You are on page 1of 58

เชค็ ครัง' ที+ 5

บทบัญญัตท ิ กี+ ําหนดความรับผิด


และให ้ความคุ ้มครองธนาคาร

อ. ชวี น
ิ มัลลิกะมาลย์
็ ปกติ
ทบทวน กรณีเรียกเก็บเงินตามเชค
ผู ้สงั& จ่าย ออกเชค็ ให ้เป็ นต่อ เป็ นต่อเอาเชค ็ ไป
ขึน
; เงินกับธนาคาร SCB และธนาคารจ่ายเงิน
ผู ้สงั& จ่าย สดตามเชค ็ หรือ เป็ นต่ออาจจะมีบญ ี ยูท
ั ชอ ่ ี&
ธนาคาร SCB เป็ นต่อก็เอาเชค ็ ไปเข ้าบัญชท ี ี&
ธนาคาร SCB เลย และธนาคารต ้องปฏิบต ั ใิ ห ้
ถูกต ้องตามมาตรา 1009
ธนาคาร เป็ นต่อ
SCB ผู ้สงั& จ่าย ออกเชค็ ให ้เป็ นต่อ เป็ นต่อเอาเชค ็ ไป
เข ้าธนาคาร BBL ซงึ& ตัวเองมีบญ ั ชอี ยู่ ธนาคาร
BBL จะเอาเชค ็ ไปเรียกเก็บเงินจากธนาคาร
SCB แล ้วก็จะเอาเงินเข ้าบัญชข ี องเป็ นต่อ (การ
ผู ้สงั& จ่าย เรียกเก็บเงินจะกระทําผ่านสํานักหักบัญช ี
เป็ นต่อ clearing house)
กรณีนี; ธนาคาร BBL จะเป็ นตัวแทน
ธนาคาร SCB เรียกเก็บเงิน โดยจะต ้องไปเก็บเงินจาก
ธนาคาร SCB
ธนาคาร BBL
ธนาคาร SCB จะมีฐานะเป็ น
้ น (paying bank)
ธนาคารผู ้ใชเงิ ธนาคาร BBL จะมีฐานะเป็ น ธนาคาร
ผู ้เรียกเก็บเงิน (collecting bank)
บทบัญญัตท
ิ ค ้ นตามเชค
ี& ุ ้มครองธนาคารใชเงิ ็ ขีดคร่อม

กรณีแรก

ผู ้สงั& จ่าย:
สมร หากเป็ นต่อได ้เชค็ ขีดคร่อม
ธนาคาร SCB มา และเป็ นต่อมี
บัญชธี นาคารไทยพาณิชย์พอดี
ธนาคาร เป็ นต่อ ็ ไปเข ้าบัญชธี นาคาร
เป็ นต่อนํ าเชค
SCB ไทยพาณิชย์

กรณีเชน ่ นีP ธนาคารไทยพาณิชย์จะโอนเงินจากบัญชข ี อง


นางสาวสมรเข ้าบัญชข ี องนายเป็ นต่อ อ.ไพทูรย์ อธิบาย
กระบวนการนีวP า่ “ธนาคารผู ้รับฝากจะเรียกเก็บเงินให ้ผู ้ทรง
เชค ็ โดยวิธต ั บัญชรี ะหว่างกันในรูป T/R (transfer) ซงึ& จะ
ี ด
ทราบผลการเรียกเงินอย่างชาภายในวั้ นเดียวกัน (เชงิ อรรค
ที& 2 หน ้า 426)
็ ขีด
การเรียกเก็บเงินกรณีเชค ็ ไป
ผู ้ทรงต ้องนํ าเชค
คร่อม เข ้าบัญชธี นาคาร
(มาตรา 994)
ผู ้สงั& จ่าย ออกเชค ็ ขีดคร่อมให ้เป็ นต่อ เป็ นต่อ
ผู ้สงั& จ่าย เอาเชค ็ ไปขึน
; เงินกับธนาคาร SCBและธนาคาร
จ่ายเงินสดตามเชค ็ ไม่ได้ หรือ เป็ นต่อต้องเอา
เช็คไปเข้าไปเข้าบ ัญชธ ี นาคาร หากเป็นต่อ
มีบ ัญชธ ี นาคาร SCB เป็นต่อก็สามารถเอา
ธนาคาร เป็ นต่อ
เช็คไปเข้าธนาคาร SCB ได้ แต่ธนาคารจะ
SCB จ่ายเงินสดให้เป็นต่อไม่ได้

ผู ้สงั& จ่าย ออกเชค ็ ให ้เป็ นต่อ เป็ นต่อเอาเชค็ ไปเข ้า


ผู ้สงั& จ่าย เป็ น ธนาคาร BBL ซงึ& ตัวเองมีบญ ั ชอี ยู่ ธนาคาร BBL จะ
ต่อ เอาเชค ็ ไปเรียกเก็บเงินจากธนาคาร SCB แล ้วก็จะ
เอาเงินเข ้าบัญชข ี องเป็ นต่อ (การเรียกเก็บเงินจะ
กระทําผ่านสํานักหักบัญช ี clearing house)
ธนาคาร SCB
กรณีนี\ ธนาคาร BBL จะเป็ นตัวแทนเรียก
เก็บเงิน โดยจะต ้องไปเก็บเงินจากธนาคาร SCB
ธนาคาร
ธนาคาร SCB จะมีฐานะเป็ น BBL
้ น (paying bank)
ธนาคารผู ้ใชเงิ ธนาคาร BBL จะมีฐานะเป็ น ธนาคาร
ผู ้เรียกเก็บเงิน (collecting bank)
กรณีนีP ธนาคาร BBL จะเป็ นตัวแทนเรียกเก็บเงิน (collecting
bank) โดยจะต ้องไปเก็บเงินจากธนาคาร SCB (paying bank)

ธนาคาร BBL จะมีสท ิ ธิตามมาตรา 995(5) ในการขีด


คร่อมเฉพาะให ้กับตนเอง เพือ & ป้ องกันพนักงานของ
ธนาคารยักยอกเงินไป (เพราะเชค ็ ขีดคร่อมจะต ้อง
จ่ายเงินเข ้าบัญช ี จะสามารถตามตัวได ้)

เมือ
& ธนาคาร BBL ขีดคร่อมเฉพาะให ้ตนเองแล ้ว ถ ้าธนาคาร
BBL กระทําถูกต ้องตามมาตรา 1000 ก็จะได ้รับความคุ ้มครอง
ตามมาตรา 1000
อธิบายมาตรา 998
ชวี น ็ ทีไ& ด ้รับจาก สหกรณ์ ม.
ิ นํ าเชค
ผู ้สงั& จ่าย:
เกษตร ไปเข ้าบัญช ี SCB ของตัวเอง
สหกรณ์ ม.
เกษตร

ธนาคาร ชวี น
ิ กรณีนเีP ป็ นการจ่ายเงินให ้กับผู ้ทรง
SCB ตัวจริง ก็ไม่มใี ครต ้องรับผิดจากการ
จ่ายเชค ็ นีP
เป็ นตอ
่ เหรียญทอง

สมร เกง่ งาน

ประเด็นหากเป็ นต่อทําเชค ็ หาย นายนิยมเก็บได ้ และนายนิยมปลอม


ลายมือชอ ื& เป็ นต่อ เพือ
& สลักหลังให ้กับตนเอง และนายนิยมไปเรียก
เก็บเงินจากธนาคารไทยพาณิชย์โดยนํ าเข ้าบัญช ี จะมีผลอย่างไร
็ ขีดคร่อม
ประโยชน์ของเชค

็ ขีดคร่อมให ้กับนายเป็ นต่อ


นางสาวสมร ออกเชค
ผู ้สง&ั จ่าย:
สมร

ก่อนเรียกเก็บเงิน นาย
ธนาคาร หาย
เป็ นต่อ นิยม นิยมเป็ นผู ้ทรงโดย
SCB ชอบหรือไม่

็ หาย นิยมเก็บได ้ และ


เป็ นต่อทําเชค
ปลอมลายมือชอ ื& ว่า เป็ นต่อ เพือ
& ทําเป็ น
สลักหลังลอยให ้กับตนเอง และไปเรียก
เก็บเงินกับธนาคาร
กรณีนธ ีP นาคารไทยพาณิชย์ได ้รับความคุ ้มครองก็
ต่อเมือ
&
(1) ปฏิบต
ั ต
ิ ามมาตรา 1009
(2) ปฏิบต
ั ต
ิ ามมาตรา 998

หากไม่ปฏิบต ั ต
ิ าม 998 (เชน ่ ใชเงิ
้ นตามเชค ็ ขีดคร่อมด ้วย
เงินสด) ก็ต ้องรับผิดต่อเจ ้าของทีแ& ท ้จริงตาม 997

ข ้อสงั เกต: กรณีนีP มาตรา 1000 ไม่ต ้องนํ ามาใช ้ เพราะไม่ม ี


ธนาคารเรียกเก็บเงิน
กรณีนธ ีP นาคารไทยพาณิชย์ได ้รับความคุ ้มครองก็
ต่อเมือ
&
(1) ปฏิบต
ั ต
ิ ามมาตรา 1009

ธนาคารไทยพาณิชย์ต ้องปฏิบต ั ห ิ น ้าทีต


& ามทางค ้าปกติ
โดยสุจริต โดยพิจารณาว่าการสลักหลังขาดสายหรือไม่
แต่ไม่ต ้องพิสจ
ู น์วา่ มีลายมือชอื& ปลอมหรือไม่

