You are on page 1of 272

รวมกฎหมาย

ราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง
พ.ร.บ.ราชทัณฑ์ พ.ศ.๒๕๖๐
ระเบียบกรมราชทัณฑ์ พ.ศ.๒๕๖๑
กฎกระทรวง ออกตาม พ.ร.บ.ราชทัณฑ์ ๑๓ ฉบับ

รวบรวมโดย
นายดาวเรือง หงษา
ผอ.ส่วนควบคุมและทัณฑปฏิบัติ
เรือนจาจังหวัดมหาสารคาม
สารบัญ
เรื่อง หน้า
ประวัติความเป็นของกรมราชทัณฑ์ ๑
มีประเด็นอะไรใหม่ๆ ใน พ.ร.บ.ราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 8
ดัชนีทั่วไปของ พ.ร.บ.ราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 11
พ.ร.บ.ราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 12
หมวด ๑ คณะกรรมการราชทัณฑ์ 13
หมวด ๒ อานาจหน้าที่เจ้าพนักงานเรือนจา 16
หมวด 3 การจาแนก เขตความรับผิดชอบ และมาตรฐานเรือนจา 20
หมวด 4 ผู้ต้องขัง 21
หมวด 5 สิทธิ หน้าที่ ประโยชน์ และกิจการอื่น ๆ เกี่ยวกับผู้ต้องขัง ๒4
หมวด 6 การเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยและการพ้นจากเรือนจา 30
หมวด 7 วินัยและบทลงโทษ 31
หมวด 8 ความผิดเกี่ยวกับเรือนจา 31
บทเฉพาะกาล 33
เรียบเรียงพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.2560กับกฎกระทรวง ระเบียบที่เกี่ยวข้อง 35
ประกาศกระทรวงยุติธรรม กาหนดคุณสมบัติเจ้าพนักงานเรือนจาตาม พ.ร.บ.ราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 36
คาสั่งแต่งตั้งเจ้าพนักงานเรือนจา ตามพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 37
ประกาศแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการราชทัณฑ์ 39
ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยอานาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานเรือนจาและการแต่งตั้งผู้ช่วยเหลือกรม 42
ราชทัณฑ์ พ.ศ.2561
การใช้เครื่องพันธนาการ 48
การใช้อาวุธอื่น 52
กฎกระทรวงกาหนดประเภทหรือชนิดของอาวุธอื่นนอกจากอาวุธปืน ที่เจ้าพนักงานเรือนจา จะพึงมี 53
ไว้ในครอบครองหรือใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๖๓
การใช้อาวุธปืน 54
ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการใช้อาวุธปืนและเครื่องกระสุนปืน พ.ศ. ๒๕๔๓ 54
ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการปล่อยผู้ถูกคุมขังชั่วคราวในกรณีมีเหตุฉุกเฉิน พ.ศ.2563 58
ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการจัดการจับกุมผู้ต้องขังหลบหนี พ.ศ.2561 61
ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการจาหน่ายและทาลายสิ่งของที่ไม่อนุญาตให้เก็บรักษาไว้ในเรือนจา 64
และสิ่งของที่ได้ยึดไว้ตามอานาจหน้าที่ พ.ศ.2561
ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการตรวจสอบจดหมาย เอกสาร พัสดุภัณฑ์ หรือสิ่งสื่อสารอื่นหรือสกัด 66
กันการติดต่อสื่อสารทางโทรคมนาคม หรือโดยทางใด ๆ ซึ่งมีถึงหรือจากผู้ต้องขัง พ.ศ.2561
กฎกระทรวง กาหนดสถานที่คุมขัง พ.ศ. ๒๕๖๓ 69
ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการคุมขังและปฏิบัติต่อผู้ต้องขังในแดนความมั่นคงสูงสุด และเรือนจา 71
ความมั่นคงสูงสุด พ.ศ.2561
ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการตรวจร่างกายผู้ต้องขังเข้าใหม่และผู้ต้องขังเข้า-ออกเรือนจา 77
