You are on page 1of 48

แผนบริหารความต่อเนือ่ งทางธุรกิจ

(Business Continuity Plan - BCP)

1
สารบัญ
หน้า

ส่วนที่ 1 บทนา

1.1 คานา 1

1.2 ขอบเขต (Scope) 2

1.3 วัตถุประสงค์ (Objective) 3

1.4 การประเมินความเสี่ยงของภาวะวิกฤติหรือเหตุการณ์ความเสียหาย (Risk Assessment) 4

1.5 การประเมินผลกระทบทางธุรกิจ (Business Impact Analysis : BIA) 6

1.6 โครงสร้างการกากับดูแล BCP และการบริหารจัดการในภาวะวิกฤติ 7

1.7 บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบในการกากับดูแล BCP 8

1.8 บทบาทหน้าที่ของทีมจัดการสถานการณ์ฉุกเฉิน 10

1.9 ศูนย์สั่งการภาวะวิกฤติ 13

1.10 ศูนย์ปฏิบัติงานสารอง 14

ส่วนที่ 2 แผนรองรับขณะเกิดภาวะวิกฤติ หรือเหตุการณ์ฉุกเฉิน

2.1 ภาพรวมแผนบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ (BCP) 15

2.2 แผนรองรับขณะเกิดภาวะวิกฤติ หรือเหตุการณ์ฉุกเฉิน กรณีเกิดเหตุในเวลาทาการ 18

2.3 แผนรองรับขณะเกิดภาวะวิกฤติ หรือเหตุการณ์ฉุกเฉินกรณีเกิดเหตุนอกเวลาทาการ 26

2.4 จุดรวมพล 27

ส่วนที่ 3 แผนฟื้นฟูหลังเกิดภาวะวิกฤติ 28

2
สารบัญ
หน้า

ภาคผนวก

ภาคผนวก 1 ระดับผลกระทบที่ใช้ในการพิจารณาประเมินผลกระทบทางธุรกิจ

ภาคผนวก 2 แผนรองรับการดาเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง สาหรับธุรกรรมงานที่สาคัญของธนาคาร

ภาคผนวก 3 รายงานการบันทึกเหตุการณ์

ภาคผนวก 4 Checklist รายชื่อพนักงานในหน่วยงาน

ภาคผนวก 5 Checklist การแจ้งเหตุการณ์

ภาคผนวก 6 บันทึกสรุปเหตุการณ์

ภาคผนวก 7 แบบฟอร์มการบันทึกขั้นตอน การเรียกคืนธุรกรรมงาน

ภาคผนวก 8 แบบฟอร์มการบันทึกประเด็นปัญหา

ภาคผนวก 9 แบบฟอร์มติดตามการติดต่อทางโทรศัพท์

ภาคผนวก 10 แบบฟอร์มสรุปผลกระทบ

ภาคผนวก 11 แบบฟอร์มการขออนุมัติประเด็นสาคัญ

ภาคผนวก 12 แบบฟอร์มรายงานผลการตรวจสอบความพร้อม

ภาคผนวก 13 คณะทางานและทีมปฏิบัติการ

3
ส่วนที่ 1 บทนา
1.1 คานา
แผนบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ (หรือที่ต่อไปจะเรียกว่า BCP) ฉบับนี้จัดทาขึ้นเพื่อใช้ในการปฏิบัติงาน
ในภาวะที่ธนาคารฯ ต้องเผชิญกับภาวะวิกฤติหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินร้ายแรงต่างๆ ไม่ว่าจะเกิดจากภัยธรรมชาติ
อุบัติเหตุ หรือการมุ่งร้ายต่อองค์กร เช่น อัคคีภัย การก่อวินาศกรรม ไวรัสคอมพิวเตอร์ ซึ่งส่งผลให้ธนาคารต้อง
หยุดการดาเนินงาน หรือไม่สามารถให้บริการลูกค้าได้อย่างต่อเนื่อง ดังนั้น หากธนาคารไม่มีกระบวนการ
รองรับที่ดีแล้ว อาจส่งผลให้ลูกค้าผู้ใช้บริการขาดความเชื่อมั่น ส่งผลกระทบต่อธนาคาร และยัง ก่อให้เกิดความ
เสี่ยงต่อการดาเนินธุรกิจอีกด้วย

กระบวนการรองรับภาวะวิกฤติ หรือเหตุการณ์ความเสียหายดังกล่าวข้างต้น จึงเป็นสิ่งสาคัญที่จะช่วย


รับมือกับเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิด และช่วยให้ผลิตภัณฑ์ / ธุรกรรมงานที่สาคัญ ของธนาคาร (Critical products
/ Business Functions) กลับมาดาเนินการได้ในเวลาที่เหมาะสม ซึ่งจะช่วยลดผลกระทบทางการเงิน กฎหมาย
ชื่อเสียง และผลกระทบอื่นๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับธนาคาร ดังนั้น ธนาคารจึงจาเป็นต้องมี BCP ที่มีประสิทธิภาพ
และสามารถนามาใช้งานได้จริงเมื่อเกิดภาวะวิกฤติ หรือเหตุการณ์ฉุกเฉินขึ้น โดยให้บรรลุเป้าหมายสาคัญที่ตั้ง
ไว้ คือสามารถกลับมาดาเนินธุรกิจและให้บริการอย่างต่อเนื่อง หรืออย่างน้อยก็ใกล้เคียงกับในสภาวะปกติ

1
1.2 ขอบเขต (Scope)

 BCP ฉบับนี้ ถือเป็น BCP ฉบับหลัก ใช้รองรับกรณีเกิดภาวะวิกฤติหรือเหตุการณ์ร้ายแรงทาให้ไม่


สามารถเข้า-ออก อาคารสานักงานใหญ่ (อาคารคิวเฮ้าส์ อโศก) ได้ หรือมีผลกระทบต่อทรัพยากรที่ใช้
ในการดาเนินงาน ทาให้ไม่สามารถปฏิบัติงานตามปกติได้ ประกอบด้วย 3 เหตุการณ์ คือ
- กรณีเกิดเหตุการณ์ภัยธรรมชาติ อาทิ อุทกภัย และแผ่นดินไหว เป็นต้น
- กรณีเกิดเหตุการณ์อุบัติภัย อาทิ อัคคีภัย และการก่อวินาศกรรม เป็นต้น
- กรณีมีกลุ่มผู้ชุมนุมมาปิดล้อมธนาคาร
 BCP ฉบับนี้ครอบคลุมผลิตภัณฑ์ / ธุรกรรมงานที่สาคัญของธนาคาร (Critical Products / Business
Functions) ที่อยู่ภายในอาคารสานักงานใหญ่ (อาคารคิวเฮ้าส์ อโศก) โดยหน่วยงานที่มีลักษณะการ
ดาเนิ นธุ รกรรมที่ใกล้ เ คี ยงกัน หรือหน่วยงานของธนาคารที่ตั้ง อยู่ภ ายนอกอาคารสานักงานใหญ่
สามารถนาไปปรับใช้เพื่อให้มั่นใจว่าเมื่อมีเหตุการณ์ร้ายแรงเกิดขึ้น ผลิตภัณฑ์ /ธุรกรรมงานที่สาคัญ
ของธนาคารจะต้องกลับมาดาเนินการได้ในระยะเวลาที่เหมาะสม
 BCP ฉบับนี้ ไม่ได้ออกแบบหรือมีไว้เพื่อรองรับการปฏิบัติงานในกรณีที่มีเหตุขัดข้องต่างๆ ที่เกิดขึ้นใน
การดาเนินธุรกิจปกติของธนาคาร เนื่องจากเหตุการ์ขัดข้องดังกล่าวควรถูกจัดการหรือปรับปรุงแก้ไข
ให้เหมาะสม โดยผู้บริหารของแต่ละหน่วยงาน รวมทั้งจัดให้มีการทบทวนและสอบทานขั้นตอนการ
ปฏิบัติงานอย่างสม่าเสมอ
 ศูนย์ปฏิบัติงานสารอง (Alternate Site) ของธนาคารไม่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ วิกฤติร้ายแรงที่
เกิดขึ้น รวมถึงระบบสาธารณูปโภคและระบบสื่อสารภายในกรุงเทพฯ ยังสามารถให้บริการได้
 กรณีหากระบบที่รองรับธุรกรรมงานขัดข้อง จะใช้ BCP ประกอบกับ DRP ( Disaster Recovery Plan)
ที่ฝ่ายเทคนิคสนับสนุนสารสนเทศของธนาคารรับผิดชอบดูแลในการจัดทาขึ้น

2
1.3 วัตถุประสงค์ (Objectives)

 เพื่อให้มั่ นใจว่าในกรณี ที่มี เ หตุการณ์ร้ายแรงหรือภาวะวิกฤติที่ทาให้การปฏิบัติง านตามปกติต้อง


หยุดชะงัก ผลิตภัณฑ์ / ธุรกรรมงานที่สาคัญของธนาคารจะสามารถฟื้นฟูได้ในระยะเวลาที่กาหนด
 เพื่อให้ธนาคารมีการเตรียมพร้อมล่วงหน้า ในการรับมือกับเหตุการณ์ความเสียหายต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น
และไม่สามารถคาดการณ์ได้
 เพื่อควบคุมและบรรเทาความเสียหาย รวมไปถึงลดผลกระทบต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นแก่ธนาคารให้เหลือ
น้อยที่สุด เช่น การสูญ เสียบุคลากรและทรัพย์สิน ผลกระทบทางการเงิน กฎหมาย ชื่อเสียง และการ
สูญเสียส่วนแบ่งทางการตลาด เป็นต้น
 เพื่อให้ผู้ถือหุ้น ลูกค้า พนักงาน และผู้ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ (Stakeholders) มีความเชื่อมั่นในเสถียรภาพ
ของธนาคาร แม้ต้องเผชิญกับเหตุการณ์ร้ายแรงที่ทาให้การปฏิบัติงานตามปกติต้องหยุดชะงัก

3
เอกสารแนบ 1

1.4 การประเมินความเสี่ยงของภาวะวิกฤติหรือเหตุการณ์ความเสียหาย (Risk Assessment)

ลาดับ ภาวะวิกฤติ / การประเมินความเสี่ยง ผลกระทบที่เกิดขึน้ (Consequences)


เหตุการณ์ความเสียหาย โอกาส ผลกระทบ การไม่สามารถเข้าถึง อาคารสถานที่ ระบบเทคโนโลยี สูญเสียผู้บริหาร เสียชื่อเสียง/ลูกค้าขาด
(Event) อาคารสถานที่หรือสิ่ง เสียหาย สารสนเทศไม่ และบุคลากรที่ ความเชือ่ มั่นและเลิกใช้
อานวยความสะดวกใน สามารถรองรับการ สาคัญ บริการ
เขตพื้นที่ ทางานได้
1 เศรษฐกิจ/กายภาพ
การประท้วงของพนักงาน L H X X X X
การชุมนุมทางการเมือง L H X X X X
2 ภัยธรรมชาติ
อุทกภัย L H X X X
อัคคีภัย L H X X X
วาตภัย L H X X X
สึนามิ L H X X X
โรคระบาดร้ายแรง L H X X X
3 ภัยจากมนุษย์
ก่อการร้าย/วินาศกรรม L H X X X X
4 ระบบคอมพิวเตอร์
ศูนย์คอมพิวเตอร์เกิด L H X X

4
เอกสารแนบ 1

ลาดับ ภาวะวิกฤติ / การประเมินความเสี่ยง ผลกระทบที่เกิดขึน้ (Consequences)


เหตุการณ์ความเสียหาย โอกาส ผลกระทบ การไม่สามารถเข้าถึง อาคารสถานที่ ระบบเทคโนโลยี สูญเสียผู้บริหาร เสียชื่อเสียง/ลูกค้าขาด
(Event) อาคารสถานที่หรือสิ่ง เสียหาย สารสนเทศไม่ และบุคลากรที่ ความเชือ่ มั่นและเลิกใช้
อานวยความสะดวกใน สามารถรองรับการ สาคัญ บริการ
เขตพื้นที่ ทางานได้
Disaster
ข้อมูลถูกโจรกรรม L H X X
ระบบ Network ล่ม L H X X
5 ชื่อเสียง
ถูกฟ้องร้องดาเนินคดีที่ L H X X
ร้ายแรง
ข่าวลือในทางเสียหายแก่ L H X X
องค์กร

หมายเหตุ : ระดับโอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์
H มีโอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ สูง บ่อยครั้ง หรือค่อนข้างแน่นอน
L มีโอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ ต่า นานๆ ครั้ง หรือไม่สามารถคาดการณ์ได้