(2) ปฏิบต
ั ต
ิ ามมาตรา 998
(2) ปฏิบต
ั ต
ิ ามมาตรา 998

มาตรา 998 ธนาคารใดซงึ& เขานํ าเชค ็ ขีด ธนาคาร SCB ทีน 3 ายนิยมเอาเชค ็ ขีด
คร่อมเบิกเงิน ใชเงิ ้ นไปตามเชค ็ นัน
; โดย ้ นไป
คร่อมมาเรียกเก็บเงิน ต ้องใชเงิ
สุจริตและปราศจากประมาทเลินเล่อ โดยสุจริต และปราศจากประมาท
กล่าวคือว่าถ ้าเป็ นเชค ็ ขีดคร่อมทัว& ไปก็ใช ้
เลินเล่อ
เงินให ้แก่ธนาคารอันใดอันหนึง& ถ ้าเป็ นเชค ็
ขีดคร่อมเฉพาะก็ใชให ้ ้แก่ธนาคารซงึ& เขา
เจาะจงขีดคร่อมให ้โดยเฉพาะ หรือใช ้
ให ้แก่ธนาคารตัวแทนเรียกเก็บเงินของ
ธนาคารนัน ; ไซร ้ ท่านว่าธนาคารซงึ& ใชเงิ ้ น
ไปตามเชค ็ นัน
; ฝ่ ายหนึง& กับถ ้าเชค ็ ตกไปถึง ประเด็นทีข & ดี เสนใต้ ้ รศ.ไพทูรย์ ได ้อธิบาย
มือผู ้รับเงินแล ้ว ผู ้สงั& จ่ายอีกฝ่ ายหนึง& ต่างมี ว่า ”ถ ้าหากเชค ็ ขีดคร่อมนัน ; ได ้สง่ มอบถึง
ิ ธิเป็ นอย่างเดียวกัน และเข ้าอยูใ่ นฐานะ ผู ้รับเงินแล ้ว ผู ้สงั& จ่ายเชค ็ ขีดคร่อมย่อมไม่
สท
อันเดียวกันเสมือนดังว่าเชค ็ นัน ้ น
; ได ้ใชเงิ ต ้องรับผิดต่อผู ้รับเงินซงึ& เป็ นเจ ้าหนีอ ; ก

ต่อไป”
ให ้แก่ผู ้เป็ นเจ ้าของอันแท ้จริงแล ้ว

หมายความประหนึง& ว่า ถ ้าเชค ็ นัน


\ ออกโดยสมบูรณ์แล ้ว
ถือเสมือนว่า เชค ็ นัน
; ได ้จ่ายให ้เจ ้าของที&
(คือ สง่ มอบให ้ผู ้รับเงินโดยชอบแล ้ว)
แท ้จริง (แม ้คนทีไ& ด ้รับเงินจะไม่ใช ่
เจ ้าของทีแ& ท ้จริงก็ตาม)
ประเด็นหากเป็ นต่อทําเชค ็ หาย นายนิยมเก็บได ้ และนายนิยมปลอม
ลายมือชอ ื& เป็ นต่อ เพือ
& สลักหลังให ้กับตนเอง และนายนิยมไปเรียก
เก็บเงินจากธนาคารไทยพาณิชย์โดยนํ าเข ้าบัญช ี จะมีผลอย่างไร

สมร

SCB เป็ นต่อ นิยม

กรณีนี\ ถ ้าธนาคาร SCB ทําถูกต ้อง SCB ไม่ต ้องรับผิดต่อเป็ นต่อเจ ้าของทีแ & ท ้จริง และหนีร\ ะหว่าง สมร
และเป็ นต่อก็ระงับไป (ตามทีก& ฎหมายบอกว่า กับถ ้าเชค ็ ตกไปถึงมือผู ้รับเงินแล ้ว ผู ้สงั& จ่ายมีสท
ิ ธิอย่าง
& ท ้จริง แม ้ว่า นิยมจะไม่ใชเ่ จ ้าของทีแ
เดียวกัน เสมือนว่า SCB จ่ายเงินให ้เจ ้าของทีแ & ท ้จริงก็ตาม)
็ ขีดคร่อมมาขอเบิกเงินสดจาก SCB จะมี
คําถาม หากนิยมเอาเชค
ผลอย่างไร?

สมร

SCB เป็ นต่อ นิยม

ดูมาตรา 997 วรรคสอง


มาตรา 997 วรรคสอง ธนาคารใด...ใชเงิ ้ นตามเชค ็ อันเขาขีดคร่อม
ทัว& ไปเป็ นประการอืน
& นอกจากใชให ้ ้แก่ธนาคารอันใดอันหนึง& ก็ด… ี
ท่านว่า ธนาคารซงึ& ใชเงิ้ นไปดัง& กล่าวนีจ
P ะต ้องรับผิดต่อผู ้เป็ นเจ ้าของ
อันแท ้จริงแห่งเชค็ นัน
P ในการทีเ& ขาจะต ้องเสย ี หายอย่างใดๆ เพราะ
การทีต ้ นไปตามเชค
& นใชเงิ ็ นัน
P

ในประเด็นนีP ถือเป็ นความรับผิดทางกฎหมายโดยตรง (ดู คงสมบูรณ์


หน ้า 431)
- หมายความว่า เป็ นต่อสามารถฟ้ องให ้ธนาคารรับผิดได ้โดยอ ้างมาตรา
997 วรรคสองได ้โดยตรง อย่างไรก็ตาม สามารถฟ้ องให ้ธนาคารรับผิด
ได ้เท่าทีต
& นเองเสย ี หาย เชน
่ หากตามตัวนายนิยมแล ้ว นายนิยมยินดีใช ้
คืนทังP หมด ธนาคารก็ไม่ต ้องรับผิด (เพราะเจ ้าของทีแ ี หาย)
& ท ้จริงไม่เสย
แต่หากตามตัวนิยมไม่ได ้ เพราะนายนิยมหนีไปต่างประเทศแล ้ว ธนาคาร
ก็ต ้องรับผิดทังP หมด
้ นผิดประการอืน
กรณีท ี& Paying Bank ใชเงิ &

มาตรา 997 วรรคหนึง&

L
BB
เป็ นตอ
่ เหรียญทอง
B
SC

สมร เกง่ งาน

มีขดี คร่อมเฉพาะ 2 อัน - ห ้ามจ่ายเว ้นแต่เป็ นการขีดคร่อมเพือ


& เรียก
เก็บ
Nicolas Fury

r ica
e
Am
of
k เ ทพ
B an ร งุ

าร
นาค กเก
บ็
ธ อื6 เ
รยี
เพ

็ ตัวแทนเรียกเก็บเงิน
เชค
้ นตามเชค
มาตรา 997 วรรคสอง ‘ใชเงิ ็ อันเขาขีดคร่อมทัว3 ไปเป็ นประการอืน
3
้ ้แก่ธนาคารใดธนาคารหนึง3 ’
นอกจากใชให

เป็ นตอ
่ เหรียญทอง

สมร เกง่ งาน

& ะโอนเข ้าบัญช ี ถือว่า


หากธนาคารจ่ายเงินสดให ้นายเป็ นต่อ แทนทีจ
เป็ นการจ่ายเงินไม่ถก
ู ต ้อง
B L
B เป็ นตอ
่ เหรียญทอง

สมร เกง่ งาน

แทนที& SCB จะจ่ายเงินเข ้าบัญช ี BBL ของผู ้ทรง แต่ไปจ่ายเข ้าบัญช ี


SCB ของผู ้ทรง (อย่างไรก็ตาม หากผู ้ทรงคนนัน P เป็ นผู ้ทรงโดยชอบ ก็
จะไม่มป
ี ั ญหา เพราะเจ ้าของทีแ ี หาย)
& ท ้จริงไม่เสย
็ หายซงึ& เป็ นเชค
นายเป็ นต่อทําเชค ็ ขีดคร่อม นายนิยมเก็บได ้ และนาย
นิยมปลอมลายมือชอ ื& เป็ นต่อ เพือ
& สลักหลังให ้กับตนเอง อย่างไรก็
ตาม นายนิยมเห็นว่า หากนํ าเชค ็ ไปเรียกเก็บเงินก็ต ้องนํ าเชค
็ เข ้า
บัญชแี ละจะสามารถตามตัวนายนิยมได ้ นายนิยม จึงใชปากลบคํ ้ าผิด
ลบรอยขีดคร่อมนัน P เพือ & ทีต
& นจะได ้เรียกเก็บเงินสด

สมร มาตรา 996 การขีดคร่อม


เป็ นสว่ นสําคัญของเชค

SCB เป็ นต่อ นิยม

การลบล ้างไม่ถอ
ื ว่าชอบ
ด ้วยกฎหมาย
สมร

SCB เป็ นต่อ นิยม

หากนายนิยมไปเรียกเก็บเงินตามเชค ็ ทีต
& นเอง ลบรอยขีดคร่อมไป ก็
ไม่มผ
ี ลต่อเชค็ (เชค
็ นัน
P ยังเป็ นเชค็ ขีดคร่อมอยู)่ หากธนาคารจ่ายเงิน
สดให ้นายนิยมไป ก็ยอ ่ มถือว่า ธนาคารจ่ายเงินไม่ชอบตามมาตรา
997 วรรคสอง (ในสว่ นทีว& า่ ใชเงิ้ นตามเชค ็ อันเขาขีดคร่อมทัว& ไปเป็ น
ประการอืน& นอกจากใชให ้ ้แก่ธนาคารใดธนาคารหนึง& )
นายเป็ นต่อทําเชค็ หายซงึ& เป็ นเชค ็ ขีดคร่อม นายนิยมเก็บได ้ และนาย
นิยมปลอมลายมือชอ ื& เป็ นต่อ เพือ
& สลักหลังให ้กับตนเอง อย่างไรก็
ตาม นายนิยมเห็นว่า หากนํ าเชค ็ ไปเรียกเก็บเงินก็ต ้องนํ าเชค
็ เข ้า
บัญชแ ี ละจะสามารถตามตัวนายนิยมได ้ นายนิยมได ้ลบรอยขีดคร่อม
ออกซงึ& การลบรอยขีดคร่อมนีไ P ม่อาจมองเห็นด ้วยตาเปล่าต ้องใช ้
กล ้องจุลทรรศน์ซงึ& ขยาย 70 กว่าเท่าของตาเปล่าดู จึงเห็นมีรอยขูด
และต ้องใชกล้ ้องแสงอุลตราไวโอเล็ตตรวจซาํP อีกจึงจะเห็นชด ั เจน
นายนิยมได ้ไปเบิกเงินสดจากธนาคาร และหนีไปดูไบ ดังนีP นายเป็ น
ต่อฐานะเจ ้าของเชค ็ ทีแท ้จริงสามารถฟ้ องให ้ธนาคารรับผิดได ้หรือไม่
สมร