พ.ศ.2561
ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยเด็กในความดูแลของผู้ต้องขัง พ.ศ.2561 81
กฎกระทรวงกาหนดระบบการจาแนกลักษณะของผู้ต้องขัง การควบคุมและการแยกคุมขังและการ 84
ย้ายผู้ต้องขัง พ.ศ. ๒๕๖๓
ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขัง พ.ศ.2561 88
ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการกาหนดหลักสูตร หลักเกณฑ์ และวิธีการในการจัดการศึกษาให้แก่ 91
ผู้ต้องขัง พ.ศ.2561
ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการประกอบศาสนกิจของผู้ต้องขัง พ.ศ.2561 94
กฎกระทรวงการร้องทุกข์ การยื่นเรื่องราวใด ๆ หรือการทูลเกล้าฯ ถวายฎีกาของผู้ต้องขัง 96
พ.ศ. ๒๕๖๓
กฎกระทรวงการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังซึ่งถูกล่วงละเมิดทางเพศ พ.ศ. ๒๕๖๓ 97
ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการส่งนักโทษเด็ดขาดออกไปทางานสาธารณะหรือทางานอื่นใดเพื่อ 101
ประโยชน์ของทางราชการนอกเรือนจา พ.ศ.2563
ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการคัดเลือกนักโทษเด็ดขาดจ่ายออกทางานนอกเรือนจา พ.ศ. ๒๕61 109
ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการคัดเลือกนักโทษเด็ดขาดจ่ายออกทางานนอกเรือนจา ประเภท 112
ความสามารถหรือทักษะพิเศษ พ.ศ. ๒๕63
กฎกระทรวงการคานวณรายได้เป็นราคาเงินและการจ่ายเงินรางวัลให้แก่ผู้ต้องขัง 115
ซึ่งการงานที่ได้ทานั้นก่อให้เกิดรายได้ซึ่งคานวณเป็นราคาเงินได้ พ.ศ. ๒๕๖๓
กฎกระทรวงการรับเงินทาขวัญของผู้ต้องขังซึ่งได้รับบาดเจ็บเจ็บป่วย หรือตายเนื่องจากการทางาน 116
พ.ศ. ๒๕๖๓
ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการกาหนดความสะดวกในเรือนจาสาหรับนักโทษเด็ดขาด พ.ศ.2561 120
เลื่อนชั้น 121
การแต่งตั้งนักโทษเด็ดขาดให้มีตาแหน่งหน้าที่ผู้ช่วยเหลือเจ้าพนักงานเรือนจา 126
ระเบียบกรมราชทัณฑ์ ว่าด้วยการลาของนักโทษเด็ดขาด พ.ศ.2561 128
การลดวันต้องโทษจาคุกและการปล่อยตัว 133
การลดวันต้องโทษจาคุกลงอีกไม่เกินจานวนวันที่ทางานสาธารณะ 135
การพักการลงโทษ 136
ประกาศกรมราชทัณฑ์เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาพักการลงโทษ พ.ศ. 2562 140
การฝึกวิชาชีพในสถานประกอบการนอกเรือนจา 143
การรับการศึกษาอบรมนอกเรือนจา 146
เงื่อนไขที่นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับการปล่อยตัวก่อนครบกาหนดโทษต้องปฏิบัติ 148
ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการดาเนินการเกี่ยวกับการอนามัยและการสุขาภิบาลของผู้ต้องขัง 150
พ.ศ.2561
กฎกระทรวงการส่งตัวผู้ต้องขังไปรักษาตัวนอกเรือนจา พ.ศ. ๒๕๖๓ 157
ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการดูแลผู้ต้องขังหญิงที่ตั้งครรภ์หรือให้นมบุตร พ.ศ.2561 161
ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการเยี่ยม การติดต่อของบุคคลภายนอกกับผู้ต้องขัง และการเข้าดูแล 164
กิจการหรือติดต่อการงานกับเรือนจา พ.ศ. 2561
กฎกระทรวงกาหนดทรัพย์สินของผู้ต้องขังเป็นสิ่งของที่อนุญาตหรือไม่อนุญาต 172
ให้เก็บรักษาไว้ในเรือนจา พ.ศ. ๒๕๖๓
ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการจาหน่ายและทาลายสิ่งของที่ไม่อนุญาตให้เก็บรักษาไว้ในเรือนจา 173
และสิ่งของที่ได้ยึดไว้ตามอานาจหน้าที่ พ.ศ.2561
ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการรับจ่ายเงินฝากของผู้ต้องขังในเรือนจา(ฉบับที่3) พ.ศ.2561 174
ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยตัวผู้ต้องขัง พ.ศ.2561 177
วินัยและบทลงโทษ 180
กฎกระทรวงการดาเนินการทางวินัยผู้ต้องขัง พ.ศ. ๒๕๖๓ 181
ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการกาหนดความผิดอาญาที่ผู้บัญชาการเรือนจามีอานาจวินิจฉัยลงโทษ 191
ฐานผิดวินัย พ.ศ.2561
กฎกระทรวงการดาเนินการกับสิ่งของต้องห้ามตามมาตรา ๗๓ ในกรณีที่ไม่มีการดาเนินการ 194
ฟ้องร้องตามกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๖๓
พระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์ พุทธศักราช ๒๔๘๒ 197
คาอธิบายเรียงตามมาตรา พระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๔๘๒ 201
แนวทางการลงโทษข้าราชการกรมราชทัณฑ์ กรณีกระทาความผิดวินัยไม่ร้ายแรง 212
ตามพระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์ พุทธศักราช ๒๔๘๒
กฎกระทรวง กาหนดประโยชน์ของนักโทษเด็ดขาด และเงื่อนไขที่นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับการลดวัน 217
ต้องโทษจาคุกหรือการพักการลงโทษและได้รับการปล่อยตัวต้องปฏิบัติ พ.ศ. 2562
กฎกระทรวงกาหนดประเภท ชนิด และขนาดของเครื่องพันธนาการที่ใช้แก่ผู้ต้องขัง พ.ศ.๒๕๖๓ 232
กฎกระทรวงกาหนดประเภทหรือชนิดของอาวุธอื่นนอกจากอาวุธปืน ที่เจ้าพนักงานเรือนจา จะพึงมี 235
ไว้ในครอบครองหรือใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๖๓
กฎกระทรวงกาหนดสถานทีค่ ุมขัง พ.ศ. ๒๕๖๓ 236
กฎกระทรวงกาหนดระบบการจาแนกลักษณะของผู้ต้องขัง การควบคุมและการแยกคุมขัง และการ 238
ย้ายผู้ต้องขัง พ.ศ. ๒๕๖๓
กฎกระทรวงการร้องทุกข์ การยื่นเรื่องราวใด ๆ หรือการทูลเกล้าฯ ถวายฎีกาของผู้ต้องขัง 242
พ.ศ. ๒๕๖๓
กฎกระทรวงการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังซึ่งถูกล่วงละเมิดทางเพศ พ.ศ. ๒๕๖๓ 244
กฎกระทรวงการคานวณรายได้เป็นราคาเงินและการจ่ายเงินรางวัลให้แก่ผู้ต้องขัง ซึ่งการงานที่ได้ทา 247
นั้นก่อให้เกิดรายได้ซึ่งคานวณเป็นราคาเงินได้ พ.ศ. ๒๕๖๓
กฎกระทรวงการรับเงินทาขวัญของผู้ต้องขังซึ่งได้รับบาดเจ็บเจ็บป่วย หรือตายเนื่องจากการทางาน 249
พ.ศ. ๒๕๖๓
กฎกระทรวงการส่งตัวผู้ต้องขังไปรักษาตัวนอกเรือนจา พ.ศ. ๒๕๖๓ 251
กฎกระทรวงกาหนดทรัพย์สินของผู้ต้องขังเป็นสิ่งของที่อนุญาตหรือไม่อนุญาต 255
ให้เก็บรักษาไว้ในเรือนจา พ.ศ. ๒๕๖๓
กฎกระทรวงการดาเนินการทางวินัยผู้ต้องขัง พ.ศ. ๒๕๖๓ 257
กฎกระทรวงการดาเนินการกับสิ่งของต้องห้ามตามมาตรา ๗๓ ในกรณีที่ไม่มีการดาเนินการฟ้องร้อง 263
ตามกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๖๓
ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการปฏิบัติหน้าที่เวรยามรักษาการณ์กลางคืนและกลางวันใน 264
วันหยุดราชการของเรือนจาหรือทัณฑสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕

************
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 1

 ประวัติความเป็นมาของกรมราชทัณฑ์
แต่ เ ดิ มมา การเรื อนจาทั้งหลายในประเทศไทยได้แยกย้ายกันสังกัดอยู่ในกระทรวง
ทบวง กรม ต่าง ๆ มากมายหลายแห่ง เช่น คุก และตะรางในมณฑลกรุงเทพฯ ขึ้นอยู่ในสังกัดกระทรวง
นครบาล ตะรางต่าง ๆ ในพระนคร สั งกัดอยู่ในกระทรวง ทบวง กรมที่บังคับบัญชากิจ การนั้น เช่น
กรมมหาดไทย กรมพระกลาโหม กรมท่า กรมเมือง กรมวัง กรมนา กรมพระคลังมหาสมบัติ กรมพระ
ธรรมการ กรมพระสุรัศวดี กรมแพ่ง กรมกองตระเวรซ้าย กรมกองตระเวรขวา กรมท่าซ้าย กรมพระคลัง
สาม กรมพระนครบาล การเรือนจา หัวเมืองชั้นนอก หัวเมืองฝ่ายเหนือขึ้นอยู่ในกระทรวงมหาดไทย
หัวเมืองฝ่ายใต้ ขึ้นอยู่ในกระทรวงกลาโหม เป็นต้น

ตั้งกรมราชทัณฑ์ครั้งแรก สังกัดกระทรวงนครบาล
เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม พุทธศักราช 2458 ได้มีพระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จ
พระรามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราวุธมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร.6) ให้รวมการคุกกองมหันตโทษ และลหุโทษ
กับเรือนจาทั้งหลายที่กล่าวไว้ในพระราชบัญญัติลักษณะเรือนจา ร.ศ. 120 (พ.ศ. 2444) นั้น ขึ้นเป็น
กรมหนึ่ง เรียกว่า “กรมราชทัณ ฑ์ ” มีอธิบดีผู้หนึ่งบังคับการกรมนั้น ขึ้นอยู่ในกระทรวงนครบาล ซึ่ง
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงมีประกาศพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ เมื่อวันที่ 21
ตุลาคม 2458 แต่งตั้งมหาอามาตย์ตรีพระยาชัยวิชิตวิศิษฎ์ธรรมธาดา (ขา ณ ป้อมเพชร์) เป็นอธิบดี
กรมราชทัณฑ์คนแรก และคนสุดท้ายในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช เมื่อพ้นจากตาแหน่งอธิบดีกรม
ราชทัณฑ์แล้วได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นมหาอามาตย์เอก

กรมราชทัณฑ์ ย้ายไปสังกัดกระทรวงยุติธรรม ครั้งแรก


ต่ อ มาวั น ที่ 1 สิ ง หาคม 2465 พระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว ทรงมี
พระราชดาริว่า กรมราชทัณฑ์เป็นกรมที่มีหน้าที่เกี่ยวพันกับศาลยุติธรรม จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้
โอนกรมราชทัณฑ์จากกระทรวงนครบาล ไปขึ้นกับกระทรวงยุติธรรมตั้งแต่นั้นมา

ยุบเลิกกรมราชทัณฑ์ เป็นแผนกราชทัณฑ์สังกัดกระทรวงยุติธรรม
เมื่ อ วั น ที่ 26 มี น าคม พ.ศ. 2468 พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาประชาธิ ป ก
พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร.7) ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยุบเลิกกรมราชทัณฑ์ ให้กองมหันตโทษและ
กองลหุโทษกับเรือนจาทั้งหลาย ทั่วราชอาณาจักร เป็นแผนกราชทัณฑ์ สังกัดสานักปลัด ปลัดบัญชาการ
กระทรวงยุติธรรม ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2469 เป็นต้นไป เหตุที่ยุบกรมราชทัณฑ์ ในพระราช
ปรารภว่า เนื่องจากกรมราชทัณฑ์ จัดวางระเบียบและข้อบังคับไว้เรียบร้อยแล้ว จึงยุบเลิกกรมราชทัณฑ์
เพื่อประหยัดรายจ่ าย ทั้งนี้เป็นเพราะสมัยนั้นเศรษฐกิจของประเทศกาลังตกต่า การเงินปั่นป่ว นมาก