ระดับผลกระทบที่ได้รับ
H เสียหายมากจนต้องปิดกิจการชั่วคราว (ระยะเวลาหยุดดาเนินงานมากกว่า 1 วัน)
L เสียหาย แต่สามารถควบคุมสถานการณ์ได้ (ระยะเวลาหยุดดาเนินงานไม่เกิน 1 วัน)

5
1.5 การประเมินผลกระทบทางธุรกิจ (Business Impact analysis : BIA)
ธุรกรรมงาน ผลกระทบทางธุรกิจ ผลรวม
ผลกระทบที่ ผลกระทบต่อ ผลกระทบต่อ ผลกระทบ (20)
เป็นตัวเงิน ลูกค้า ชื่อเสียงและ ทาง
ความ กฎหมาย
น่าเชื่อถือ
1 ธุรกรรมงานปฏิบัตกิ ารชาระเงิน 5 5 5 5 20
2 ธุรกรรมการบริหารเงิน 4 4 4 5 17
3 ธุรกรรมการอานวยสินเชื่อ / ปรับปรุงหนี้ 4 4 4 4 16
4 ธุรกรรมงานการให้บริการฝ่ายเคาน์เตอร์ 5 5 2 2 14
ธนาคาร และบริการสินเชื่อรายย่อย
5 ธุรกรรม Trade Finance 3 3 4 3 13
6 ธุรกรรมงานปริวรรตเงินตราต่างประเทศ 3 4 3 3 13

7 ธุรกรรมการบริหารจัดการเงินสด 4 4 4 2 14
8 ธุกรรมการปฏิบัตกิ ารสินเชื่อและเรียก 4 4 3 3 14
ข้อมูลเครดิตลูกค้า
9 ธุรกรรมการโอนเงินและงานด้าน 3 4 4 3 14
ปฏิบัติการ
10 ธุรกรรมการโอนเงินระหว่างประเทศ 2 4 4 3 13
11 ธุรกรรมงานปฏิบัตกิ ารเช็ค 2 4 3 3 12
12 ธุรกรรมงานปฏิบัตกิ ารระบบการให้บริการ 2 3 4 2 11
ทางอิเล็กทรอนิกส์และธุรกรรมงานบริหาร
เครือข่ายและปฏิบัติการ
13 ธุรกรรมงานปฏิบัตกิ ารนิตกิ รรมสัญญา 3 3 2 2 10
14 ธุรกรรมการรายงานข้อมูล 2 2 3 2 9
15 ธุรกรรมงานศูนย์ลูกค้าสัมพันธ์ 2 2 2 2 8

หมายเหตุ : รายละเอียดของระดับผลกระทบ พิจารณาได้จากภาคผนวก 1

6
1.6 โครงสร้างการกากับดูแล BCP และการบริหารจัดการในภาวะวิกฤติ
คณะกรรมการธนาคาร/
คณะกรรมการบริหาร
การกากับดูแลระดับองค์กร
ฝ่ายตรวจสอบภายใน
- กาหนดขอบเขตและแนวนโยบาย
- กาหนดกลยุทธ์และตัดสินใจในภาวะวิกฤติ
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
RMC จะทาหน้าที่เป็น CMC ช่วงภาวะวิกฤติ

การกากับดูแล สายงานกลยุทธ์ธนาคาร
- ติดตามดูแลให้ธุรกรรมงานที่สาคัญมี BCP ผู้บริหารสายงาน และบริหารความเสี่ยง โดย คณะทางานประเมินสถานการณ์ ฯ
รองรับ ฝ่ายบริหารความเสี่ยง
- บริหารจัดการตามขั้นตอนและกระบวนการตาม - ประสานงานและติดตามให้ธุรกรรม
BCP งานที่สาคัญของธนาคารมี BCP
- พิจารณาประเด็นต่างๆที่เกี่ยวข้อง Group BCP - ติดตามดูแล Update BCP ให้เป็นปัจจุบน

Coordinator
- รวบรวม BCP ของหน่วยงานต่างๆ

หน้าที่ ทีมปฏิบตั ิการรักษาความปลอดภัย


- จัดให้ธุรกรรมที่สาคัญมี BCP รองรับ Department Department Department ทีมปฏิบตั ิการทางการพทย์
- ทดสอบและทบทวน BCP ให้เป็นปัจจุบน
ั อยู่ / Business / Business / Business ทีมปฏิบตั ิการทัพยากรบุคคล
เสมอ unit unit unit ทีมปฏิบตั ิการสื่อสารและประชาสัมพันธ์
BCP BCP BCP ทีมปฏิบตั ิการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Coordinator Coordinator Coordinator ทีมปฏิบตั ิการเครือข่าย

7
หมายเหตุ : อาจมีการเปลี่ยนแปลงให้เป็นไปตามโครงสร้างขององค์กร
1.7 บทบาท และหน้าที่ ความรับผิดชอบในการกากับดูแลแผนบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ

 คณะกรรมการธนาคารและคณะกรรมการบริหาร
1. ให้ความเห็นชอบนโยบาย กลยุทธ์ และแผนงาน BCP ซึ่ งประกอบด้วยระยะเวลาหยุดชะงักการ
ให้บริการขั้นต่า และระยะเวลาเป้าหมายในการฟื้นฟู
2. มอบอานาจให้คณะบริหารจัดการภาวะวิกฤติ (Crisis Management Committee: CMC) ดาเนินการ
บริหารจัดการภาวะวิกฤติ และอนุมัติงบประมาณสาหรับนาไปใช้ในการแก้ไขปัญหาภาวะวิกฤติ
 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
1. กาหนดขอบเขตของแผนรองรับการดาเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผลิตภัณฑ์ / ธุรกรรมงานที่สาคัญ
ของธนาคารสามารถดาเนินการได้อย่างต่อเนื่อง
2. ทาหน้าที่เป็นคณะบริหารจัดการภาวะวิกฤติ (Crisis Management Committee: CMC) ในกรณีที่มิได้
มี การมอบหมายหรื อแต่ง ตั้ ง คณะบริห ารจั ด การภาวะวิ กฤติ เ ป็นการเฉพาะ โดยมี ห น้าที่ตั ดสินใจ
ประกาศภาวะวิกฤติ และประกาศใช้ BCP รวมไปถึงทาหน้าที่เป็นศูนย์กลางในการตัดสินใจเรื่องต่างๆ
จนกว่าภาวะวิ กฤติจ ะผ่ านพ้นไป ทั้งนี้ คณะบริหารจั ดการภาวะวิกฤติ อาจมอบหมายให้ กรรมการ
ผู้จัดการหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย มีอานาจสิทธิ์ขาดในการตัดสินใจแทนคณะบริหารจัดการภาวะวิกฤติ
ได้ในกรณีฉุกเฉิน
3. ให้ความเห็นชอบต่อผลการประเมินผลกระทบทางธุรกิจ (Business Impact Analysis : BIA) เพื่อ
กาหนดผลิตภัณฑ์/ธุรกรรมงานที่สาคัญของธนาคารและทางเลือกกลยุทธ์เพื่อใช้ลดความเสี่ยงที่สาคัญ
ต่างๆ
4. ติดตามดูแลอย่างสม่าเสมอว่าการดาเนินการตามแผนรองรับการดาเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง
(Business Continuity Plan : BCP) บรรลุวัตถุประสงค์
 ผู้บริหารสายงานและผู้บริหารกลุ่ม
1. ติดตามดูแลให้ผลิตภัณฑ์/ธุรกรรมงานที่สาคัญภายใต้สายงาน/กลุ่มงานมี BCP ที่มีประสิทธิผล โดย
ต้องทบทวนให้เป็นปัจจุบันและสอดคล้องกับเป้าหมายของ BCP ของธนาคาร
2. ผู้บริหารสายงานและผู้บริหารกลุ่มงาน เป็นผู้รับผิดชอบสูงสุดในการที่ให้บริการ/ผลิตภัณฑ์ในส่วนที่
ตนรับผิ ดชอบดาเนินการได้อย่างต่อเนื่องระหว่างเกิดภาวะวิกฤติ หรือเมื่ อมี เหตุการณ์ที่ทาให้การ
ดาเนินงานของธนาคารต้องหยุดชะงัก
3. แต่งตั้งผู้ประสานงาน BCP ของสายงาน (Group BCP Coordinator) เพื่อทาหน้าที่ประสานงาน
ตลอดจนถ่ายทอดความรู้ ข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวกับแผนรองรับการดาเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง

8
 ฝ่ายงานและหน่วยงานต่างๆ
1. พิจารณาและจัดให้ผลิตภัณฑ์/ธุรกรรมงานที่สาคัญภายใต้ฝ่ายงานและหน่วยงานของตนมี BCP และ
ทบทวนแผนให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ รวมไปถึงจัดให้มีการทดสอบ BCP ของผลิตภัณฑ์/ธุรกรรมงานที่
สาคัญนั้นๆ
2. ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและพนักงานในหน่วยงานให้รับรู้ขั้นตอนการปฏิบัติตาม BCP เพื่อให้
มั่นใจได้ว่า BCP ใช้งานได้จริง
3. รับผิดชอบว่า BCP ของหน่วยงานใช้ได้อย่างมีประสิทธิผล รวมไปถึงผลิตภัณฑ์ /ธุรกรรมงานที่สาคัญ
สามารถกลับมาดาเนินการต่อเนื่องได้ภายในระยะเวลาที่กาหนด
4. จัดให้มีผู้ประสานงาน BCP ของฝ่ายงานหรือหน่วยงาน (Business Unit BCP Coordinator) ทาหน้าที่
ประสานงานกับผู้ประสานงานของสายงาน (Group BCP Coordinator) รวมถึงให้ความรู้และข้อมูล
ต่างๆกับพนักงานในฝ่ายงานหรือหน่วยงานนั้นๆ
 สายงานกลยุทธ์ธนาคารและบริหารความเสี่ยง โดยฝ่ายบริหารความเสี่ยง
1. ประสานงานและติดตามให้ผลิตภัณฑ์ /ธุรกรรมงานที่สาคัญของธนาคารมี BCP รวมไปถึงรวบรวม
BCP ของหน่วยงานต่างๆ
2. ติดตามดูแลให้ BCP ของธนาคารมีการฝึกอบรม การทดสอบ ตลอดจนการทบทวนให้เป็นปัจจุบันอยู่
เสมอ
3. ติดตามดูแลการพัฒนา BCP การประยุกต์ใช้ การฝึกอบรม การทดสอบ การทบทวนแผน และรายงาน
ต่อผู้บริหารสายงานกลยุทธ์ธนาคารและบริหารความเสี่ยง และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
 ฝ่ายตรวจสอบภายใน
สอบทานแผนรองรับการดาเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ เพื่อให้แน่ใจว่าแผนดังกล่าว
สามารถปฏิบัติงานได้จริง และเป็นปัจจุบัน รวมไปถึงพิจารณาว่าแผนดังกล่าวสอดคล้องกับนโยบาย
และการดาเนินธุรกิจของธนาคาร
 ผู้ประสานงาน BCP ประจาหน่วยงาน (Business Unit BCP Coordinator)
1. แจ้งพนักงานในหน่วยงานตนเองตาม Call Tree ที่กาหนด หลังจากได้รับแจ้งจาก Group BCP
Coordinator ให้ใช้ BCP หรือมีการประกาศใช้ BCP
2. ประสานงานกับ Group BCP Coordinator และผู้ที่เกี่ยวข้องในการเรียกคืนธุรกรรมงานที่สาคั ญ
ภายใต้ความรับผิดชอบ
3. เรียกคืนการดาเนินงานของธุรกรรมงานที่สาคัญให้ได้ภายในระยะเวลาที่กาหนด
4. ดาเนินการตามขั้นตอนต่างๆที่ได้กาหนดไว้ใน BCP พร้อมบันทึกรายงานการบันทึกเหตุการณ์ (Event
Log Report) เพื่อรายงานต่อคณะบริหารจัดการภาวะวิกฤติ ( CMC)
5. ประสานงานกับทีมงานต่างๆตามที่ได้รับมอบหมาย