SCB เป็ นต่อ นิยม


็ ยังคงเป็ นเชค
การลบล ้างรอยขีดคร่อมของนายนิยม ไม่ได ้กระทําโดยชอบ – เชค ็
ขีดคร่อมอยู่

อย่างไรก็ตาม โปรดดูมาตรา 997 วรรคสาม

คําพิพากษาฎีกา 1254/2497 เชค็ ขีดคร่อมทัว3 ไปถูกลบลอยขีดคร่อมออก


ธนาคารจ่ายเงินไปโดยสุจริต และปราศจากประมาทเลินเล่อ ไม่ปรากฏ
้ นคืนแก่ผู ้สงั3 จ่าย
ร่องรอยการขูดลบรอยขีดคร่อม ธนาคารไม่ต ้องรับผิดใชเงิ

ข ้อเท็จจริงในคดีนี_ โจทก์สงั3 จ่ายเชค ็ ขีดคร่อมเพือ3 ชาํ ระหนีเ_ ป็ นเชค


็ ลงวันที3
ล่วงหน ้า มีผู ้แก ้วันทีใ3 นเชค ็ ให ้เชค็ ถึงกําหนดเร็วขึน _ และลบรอยขีดคร่อมออก มี
ผูน้ ําเช็คนนมาเบิ
ั. กเงินสดจากธนาคาร ธนาคารได้จา่ ยเงินตามเช็คไป
ข ้อเท็จจริงฟั งว่าการแก ้ไขวันทีท 3 ลี3 งในเชค็ และการลบรอยขีดคร่อมนีไ _ ม่อาจ
มองเห็นด ้วยตาเปล่าต ้องใชกล ้ ้องจุลทรรศน์ซงึ3 ขยาย 70 กว่าเท่าของตาเปล่าดู
จึงเห็นมีรอยขูด และต ้องใชกล ้ ้องแสงอุลตราไวโอเล็ตตรวจซาํ_ อีกจึงจะเห็นชด ั เจน
ศาลฎีกาจึงฟั งว่ารอยขูดลบแก ้ไขนีไ _ ม่อาจเห็นประจักษ์ ด ้วยตาเปล่า...ย่อมเชอ ื3 ได ้
ว่าเป็ นการจ่ายเงินไปโดยปราศจากความประมาทเลินเล่อ ธนาคารผู ้จ่ายเงินตาม
เชค ็ จึงไม่ต ้องคืนเงินทีจ 3 า่ ยให ้แก่โจทก์ผู ้สงั3 จ่าย

คําพิพากษาฎีกานีห
_ มายความว่า การจ่ายเงินสดเป็ นการจ่ายโดยชอบ
ประเด็นทีก & ล่าวมาข ้างต ้น เป็ นเรือ
& ง ธนาคารผู ้รับฝากจะเรียกเก็บเงิน
ให ้ผู ้ทรงเชค็ โดยวิธต ั บัญชรี ะหว่างกันในรูป T/R (transfer)
ี ด

ธนาคารของผู ้ทรงเชค ็ กับธนาคารผู ้จ่ายเงินตามเชค


็ (ขีดคร่อม)
เป็ นธนาคารเดียวกัน

หากธนาคารทีผ ็ เอาเชค
& ู ้ทรงเชค ็ ไปเข ้ากับธนาคารผู ้จ่ายเป็ นคน
ละธนาคารจะมีผลอย่างไร
กรณีทส
ี& อง เป็ นต่อได ้เชค ็ ของธนาคาร
SCB ซงึ& เชค ็ นัน P ขีดคร่อม และ
ผู ้สงั& จ่าย: เป็ นต่อ เป็ นต่อไม่มบ ี ญั ชอี ยูท
่ ธ
ี& นาคาร
สมร
SCB และเป็ นต่อไม่สามารถ
เบิกเงินสด เพราะเป็ นเชค ็ ขีด
ธนาคาร คร่อม เป็ นต่อต ้องนํ าเชค ็ ไป
ธนาคาร KTB เข ้าบัญชธี นาคาร KTB ทีต & นมี
SCB บัญชอ ี ยู่

กรณีนธ ิ ธิตามมาตรา 994(5) ทีจ


ีP นาคารกรุงไทยมีสท & ะขีด
คร่อมเฉพาะให ้ตนเองก็ได ้

่ นีP ธนาคาร SCB จะต ้องจ่ายเงินตามมาตรา 998 และมาตรา


กรณีเชน
1009 ขณะทีธ & นาคาร KTB จะได ้รับความคุ ้มครองตามมาตรา 1000

หากเป็ นต่อเป็ นผู ้ทรงโดยชอบด ้วยกฎหมายก็จะไม่มป


ี ั ญหาใดๆ
มาตรา 1000 คุ ้มครองธนาคารจากใคร

มาตรา 1000 เพียงแต่เหตุทไี& ด ้รับเงินไว ้หาทําให ้ธนาคารต ้อง


รับผิดต่อผู ้เป็ นเจ ้าของทีแ ็ นัน
& ท ้จริงแห่งเชค P อย่างหนึง& อย่างใด
ไม่ (คล ้ายๆ มาตรา 998)

สมร นายนิยมขโมยเชค ็ ของนายเป็ น


ต่อ และปลอมลายมือชอ ื& นาย
เป็ นต่อ โดยทําเป็ นการสลัก
เป็ นต่อ นิยม หลังลอยให ้กับตนเอง และนํ า
เชค ็ ไปเข ้าบัญช ี BBL เพือ& ให ้ไป
เรียกเก็บเงินธนาคาร SCB

SCB BBL
สมร นายนิยมขโมยเชค ็ ของนายเป็ น
ต่อ และปลอมลายมือชอ ื& นาย
เป็ นต่อ โดยทําเป็ นการสลัก
เป็ นต่อ นิยม หลังลอยให ้กับตนเอง และนํ า
เชค ็ ไปเข ้าบัญช ี BBL เพือ& ให ้ไป
เรียกเก็บเงินธนาคาร SCB

SCB BBL

คําถาม: นายนิยมเป็ นผู ้ทรงโดยชอบด ้วยกฎหมายหรือไม่?


จะเห็นได ้ว่า นายเป็ นต่อ – เจ ้าของทีแ
& ท ้จริง

็ (มาตรา 904) แต่ไม่ใชผ


จะเห็นได ้ว่า นายนิยม = ผู ้ทรงเชค ่ ู ้ทรงโดย
ชอบด ้วยกฎหมายตามมาตรา 905

สมร

เป็ นต่อ นิยม

บทบัญญัตท ิ ค
ี& ุ ้มครอง
SCB BBL ธนาคาร (SCB) ทีเ& รียก
เก็บเงินคือ มาตรา
บทบัญญัตท ิ ค
ี& ุ ้มครอง 1000
ธนาคาร (SCB) ทีจ & า่ ย
คือ มาตรา 998
การที& BBL ไปเรียกเก็บเงินแทนนายนิยม (ผู ้ทรงทีไ& ม่ชอบด ้วย
กฎหมาย) ในประเด็นนีอ P าจจะมองได ้ว่า นายนิยมเป็ นตัวการ และ
ธนาคารเป็ นตัวแทน ซงึ& เป็ นการเรียกเก็บโดยไม่ชอบและเสย ี หายแก่
เจ ้าของทีแ& ท ้จริง (อ. เสาวนีย ์ หน ้า 414 เห็นว่าเป็ นละเมิด; อ. ไพทูรย์
เห็นว่าเป็ นความรับผิดตามกฎหมาย เชงิ อรรคที& 1 หน่า 435)

มาตรา 1000 จึงได ้คุ ้มครองธนาคารทีเ& รียกเก็บเงิน (BBL) ว่า


“ธนาคารใดได ้รับเงินไว ้เพือ & ผู ้เคยค ้าของตนโดยสุจริตและปราศจาก
ประมาทเลินเล่อ อันเป็ นเงินเขาใชให ้ ้ตามเชค ็ ขีดคร่อมทัว& ไปก็ด ี ขีด
คร่อมเฉพาะให ้แก่ตนก็ด ี หากปรากฏว่าผู ้เคยค ้านัน P ไม่มส ิ ธิหรือมี
ี ท
สท ิ ธิเพียงอย่างบกพร่องในเชค ็ นัน
P ไซร ้ ท่านว่าเพียงแต่เหตุทไี& ด ้รับเงิน
ไว ้หาทําให ้ธนาคารนัน P ต ้องรับผิดต่อผู ้เป็ นเจ ้าของอันแท ้จริงแห่งเชค ็
นัน
P แต่อย่างหนึง& อย่างใดไม่”

