง เศรษฐกิจ สังคม

ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

21
การสร้างระบบการเมือง

การสร้างระบบการเมือง

ผู้ใช้อานาจรัฐ
ระบบการเมือง
ประชาชน รัฐบาลหรือ
หรือรัฐ
ผู้ปกครอง

22
ระบบการปกครองแบบประชาธิปไตยสามารถพัฒนาเป็น
ระบบการเมืองที่ต่อเนื่องและยั่งยืนได้ มีตัวแปรใหญ่ดังต่อไปนี้

 ประชาชน : ปลอดจากความจนและความเขลา
 ขึ้นอยูก่ ับ 2 ตัวแปรหลัก คือ เศรษฐกิจหรือความอยู่
ดีกินดี และการศึกษา
• ประชาชนผู้เป็นเจ้าของอานาจอธิปไตยจะต้องปลอด
จาก ความชั่วแฝด คือ ความจน และ ความเขลา

23
รัฐบาลที่ดี : อุดมการณ์และความรู้
ความสามารถ

 บุคคลที่เป็นนักการเมืองต้องมีคุณสมบัติ 2
ประการคือ มีอุดมการณ์ทางการเมืองและมี
ความรู้ความสามารถ
 อุดมการณ์ทางการเมือง ประกอบด้วย หลักการ
ทางการเมือง จริยธรรม การเสียสละ ความ
ซื่อสัตย์สุจริต
24
ระบบการเมือง : ประโยชน์และยุติธรรม

 มีลักษณะ 2 ประการ คือ เป็นระบบการเมืองที่


ทาให้ประชาชนได้ประโยชน์ และมีความ
ยุติธรรม

25
26
27
การพัฒนาการเมืองไทยในรัฐบาลปัจจุบนั ?
1. การอภิปรายไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีรายบุคคล ในครัง้
ที่ผา่ นมา ใครถูกยื่นญัติอภิปรายไม่ไว้วางใจบ้าง
2. นักศึกษาชอบการนาเสนอ/อภิปรายของ สส.ฝ่ ายค้านท่านใด/พรรค
ไหน มากที่สดุ ในประเด็นใด ยกตัวอย่างให้เห็นพอสังเขป
3. นักศึกษาพอใจกับผลคะแนนโหวตในการลงมติไม่ไว้วางใจ หรือ
ไว้วางใจรัฐบาลในครัง้ นีห้ รือไม่อย่างไร
4. นักศึกษาได้อะไรจากการอภิปรายไม่ไว้วางใจในครัง้ นีบ้ า้ ง
5. อยากเห็นการเมืองไทยมีการพัฒนาไปในรูปแบบหรือทิศทางใด
28

You might also like