9
1.8 บทบาทหน้าที่ของทีมจัดการสถานการณ์ฉุกเฉิน

 คณะทางานประเมินสถานการณ์และความเสียหาย
ประกอบด้วยหัวหน้าทีมจัดการสถานการณ์ฉุกเฉินต่างๆ ทุกทีม ร่วมกับผู้อานวยการฝ่าย ฝ่ายบริหาร
ความเสี่ยง โดยหัวหน้าทีมปฏิบัติการและรักษาความปลอดภัยเป็นหัวหน้าคณะทาหน้าที่
1. ประเมินความรุนแรงของสถานการณ์ และรายงานต่อคณะบริหารจัดการภาวะวิกฤติ
2. เปิดสัญญาณเตือนภัย และแจ้งผ่านเครื่องกระจายเสียงให้พนักงานเตรียมการอพยพ ออกจาก
อาคาร
3. ประสานงานกับ Group BCP Coordinator และ Business Unit BCP Coordinator ให้ปฏิบัติ
ตามขั้นตอนของ BCP
4. แจ้ ง และประสานงานกั บ หน่ ว ยงานภายนอก เช่ น เจ้ า หน้ า ที่ ต ารวจดั บ เพลิ ง หรื อ บุ ค คลพที่
เกี่ยวข้องให้เข้าควบคุมสถานการณ์
5. รวบรวมผลการปฏิบัติงานของทุกทีม
6. ประเมินความเสียหายของอาคารสถานที่และอุปกรณ์ต่างๆ ในเบื้องต้น พร้อมทั้งรายงานยังคณะ
บริหารจัดการภาวะวิกฤติ
7. ประสานงานกับคณะบริหารจัดการภาวะวิกฤติจนกว่าเหตุการณ์จะกลับสู่ภาวะปกติ
8. บันทึกรายงานการบันทึกเหตุการณ์ (Event Log Report) เพื่อรายงานสถานการณ์และความ
คืบหน้าต่างๆต่อคณะบริหารจัดการภาวะวิกฤติ

 ทีมปฏิบัติการรักษาความปลอดภัยและระงับเหตุเบื้องต้น (Emergency&Security Team :ES)


ประกอบด้ วยตัว แทนจากฝ่ ายบริ หารงานกลางที่ ดูแ ลรั บผิ ดชอบเรื่อ งการบริ การและรั กษาความ
ปลอดภัย ร่วมกับฝ่ายอาคารสถานที่ของอาคารสานักงานที่เป็น ที่ตั้งของสานักงานใหญ่ของธนาคาร
ทาหน้าที่
1. ระงับเหตุเบื้องต้น เช่น ดับเพลิงในเบื้องต้น ก่อนหน่วยงานดับเพลิงเข้าช่วยเหลือ
2. ประสานงานสั่งการทางวิทยุ เพื่อรักษาความปลอดภัย อพยพ เคลื่อนย้าย และกู้ภัย
3. ประสานงานควบคุมระบบไฟฟ้า และระบบประปาของอาคารที่เกิดเหตุ
4. เตรียมแผนผังอาคารให้เจ้าหน้าที่ดับเพลิงเมื่อมาถึง เพื่อจะได้วางแผนการดับเพลิงอย่างรวดเร็ว
5. ตรวจตราไม่ให้บุคคลภายนอกเข้าไปในสถานที่เสี่ยงภัยและดูแลทรัพย์สินของธนาคารขณะเกิด
เหตุ
6. ตรวจวัตถุต้องสงสัยเพื่อป้องกันการก่อวินาศภัยในบริเวณอาคารสานักงาน
7. รายงานคณะทางานประเมินสถานการณ์และความเสียหาย เมื่อเกิดอัคคีภัยนอกเวลาทาการ
8. ควบคุม จัดการจราจร และระบายรถยนต์ออกจากอาคารและบริเวณลานจอดรถ
10
9. ประสานงานกับผู้นาการอพยพประจาหน่วยงาน (Contract Person) ของแต่ละชั้นในการอพยพ
พนักงาน
10. ช่วยเหลือเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บ และนาผู้ที่ติดอยู่ในอาคารออกจากบริเวณที่เกิดเหตุ
11. ตรวจสอบพนักงานในแต่ล ะชั้ นว่าอพยพออกจากอาคารได้ครบถ้วน และค้นหาผู้ที่ติดค้างใน
อาคาร
12. อานวยความสะดวกให้กับเจ้าหน้าที่ตารวจดับเพลิงในเรื่องระบบต่างๆภายในอาคาร
13. ประสานงานกับผู้ให้เช่าอาคาร เพื่อติดต่อการไฟฟ้านครหลวงเขตพื้นที่ที่อาคารสานักงานใหญ่
ตั้งอยู่ ให้ดาเนินการตัดกระแสไฟฟ้า
14. รื้อถอน ทาลายสิ่งกีดขวาง เพื่อช่วยเหลือพนักงานที่ติดค้างภายในอาคาร
15. จัดเตรียมเครื่องช่วยชีวิ ต เช่น เครื่องตัดเหล็ ก ค้อนปอนด์ เชือก ถังออกซิเจน หน้ากากกันควัน
ถุงพลาสติกดา เพื่อใช้คลุมศรีษะกันควันพิษในการอพยพพนักงาน
16. ดาเนินงานจัดตั้งกองอานวยการ เพื่อประสานงานกับคณะบริหารจัดการภาวะวิกฤติ
17. จัดเตรียมเอกสารข้อมูล บัญชีรายชื่อ และเลขหมายโทรศัพท์ภายในและภายนอก
18. รวบรวมกาลังคนและอุปกรณ์ไว้สนับสนุนทีมงานต่างๆตามคาร้องขอ
19. ประสานงานกับทีมจัดการสถานการณ์ฉุกเฉินต่างๆ เพื่ออานวยความสะดวกด้านอาคารสถานที่
และอุปกรณ์ส่วนควบอาคารต่างๆ
20. ประเมินความเสียหายของทรัพย์สินเมื่อเหตุการณ์เริ่มสงบ หรือเข้าสูภาวะปกติ
21. เตรียมการฟื้นฟูอาคารและอุปกรณ์ต่างๆ ให้สามารถกลับมาดาเนินงานได้ตามปกติ
22. บันทึกรายงานการบันทึกเหตุการณ์ (Event Log Report) เพื่อรายงานสถานการณ์และความ
คืบหน้าต่างๆให้กับคณะทางานประเมินสถานการณ์และความเสียหาย
23. ประสานงานหน้าที่อื่นๆ ตามคาร้องขอ

 ทีมปฏิบัติการทางการแพทย์ (Medical Team : MT)


ประกอบด้วยตัวแทนฝ่ายบริหารทรัพยากรบุคคล ประสานงานกับสถานพยาบาล เพื่อทาหน้าที่
1. จัดตั้งหน่วยปฐมพยาบาลฉุกเฉิน ณ จุดรวมพล
2. เตรียมลาเลียงอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่จาเป็นไปยังหน่วยปฐมพยาบาลฉุกเฉินภายนอกอาคาร
3. ปฐมพยาบาลผู้บาดเจ็บเบื้องต้น และเคลื่อนย้ายคนเจ็บไปยังที่ปลอดภัย หรือส่งไปโรงพยาบาล
4. ประสานงานกับโรงพยาบาลใกล้เคียง เพื่อรองรับผู้บาดเจ็บ รวมถึงการแจ้งขอความช่วยเหลือ
เพิ่มเติมจากกระทรวงสาธารณสุข หรือหน่วยงานของทางการที่เกี่ยวข้อง
5. บันทึกรายงานการบันทึกเหตุการณ์ (Event Log Report) เพื่อรายงานสถานการณ์และความ
คืบหน้าต่างๆ ต่อคณะทางานประเมินสถานการณ์และความเสียหาย

11
 ทีมปฏิบัติการทรัพยากรบุคคล (Human Resource Team : HR)
ประกอบด้วยตัวแทนฝ่ายบริหารทรัพยากรบุคคล ประสานงานกับฝ่ายงานต่างๆ ภายในธนาคาร และ
หน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง เพื่อทาหน้าที่
1. ตรวจเช็ความครบถ้วนของจานวนพนักงานในช่วงขณะ ก่อนเกิดเหตุการณ์ ในขณะเกิดเหตุการณ์
และภายหลังเหตุการณ์สงบ โดยประสานงานกับฝ่ายงานต่างๆ ตรวจเช็คจานวนพนักงานในฝ่าย
งานด้วยวิธีการ Call Tree หรือวิธีอื่นที่ได้ผล และบันทึกลงในรายงาน Checklist รายชื่อพนักงาน
ในหน่วยงาน
2. สรุปรวบรวมจานวนพนักงานแยกประเภท ผู้บาดเจ็บ สูญหาย ผู้ได้รับความเสียหาย เพื่อให้การ
ช่วยเหลือ
3. ดูแลสวัสดิการ และผลตอบแทนของพนักงานให้ได้รับความครบถ้วน
4. ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง เช่น ธปท.หรือหน่วยงานกากับดูแล เพื่อ
รายงานสถานการณ์ ขอความช่วยเหลือในส่วนที่เกี่ยวข้อง
5. บันทึกรายงานการบันทึกเหตุการณ์ (Event Log Report) เพื่อรายงานสถานการณ์และความ
คืบหน้าต่างๆ ให้กับคณะทางานประเมินสถานการณ์และความเสียหาย
 ทีมปฏิบัติการประชาสัมพันธ์ (Public Relation Team : PR)
ประกอบด้วยตัวแทนจากฝ่ายประชาสัมพันธ์และสื่อสารองค์กร ทาหน้าที่
1. บันทึกภาพและเก็บข้อมูล
2. ประสานงานกับทีมปฏิบัติ การอื่นๆเพื่อทราบสถานการณ์และใช้เป็นข้อมูลในการรายงานและ
ประชาสัมพันธ์
3. ประชาสัมพันธ์สถานการณ์ไปยังภายนอกธนาคาร เช่น ลูกค้า คู่ค้าของธนาคาร และสื่อมวลชน
4. ติดตาม แจ้งข่าวสาร และความคืบหน้าของสถานการณ์ต่างๆ แก่พนักงาน
5. ประสานงานกับ ธปท. หรือหน่วยงานกากับดูแล ในการขอความช่วยหลือและรายงานสถานการณ์
6. บันทึกรายงานการบันทึกเหตุการณ์ (Event Log Report) เพื่อรายงานสถานการณ์และความ
คืบหน้าต่างๆ ให้กับคณะทางานประเมินสถานการณ์และความเสียหาย

 ทีมปฏิบัติการเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information System &Technology Team : IT)


ประกอบด้วยตัวแทนจากฝ่ายเทคนิคสนับสนุนสารสนเทศ ทาหน้าที่
1. จัดเตรียมช่องทางการติดต่อสื่อสารทั้งระหว่างพนักงานกับพนักงาน หรือระหว่างพนักงานกับ
ลูกค้า
2. จัดเตรียมช่องทางการติดต่อสื่อสารในกรณีที่พนักงานในบางหน่วยงานต้องปฏิบัติงานภายนอก
อาคารสานักงาน หรือศูนย์ปฏิบัติการสารอง

12
3. จัดเตรียมสารอง Software และอุปกรณ์ที่ใช้ในการปฏิบัติงานของระบบงานต่างๆ เพื่อสนับสนุน
ในกรณีที่พนักงานที่ดูแลธุรกรรมงานที่สาคัญไปปฏิบัติงานสารอง
4. พิจารณาถึงลาดับความสาคัญของระบบงาน เพื่อเปิด-ปิดการใช้ระบบงานบางระบบ หรืองดเว้น
การใช้ระบบงานดังกล่าวในบางหน่วยงาน เพื่อหลีกเลี่ยงการไม่สามารถให้บริการได้ของบาง
ระบบงาน (Service Unavailability) โดยให้ความสาคัญกับระบบงานที่รองรับธุรกรรมงานที่
สาคัญก่อน
5. จัดเตรียมและบริหารจัดการบุคลากรด้าน IT ให้เพียงพอรองรับต่อการใช้บริการทางด้าน IT ที่เพิ่ม
สูงขึ้น
6. บันทึกรายงานการบันทึกเหตุการณ์ (Event Log Report) เพื่อรายงานสถานการณ์และความ
คืบหน้าต่างๆ ให้กับคณะทางานประเมินสถานการณ์และความเสียหาย
 ทีมปฏิบัติการเครือข่าย (Network Team: NT)
ประกอบด้วยตัวแทนจากสายงานเครือข่ายสาขาและผู้บริหารสายงานเครือข่ายสาขา ทาหน้าที่
1. ติดต่อและประสานงานกับหน่วยงานในสายงานเครือข่ายสาขา เพื่อแจ้งให้ทราบสถานการณ์และ
การติดต่อกับหน่วยงานที่ย้ายไปปฏิบัติงาน ณ ศูนย์ปฏิบัติงานสารอง
2. ให้การสนับสนุนหน่วยงานที่ย้ายไปปฏิบัติงาน ณ ศูน ย์ปฏิบัติงานสารอง ในการดาเนินธุรกรรม
งานที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรมงานของสายงานเครือข่าย
3. บันทึกรายงานการบันทึกเหตุการณ์ (Event Log Report) เพื่อรายงานสถานการณ์และความ
คืบหน้าต่างๆ ให้กับคณะทางานประเมินสถานการณ์และความเสียหาย