การที& BBL ไปเรียกเก็บเงินแทนนายนิยม ถ ้าเป็ นไปตาม


เงือ
& นไขตามมาตรา 1000 BBL ไม่ต ้องรับผิด
สมร

เป็ นต่อ นิยม

บทบัญญัตท ิ ค
ี& ุ ้มครอง
SCB BBL ธนาคาร (SCB) ทีเ& รียก
เก็บเงินคือ มาตรา
บทบัญญัตท ิ ค
ี& ุ ้มครอง 1000
ธนาคาร (SCB) ทีจ & า่ ย
คือ มาตรา 998

คําถาม: ธนาคารผู ้จ่าย หรือ ธนาคารทีเ& รียกเก็บมีหน ้าที&


ตรวจสอบการสลักหลังไม่ขาดสายตามมาตรา 1009
ประเด็น: ธนาคารผู ้จ่าย หรือ ธนาคารเรียกเก็บเงินมีหน ้าที&
ตรวจสอบการสลักหลัง

ประเด็นนีP ได ้มีคําพิพากษาฎีกาที& 4568/2530 ได ้วินจ ิ ฉั ยว่า


“ธนาคารจําเลยใชเงิ ้ นตามเชค ็ พิพาทอันเป็ นเชค ็ ขีดคร่อมเฉพาะ
ผ่านธนาคาร ส. ซงึ& สง่ เชค ็ มาเรียกเก็บเงิน การทีจ & ําเลย (ธนาคาร
้ น) มิได ้ตรวจสอบลายมือชอ
ผู ้ใชเงิ ื& และตราประทับของผู ้สลักหลัง
ในเชค ็ พิพาท ยังถือไม่ได ้ว่าจําเลยได ้ใชเงิ ้ นตามเชค ็ ไปโดย
ประมาทเลินเล่อ เพราะเชค ็ ขีดคร่อมทีส& ง่ มาเรียกเก็บจาก ธนาคาร
ส.นัน P เป็ นหน ้าทีข& องธนาคาร ส. ผู ้รับเชค ็ ทีจ& ะตรวจสอบไม่ใช ่
หน ้าทีข & องจําเลยซงึ& ใชเงิ
้ นผ่านธนาคาร ส.ดังนัน P แม ้ลายมือชอ ื& และ
ตราประทับทีป & รากฏในเชค ็ พิพาทจะเป็ นการสลักหลัง ปลอมก็ตาม
จําเลยก็ไม่ต ้องรับผิดต่อโจทก์

จากแนวคําพิพากษาฎีกานีท P ําให ้เห็นว่า ธนาคาร BBL (ธนาคารที&


เรียกเก็บเงิน) จะต ้องเป็ นผู ้ตรวจสอบว่ามีการสลักหลังไม่ขาดสาย
หรือไม่
เป็ น ็ ขีดคร่อม
เชค
ต่อ

ธนาคาร
SCB

หากธนาคารใชเงิ ้ นโดยถูกต ้อง ธนาคาร


ตามมาตรา 998 แล ้ว ธนาคารมี BBL
สทิ ธิหกั บัญชข ี องสมรผู ้สงั& จ่ายได ้
และหนีเ; ดิมก็ระงับไป เนือ & งจาก ธนาคาร KTB จะได ้รับความคุ ้มครองตามมาตรา
เชค็ มีการใชเงิ
้ นแล ้ว 1000

กรณีนีP หนีเP ดิมระหว่าง เป็ นต่อ และสมร ระงับไปตาม


มาตรา 321 วรรคสาม

หลักเกณฑ์การใชความระมั
ดระวังตามมาตรา 1000


(1) มาตรา 1000 ใชเฉพาะกรณี ็ ขีดคร่อม
เชค
(2) ธนาคารเรียกเก็บเพือ
& ลูกค ้าของธนาคาร โดยธนาคารมีฐานะเป็ น
ตัวแทนเรียกเก็บ

(3) ธนาคารกระทําโดยสุจริต และปราศจากประมาทเลินเล่อ



(1) มาตรา 1000 ใชเฉพาะกรณี ็ ขีดคร่อม
เชค

็ นัน
ถ ้าเชค P ไม่มข ี คร่อมมาเรียกเก็บธนาคารใชส้ ท
ี ด ิ ธิมาตรา
995(5) ขีดคร่อมให ้ตนเองเพือ & ให ้ธนาคารได ้รับความ
คุ ้มครองได ้ (อย่างไรก็ตาม อ. เสาวนีย ์ เห็นว่า ไม่ใชกั้ บ
กรณีทธ ี& นาคารขีดคร่อมเอง)

ผู ้บรรยาย: เห็นว่า แม ้เชค ็ ไม่มข


ี ด
ี คร่อม แต่เมือ
& มีการจะเรียกเก็บเงิน
ตามเชค ็ ทีไ& ม่มก ี ารขีดคร่อม ธนาคารก็คงจะต ้องมีนโยบายให ้
พนักงานธนาคารขีดคร่อมเชค ็ ให ้กับธนาคารเพือ & นํ าไปเรียกเก็บเงิน
จากธนาคารอืน &
(2) ธนาคารเรียกเก็บเพือ
& ลูกค ้าของธนาคาร โดยธนาคารมีฐานะเป็ น
ตัวแทนเรียกเก็บ


มาตรา 1000 จะใชเฉพาะกรณี ทธี& นาคารเป็ นตัวแทนเรียกเก็บเงิน
เท่านัน ้
P ไม่ใชในกรณี ทธ
ี& นาคารเป็ นผู ้รับสลักหลัง

็ ต่างธนาคารเข ้าบัญช ี ธนาคารผู ้เรียกเก็บเงิน


โดยทัว& ไปเวลานํ าเชค
แทนจะให ้ลูกค ้าสลักหลังให ้ธนาคาร เชน ่ ธนาคาร BBL จะให ้นาย
นิยมสลักหลังลอยไว ้ด ้านหลังเชค็ และธนาคารก็จะไปเก็บเงินแทน
็ ไปทําการ clearing กับ SCB
และก็จะนํ าเชค

ตามทีไ& ด ้กล่าวไปในฎีกา 4568/2530 ธนาคารทีเ& รียกเก็บเงินมีหน ้าที&


ตรวจสอบการสลักหลังตามมาตรา 1009
กรณีทไี& ม่ใชข่ ้อ (2) คือ ธนาคารไม่ได ้เป็ นตัวแทนเรียกเก็บเงินแต่เป็ น
ผู ้รับสลักหลังเชค ็ ซงึ& จะทําให ้ธนาคารกลายเป็ นผู ้ทรง

เชน ่ เชค
็ ลงวันทีล& ว่ งหน ้า แต่นายกอล์ฟไปแจ ้งธนาคารว่าตนเอง
ร ้อนเงินจะขอให ้พนักงานธนาคารใสเ่ งินให ้ไปก่อน แล ้วค่อยพอเบิก
เงินได ้ค่อยเอาเงินคืนให ้ธนาคาร ถ ้าธนาคารใสเ่ งินให ้เลยก็จะ
กลายเป็ นกรณีทธ ี& นาคารรับโอนเชค ็ และธนาคารจะกลายเป็ นผู ้ทรง
ซงึ& จะไม่ได ้รับความคุ ้มครองตามมาตรา 1000
(3) ธนาคารกระทําโดยสุจริต และปราศจากประมาทเลินเล่อ

การกระทําการโดยสุจริต ก็คอ ื ธนาคารต ้องดูวา่ บุคคล


ทีน ็ เข ้าบัญชธี นาคาร (ลูกค ้าของธนาคาร) เป็ นผู ้
& ํ าเชค
ทรงหรือไม่ หรือการสลักหลังขาดสายหรือไม่

หากไม่เข ้าเงือ
& นไขทังP 3 ประการ ธนาคารยังคงต ้องรับผิดต่อ
เจ ้าของทีแ
& ท ้จริง
ตัวอย่าง (เทียบเคียงคําพิพากษาฎีกาที3 6951/2562) นายเป็ นต่อไปซอ ื_ รถยนต์มอ ื
สองจาก บริษัท อดุลย์ รถมือสอง จํากัด ซงึ3 มีนายอดุลย์เป็ นกรรมการผู ้มีอํานาจ
กระทําแทน นายอดุลย์ยน ิ ดีขายรถให ้นายเป็ นต่อ ราคา 200,000 บาท แต่ได ้แจ ้งว่า
ให ้ชาํ ระหนีโ_ ดยใช ้ cashier เชค ็ สงั3 จ่ายบริษัท อดุลย์ รถมือสอง จํากัด นายเป็ นต่อ
จึงไปซอ ื_ cashier เชค็ จากธนาคาร SCB จํานวน 200,000 บาท โดยระบุชอ ื3 บริษัท
อดุลย์ รถมือสอง จํากัด เป็ นผู ้รับเงิน และมีการขีดคร่อมว่า ”A/C Payee Only” นาย
เป็ นต่อได ้ไปรับรถยนต์ พร ้อมสง่ มอบแคชเชย ี ร์เชค
็ ให ้นางสาวป้ อม ลูกจ ้างของนาย
อดุลย์ นางสาวป้ อมได ้ทําการยักยอกเชค ็ และปลอมลายมือชอ ื3 ของนายอดุลย์ และ
แอบนํ าตราประทับของบริษัท อดุลย์ รถมือสอง มาประทับ เพือ 3 ทําเป็ นการสลักหลัง
ลอย และนํ าเชค ็ ไปเข ้าบัญชข ี องตนทีธ 3 นาคาร BBL ธนาคาร BBL จึงไปเรียกเก็บเงิน
จากธนาคาร SCB ธนาคาร SCB จ่ายเงินเข ้าบัญชใี นธนาคาร BBL ของนางสาวป้ อม
ไป นางสาวป้ อมได ้ทําการปิ ดบัญช ี และหนีไป ตามตัวไม่พบ