1.9 ศูนย์สั่งการภาวะวิกฤติ
กาหนดศูนย์สั่งการภาวะวิกฤติไว้ทั้งหมด 3 แห่ง คือ

แห่งที่ 1 ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย สาขา xxxxxxxxxxxxxxx

แห่งที่ 2 ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย สาขา xxxxxxxxxxxxxxx

แห่งที่ 3 ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย สาขา xxxxxxxxxxxxxxx

เมื่อมีเหตุการณ์ฉุกเฉิน หรือ ภาวะวิกฤติเกิดขึ้นกับอาคารที่ตั้งสานักงานใหญ่ จะใช้บริเวณอาคาร


สาขาคลองตัน เป็นศูนย์สั่งการภาวะวิกฤติ แต่หากกรณีที่ไม่สามารถใช้งานได้ จะใช้อาคารสาขาถนนศรี
นคริ น ทร์ และ อาคารสาขาทุ่ ง ครุ เป็ น ศู น ย์ สั่ ง การภาวะวิ ก ฤติ แ ทนตามล าดั บ หรื อ ตามที่ ค ณะ
กรรมการบริหารจัดการภาวะวิกฤติคัดเลือกสถานที่ที่ปลอดภัยนอกเหนือจากศูนย์สั่งการทั้ง 3 แห่งได้ตาม
ความเหมาะสม

13
1.10 ศูนย์ปฏิบัติงานสารอง
ธนาคารมีศูนย์ปฏิบัติงานสารอง รองรับธุรกรรมงานที่สาคัญต่างๆ 3 แห่ง ดังนี้

แห่งที่ 1 ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย ศูนย์ฝึกอบรม xxxxxxxxxxxxxxx

แห่งที่ 2 ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย สาขา xxxxxxxxxxxxxxx

แห่งที่ 3 ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย สาขา xxxxxxxxxxxxxxx

14
ส่วนที่ 2 แผนรองรับขณะเกิดภาวะวิกฤติหรือเหตุการณ์ฉุกเฉิน

2.1 ภาพรวมแผนบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ

แผนรองรับขณะเกิดภาวะวิกฤติ
(Emergency Plan)
Crisis

แผนฟื้นฟูหลังเกิด
ภาวะวิกฤติ
(Recovery Plan)

ทีมจัดการสถานการณ์ฉุกเฉิน
อาคารคิวเฮ้าส์อโศก

ย้ายกลับมา
ปฏิบัติงาน
อพยพ
ตามปกติเมื่อ
ฟื้นฟูความ
เสียหายเรียบร้อย

CMC พิจารณาสถานการณ์ฉุกเฉิน จุดรวมพล

หากความเสียหายรุนแรงมาก พิจารณาย้ายไป
ปฏิบัติงาน ณ ศูนย์ปฏิบัติงานสารอง

แผนรองรับการดาเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องสาหรับธุรกิจสาคัญ
(Business Continuity Plan)

ศูนย์ปฏิบัติงานสารอง
อาคาร 15
2.1.1 แผนรองรับขณะเกิดภาวะวิกฤติหรือเหตุการณ์ฉุกเฉิน (Emergency Plan)
คือ แนวทางปฏิบัติในการดาเนินการเมื่อเกิดเหตุการณ์วิกฤติร้ายแรง เพื่อให้สามารถระงับเหตุได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ โดยเป็นแผนระดับองค์กร ซึ่งเป็นแนวทางปฏิบัติสาหรับพนักงานทั้วทั้งองค์ธนาคารให้ปฏิบัติไป
ในแนวทางเดียวกัน
2.1.2 แผนรองรับการดาเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องสาหรับธุรกรรมงานที่สาคัญ
คือ แนวทางปฏิบัติในการปฏิบัติงานขณะเกิดวิกฤติ เพื่อให้ธุรกรรมงานที่สาคัญของธนาคารสามารถ
ดาเนินการได้อย่างต่อเนื่องไม่เกิดการหยุดชะงัก หรือหากเกิดการหยุดชะงักก็สามารถกลับมาดาเนินการได้ใน
เวลาที่เหมาะสม โดยเป็นแผนระดับหน่วยธุรกิจที่รับผิดชอบดูแลธุรกรรมงานนั้นๆ
2.1.3 แผนฟื้นฟูหลังเกิดภาวะวิกฤติ (Recovery Plan)
คือแนวทางปฏิบัติในการฟื้นฟูความเสียหาย หลังเหตุการณ์วิกฤติร้ายแรงสงบหรือระงับเหตุการณ์ได้
แล้ว เพื่อให้ธนาคารกลับเข้าสู่ภาวะปกติ
2.1.4 สรุปหน้าที่การดาเนินการของทีมจัดการสถานการณ์ฉุกเฉิน

Emergency Team Emergency Plan Business Recovery Plan


Continuity Plan
ทีมปฏิบัตกิ ารรักษาความปลอดภัยและระงับเหตุ   
เบื้องต้น
ทีมปฏิบัตกิ ารทางการแพทย์  
ทีมปฏิบัตกิ ารทรัพยากรบุคคล   
ทีมปฏิบัตกิ ารสื่อสารและประชาสัมพันธ์   
ทีมปฏิบัตกิ ารเทคโนโลยีสารสนเทศ   
ทีมปฏิบัตกิ ารเครือข่าย   

2.1.5 กิจกรรมหลักในแต่ละแผน
แผนรองรับขณะเกิดภาวะวิกฤติหรือสถานการณ์ฉุกเฉิน (Emergency Plan)

1) การแจ้งเหตุและการประกาศใช้แผน
2) การอพยพ
3) การดาเนินการ ณ จุดรวมพล
4) การสื่อสารและการประชาสัมพันธ์ในภาวะวิกฤติ

16
แผนรองรับการดาเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องสาหรับธุรกรรมงานที่สาคัญ

1) การประกาศใช้แผน
2) การติดต่อสื่อสาร
3) การเดินทางไปศูนย์ปฏิบัติงานสารอง
4) การเรียกคืนการดาเนินธุรกรรมงานที่สาคัญ

แผนฟื้นฟูหลังเกิดภาวะวิกฤติ (Recovery Plan)

1) การดูแลความปลอดภัยของทรัพย์สิน
2) การฟื้นฟูอาคารสถานที่และอุปกรณ์สานักงาน
3) การฟื้นฟูระบบงาน IT
4) การฟื้นฟูทรัพยากรบุคคล
5) การสื่อสารและประชาสัมพันธ์

17
2.2 แผนรองรับขณะเกิดภาวะวิกฤติหรือเหตุการณ์ฉุกเฉิน (แผนหลัก)
กรณีเกิดเหตุในเวลาทาการ
2.2.1 การแจ้งเหตุประกาศใช้แผน

ผู้พบเห็นเหตุการณ์
พนักงาน - เข้าระงับเหตุเบื้องต้น
- แจ้งคณะทางาน

- ทีม รป. และระงับเหตุเบื้องต้นเข้า


ทีมจัดการ
ช่วยเหลือควบคุมเหตุการณ์
สถานการณ์
– ทีมอื่นเตรียมพร้อมปฏิบัติการ
ฉุกเฉิน

- แจ้งทีม รป. เข้าระงับเหตุเบื้อต้น


หากสถานการณ์
- แจ้งทีมจัดการสถานการณ์
ประเมินสถานการณ์ ไม่สามารถควบคุม
คณะทางาน ฉุกเฉินและแจ้งประกาศต่อ รายงานต่อ CMC ได้
ประเมิน พนักงาน - ประการใช้แผน
สถานการณ์ - รายงานสถานการณ์ต่อ CMC BCP
- แจ้งคระทางาน - ประกาศอพยพ
ทุกคนออกจาก
หากสามารถควบคุมสถานการณ์ได้ ควบคุม อาคารและขอ
ควบคุม
สถานการณ์ได้ ความช่วยเหลือ
CMC - สั่งการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สถานการณ์ไม่ได้
จากหน่วยงาน
ประเมินความเสียหายเพื่อฟื้นฟู พิจารณาสถานการณ์ ภายนอก
- หน่วยงานที่ไม่ได้รับความเสียหาย
2.1.2 การรอพยพ
กลับเข้าปฏิบัติงานตามปกติ

18
ตารางรายละเอียดขั้นตอนการแจ้งและการประกาศใช้แผน
รายละเอียด ผู้รับผิดชอบ
1. พนักงานผู้พบเห็นเหตุการณ์เข้าระงับเหตุเบื้องต้น พนักงาน
2. แจ้งคณะทางานประเมินสถานการณ์
3. ทีมปฏิบัติการรักษาความปลอดภัยเข้าระงับเหตุการณ์และควบคุมสถานการณ์พร้อมทั้ง ทีมปฏิบัติการรักษา
รายงานสถานการณ์ต่อคณะทางานประเมินสถานการณ์ฯ ความปลอดภัย
4. คณะทางานประเมินสถานการณ์และความเสียหายประกาศแจ้งฉุกเฉินครั้งที่ 1 คณะทางานประเมิน
ประกาศแจ้งฉุกเฉินครั้งที่ 1 (ประกาศเมื่อเกิดเหตุ................) สถานการณ์
“เนื่องจากขณะนี้ได้เกิดหตุ.............ที่บริเวณ..............ฝ่ายบริการและรักษาความ
ปลอดภัยขอให้พนักงานทุกท่านอยู่ในความสงบและรอฟังประกาศที่จะแจ้งให้ทราบต่อไป”
5. เมื่อได้ยินประกาศครั้งที่ 1 ให้ผู้นาการอพยพประจาหน่วยงานและผู้ช่วยผู้นาการอพยพ ผู้นาอพยพประจา
ตรวจเช็คจานวนพนักงานในหน่วยงานเพื่อเตรียมความพร้อม โดยมีสีต่างๆเป็นสัญลักษณ์ หน่วยงานและ
ประจาหน่วยงานในการนาการอพยพยและรอฟังประกาศต่อไป พนักงานทุกคน
6. ประเมินสถานการณ์รายงานต่อคณะบริหารจัดการภาวะวิกฤติ (Crisis Management คณะทางานประเมิน
Committee : CMC) สถานการณ์
7. พิจารณาสถานการณ์ คณะบริหารจัดการ
กรณีควบคุมสถานการณ์ได้ ภาวะวิกฤติ (CMC)
- สั่งการให้หน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้องประเมินความเสียหายและดาเนินการฟื้นฟู และคณะทางาน
- การประกาศแจ้งหากสามารถควบคุมสถานการณ์ได้ ประเมินสถานการณ์ฯ
“ขณะนี้เจ้าหน้าที่สามารถควบคุมสถานการณ์........ที่......ได้แล้วอาคารได้รับความ
เสียหายเพียงเล็กน้อยจึงขอให้พนักงานทุกท่านกลับเข้าทางานได้ตามปกติ”
กรณีควบคุมสถานการณ์ไม่ได้
- ประกาศใช้แผนสารองขณะเกิดภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ฉุกเฉิน พร้อมอพยพออก
จากอาคาร (ตามข้อ 2.1.2) และแจ้งขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานบรรเทา
สาธารณภัย

19
2.2.2 การอพยพ

- ประกาศอพยพ
คณะทางานประเมิน - แจ้งขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานภายนอก
สถานการณ์ – ติดตามสถานการณ์รายงาน CMC

ปฏิบัติตามหน้าที่ของแต่ละทีมเพื่อ
รองรับสถานการณ์ฉุกเฉิน และ
ทีมจัดการสถานการณ์
ช่วยเหลือการอพยพ
ฉุกเฉิน

ผู้นาการอพยพประจาหน่วยงานนา
2.1.3 การดาเนินการ
พนักงานอพยพออกจากอาคารทาง
พนักงาน ณ จุดรวมพล
บันไดหนีไฟไปรวมตัวกัน ณ จุดรวมพล

หน่วยงานบรรเทาสาธารณภัยเข้า
หน่วยงานบรรเทา
ช่วยเหลือ เช่น ดับเพลิง โรงพยาบาล
สาธารณภัย
และหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง

20
ตารางรายละเอียดขั้นตอนการอพยพ

รายละเอียด ผู้รับผิดชอบ
1. เมื่ อคณะบริ ห ารจั ดการภาวะวิ ก ฤติ (Crisis Management คณะทางานประเมิน
Committee : CMC) ตัดสินใจประกาศใช้แผนรองรับขณะเกิดภาวะ สถานการณ์ฯ (โดยทีม
วิกฤติหรือเหตุการณ์ฉุกเฉิน ทีมประเมินสถานการณ์และความเสียหาย ปฏิบัติการรักษาความ
จะประกาศอพยพโดย ปลอดภัย)
- ประกาศเตือนภัยทางเครื่องกระจายเสียงให้อพยพ
- เปิ ดสั ญ ญาณเตื อนภั ย ให้ พ นั ก งานและผู้ อยู่ ภ ายในอาคาร
อพยพออกจากอาคาร
- ประสานงานกับทีมรองรับสถานการณ์ฉุกเฉินทุกทีมให้ปฏิบัติ
หน้าที่
ประกาศแจ้งเหตุฉุกเฉิน ครั้งที่ 2
“ ขณะนี้ ไ ด้ เ กิ ด เหตุ . ............ที่ . ............ โดยยั ง ไม่ ส ามารถควบคุ ม
สถานการณ์ได้จึงขอให้พนักงานทุกท่านอพยพออกจากอาคาร โดยปฏิบัติ
ตามคาแนะนาของผู้นาการอพยพประจาหน่วยงานอย่างเคร่งครัดและ
ห้ามใช้ลิฟต์โดยเด็ดขาด”
2. ผู้ น าการอพยพประจ าหน่ ว ยงานตรวจเช็ ค พื้ น ที่ ส านั ก งานไม่ ใ ห้ ผู้นาการอพยพประจา
พนักงานติดค้างอยู่ในชั้นนั้นๆ และนาพนักงานในหน่วยงานอพยพไป หน่วยงาน
ทางบันไดหนีไฟเพื่อออกจากตัวอาคาร
3. หากมีผู้บ าดเจ็บหรือผู้ที่มีโ รคประจ าตัว เช่ น โรคความดัน โรคหัวใจ
หรือหญิงตั้งครรภ์ ให้พนักงานในหน่วยงานที่ผ่านการอบรมเป็นผู้ดูแล
และนาพาอพยพ
4. ให้ พ นั ก งานในหน่ ว ยงานทั้ ง หมดอพยพยออกจากอาคารโดยใช้ พนักงานทุกคน
ทางออกฉุกเฉินหรือบันไดหนีไฟ ไปรวมกันที่จุดรวมพลเพื่อตรวจสอบ
จานวน และห้ามใช้ลิฟต์โดยเด็ดขาด

21
2.2.3 การดาเนินการ ณ จุดรวมพล

พนักงาน
- เช็คยอดพนักงานในหน่วยงาน
- ติดต่อพนักงานที่ยังไม่ครบ
- แจ้งยอดต่อกองอานวยการ BCP สาหรับ
- รอฟังคาสั่ง ธุรกรรมที่สาคัญ
จุดรวมพล

ทีมจัดการ
สถานการณ์ - จัดตั้งกองอานวยการ
ฉุกเฉิน – ปฐมพยาบาลผู้บาดเจ็บ
– ประสานงานกับหน่วยงานภายนอก ควบคุม
สถานการณ์
- ติดตามค้นหาพนักงานทีย่ ังติดค้างในอาคาร

คณะทางาน
ประเมิน
-ติดตามสถานการณ์
สถานการณ์ฯ
–ประเมินสถานการณ์และรายงาน
ต่อ CMC

CMC
-สั่งการให้หน่วยงานที่ ความเสียหายไม่ ความเสียหายรุนแรง
เกี่ยวข้องประเมินความ รุนแรง
เสียหายเพื่อฟื้นฟู -ประกาศใช้ BCP สาหรับ

-หน่วยงานที่ไม่ได้รับความ ธุรกรรมงานที่สาคัญ
พิจารณาสถานการณ์
-CMC ย้ายไปศูนย์สั่งการ
เสียหายกลับเข้า
ภาวะวิกฤติ
ปฏิบัติงานตามปกติ

22
รายละเอียด ผู้รับผิดชอบ
เมื่ออพยพมารวมกัน ณ จุดรวมพล ผู้นาการอพยพ
1. หัวหน้าผู้นาการอพยพประจาหน่วยงานตรวจเช็คจานวนพนักงานอีกครั้งว่า ประจาหน่วยงาน
ครบตามจานวนและไม่มีผู้ใดติดค้างอยู่ภายอาคาร และพนักงานทุกคน
2. ส่งจานวนพนักงานพร้อมรายชื่อให้กองอานวยการทราบ หากไม่ครบตาม
จานวนต้องรีบแจ้งให้กองอานวยการทราบทันที เพื่อจะได้ช่วยเหลือผู้ติดค้าง
ออกจากอาคาร
3. จัดตั้งกองอานวยการเพื่อเป็นศูนย์กลางในการช่วยเหลือการอพยพ ทีมจัดการ
-ตรวจสอบยอดรวมและแจ้งหน่วยงานบรรเทาสาธารภัยช่วยเหลือผู้ที่ติดค้าง สถานการณ์ฉุกเฉิน
-ปฐมพยาบาลผู้ ไ ด้ รั บ บาดเจ็ บ และประสานงานโรงพยาบาลเพื่ อ ขอ
รถพยาบาล
4. คณะทางานประเมินสถานการณ์ติดตามสถานการณ์และรายงานต่อคณะ คณะทางานประเมิน
บริหารจัดการภาวะวิกฤติ (Crisis Management Committee : CMC) สถานการณ์ฯ
5. คณะบริหารจัดการภาวะวิกฤติ (Crisis Management Committee : CMC) คณะบริหารจัดการ
พิจารณาสถานการณ์ ภาวะวิกฤติ (CMC)
-หากความเสียหายไม่รุนแรงหรือเสียหายเพียงบางส่วน ไม่กระทบโครงสร้าง
อาคารและสามารถเข้าออกอาคารได้ สั่งการให้ควนคุมสถานการณ์ให้กลับสู่
ภาวะปกติโดยเร็ว
-หากความเสียหายรุนแรงมาก หรือทาให้ไม่สามารถเข้าออกปฏิบัติงานได้
พิจารณาประกาศใช้แผนรองรับการดาเนินดาเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องสาหรับ
ธุรกรรมสาคัญ
6. ปฏิบัติตามแผนรองรับการดาเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องสาหรับธุรกรรมงานที่ พนักงานทุกคน
สาคัญโดยพนักงานที่ทาหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรมงานที่สาคัญเดินทางไป
ปฏิบัติงาน ณ ศูนย์ปฏิบัติงานสารอง พนักงานส่วนที่เหลือให้รวมกันที่จุด
รวมพล เพื่ อ รอสั่ ง การจากคณะบริ ห ารจั ด การภาวะวิ ก ฤติ หรื อ หั ว หน้ า
หน่วยงานต่อไป

23
2.2.4 การสื่อสารและประชาสัมพันธ์ในภาวะวิกฤติ

1
เมื่อคณะทางานประเมินสถานการณ์ประกาศใช้
BCP ทีมปฏิบัติการสื่อสารและประชาสัมพันธ์
เตรียมพร้อมตามหน้าที่ของตนเอง

2 3 4
1
ประสานงานกับคณะทางานประเมิน ประชาสัมพันธ์สถานการณ์ไปยัง
บันทึกภาพและเก็บข้อมูล สถานการณ์และทีมงานต่างๆเพือ่ หน่วยงานภายในและภายนอก
ทราบและรายงานความคืบหน้า ธนาคาร

4.1 4.2
..1 2
วิธีการประชาสัมพันธ์ภายใน วิธีการประชาสัมพันธ์ภายนอก
- ผ่านเครื่องกระจายเสียง - จัดแถงข่าว
- ส่งข้อความไปยังมือถือ - ส่งหนังสือชี้แจง
- โทรสารแจ้งไปยังสาขาทัว่ ประเทศ - ประชาสัมพันธ์ใน website
- ส่งข้อความผ่าน e-mail - แจ้งสาขาช่วยประชาสัมพันธ์
- ประกาศใน Intranet - ชี้แจงผ่านสื่อต่างๆ อย่างต่อเนื่อง

1) เมื่อคณะทางานประเมินสถานการณ์ประกาศใช้ BCP ทีมปฏิบัติการสื่อสารและประชาสัม พันธ์


เตรียมพร้อมตามหน้าที่ของตนเอง โดยประสานกั บกองอานวยการทาหน้าที่เป็นศูนย์รวบรวมข้อมูล
ต่างๆ
2) บันทึกภาพและข้อมูลระหว่างเกิดเหตุการณ์วิกฤติอย่างต่ อเนื่อง เพื่อใช้เป็นหลักฐาน และรายงานให้
คณะบริหารภาวะวิกฤติทราบ
3) ประสานงานกับคณะทางานประเมิ นสถานการณ์และทีม งานต่างๆเพื่อรวบรวมความเป็นไปของ
สถานการณ์

24
4) ประชาสัมพันธ์สถานการณ์ทั้งภายในและภายนอกธนาคาร โดยข้อมูลที่จะใช้ในการประชาสัมพันธ์ทีม
สื่อสารและประชาสัมพันธ์จะต้องนาเสนอเพื่อขอความเห็นจากคณะบริหารจัดการภาวะวิกฤติ (Crisis
Management Committee : CMC) ก่อน และควรมีการเผยแพร่ข้อมูลอย่างต่อเนื่องเพื่อให้พนักงาน
และบุคคลภายนอกเข้าใจสถานการณ์ที่เกิดขึ้นและสามารถต้องข้อซักถามของลูกค้าได้ตามความ
เหมาะสม
4.1) การสื่อสารประชาสัมพันธ์กับหน่วยงานภายในธนาคาร
 จัดทารายชื่อพร้อมหมายเลขโทรศัพท์ของทีมจัดการสถานการณ์ฉุกเฉิน และประสานงาน
BCP ประจาหน่วยงาน แจกให้ทุกคนในทีมเพื่อให้สามารถติดต่อกันได้ในทันที
 เมื่อเกิดภาวะวิกฤติ แจ้งข่าวสารไปยังผู้ประสานงานประจาหน่วยงาน เพื่อให้ช่วยกระจายข่าว
ต่อให้พนักงานในหน่วยงาน โดยการโทรศัพท์หรือประชุมพนักงานในหน่วยงาน
 กระจายเสียงแจ้งพนักงานไม่ให้ตื่นตระหนก รวมทั้งแจ้งวิธีปฏิบัติที่ถูกต้อง
 แจ้งข่าวสารผ่านโทรศัพท์มือถือ ของธนาคารโดยทันทีด้วยการส่งข้อความ
 แจ้งข่าวสารไปยังพนักงานทั่วประเทศผ่าน Intranet และระบบ Email อย่างต่อเนื่อง
 ทาจดหมายข่าวแจ้งไปยังพนักงานทั่วประเทศผ่านโทรสาร

4.2) การสื่อสารประชาสัมพันธ์กับหน่วยงานภายนอกธนาคาร

 ตั้งศูนย์ข่าวประจาธนาคาร โดยฝ่ายประชาสัมพันธ์และสื่อสารองค์กกร เป็นผู้ประสานงานเพื่อ


ทาหน้าที่ประสานงานกับสื่อมวลชนทุกแขนง โดยใช้ศูนย์สั่งการภาวะวิกฤติเป็นศูนย์ข่าวและ
สถานการณ์ที่จัดแถลงข่าว
 จัดแถลงข่าวโดยผู้บริหารระดับสูงที่เป็นที่น่าเชื่อถือ เช่น ประธานกรรมการ กรรมการผู้จัดการ
 รายงานสถานการณ์ไปยังหน่วยงานภาครัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับธนาคาร
เช่น กระทรวงการคลัง ธนาคารแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
 เผยแพร่ข่าวสารและข้อเท็จจริงผ่านเว็ปไซด์ของธนาคาร www.ibank.co.th
 ให้สาขาทั่วประเทศทาหน้าที่ชี้แจงสถานการณ์และสร้างความเชื่อมั่นกับลูกค้าและประชาชน
ว่าธนาคารมีความพร้อมในการรองรับเหตุการณ์วิกฤติ
 ซื้อพื้นที่โฆษณาเพื่อแจ้งข่าวสารที่ถูกต้องกับประชาชน
 ทาข่าวเผยแพร่ผ่านสื่อต่างๆอย่างต่อเนื่อง
25
2.3 แผนรองรับขณะเกิดภาวะวิกฤติหรือเหตุการณ์ฉุกเฉิน (แผนหลัก) กรณีเกิดเหตุนอก
เวลาทาการ

ผู้พบเห็นเหตุการณ์
ความปลอดภัย

ปฏิบัติตาม BCP สาหรับธุรกรรม


พนักงานรักษา

-เข้าระงับเหตุเบื้องต้น งานที่สาคัญ โดยเดินทางไป


-แจ้งคณะทางาน ปฏิบัติงาน ณ ศูนย์ปฏิบัติงาน
สารองในวันทาการถัดไป

-ทีม รป. เข้าช่วยเหลือควบคุม


สถานการณ์
ทีมจัดการ

ฉุกเฉิน

สถานการณ์
-ทีมอื่นเตรียมพร้อมปฏิบัติการ
คณะทางานประเมิน

-แจ้งทีม รป. เข้าระงับเหตุเบื้องต้น หากไม่สามารถควบคุม


สถานการณ์

- แจ้งทีมจัดการสถานการณ์ฉุกเฉิน ประเมินสถานการณ์ สถานการณ์ได้และมี


และแจ้งประกาศต่อพนักงาน รายงาน CMC ความเสียหายรุนแรง
-รายงานสถานการณ์ต่อ CMC มาก

หากสามารถควบคุมสถานการณ์ได้ ควบคุมได้ ควบคุมไม่ได้ -แจ้งขอความช่วยเหลือ


- สั่งการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จากหน่วยงานภายนอก
ประเมินความเสี่ยงหายเพื่อฟื้นฟู พิจารณา -พิจารณาประกาศใช้
CMC

-แจ้งพนักงานกลับเข้าปฏิบัติงานใน สถานการณ์ BCP สาหรับธุรกรรม


วันทาการถัดไปตามปกติ งานที่สาคัญ

26
ตารางรายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติตามแผนรองรับขณะเกิดภาวะวิกฤติหรือเหตุการณ์ฉุกเฉิน

รายละเอียด ผู้รับผิดชอบ
1. พนักงานรักษาความปลอดภัยผู้พบเห็นเหตุการณ์เข้าระงับเหตุเบื้องต้น พนักงานรักษาความปลอดภัย
2. แจ้งคณะทางานประเมินสถานการณ์ ฯ
3. ทีมปฏิบัติการรักษาความปลอดภัยเข้าระงับเหตุการณ์และควบคุม ทีมปฏิบัติการรักษาความ
สถานการณ์ พร้อมทั้งรายงานสถานการณ์ต่อคณะทางานประเมิน ปลอดภัย
สถานการณ์ฯ
4. เปิดสัญญาณเตือนภัยเพื่อให้ผู้ที่อยู่ภายในอาคารอพยพออกจากอาคาร ทีมปฏิบัติการรักษาความ
และประสานงานกับทีมจัดการสถานการณ์ฉุกเฉินทุกทีม ปลอดภัย
5. ประเมินสถานการณ์รายงานต่อคณะบริหารจัดการภาวะวิกฤติ คณะทางานประเมิน
(Crisis Management Committee: CMC ) สถานการณ์ฯ
6. พิจารณาสถานการณ์ คณะบริหารจัดการภาวะวิกฤติ
- หากสามารถควบคุมสถานการณ์ได้ สั่งการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (CMC)
ประเมินความเสียหายและดาเนินการฟื้นฟู และประสานงานแจ้งให้
พนักงานรับทราบและกลับเข้าทางานตามปกติในวันทาการถัดไป
- หากไม่สามารถควบคุมสถานการณ์ได้และเกิดความเสียหายอย่างรุนแรง
ไม่สามารถเข้าออกปฏิบัติงานตามปกติได้ พิจารณาประกาศใช้แผน
รองรับขณะเกิดภาวะวิกฤติหรือเหตุการณ์ฉุกเฉิน
7. ปฏิบัติตามแผนรองรับการดาเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องสาหรับธุรกรรมงาน พนักงานทุกคน
ที่สาคัญ โดยพนักงานที่รับผิดชอบธุรกรรมงานที่สาคัญให้เดินทางไป
ปฏิบัติงานตาม BCP สาหรับธุรกรรมงานที่สาคัญ ณ ศูนย์ปฏิบัติงาน
สารองในวันทาการถัดไป หรือตามคาสั่งการของคณะบริหารจัดการ
ภาวะวิกฤติ (Crisis Management Committee: CMC ) หรือหัวหน้า
หน่วยงาน พนักงานส่วนอื่นทั้งหมดให้รอการติดต่อประสานงานจาก
Business Unit BCP Coordinator หรือผู้บริหารหน่วยงานต่อไป

2.4 จุดรวมพล
อาคารคิวเฮาส์อโศก บริเวณลานด้านหน้าอาคาร

27
ส่วนที่ 3 แผนฟื้นฟูหลังเกิดภาวะวิกฤติ

แผนฟื้นฟู

การดูแลรักษาความปลอดภัย การฟืน้ ฟูอาคารและทรัพยากร การฟืน้ ฟูระบบงานสารสนเทศ การฟืน้ ฟูทรัพยากรบุคคล (ทีม การสื่อสารและประชาสัมพันธ์


( ทีมปฏิบตั ิการรักษาความ (ทีมปฏิบตั การรักษาความ (ทีมปฏิบตั ิการเทคโนโลยี ปฏิบตั ิการทรัพยากรบุคคล) (ทีมปฏิบตั ิการสื่อสารและ
ปลอดภัยฯ) ปลอดภัยฯ) สารสนเทศ) ประชาสัมพันธ์)

- ดูแลรักษาความปลอดภัยของ - ตรวจสอบประเมินความ - ตรวจสอบประเมินความ - ตรวจสอบพนักงานที่ได้รับ รายงานสถานการณ์และแจ้ง


ทรัพย์สิน เสียหายของสถานที่ปฏิบตั ิงาน เสียหายของระบบคอมพิวเตอร์ บาดเจ็บ และให้การช่วยเหลือ ความพร้อมให้แก่พนักงานทุกคน
- ประสานงานซ่อมแซม หลัก และ Network สนับสนุนในการฟืน้ ฟูขวัญและ รวมไปถึง Stakeholders
ปรับปรุงอาคารสถานที่ให้ - ตรวจสอบประเมินความ - กู้ระบบคอมพิวเตอร์ และ กาลังใจแก่พนักงาน
กลับมาดาเนินงานได้ตามปกติ เสียหายของทรัพย์สินและ Network ปรับปรุงและซ่อมแซม - ดูแลเรือ่ งสวัสดิการและ
- ดูแลการเข้าออก และขอ อุปกรณ์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ผลตอบแทน
อนุญาตการเข้าอาคารเพือ่ กลับ
- ปรับปรุงและซ่อมบารุง
เข้าสู่ภาวะปกติ
ทรัพย์สินและอุปกรณ์

แผนภาพการดาเนินการฟื้นฟูเมื่อเหตุการณ์สงบ
28
ภาคผนวก 1

ระดับของผลกระทบที่ใช้พิจารณาประเมินผลกระทบทางธุรกิจ

ระดับ 5 4 3 2 1
ความสาคัญ สูงมาก สูง ปานกลาง น้อย น้อยมาก
ผลกระทบ มากกว่า 500,001 250,001 100,001 ต่ากว่า
เป็นตัวเงิน 750,000 – 750,000 – 500,000 – 250,000 100,000
ผลกระทบต่อ มีผลกระทบต่อการ มีผลกระทบต่อการ มีผลกระทบต่อ มีผลกระทบต่อ มีผลกระทบต่อ
ลูกค้า ใช้บริการของลูกค้า ใช้บริการของลูกค้า การใช้บริการของ การใช้บริการของ การใช้บริการของ
สูงมากหรือไม่ มาก หรือไม่ ลูกค้าปานกลาง ลูกค้าน้อยหรือไม่ ลูกค้าน้อยมาก
สามารถให้บริการ สามารถให้บริการ หรือ ไม่สามารถ สามารถให้บริหาร หรือสามารถ
ต่างๆได้มากกว่า 25 ต่างๆได้ 15-20% ให้บริหารต่างๆได้ ต่างๆได้ไม่เกิน ให้บริการต่างๆได้
% 5-15% 5% ตามปกติ
ระดับคะแนนความ ระดับคะแนนความ ระดับคะแนน ระดับคะแนน ระดับคะแนน
พึงพอใจ < 50% พึงพอใจ >50-60% ความพึง ความพึง ความพึงพอใจ >
พอใจ>60-70% พอใจ>70-80% 80%
มีผลกระทบ ส่งผลกระทบต่อ ส่งผลกระทบต่อ ส่งผลกระทบต่อ ส่งผลกระทบต่อ ไม่ส่งผลกระทบ
ต่อชือ่ เสียง
ชื่อเสียงและความ ชื่อเสียงและความ ชื่อเสียงและความ ชื่อเสียงและความ ต่อชื่อเสียงและ
และความ น่าเชื่อถือของ น่าเชื่อถือของ น่าเชื่อถือของ น่าเชื่อถือของ ความน่าเชื่อถือ
น่าเชือ่ ถือ
ธนาคารสูงมาก มี ธนาคารมาก มีการ ธนาคาร มีการ ธนาคารน้อยหรือ ของธนาคาร
การพาดหัวข่าวใน พาดหัวข่าวในหน้า พาดหัวข่าวใน เกิดขึ้นในวงจากัด
หน้าหนังสือพิมพ์ / หนังสือพิมพ์ /วิทยุ / หน้าหนังสือพิมพ์ แก้ไขได้ภายใน 1
วิทยุ /โทรทัศน์ ใน โทรทัศน์ ในเชิงลบ / วิทยุ /โทรทัศน์ วัน
เชิงลบมากกว่า 1 1 วัน ในเชิงลบ
วัน หรือต่อเนื่อง
ผลกระทบ มีผลต่อการปฏิบัติ มีผลต่อการปฏิบัติ มีผลต่อการ มีผลต่อการ มีผลต่อการ
ทางกฎหมาย ตามกฎระเบียบที่ ตามกฎระเบียบที่ ปฏิบัติตาม ปฏิบัติตาม ปฏิบัติตาม
ควบคุมสูงมาก เกิด ควบคุมมาก หรือ กฎระเบียบที่ กฎระเบียบที่ กฎระเบียบที่
การร้องเรียนและ เกิดการร้องเรียน ควบคุมหรือเกิด ควบคุมน้อย หรือ ควบคุมน้อยมาก
เรียกร้องค่าเสียหาย และเรียกร้อง การร้องเรียนและ เกิดการร้องเรียน หรือแทบไม่ส่งผล
เป็นจานวนมาก ค่าเสียหายเป็น เรียกร้อง และเรียกร้อง กระทบเลย
อาจถูกฟ้องร้อง จานวนมากอาจถูก ค่าเสียหายเป็น ค่าเสียหาย
ส่งผลให้ธนาคารถูก ฟ้องร้องส่งผลต่อ จานวนมาก
คาสั่งห้าม สถานะของธนาคาร
ดาเนินการจากผู้ ในสายตาของผู้
กากับ กากับ

29
ภาคผนวก 2

แผนรองกับการดาเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องสาหรับธุรกรรมงานที่สาคัญของธนาคาร

เมื่อพนักงานและผู้ที่อยู่ภายในอาคารพยพออกจากอาคารมารวมตัวกัน ณ จุดรวมพลขอให้รอคาสั่ง
การจากคณะบริหารจัดการภาวะวิกฤติ (Crisis Management Committee: CMC ) ต่อไป โดยหาก
สถานการณ์รุนแรงมากสร้างความเสียหายจนไม่สามารถกลับเข้าไปดาเนินงานตามได้ คณะบริหารจัดการ
ภาวะวิกฤติจะพิจารณาประกาศใช้แผนรองรับการดาเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง สาหรับธุรกรรมงานที่สาคัญของ
ธนาคารเพื่อเรียกคืนการดาเนินงานที่หยุดชะงักให้กลับมาให้บริการได้อย่างต่อเนื่องภายในระยะเวลาหยุด
ดาเนินงานที่ยอมรับได้ (Recovery Times Objective : RTO )
เมื่ อมี การประกาศใช้ แผนรองรับการด าเนินธุ รกิ จ อย่างต่อ เนื่อง ส าหรับธุ รกรรมงานที่ สาคัญของ
ธนาคารพนั ก งานขั้ น ต่ าที่ รั บ ผิ ด ชอบดู แ ลธุ ร กรรมงานที่ ส าคั ญ ให้ ด าเนิ น การตามแผนฯ โดยเดิ น ทางไป
ปฏิบัติงาน ณ ศูนย์ปฏิบัติงานสารอง