หลังจากนัน _ นายอดุลย์ได ้ทวงเงินค่ารถจากนายเป็ นต่อ แต่นายเป็ นต่อแจ ้งว่า ได ้จ่าย


แคชเชย ี ร์เชค็ ไปแล ้ว นายเป็ นต่อ และนายอดุลย์ จึงมาปรึกษาท่านว่า ใครควรจะ
ฟ้ องให ้ธนาคารรับผิด และธนาคารใด จะต ้องรับผิดบ ้าง
คําถาม ธนาคารใด เป็ นธนาคารทีต
& ้องตรวจสอบการสลักหลังทีไ& ม่
ขาดสาย

คําพิพากษาฎีกาที& 4568/2530

ิ ธิในเชค
คําถาม นางสาวป้ อมมีสท ็ ในฐานะผู ้ทรงหรือไม่

นายเป็ นต่อจึงไปซอ ืP cashier เชค ็ จากธนาคาร SCB


จํานวน 200,000 บาท โดยระบุชอ ื& บริษัท อดุลย์ รถ
มือสอง จํากัด เป็ นผู ้รับเงิน และมีการขีดคร่อมว่า
”A/C Payee Only”

ธนาคาร BBL ควรจะเรียกเก็บเงินให ้นางสาวป้ อมหรือไม่


็ ทีแ
คําถาม: ใครเป็ นเจ ้าของเชค & ท ้จริง

โจทก์ท ี& 2 ถึงที& 7 เป็ นผูซ ้ อื& แคชเชย


ี ร์เช็คจากธนาคารผู ้ออกเชค ็
มิได ้เป็ นผู ้ทรงแคชเชย ี ร์เชค็ พิพาท จึงมิใชเ่ จ้าของอ ันแท้จริงแห่ง
เช็คนนตามประมวลกฎหมายแพ่
ั& งและพาณิชย์ มาตรา 1000 ทีจ @ ะมี
อานาจฟ้องจาเลยที& 1 ให ้รับผิดชดใชเงิ ้ นตามแคชเชย ี ร์เชค
็ พิพาท

ืP cashier cheque ไม่ใชเ่ จ ้าของเชค


คนซอ ็
ความรับผิดของธนาคารผู ้เรียกเก็บเงิน

โจทก์ท ี& 1 เป็ นผู ้ทรงแคชเชย ี ร์เชค


็ พิพาทขีดคร่อมพร ้อมกับมี
ข ้อความว่า “A/C Payee Only” ในชอ ่ งขีดคร่อมซงึ& มีความหมาย
ทํานองเดียวกับ “เปลีย & นมือไม่ได ้” หรือ “ห ้ามเปลีย
& นมือ” ตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 995 การทีจ @ าเลยที@ 1
ซงึ& เป็ นผู ้มีวช ี ประกอบการธนาคารเรียกเก็บเงินตาม
ิ าชพ
แคชเชย ี ร์เช็คพิพาทไปเข้าบ ัญชข ี องจาเลยที@ 3 ทงที ั& ต
@ อ
้ งนา
เงินตามแคชเชย ี ร์เช็คพิพาทเข้าบ ัญชข ี องโจทก์ท ี@ 1 เท่านน ั&
ต ้องถือว่าจาเลยที& 1 กระทําการโดยประมาทเลินเล่อ เป็ นการ
กระทําละเมิดต่อโจทก์

ธนาคารทีไ3 ปเรียกเก็บ ไปเรียกเก็บเงินโดยประมาทเลินเล่อ เพราะกรณีนี_


็ ทีเ3 ข ้าบัญชผ
ธนาคารไม่ควรจะไปเรียกเก็บเงินให ้ป้ อม เพราะเชค ี ู ้รับเงินเท่านัน
_
ไม่สามารถโอนโดยการสลักหลังและสง่ มอบได ้
นอกจากนี_ ยังมีคดี 2503/2528 คําว่า 'เอซเี ปยีออลลี'3 มีความหมายทํานอง
เดียวกับ 'เปลีย
3 นมือไม่ได ้' หรือ 'ห ้ามเปลีย
3 นมือ' ตามที3 บัญญัตไิ ว ้ในประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 995 การทีจ 3 ําเลยซงึ3 เป็ นผู ้มีวช ี ประกอบการ
ิ าชพ
ธนาคาร เรียกเก็บ เงินตามเชค ็ พิพาทไปเข ้าบัญชข ี อง ส. ผู ้รับสลักหลัง ทัง_ ๆทีเ3 ชค

พิพาทเป็ นเชค็ ห ้ามเปลีย
3 นมือ ต ้องนํ าเงินตาม เชค ็ เข ้าบัญชขี องโจทก์เท่านัน _ จะถือ
ว่าจําเลยกระทําโดย ปราศจากความประมาทเลินเล่อไม่ได ้ ธนาคารจึงไม่ได ้รับ
ความคุ ้มครอง จากบทบัญญัตแ ิ ห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1000

ฎีกามีข ้อเท็จจริงปรากฏว่า “โจทก์ตรวจพบว่าบริษัทบางกอกโนมูระอินเตอร์เนชน ั& แนล


ซเี คียวริต ี; จํากัด ได ้สงั& จ่ายเงินเป็ นเชค็ ระบุชอ ื& โจทก์และได ้ขีดคร่อมให ้นํ าเข ้าบัญช ี
ของโจทก์โดยเฉพาะเท่านัน ; ” แต่ปรากฏว่านางสาวสุขม ุ าลย์ได ้ลงลายมือชอ ื& สลักหลัง
เชค ็ ดังกล่าวแต่ผู ้เดียวและประทับตราของห ้างโจทก์นําเงินเข ้าบัญชข ี องตนเองใน
ธนาคารจําเลย การทีจ & ําเลยได ้เรียกเก็บเงินตามเชค ็ ดังกล่าวเข ้าบัญชเี งินฝากของ
นางสาวสุขม ็ ระบุชด
ุ าลย์ทงั ; ๆ ทีเ& ป็ นเชค ั แจ ้งให ้เข ้าบัญชข ี องโจทก์

แสดงว่า กรณีนค ี_ นทีข


3 ด ี คร่อมคือผู ้สงั3 จ่าย นอกจากนีผ _ ู ้บรรยายมีความเห็นเพิม 3 เติม
ว่า คําว่า “a/c payee only” หมายความว่า เข ้าบัญชผ ี ู ้รับเงินเท่านัน
_ ซงึ3 ก็น่าจะ
หมายความถึงกรณีทผ ี3 ู ้สงั3 จ่ายเป็ นคนเขียน แต่ถ ้าผู ้ทรงจะใชส้ ท ิ ธิเขียนก็ควรจะ
เขียนคําว่า “ห ้ามเปลีย 3 นมือ” ตามมาตรา 995(3) มากกว่า
ประเด็น: ใครคือ เจ ้าของทีแ
3 ท ้จริงตามมาตรา 1000, 998 และ 997

โปรดดูคําพิพากษาฎีกาที3 1444/2551 ศาลฎีกาวินจ ิ ฉั ยว่า “ข ้อเท็จจริงรับฟั งเป็ นยุต ิ


โดยโจทก์ทงั _ สองและจําเลยไม่โต ้แย ้งในชน ั _ ฎีกาว่า โจทก์ท ี3 1 ลงลายมือชอ ื3 และ
ประทับตราสําคัญของโจทก์ท ี3 2 สงั3 จ่ายเชค ็ ธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) สาขา
สํานักราชดําเนินลงวันที3 9 มกราคม 2534 จํานวนเงิน 6,000,000 บาท ระบุชอ ื3
นางสาวสมรวยเป็ นผู ้รับเงิน โดยมิได ้ขีดฆ่าคําว่า “หรือผู ้ถือ” ในเชค ็ ฉบับดังกล่าวออก
เชค็ ดังกล่าวเป็ นเชค ็ ขีดคร่อมมีข ้อความภาษาอังกฤษกํากับว่า “เอซเี ปยีออลลี”3 ตาม
สําเนาเชค ็ เอกสารหมาย จ.5 โจทก์ท ี3 1 สง่ มอบเชค ็ ดังกล่าวให ้แก่ผู ้มีชอ ื3 ซงึ3 เป็ นผู ้
ติดต่อขายทีด 3 น
ิ ให ้แก่นางสาวสมรวย จําเลยได ้เรียกเก็บเงินตามเชค ็ ดังกล่าวจาก
ธนาคารทหารไทยจํากัด (มหาชน) เข ้าบัญชเี งินฝากของนางสมลักษณ์และนางสาว
วาสนาซงึ3 เป็ นผู ้นํ าฝากเชค ็ เข ้าบัญชเี พือ 3 เรียกเก็บเงิน มีปัญหาต ้องวินจ ิ ฉั ยตามฎีกาของ
จําเลยประการแรกว่า โจทก์มอ ี ํานาจฟ้ องหรือไม่ พิเคราะห์แล ้ว เห็นว่า ประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1000 ได ้บัญญัตเิ กีย 3 วกับเรือ 3 งอํานาจฟ้ องในกรณีนี_
ไว ้ว่า “ธนาคารใดได ้รับเงินเพือ 3 ผู ้เคยค ้าของตนโดยสุจริตและปราศจากประมาท
เลินเล่ออันเป็ นเงินเขาใชให ้ ้ตามเชค ็ ขีดคร่อมทัว3 ไปก็ด ี ขีดคร่อมเฉพาะให ้แก่ตนก็ด ี
หากปรากฏว่าผู ้เคยค ้านัน _ ไม่มส ิ ธิหรือมีสท
ี ท ิ ธิเพียงอย่างบกพร่องในเชค ็ นัน _ ไซร ้ ท่าน
ว่าเพียงแต่เหตุทไี3 ด ้รับเงินไว ้หาทําให ้ธนาคารนัน _ ต ้องเป็ นผู ้รับผิดต่อผู ้เป็ นเจ ้าของอัน
แท ้จริงแห่งเชค ็ นัน_ แต่อย่างหนึง3 อย่างใดไม่” ”
โจทก์ท ี& 1 ื3 ผู ้มีชอ
ผู ้มีชอ ื3 ซงึ3 เป็ นผู ้
ติดต่อขายทีด 3 น
ิ ให ้แก่
นางสาวสมรวย