สรุปธุรกรรมงานที่สาคัญของธนาคาร

1. ธุรกรรมงานปฏิบัติการชาระเงิน
2. ธุรกรรมการบริหารเงิน
3. ธุรกรรมการอานวยสินเชื่อ / ปรับปรุงหนี้
4. ธุรกรรมงานการให้บริการฝ่ายเคาน์เตอร์ธนาคาร และบริการสินเชื่อรายย่อย
5. ธุรกรรม Trade Finance
6. ธุรกรรมงานปริวรรตเงินตราต่างประเทศ
7. ธุรกรรมการบริหารจัดการเงินสด
8. ธุกรรมการปฏิบัติการสินเชื่อและเรียกข้อมูลเครดิตลูกค้า
9. ธุรกรรมการโอนเงินและงานด้านปฏิบัติการ
10. ธุรกรรมการโอนเงินระหว่างประเทศ
11. ธุรกรรมงานปฏิบัติการเช็ค
12. ธุรกรรมงานปฏิบัติการระบบการให้บริการทางอิเล็กทรอนิกส์และธุรกรรมงานบริหารเครือข่ายและ
ปฏิบัติการ
13. ธุรกรรมงานปฏิบัติการนิติกรรมสัญญา
14. ธุรกรรมการรายงานข้อมูล
15. ธุรกรรมงานศูนย์ลูกค้าสัมพันธ์

30
เอกสารแนบ2

คาจากัดความของ 15 ธุรกรรมงานทีส่ าคัญของธนาคาร

1. ธุรกรรมงานปฏิบัติการชาระเงิน
ธุรกรรมงานปฏิบัติการชาระเงิน หมายถึง งานด้านการโอนเงินต่างประเทศบริการให้แก่ลูกค้าทั่วไป
และสถาบันการเงินคู่ค้าทั้งในและต่างประเทศที่เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศและสกุลเงินบาท รวมถึงงานด้าน
การสนับสนุนงานปฏิบัติการด้านการเงินในธุรกรรมตลาดทุน (ซื้อขายหลักทรัพย์ ตราสารหนี้ ตราสารทุน) ของ
ธนาคาร
2. ธุรกรรมการบริหารเงิน
ธุรรมการบริหารเงิน หมายถึง งานควบคุมด้านบริหารเงินและลงทุนในตลาดเงินของธนาคาร การ
บริหารสภาพคล่อง การบริหารเงินตราต่างประเทศของธนาคาร การบริหารอัตรากาไรแลกเปลี่ยนเงินตรา
ต่างประเทศ และตราสารทางการเงินภายใต้กรอบความเสี่ยงที่ธนาคารกาหนด ตลอดจนเป็นศูนย์กลางข้อมูล
ทางการเงินเพื่อการบริหารจัดการของธนาคาร
3. ธุรกรรมงานอานวยสินเชื่อ/ปรับปรุงหนี้
ธุรกรรมงานอานวยสินเชื่อ/ปรับปรุงหนี้ หมายถึง งานที่เกี่ยวกับการปฏิบัติงานทั้งหมดของฝ่ายสินเชื่อ
สินเชื่อรายย่อย สินเชื่อสาขา และพัฒนาคุณภาพหนี้ เพื่อให้บริการลูกค้าด้านสินเชื่อ รวมถึงการปฏิบัติงาน
ด้านการตรวจสอบ รายงานผล ให้ลูกค้า และส่งข้อมูลให้บริษัทข้อมูลเครดิตแห่งชาติ (NCB)
4. ธุรกรรมงานการให้บริการผ่านเคาน์เตอร์ธนาคารและบริการสินเชื่อรายย่อย
ธุรกรรมงานการให้บริการผ่านเคาน์เตอร์ ธนาคารและบริการสินเชื่อรายย่อย หมายถึง งานด้าน Front
Office เช่น ให้การต้อนรับและอานวยความสะดวกแก่ลูกค้าและผู้มาติดต่อ ให้คาแนะนาเบื้องต้นเกี่ยวกับ
บริการและผลิตภัณฑ์ต่างๆ ของธนาคารฯ บริการเปิดบัญชีเงินฝากทุกประเภท จัดทาบัตร ATM บริการรับฝาก-
ถอน รับชาระค่าสาธารณูปโภค ค่าบริการต่างๆ บริการโอนเงิน บริการขายตราสารทางการเงิน อาทิ เช็ ค
ดราฟต์ แคชเชียร์เช็ค และเช็คของขวัญ บริการรับซื้อ -ขายเงินตราต่างประเทศ บริการรับ -จ่ายเงินสด บริการ
ซื้อ-ขายหน่วนลงทุน พันธบัตร หุ้นกู้ หุ้นสามัญและงานการกุศล และบริการสินเชื่อรายย่อย เป็นต้น
5. ธุรกรรม Trade Finance
ธุรกรรม Trade Finance หมายถึง งานให้บริการด้านงานสินค้าเข้า งานสินค้าออก งานหนังสือค้า
ประกันต่างประเทศ และ L/C ในประเทศ
6. ธุรกรรมปริวรรตเงินตราต่างประเทศ
ธุรกรรมปริวรรตเงินตราต่างประเทศ หมายถึง งานด้านการจัดการธนบัตรต่างประเทศ กากับดูแล
สต๊อกตราสารทางการเงินพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการด้านธุรกิจปริวรรตตลอดจนเป็นศูนย์กลางการติดต่ อ
และดู แลการด าเนิ นงานด้า นบัญ ชี เ งิ นฝากด้า นเงิ นตราต่างประเทศ รวมถึง บัญชี เงิ น ฝากของผู้มี ถิ่ นที่อ ยู่
ต่างประเทศ

31
เอกสารแนบ2
7. ธุรกรรมการบริหารจัดการเงินสด
ธุรกรรมการบริหารจัดการเงินสด หมายถึง จัดสรรปริมาณเงินสดเพื่อรองรับธุรกรรมสาขา ควบคุมดูแล
และบั น ทึ ก รายการรั บ -ส่ ง เงิ น สดของสาขาธนาคารผ่ า นระบบงานศู น ย์ บ ริ ห ารจั ด การธนบั ต ร บมจ .
ธนาคารกรุงไทย (K-CIM) ควบคุมระบบคาสั่งฝากถอนธนบัตรผ่านธนาคารแห่งประเทศไทย (ระบบงาน
Banknote Ordering System: BOS) กระทบยอดเงินสดของศูนย์จัดการธนบัตรและจัดทารายงาน (CMC) ทุก
วัน ควบคุมดูแลปฏิบัติหน้าที่งานด้านรายงานธนาคารแห่งประเทศไทย ประสานงานกับศูนย์บริหารจัดการ
ธนบัตร บมจ. ธนาคารกรุงไทย และธนาคารแห่งประเทศไทยเกี่ยวกับการจัดการธนบัตร

8. ธุรกรรมงานปฏิบัติการสินเชื่อและเรียกข้อมูลเครดิตลูกค้า
ธุรกรรมงานปฏิบัติการสิ นเชื่ อและเรียกข้อมูลเครดิตลูกค้า หมายถึง เป็นการดาเนินงานด้านการ
ให้ บ ริ ก าร เบิ ก จ่ า ยสิ น เชื่ อ รั บ ช าระหนี้ ออกหนั ง สื อ ค้าประกั น รั บ รองตั๋ ว เงิ น และรั บ อาวั ล เป็ น ต้ น และ
ครอบคลุมไปถึง งานตรวจสอบข้อมูลเครดิต งานจัดทาประกันภัยสาหรับงานสินเชื่อ งานออกหนังสือค้าประกัน
ลอย

9. ธุรกรรมการโอนเงิน และงานด้านปฏิบัติการ
ธุ ร กรรมการโอนเงิ นและงานปฏิ บั ติก าร หมายถึ ง ธุ ร กรรมที่ เกี่ ย วข้ องกั บ งานโอนเงิ น ผ่ านระบบ
BAHTNET งานบริการโอนเงินเข้าบัญชี บริการหักบัญชี การโอนเงินเข้าบัญชีห รือหักบัญชีเงินฝากของลูกค้า
เพื่อชาระค่าสินค้าและบริการ การจ่ายเงินเดือนค่าจ้างให้กับผู้ขอใช้บริการ โดยทาการโอนเงินเข้าบัญชีหรือหัก
บัญชีตามคาขอผ่านระบบ Online เป็นรายบัญชี งานโอนเงินรายย่อย เป็นการโอนเงินระหว่างลูกค้าของ
ธนาคารกับลูกค้าของธนาคารสมาชิ กอื่นเป็ นเงินบาทในประเทศไทย ซึ่ง ลูกค้าได้ตกลงกับธนาคารไว้แล้ว
ล่วงหน้า โดยมีศูนย์หักบัญชีอิเล็กทรอนิกส์ ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นศูนย์กลางในการรับ -ส่งข้อมูล เพื่อหัก
บัญชีระหว่างธนาคารที่เป็นสมาชิก

10. ธุรกรรมการโอนเงินระหว่างประเทศ
ธุรกรรมการโอนเงินระหว่างประเทศ เช่น งานบริการโอนเงินออกต่างประเทศเพื่อชาระค่าใช้จ่ายต่างๆ
ของลูกค้า บริการรับโอนเงินเข้าจากต่างประเทศ รายงานธุรกรรมเงินตราต่างประเทศแก่ธนาคารแห่งประเทศ
ไทย เป็นต้น

11. ธุรกรรมงานปฏิบัติการเช็ค
ธุรกรรมงานปฏิบัติการเช็ค หมายถึง งานที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมดูแลปฏิบัติง านด้านเช็ค Clearing
รับ-ส่งข้อมูลเช็คเรียกเก็บสานักหักบัญชีเดียวกัน และปฎิบัติงานด้านเช็ค BC/3D รับ-ส่ง ข้อมูลเช็คเรียกเก็บ
ต่างสานักหักบัญชี

32
เอกสารแนบ2
12. ธุรกรรมงานปฏิบัติการระบบการให้บริการทางอิเล็กทรอนิกส์
ธุรกรรมงานปฏิบัติการระบบการให้บริการทางอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง งานสนับสนุนสาขาในการ
ปฏิบัติงานแต่ละระบบงานของการให้บริการผ่านเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เช่น อินเทอร์เน็ตแบงค์กิ้ง Self-
Service Banking ATM หรือบริการด้านอิเล็กทรอนิกส์แบ๊งกิ้งอื่นๆ เป็นต้น นอกจากนี้ยังครอบคลุมไปถึงการ
ติดตามประสานงานกับสาขาและหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ในการตรวจสอบและปรับปรุงรายการผ่านบัญชี
กรณีเกิดรายการผิดพลาดจากการทารายการด้านการเงินของผู้ใช้บริการ

13. ธุรกรรมปฏิบัติการนิติกรรมสัญญา
ธุรกรรมปฏิบัติการนิติกรรมสัญญา มีขอบเขตของธุรกรรมดังต่อไปนี้
1. การควบคุมความเสี่ยงด้านการปฏิบัติการ (Operational Risk) เพื่อควบคุมการปฏิบัติงานด้านการ
จัดทาสัญญาต่างๆ และการจัดเก็บเอกสารให้ถูกต้อง ตามระเบียบ ข้อบังคับของธนาคาร/ธนาคารแห่ง
ประเทศไทย และเป็น ไปตามกฎหมาย ป้ องกัน การทุจ ริต และความเสี ย หายที่ อาจจะเกิด ขึ้น กั บ
ธนาคาร
2. การปฏิบัติงานด้านนิติกรรมสัญญาสินเชื่ อและหลักประกัน (Legal Document) เป็นกระบวนการ
จัดทาสัญญาระหว่างธนาคารกับลูกค้า และผู้ค้าประกัน รวมทั้งสัญญาหลักประกัน เพื่อให้ลูกค้าที่
ได้รับอนุมัติวงเงินสินเชื่อลงนามในเอกสารสัญญา และสามารถใช้วงเงินสินเชื่อได้โดยมีผลผูกพันตาม
กฎหมาย
3. การจัดเก็บต้นฉบับเอกสารสั ญญาและหลักประกันในตู้นิรภัยภายในห้องมั่นคง (Loan Collection
Process) เพื่อเก็บรักษาสัญญาและหลักประกันให้ครบถ้วน ปลอดภัย และไม่สูญหาย

14. ธุรกรรมการรายงานข้อมูล
ธุรกรมการรายงานข้อมูล ประกอบไปด้วยงาน 2 ส่วน คือ
1. งานด้านข้อมูลทางการเงินเพื่อการบริหารของธนาคาร เช่น การจัดทาระบบฐานข้อมูลทางการเงินเพื่อ
การบริหารของธนาคาร (MIS) รวบรวมความต้องการการใช้ข้อมูลทางการเงินประเภทต่างๆ จาก
หน่วยงานภายในและภายนอกธนาคาร เพื่อพัฒนาระบบ MIS ให้สามารถใช้ประโยชน์ในการวิเคราะห์
แบบประเมินผลการดาเนินงานได้อย่างหลากหลาย การบริการข้อมู ล รายงานจะระบบ MIS ใก้แก่
ผู้บริหารและฝ่ายงานต่างๆ ได้อย่างคล่องตัวและทันต่อเหตุการณ์ และศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลทาง
การเงินที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งจัดทารายงานพร้อมข้อสังเกตนาเสนอต่อผู้บังคับบัญชาตามสายงาน เพื่อ
ประโยชน์ในการดาเนินงานของธนาคาร
2. งานด้านรายงานทางบั ญชี เช่น การจัดทารายงานภายในเพื่อนาเสนอผู้บริหาร การจัดทารายงาน
Data Set รวมทั้งรายงานอื่น ตามที่สานักงานเศรษฐกิจการคลังกาหนด จัดทารายงานต่างๆ ตามที่
สานักงานนโยบายรัฐวิสาหกิจกาหนด เช่น รายงาน GFMIS-SOE ฯลฯ

33
เอกสารแนบ2
15. ธุรกรรมงานศูนย์ลูกค้าสัมพันธ์
ธุรกรรมงานศูนย์ลูกค้าสัมพันธ์ เป็นงานการให้บริการผ่านศูนย์ Call Center ในการให้บริการข่าวสาร
แก่ลูกค้า งานรับเรื่องร้องเรียนลูกค้า ประสานงานติดตามผลการแก้ไขร้องเรียนจากหน่วยงานผู้รับผิดชอบ และ
ชี้แจงทาความเข้าใจแก่ลูกค้า

34
ภาคผนวก 3
รายงานการบันทึกเหตุการณ์
( Event Log Report )
หน่วยงาน: ……………………………………. ธุรกรรม : …………………………………………………..
BCP Coordinator : …………………………….. หมายเลขโทรศัพท์ : …………………………………….
ผู้บันทึก : …………….…………………………………………
สถานทีป่ ฏิบัตงิ าน:……………………………………………..