โจทก์ท ี& 2 (นิตบ


ิ ค
ุ คล)

สมลักษณ์และ
สมรวย หรือ ผู ้ถือ วาสนา

TMB จําเลย
(ธนาคารกรุงเทพ)

โจทก์ผู ้สงั3 จ่าย มีอํานาจฟ้ องคดีธนาคารทีเ3 รียกเก็บเงินทีผ


3 ู ้ทรงหรือไม่?
คดีนโี_ จทก์ท ี3 1 ลงลายมือชอ ื3 และประทับตราสําคัญของโจทก์ท ี3 2 สงั3 จ่ายเชค ็ ให ้แก่
ผู ้รับเงินคือนางสาวสมรวยหรือผู ้ถือ แม ้เชค ็ ดังกล่าวจะได ้มีการขีดคร่อมและมี
ข ้อความภาษาอังกฤษกํากับว่า “เอซเี ปยีออลลี”3 ซงึ3 โจทก์ทงั _ สองอ ้างว่าเป็ นเชค ็ ห ้าม
เปลีย 3 นมือ แต่ผเู ้ ป็นเจ้าของอ ันแท้จริงแห่งเช็คนนซ ั. งึE เป็นผูเ้ สย ี หายในเรือ E งนีE
โดยตรงก็คอ ื ผูร้ ับเงินตามเช็คนน ั. หาใชโ่ จทก์ทงั _ สองซงึ3 เป็ นผู ้สงั3 จ่ายเชค ็ นัน_ แต่
อย่างใดไม่ ตามฟ้ องของโจทก์ทงั _ สองก็ได ้ความว่า การกระทําของจําเลยทําให ้ผู ้รับ
เงินตามเชค ็ นัน_ [เสย ี หาย] และผู ้รับเงินได ้ไปแจ ้งความร ้องทุกข์ไว ้ต่อพนักงาน
สอบสวน โจทก์ทงั _ สองมิได ้เป็ นผู ้ทรงเชค ็ ฉบับดังกล่าว จึงมิใชเ่ จ ้าของอันแท ้จริง
แห่งเชค ็ นัน
_ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1000 ทีจ 3 ะมีอํานาจฟ้ อง
จําเลยให ้รับผิดชดใชเงิ ้ นตามเชค ็ ดังกล่าว ทัง_ พฤติการณ์การกระทําของจําเลยที3
เรียกเก็บเงินตามเชค ็ ดังกล่าวจากธนาคารเจ ้าของเชค ็ ไปเข ้าบัญชเี งินฝากของผู ้อืน 3
ซงึ3 เป็ นผู ้นํ าฝากเชค ็ เข ้าบัญชเี พือ3 เรียกเก็บเงินดังทีโ3 จทก์ทงั _ สองกล่าวอ ้างมาในฟ้ อง
ก็ยงั ถือไม่ได ้ว่าจําเลยได ้กระทําละเมิดต่อโจทก์ทงั _ สองในอันทีจ 3 ะทําให ้โจทก์ทงั _ สอง
มีอํานาจฟ้ องจําเลยได ้ ทีศ 3 าลอุทธรณ์พพ ิ ากษาให ้จําเลยรับผิดชาํ ระเงินให ้แก่โจทก์
ทัง_ สองนัน _ ศาลฎีกาไม่เห็นพ ้องด ้วย ฎีกาของจําเลยข ้อนีฟ _ ั งไม่ขนึ_ กรณีไม่จําต ้อง
วินจ ิ ฉั ยปั ญหาอืน 3 ตามฎีกาของจําเลยต่อไป เพราะไม่ทําให ้ผลของคดีนเี_ ปลีย 3 นแปลง

คําพิพากษาฎีกานีผ P ู ้สงั& จ่ายฟ้ องไม่ได ้ เพราะผู ้สงั& จ่ายได ้


มอบเชค ็ ให ้ผู ้อืน
& ไปแล ้ว
ประเด็นทีน & ่าสนใจ บริษัท BKL มอบหมายนายนิยมนํ าเชค ็ ไปสง่ มอบ
ให ้กับโรงพิมพ์เพือ & ชาํ ระหนีค ื ซงึ& เป็ นเชค
P า่ พิมพ์หนังสอ ็ ของธนาคาร
บางบาร์ จํากัด โดยเป็ นเชค ็ ขีดคร่อมทัว& ไป เชค ็ นีรP ะบุชอ ื& โรงพิมพ์
ธรรมะเป็ นผู ้รับเงิน ปรากฏว่า นายนิยมยักยอกเชค ็ ไป และปลอม
ลายมือชอ ื& นางสาวทิพย์ และหาตราประทับมัว& ๆ มาประทับให ้ดูเป็ น
การประทับตราสําคัญบริษัท เพือ & สลักหลังลอยให ้ตนเอง นายนิยม
นํ าเชค็ ไปเข ้าบัญชข ี องตนไปเรียกเก็บเงินสดทีธ & นาคารบางบาร์
เพราะตนเองสนิทกับผู ้จัดการสาขาที& บริษัท BKL มีบญ ั ชอ ี ยู่
ธนาคารบางบาร์จงึ จ่ายเงินสดไป นายนิยมได ้หนีไปต่างประเทศแล ้ว
ดังนีP บริษัท BKL และโรงพิมพ์จงึ มาปรึกษาท่านว่าใครควรจะเป็ นคน
ฟ้ องธนาคาร
ฎีกาทีผ 3 ง่ มอบเชค
3 า่ นมาเป็ นฎีกาทีส ็ ให ้ผู ้รับเงินไป
แล ้ว เพราะได ้สง่ ให ้ตัวแทนของผู ้รับเงิน
• คําพิพากษาฎีกาที& 1554/2504 โจทก์เขียนเชค ็ สงั& ให ้ธนาคารใช ้
เงินให ้แก่เจ ้าหนีP โดยได ้ระบุชอื& ผู ้รับเงิน และขีดฆ่าคําว่า “หรือ ผู ้
ถือ” และสงั& จ่ายเป็ นเชค ็ ขีดคร่อมทัว& ไป เมือ & เขียนเชค ็ เสร็จแล ้ว
โจทก์ได ้มอบให ้จําเลยที& 1 ซงึ& เป็ นลูกจ้างของโจทก์ไปมอบ
ให ้แก่เจ ้าหนีP แต่จําเลยที& 1 ปลอมลายมือชอ ื& ของผู ้รับเงิน
(เจ ้าหนีโP จทก์) และสลักหลังให ้กับตนเอง จําเลยนํ าเชค ็ นัน
P ไป
เข ้าธนาคาร (จําเลยที& 2) ธนาคารจําเลยที& 2 เรียกเก็บเงินตาม
เชค็ ให ้กับจําเลยที& 1 โดยรับรองด ้านหลังว่า “Endorsement
Guarantee” ธนาคารผู ้จ่ายเงิน จ่ายเงินให ้จําเลยที& 2
• โจทก์ฟ้อง จําเลยที& 1 (ลูกจ ้าง) และจําเลยที& 2 (ธนาคารผู ้
จ่ายเงิน)
คําพิพากษาฎีกาที+ 1554/2504
ให ้ลูกจ ้างเอาไปให ้เจ ้าหนี\ สงั& ธนาคารให ้ใชเงิ
้ นแก่เจ ้าหนี\ (ผู ้รับเงิน)
(ผู ้รับเงิน) โดยเป็ นเขียนขีดคร่อม และขีดฆ่าคําว่า
โจทก์ “หรือผู ้ถือ”
ลูกจ ้าง ผู ้รับเงิน

ปลอมว่า ผู ้รับเงินสลัก
หลังให ้ลูกจ ้าง
เป็ นการรับรองว่าลูกค ้าเอา
ให ้ธนาคารจําเลยที& 2 เรียกเก็บเงิน เชค ็ มาให ้ธนาคารเก็บเงิน
ธนาคาร ธนาคาร (ธนาคารมีฐานะเป็ น
ตัวแทนเรียกเก็บเงินไม่ใช ่
ผู ้ทรง)
ธนาคารจําเลยที& 2 รับรองการสลักหลัง