วัน / เวลา รายละเอียด ผู้บันทึก

35
ภาคผนวก 4
Checklist รายชื่อพนักงานในหน่วยงาน

หน่วยงาน:…………………………………….. สายงาน:...............................................................
Contact Person: ……………………....………. อาคาร: ……….......….. ชัน้ ที่: ………...............….

ลาดับที่ รายชื่อ โทรศัพท์ตดิ ต่อ สถานะ


(อยู/่ ไม่อยู)่

จานวนพนักงานมาทางาน ณ วันนั้นทั้งหมด........................................คน
สรุปยอดการอพยพพนักงาน ครบถ้วนตามจานวนที่มาทางาน ณ วันนั้น
! ไม่ครบถ้วนตามจานวน ขาดจานวน...............คน

จานวนพนักงานที่ได้รับรับบาดเจ็บจานวน................................. คน
จานวนพนักงานที่เสียชีวิตจานวน............................................... คน

ผูบ้ นั ทึก......................................
วันที.่ .........................................
หมายเหตุ: เป็น checklist สารับ Contact Person ของหน่วยงานใช้ในการเช็ครายชือ่ พนักงานในหน่วยงานตนเองว่าอพยพ
ออกจากอาคารครบถ้วนหรือไม่

36
ภาคผนวก 5
Checklist การแจ้งเหตุการณ์
(Notification Checklist)
หน่วยงาน : ……………..…………………………. สายงาน : …………………………………..
BCP Coordinator : ………………………………… อาคาร : ............... ชั้นที่ : ……………….

เมื่อคณะบริหารจัดการภาวะวิกฤติประกาศใช้ BCP หัวหน้าหน่วยงานหรือ BCP Coordinator ต้องบันทึก


รายละเอียด ดังด้านล่างต่อไปนี้
1. รายละเอียดสถานการณ์หรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยย่อ
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
2. อาคารสถานที่เกิดเหตุ/บริเวณที่เกิดเหตุ
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
3. สามารถเข้าไปปฏิบัติงาน ณ สถานที่ปฏิบัติงานหลักได้หรือไม่
¡ ได้ ¡ ไม่ได้

หากไม่ได้ สถานที่ปฏิบัติงานสารอง คือ.............................................................................................................................


โทรศัพท์ติดต่อ...........................................................................................................................................

4. ข้อมูลอื่นๆ ที่เกีย่ วข้อง


..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................

ผูบ้ ันทึก................................................................................

วันที่.....................................................................................

37
ภาคผนวก 6
บันทึกสรุปเหตุการณ์
( Disaster Event Log )

หน่วยงาน :………………………………………………………………………………………………………
ผู้บันทึก : ……………………………………………… หมายเลขโทรศัพท์ : …………………………………
สถานที่ : ………………………………………………………………………………………………………..

วัน /
รายละเอียดของเหตุการณ์ เจ้าหน้าที่ / หน่วยงานที่ติดตาม สถานะ
เวลา

หมายเหตุ : สถานะ หมายถึง สมบูรณ์ หรือดาเนินการเรียบร้อยแล้ว หรืออยู่ระหว่างดาเนินการ


38
ภาคผนวก 7
แบบฟอร์มการบันทึกขั้นตอนการเรียกคืนธุรกรรมงาน
(Recovery Task Form )

หน่วยงาน : …………...……….....………….......... ธุรกรรม : …………….……………………………..


BCP Coordinator: ……………………………………หมายเลขโทรศัพท์: …………………………………
ผู้บันทึก : …….……………………………………… หมายเลขโทรศัพท์: …………………………………
สถานทีป่ ฏิบัตงิ าน : ……………………………………
วัน / เวลา รายละเอียดขั้นตอน ผู้รับผิดชอบ

รวมระยะเวลาทีใ่ ช้ในการเรียกคืนธุรกรรมงาน...........................ชั่วโมง

39
ภาคผนวก 8
แบบฟอร์มการบันทึกประเด็นปัญหา
( Problem / Issue Log )

หน่วยงาน : …………...……….....………….......... ธุรกรรม : …………….……………………………


BCP Coordinator: ………………………………… หมายเลขโทรศัพท์: …………………………………
ผู้บันทึก : …….………………………………..…….. หมายเลขโทรศัพท์: ………………………………
สถานทีป่ ฏิบัตงิ าน : ……………………………………………………………………………………………

ติดตามเรื่องโดย
วันที่ ประเด็นปัญหา ผลกระทบที่เกิดขึ้น
เจ้าหน้าที/่ หน่วยงาน โทรศัพท์

40
ภาคผนวก 9
แบบฟอร์มติดตามการติดต่อทางโทรศัพท์
( Call Tracking From )

วันที่/เวลา...........................................................................................................................................................................
หน่วยงาน............................................................................ หมายเลขโทรศัพท์.............................................................
ผู้ขออนุมัต.ิ ........................................................................... ตาแหน่ง .............................................................................

รายละเอียดการติดต่อ

Department Owner…………......................………………………..หมายเลขโทรศัพท์............................................
Application (ถ้ามี) .........................................................................................................................................................
ติดตามเรื่องโดย..................................................................................................................................................................
หน่วยงาน................................................................................................... หมายเลขโทรศัพท์............................................
สถานะ...............................................................................................................................................................................
รายละเอียด........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................

กระบวนการหรือวิธีการดาเนินการ/ผลการดาเนินการ
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................

COMPLETED BY…………….............………..
(.....................................................)
DATE………………..…….
41
ภาคผนวก 10
แบบฟอร์มสรุปผลกระทบ
( Impact Assessment Form )
ผลกระทบที่ได้รับ
วัน/เวลาทีเ่ กิดเหตุ..........................................................สถานทีเ่ กิดเหตุ..............................................................
ผลกระทบต่อบุคลากร - เสียชีวติ จานวน.......................... ได้รับบาดเจ็บ จานวน..................................................
ผลกระทบต่อสถานทีป่ ฏิบัตงิ าน ¡ไม่สามารถเข้าไปทางานได้
สามารถเข้ ¡ าไปได้แต่อุปกรณ์ได้รับความเสียหาย
สามารถเข้ ¡ าไปทางานได้ตามปกติ
หน่วยงานฉุกเฉิน ณ สถานทีเ่ กิดเหตุ ¡ สถานีตารวจ ¡ หน่วยดับเพลิง ¡ รถพยาบาล
อื่น ๆ ¡
กระบวนการดาเนินงานสาคัญทีไ่ ด้รับผลกระทบ :
การประเมินผลกระทบ
ความเห็นเกี่ยวกับสุขภาพและความปลอดภัยของบุคลากร :
สรุปผลกระทบ ประมาณการมูลค่าความเสียหาย/บาท หมายเหตุ
1. การเข้าออกและความเสียหายของอาคาร
2. ผลกระทบของพื้นทีท่ ไี่ ด้รับความเสียหาย
3. การกู้คนื พื้นทีท่ ไี่ ด้รับความเสียหาย
4. เครื่องมือ/อุปกรณ์ตา่ งๆ
5. การดาเนินงาน
6. ข้อมูลสาคัญ/ทะเบียน
7. ระบบไฟฟ้า
8. ระบบประปา
9. ข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
10. ระบบสื่อสาร / Network
11. อื่น ๆ (โปรดระบุ............................)
สรุปผลกระทบภาพรวม :
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
ผู้ประเมิน............................................................
(....................................................)
วันทีป่ ระเมิน.......................................................

42
ภาคผนวก 11

แบบฟอร์มการขออนุมตั ิประเด็นสาคัญ

วันที/่ เวลา ..........................................................................................................................................

หน่วยงาน ............................................................. หมายเลขโทรศัพท์ .................................................

ผู้ขออนุมัติ ............................................................ ตาแหน่ง ...............................................................

รายละเอียดของปัญหา
Department Owner ……………………………………………………… TEL. …………………………………………………………

Application (ถ้ามี) .............................................................................................................................................

รายละเอียด .........................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................................

รายละเอียดของปัญหา

...........................................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................................

ผู้ขออนุมัติ..............................................

(..............................................)

วันที่ ..............................................

อนุมัติโดย..............................................

(..............................................)

วันที่ .............................................. 43
ภาคผนวก 12

แบบฟอร์มรายงานผลการตรวจสอบความพร้อม

วันที/่ เวลารายงาน

ศูนย์ปฎิบัติงานสารอง

หน่วยงาน/ฝ่ายงาน หมายเลขโทรศัพท์

BCP Coordinator หมายเลขโทรศัพท์

ผู้รายงาน ตาแหน่ง

มีปัญหาอะไรหรือไม่ ในกรณีการย้ายไปศูนย์ปฎิบัติงานสารอง (Alternate Site)

1.พนักงานมาครบถ้วน เรียบร้อย มีปัญหา

2.อื่นๆ เรียบร้อย มีปัญหา

มีปัญหาด้านสิ่งอานวยความสะดวก อุปกรณ์เครื่องมือต่างๆ ที่ศูนย์ปฎิบัติงานสารอง (Alternate Site) หรือไม่

(เช่น เครื่องมือใช้ไม่ได้หรือไม่เพียงพอ)

1. PC เรียบร้อย มีปัญหา
2. ระบบคอมพิวเตอร์ เรียบร้อย มีปัญหา
3. โทรศัพท์ เรียบร้อย มีปัญหา
4. อุปกรณ์สานักงาน เรียบร้อย มีปัญหา
5. อื่นๆ(โปรดระบุ................) เรียบร้อย มีปัญหา

มีปัญหาจากภายนอก อะไรบ้าง เช่น จากฝ่ายงานอื่นๆ ที่เกีย่ วข้องหรือให้บริหารภายนอกอื่นๆ

1. ติดต่อฝ่ายงานที่เกี่ยวข้อง เรียบร้อย มีปํญหา


2. ติดต่อ Vender เรียบร้อย มีปํญหา
3. ติดต่อลูกค้า เรียบร้อย มีปํญหา
4. อื่นๆ(โปรดระบุ(.................) เรียบร้อย มีปํญหา

รายงานปัญหาอื่นๆ (ถ้ามี) โดยระบุความช่วเหลือที่ท่านต้องการจากศูนย์บริหารจัดการภาวะวิกฤติ

44
ภาคผนวก 13
คณะทางาน และทีมปฏิบัติการ

1 คณะทางานประเมินสถานการณ์และความเสียหาย
2 ทีมปฏิบัตกิ ารรักษาความปลอดภัยและระงับเหตุเบือ้ งต้น (Emergency & Security Team :ES)
3 ทีมปฏิบัตกิ ารทางการแพทย์ (Medical Team : MT)
4 ทีมปฏิบัตกิ ารทรัพยากรบุคคล (Human Resource Team : HR)
5 ทีมปฏิบัตกิ ารประชาสัมพันธ์ (Public Relation Team : PR)
6 ทีมปฏิบัตกิ ารเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information System &Technology Team : IT)
7 ทีมปฏิบัตกิ ารเครือข่าย (Network Team: NT)

45

You might also like