ศาลฎีกาวินจ
ิ ฉั ยว่า การรับรองการสลักหลังเป็ นการรับรองการทีล ู จ ้างของโจทก์ซงึ& เป็ นลูกค ้า
& ก
ของธนาคารสลักหลังให ้กับธนาคารเพือ & เรียกเก็บเงิน ธนาคารไม่ตอ ้ งพิสจู น์วา
่ การสล ักหล ัง
ก่อนหน้านนเป
ัJ ็ นการสล ักหล ังทีแ L ท้จริงหรือไม่ การกระทําของธนาคารจําเลยที& 2 ไม่
ประมาทเลินเล่อ จําเลยที& 2 ไม่รับผิดต่อเจ ้าของตัว~ ทีแ & ท ้จริง (กรณีนโี; จทก์น่าจะมีอํานาจฟ้ อง
็ ยังไม่ถงึ มือผู ้รับเงิน ถูกลูกจ ้างเอาไปเสย
เพราะเชค ี ก่อน)
อย่างไรก็ตาม ในประเด็นนีP ศ. จิตติ ตังP ข ้อสงั เกตว่า ”เชค ็ ซงึ& ผู ้สงั&
จ่ายเขียนไว ้ แต่ยงั ไม่ได ้สง่ มอบให ้แก่ผู ้รับเงิน ยังไม่ถอ
ื ว่าเป็ นการ
ออกเชค ็ (issue) เพนะยังไม่มก ี ารสง่ มอบตามกฎหมายต ้องถือว่า
การแสดงเจตนายังไม่ไปถึงคูก ่ รณีอกี ฝ่ ายหนึง& ยังไม่เป็ นสญั ญา
ตัว™ เงิน” (คงสมบูรณ์หน ้า 432)
คําพิพากษาฎีกาที& 4/2512 เชค ็ ทีพ & พิ าทระบุชอ ื& โจทก์ โจทก์จงึ เป็ นผู ้ทรงโดยชอบ ก.
เป็ นแต่ผู ้ทําการแทนร ้านและเซน ็ สญ ั ญาในนามของร ้านไม่ใชผ ่ ู ้มีชอ
ื& ทีร& ะบุในเชค ็ ดัง; นัน
;
ก. จึงไม่ใชผ ่ ู ้ทรงเมือ
& โจทก์ได ้รับความเสย ี หายจากการกระทําของธนาคารจําเลย จึงมี
อํานาจฟ้ อง
เชค ็ พิพาทระบุชอ ื& SALWEEN INDENTING AGENCY ซงึ& เป็ นชอ ื& โจทก์จด
ทะเบียนต่อนายทะเบียนพาณิชย์แล ้วเป็ นผู ้รับเงินและขีดคร่อมพร ้อมทัง; เขียนคําสงั& ว่า
ACCOUNT PAYEE ONLY คือเป็ นทํานองห ้ามเปลีย & นมือ ปรากฏว่าโจทก์ถอน ก. จาก
การเป็ นตัวแทนเสย ี แล ้ว ก.ไม่มอ ี ํานาจนํ าเชค ็ พิพาทเข ้าบัญชข ี องตนได ้ถึงแม ้ว่า
ธนาคารจําเลยเป็ นบุคคลภายนอกผู ้สุจริตไม่ทราบเรือ & งการบอกเลิกการเป็ นตัวแทนแต่
การทีธ & นาคารจําเลยนํ าเชค ็ เข ้าบัญชข ี อง ก.เท่ากับเป็ นการนํ าเชค ็ ของโจทก์ไปเข ้า
บัญชส ี ว่ นตัวของ ก. โดยเชอ ื& ว่าเป็ นตัวแทนของโจทก์ ซงึ& เห็นได ้ว่าเป็ นทางให ้เกิด
ความเสย ี หายแก่โจทก์ได ้เป็ นทางปฏิบต ั ท
ิ ธี& นาคารทัง; หลายไม่พงึ กระทํา ถือว่าธนาคาร
จําเลยประมาทเลินเล่อแม ้ธนาคารจําเลยจะสุจริตจริงแต่เมือ & ก. ไม่มส ี ท ิ ธิในเชค ็
ธนาคารจําเลยก็ต ้องรับผิดต่อโจทก์ผู ้เป็ นเจ ้าของอันแท ้จริงแห่งเชค ็ นัน; กรณีไม่เข ้า
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1000

็ ไปเข ้าบัญชต
กรณีนี; ข ้อเท็จจริงในคําฟ้ อง คือ นาย ก. ได ้นํ าเชค ี นเองทีธ
& นาคาร
กรุงศรี แล ้วธนาคารกรุงศรีไปเรียกเก็บเงินจากธนาคารเกษตร และธนาคารเกษตร
จ่ายเงินไป กรณีนี; โจทก์ (SALWEEN INDENTING AGENCY) เป็ น “เจ ้าของเชค ็ ที&
แท ้จริง” สว่ น ก. เป็ นคนเอาเชค็ ไปโดยมิชอบ ศาลฎีกาวินจ ิ ฉั ยว่า “ธนาคารกรุงศรี
ไม่ได ้รับความคุ ้มครองตามมาตรา 1000
คําพิพากษาฎีกาที& 2290/2518 ทําให ้เห็นว่า หากธนาคาร
ปฏิบตั ผ
ิ ด
ิ จากทีบ
& ญ
ั ญัตไิ ว ้ในกฎหมายธนาคารต ้องรับผิด

เชค ็ พิพาทเป็ นเชค ็ ขีดคร่อมระบุจา่ ยให ้บริษัท พ. บริษัท พ.


สลักหลังลอยให ้โจทก์ โจทก์ใชตรายางประทั้ บด ้านหลังเชค ็ มี
ข ้อความว่าเพือ & ฝากเข ้าบัญชข ี องโจทก์เท่านัน P แล ้วลงชอ ื& มอบให ้
พนักงานของโจทก์ไปฝากเข ้าบัญช ี พนักงานของโจทก์ได ้ลบ

ข ้อความทีโ& จทก์ใชตรายางประทั บ ทําให ้การสลักหลังของโจทก์
กลายสภาพเป็ นสลักหลังลอย แล ้วยักยอกเชค ็ นัน
P ไปมอบให ้ อ.แล ้ว
อ. นํ าเชค็ ไปเข ้าบัญชธี นาคารจําเลยเพือ & ให ้เรียกเก็บเงิน จําเลย
เรียกเก็บเงินตามเชค ็ นัน
P แล ้ว ปรากฏว่าการลบถ ้อยคําสลักหลังของ
โจทก์มรี อ ่ งรอยทีเ& ห็นได ้ชด ั เจน เป็ นการแก ้ไขในสว่ นสําคัญ เชค ็
พิพาทย่อมเสย ี ไปตามมาตรา 1007 อ. จะถือประโยชน์จากเชค ็
พิพาทไม่ได ้ ธนาคารจําเลยรับเงินตามเชค ็ ไว ้เพือ
& อ. โดยความ
ประมาทเลินเล่อ ไม่ได ้รับความคุ ้มครองตาม มาตรา 1000 จําเลย
ต ้องรับผิดต่อโจทก์ผู ้เป็ นเจ ้าของเชค ็ พิพาทอันแท ้จริง

คําพิพากษานีเ; ป็ นกรณีได ้รับตัว~ มาจากการสลักลอย แล ้วผู ้ทรงใชส้ ท ิ ธิตามมาตรา 920(1)


แต่พนักงานของผู ้ทรงตัวจริงได ้ลบข ้อความนัน ี ซงึ& จะมีผลตาม 1007 คือ เชค
; เสย ็ นัน ี
; เสย
ไป เมือ ็ เสย
& เชค ี ไปแล ้ว ธนาคารก็ไม่ควรจะจ่ายเงินตามเชค ็ นัน
; ตามมาตรา 1007 หาก
ธนาคารจ่ายไป ธนาคารก็ไม่รับความคุ ้มครองตามมาตรา 1000 เพราะถือว่า ธนาคาร
ประมาทเลินเล่อ (ธนาคารควรจะรู ้ว่าเชค ็ เสย
ี ไป)
ข ้อสงั เกต ความรับผิดตามมาตรา 1000 ต ้องมีความเสย
ี หาย ธนาคาร
จึงจะรับผิด

นายเป็ นต่อได ้ชาํ ระหนีท P ต


ี& นติดค ้างบริษัท BKL จํากัด จํานวน 30,000
บาท โดยใชเช ้ ค
็ ซงึ& บริษัทมีนางสาวสมรเป็ นกรรมการผู ้จัดการ และ
เป็ นผู ้มีอํานาจลงนาม เพียงคนเดียวตามข ้อบังคับ

เป็ นต่อได ้ออกเชค ็ ของธนาคาร SCB และเป็ นเชค ็ ขีดคร่อมและเขียน


ข ้อความ “A/C Payee Only” ไว ้ด ้วย เมือ & สมรได ้รับเงินเชค ็ สมรก็นํา
เชค ็ ไปเข ้าบัญชส ี ว่ นตัวของตัวเองทีธ & นาคาร KTB ซงึ& มีบญ ั ชข ี อง
บริษัท และบัญชส ี ว่ นตัวของสมรอยู่ พนักงานของธนาคารได ้ทักว่า
เชค ็ นีตP ้องเอาเข ้าบัญชบ ี ริษัทเท่านัน
P แต่สมรแจ ้งกับธนาคารว่า เงิน
เล็กน ้อยจะได ้เอาไว ้หมุน พนักงานของธนาคารเชอ ื& เชน
่ นันP ก็ได ้นํ า
เชค ็ ไปเรียกเก็บแทนนางสาวสมร และนํ าเงินเข ้าบัญชน ี างสาวสมร
หลังจากนัน P นายอดุลย์ผู ้ถือหุ ้นบริษัท BKL จํากัดทราบเรือ & ง จึงฟ้ อง
ธนาคาร KTB ว่าประมาทเลินเล่อ ทําให ้บริษัท BKL เจ ้าของเชค ็
เสย ี หาย ดังนีP KTB ต ้องรับผิดต่อ BKL หรือไม่
ข ้อสงั เกต ความรับผิดทีเ& กิดจากการปฏิบต ั ไิ ม่ถก
ู ต ้องตาม
มาตรา 1000 จะต ้องปรากฏว่า “ผู ้เป็ นเจ ้าของเชค ็ ทีแ
& ท ้จริงต ้อง
เสย ี หายอย่างหนึง& อย่างใดด ้วย”

คําพิพากษาฎีกาที& 1539/2530 การทีธ ็ ซงึ&


& นาคารจําเลยนํ าเชค
ระบุชอ ื& โจทก์เป็ นผู ้รับเงินและเป็ นเชค็ ขีดคร่อมเฉพาะมีคําสงั& ใน
ระหว่างเสนขี้ ดคร่อมนัน P ว่า “ACCOUNT PAYEE ONLY” ไปเข ้า
บัญชข ี องจําเลยร่วม โดยกระทําไปตามคําสงั& ของจําเลยร่วมซงึ&
เป็ นกรรมการผู ้จัดการของโจทก์ มีอํานาจสงั& จ่ายเงินจากบัญช ี
ของโจทก์ได ้ ทังP ไม่ได ้ความว่าการทีจ & ําเลยไม่นําเงินตามเชค ็
ดังกล่าวมาเข ้าบัญชโี จทก์เป็ นเหตุให ้โจทก์ต ้องเสย ี หาย ธนาคาร
จําเลยจึงไม่ต ้องรับผิดใชเงิ ้ นตามเชค
็ แก่โจทก์
การทีธ & นาคารจําเลยนํ าเงินตามเชค ็ มาเข ้าบัญชข ี องจําเลยร่วม ก็
เป็ นการกระทําไปตามคําสงั& ของจําเลยร่วมซงึ& เป็ นกรรมการ
ผู ้จัดการของโจทก์ มีอํานาจสงั& จ่ายเงินจากบัญชข ี องโจทก์ได ้ ถ ้า
จําเลยไม่ยอมปฏิบต ั ต ิ ามคําสงั& ของจําเลยร่วมโดยนํ าเงินตามเชค ็
พิพาทเข ้าบัญชข ี องโจทก์ไป จําเลยร่วมก็ยอ ่ มมีอํานาจสงั& จ่ายหรือ
ถอนเงินจากบัญชข ี องโจทก์ไปเข ้าบัญชส ี ว่ นตัวได ้อยูน ่ ั&นเองทังP คดี
ก็ไม่ได ้ความว่า การทีจ & ําเลยไม่นําเงินตามเชค ็ พิพาทมาเข ้าบัญช ี
ของโจทก์นัน P เป็ นเหตุให ้โจทก์ต ้องเสย ี หาย กลับได ้ความว่าเมือ &
นํ าเงินมาเข ้าบัญชส ี ว่ นตัวแล ้วจําเลยร่วมได ้ถอนเงินนัน P ไปใชจ่้ าย
ในกิจการของโจทก์อก ี ด ้วยทีโ& จทก์นําสบื ว่าเงินขาดบัญชไี ป
700,000 บาทเศษนัน P ก็ไม่ได ้ความว่าเป็ นผลสบ ื เนือ& งโดยตรงมา
จากการทีจ & ําเลยไม่ปฏิบต ั ต
ิ ามข ้อความในเชค ็

็ ทีแ
กรณีนเีP จ ้าของเชค & ท ้จริง (BKL)ไม่สามารถพิสจ ู น์ได ้ว่า การ
ทีส
& มรเอาเงินเข ้าบัญชต ี วั เองก่อให ้เกิดความเสย
ี หายแก่บริษัท
อย่างไร
ประเด็น นายนิตพ ิ งศไ์ ด ้ บริจาคเงินให ้กับกระทรวงคมนาคมโดย
ระบุชอ ื& กระทรวงคมนาคมเป็ นผู ้รับเงินซงึ& เป็ นเชค ็ ของ
ธนาคารกรุงไทย และมีการขีดคร่อม ปรากฏว่า นายจินซงึ& เป็ น
หน ้าห ้องของรัฐมนตรีไปยักยอกเชด ็ นัน ื&
P พร ้อมปลอมลายมือชอ
นายศก ั ดิส
• ยาม รัฐมนตรีกระทรวงคมนาคม พร ้อมตราประทับ
โดยทําเป็ นการสลักหลังลอย ให ้กับนางสาวสมร นางสาวสมร
็ นัน
นํ าเชค ็ ไป
P ไปสลักหลังต่อให ้นายเป็ นต่อ นายเป็ นต่อ นํ าเชค
เข ้าบัญชธี นาคารไทยพาณิชย์เพือ & เรียกเก็บเงิน หากธนาคาร
ไทยพาณิชย์เรียกเก็บเงินแทนนายเป็ นต่อ และธนาคารกรุงไทย
จ่ายเงินเรียบร ้อยแล ้ว หากนายเป็ นต่อเบิกถอนเงินไปหมดแล ้ว
กระทรวงคมนาคมสามารถเรียกให ้ธนาคารกรุงไทย และ
ธนาคารไทยพาณิชย์รับผิดได ้หรือไม่
กระดาษทด
ื อ. ไพทูรย์ หน ้า 442)
ฎีกาที& 1702/2515 (จากหนังสอ
ในคดีดงั กล่าวข ้อเท็จจริงมีวา่ ลูกค ้านํ าเชค ็ ฝากเข ้าบัญชก ี ระแสรายวัน
ของตนทีธ & นาคารจําเลย โดยเชค ็ นัน
P เป็ นเชค ็ ขีดคร่อมสงั& จ่ายระบุชอ ื&
กองทัพอากาศเป็ นผู ้รับเงิน มีการสลักหลังโอนเชค ็ เชค ็ ทีน & ํ าฝากนัน P
เริม& ต ้นด ้วยการสลักหลังชอ ื& ผู ้รับเงินโดยมีลายมือชอ ื& (ปลอม) ของ
นายทหารอากาศซงึ& เป็ นกรรมการควบคุมดูแลเงินรายได ้ผลประโยชน์
ของกรมการบินพลเรือนนายหนึง& ลงไว ้ และประทับตราดวงตาปลอม
ซงึ& มีลก ั ษณะคล ้ายกับดวงตราของกรมการบินพลเรือน กองทัพอากาศ
กํากับแล ้วมีการสลักหลังมาเป็ นทอดๆ จนถึงลูกค ้าผู ้นัน P ธนาคาร
จําเลยไม่เคยติดต่อกับกองทัพอากาศ กองทัพอากาศก็ไม่เคยติดต่อ
กับธนาคารจําเลย ธนาคารจําเลยไม่มโี อกาสทราบว่า ดวงตราประทับ
ทีป
& ระทับในการสลักหลังนัน P เป็ นดวงตราปลอมหรือดวงนัน P เป็ นดวงตรา
ของกรมการบินพลเรือนหรือไม่ ธนาคารเรียกเก็บเงินตามเชค ็ และรับ
เงินตามเชค ็ ขีดคร่อมไว ้เพือ& ลูกค ้าของธนาคาร ต่อมาลูกค ้าเบิกเงินไป
จนหมด กองทัพอากาศจึงเป็ นโจทก์ยน ื& ฟ้ องธนาคารจําเลยให ้รับผิด
ตามเชค ็
คดีนศ ีP าลฎีกาวินจิ ฉั ยว่า “จําเลยที& 4 ซงึ& เป็ นลูกค ้านํ าเชค ็ รวม 11 ฉบับ
มาฝากเข ้าบัญชท ี มี& อ
ี ยูก
่ บ
ั ธนาคารจําเลย เพือ & ให ้เรียกเก็บเงินตามเชค ็
เมือ& ธนาคารจําเลยเห็นว่ามีการสลักหลังเชค ็ มาไม่ขาดสายจนถึง
จําเลยที& 4 ธนาคารจําเลยเห็นว่าถูกต ้องจึงเรียกเก็บเงินให ้ จริงอยูแ ่ ม้
เชค็ เหล่านัน P จะขีดคร่อมให ้กองทัพอากาศ และตราประทับเป็ นตรา
กรมการบินพลเรือน กองทัพอากาศปลอมก็ตาม แต่ธนาคารจําเลยไม่
มีโอกาสทราบได ้เลยว่า ตรานัน P ปลอมหรือตรานัน P เป็ นตราของกรมการ
บินพลเรือนหรือไม่ ทังP กองทัพอากาศ ผู ้เป็ นโจทก์กน ็ ํ าสบื ไม่ได ้ว่า
ธนาคารจําเลยการกระทําการโดยไม่สจ ุ ริต ธนาคารจําเลยจึงไม่ต ้อง
รับผิดต่อโจทก์

คดีนม
ีP ข ี ้อสงั เกตว่า ในประเทศอังกฤษ เชค ็ ซงึ& สงั& จ่ายให ้แก่ผู ้ใด
ในตําแหน่งราชการแล ้ว ธนาคารจะรับเชค ็ เพือ & เรียกเก็บเข ้า
บัญชส ี ว่ นตัวของลูกค ้าซงึ& เป็ นเอกชนไม่ได ้ หากธนาคารไปรับ
็ นีเP รียกเก็บเงินให ้ลูกค ้าย่อมถือว่าไม่เป็ นการไปตามทางการ
เชค
ปกติทเี& ชค ็ อันออกสงั& จ่ายให ้หน่วยราชการจะมีการนํ าไปสลัก
หลังในทางชาํ ระหนีส P ว่ นตัวของเอกชน
็ ขีดคร่อม
สรุป ความรับผิดของธนาคารกรณีเชค

ผู ้สงั& จ่าย: เป็ นต่อ


สมร

ธนาคาร ธนาคารเรียกเก็บเงินมีหน ้าทีใ& ช ้


ธนาคาร KTB ความระมัดระวังตาม 1009 และ
SCB 1000

ธนาคารผู ้ใชเงิ ้ น จะต ้องมีความระมัดระวังตามมาตรา 998 (หากมี


ธนาคารเรียกเก็บ ธนาคารผู ้ใชเงิ ้ นไม่ต ้องดูการสลักหลังเพราะ
เป็ นหน ้าทีข& องธนาคารเรียกเก็บ)
ธนาคารผู ้ใชเงิ ้ น จะมีความผิดก็ตอ ่ เมือ
& เป็ นกรณี 997 วรรคสอง
ซงึ& ต ้องรับผิดต่อเจ ้าของทีแ& ท ้จริง

You might also like