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


2 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

งบประมาณรายได้ รายจ่ ายไม่ได้ดุล ยภาพกัน จึงจาเป็นต้องตัดรายจ่ายเท่าที่รัฐ บาลในสมัยนั้น เห็ น


ความสาคัญน้อยลงเสีย

ย้ายแผนกราชทัณฑ์ไปสังกัดกรมพลัมภัง กระทรวงมหาดไทย
ปี พ.ศ.2469 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เห็นสมควร
จะยกการเรือนจาไปสังกัดกระทรวงมหาดไทย เพื่อสะดวกในการบังคับบัญชาและควบคุม จึงทรงพระ
กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้โอนการเรือนจาจากกระทรวงยุติธรรมไปขึ้นกระทรวงมหาดไทย ส่วนเจ้าหน้าที่ฝ่าย
ตุลาการยังมีอานาจไปตรวจเรือนจาได้ตามระเบียบราชการ ราชทัณฑ์ส่วนกลางในสมัยนั้น คงมีฐานะเป็น
เพี ย งแผนกหนึ่ ง เรี ย กว่ า แผนกราชทั ณ ฑ์ สั ง กั ด กรมพลั ม ภั ง (กรมมหาดไทย) ซึ่ ง เป็ น กรมหนึ่ ง ใน
กระทรวงมหาดไทย

ตั้งกรมราชทัณฑ์ ครั้งที่ 2 สังกัดกระทรวงมหาดไทย


เมื่อได้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดินจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช มาเป็น
การปกครองแผ่นดินในระบอบประชาธิปไตยในปีพุทธศักราช 2475 แล้ว รัฐบาลได้เล็งเห็นความสาคัญ
ของการราชทัณฑ์ว่า เป็นภารกิจของชาติบ้านเมืองอันสาคัญที่ควรจะได้มีการปรับปรุงในวาระเริ่มแรก
อย่ า งหนึ่ ง ซึ่ ง ในปี พ.ศ. 2476 ได้ ต ราพระราชกฤษฎี ก าจัด วางระเบีย บกรมในกระทรวงมหาดไทย
พุทธศักราช 2476 ยกฐานะแผนกราชทัณฑ์จากกรมพลัมภัง ขึ้นเป็นกรมราชทัณฑ์ในกระทรวงมหาดไทย
ตามเดิมอีกวาระหนึ่ง และให้นายพันเอก พระยาฤทธิ์อาคเนย์ (สละเอมะศิริ) เป็นอธิบดีกรมราชทัณฑ์
สังกัดกระทรวงมหาดไทย คนแรกในระบอบประชาธิปไตย

กรมราชทัณฑ์ ย้ายไปสังกัดกระทรวงยุติธรรม ครั้งที่ 2


ปี พ.ศ. 2545 รัฐบาลในสมัย พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี มีนโยบายใน
การปฏิรูประบบราชการได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ.
2545 และพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 ในราชกิจจานุเบกษา ฉบับพระ
ราชกฤษฎีกา เล่ม 119 ตอนที่ 99 ก. เมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2545 เป็นต้นไป มีผลทาให้กรมราชทัณฑ์
ต้องย้ายสังกัด จากกระทรวงมหาดไทยไปสังกัดกระทรวงยุติธรรมตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรม
ราชทัณฑ์ กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2545 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 119 ตอนที่ 103 ก. เล่ม
ที่ 2 ลงวันที่ 9 ตุลาคม 2545
ปัจจุบันได้ปรับปรุงการแบ่งส่วนราชการ และหน้าที่และอานาจของกรมราชทัณ ฑ์
กระทรวงยุติธรรม เพื่อให้สอดคล้องกับภารกิจที่เพิ่มขึ้น และเหมาะสมกับสภาพของงานที่เปลี่ยนแปลงไป
อันจะทาให้ การปฏิบัติภารกิจตามหน้าที่และอานาจ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น รายละเอียด
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 3

ตามกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการกรมราชทัณฑ์ กระทรวงยุติธรรม ประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่ม


๑๓๕ ตอนที่ ๕๑ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๑

อานาจหน้าที่
ภารกิจของกรมราชทัณฑ์ ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมราชทัณฑ์ กระทรวง
ยุติธรรม พ.ศ. 2561 ให้กรมราชทัณฑ์ มีภารกิจเกี่ยวกับการควบคุมและแก้ไขพฤตินิสัยผู้ต้องขัง และ
บุคคลที่อยู่ในความควบคุมหรื อดูแลตามหน้าที่และอานาจของกรม โดยมุ่งพัฒนาเป็นองค์กร พัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์ เพื่อแก้ไขหรือฟื้นฟูผู้ต้องขังและบุคคลที่อยู่ในความควบคุมหรือดูแล ตามหน้าที่ และ
อานาจของกรม ให้กลับตนเป็นพลเมืองดี มีสุขภาพกายและจิตที่ดี ไม่หวนกลับมากระทาผิดซ้า ได้รับการ
พัฒนาทักษะฝีมือในการประกอบอาชีพที่สุจริต และสามารถดารงชีวิตในสังคมภายนอกได้อย่างปกติโดย
สังคมให้การยอมรับ โดยให้มีหน้าที่และอานาจ ดังต่อไปนี้
(1) ปฏิ บั ติ ต่ อ ผู้ ก ระท าผิ ด ให้ เ ป็ น ไปตามค าพิ พ ากษาหรื อ ค าสั่ ง ตามกฎหมาย โดย
ดาเนินการ ตามกฎหมายว่าด้วยราชทัณฑ์และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
(2) กาหนดแนวทางปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง และบุคคลที่อยู่ในความควบคุมหรือดูแล ตาม
หน้าที่ และอานาจของกรม ให้สอดคล้องกับกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ นโยบายของกระทรวง หลัก
อาชญาวิทยา และหลักทัณฑวิทยา ตลอดจนข้อกาหนดมาตรฐานขั้นต่าสาหรับปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง และ
ข้อเสนอแนะ ในเรื่องที่เกี่ยวข้องขององค์การสหประชาชาติ
(3) ดาเนินการเกี่ยวกับการสวัสดิการและการสงเคราะห์แก่ผู้ต้องขัง และบุคคลที่อยู่ใน
ความควบคุม หรือดูแลตามหน้าที่และอานาจของกรม
(4) พัฒนาระบบ รูปแบบ มาตรการ หลักเกณฑ์ มาตรฐาน วิธีการปฏิบัติ และการปฏิบัติ
ต่อผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ในระหว่างที่ถูกควบคุมตัว เพื่อรอการตรวจพิสูจน์ในสถานที่เพื่อการตรวจ
พิสูจน์ ตามกฎหมายเกี่ยวกับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
(5) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกาหนดให้เป็นหน้าที่และอานาจของกรมหรือตามที่
รัฐมนตรี หรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย

ลักษณะงานพิเศษของงานราชทัณฑ์
1. เป็นงานที่ต้องปฏิบัติตลอด 24 ชั่วโมงอย่างต่อเนื่องกรมราชทัณฑ์ได้รับ อนุมัติ
กรอบอัตรากาลังในการปฏิบัติงานเฉพาะเวลาราชการเพียงวันละ 8 ชั่วโมง ซึ่งเป็นกรอบอัตรากาลังขั้นต่า
ที่ สุ ด ที่ ส ามารถจะปฏิบั ติ ง านได้ ส่ ว นการปฏิ บั ติง านนอกเวลาราชการอี ก วัน ละ 16 ชั่ ว โมง และใน
วันหยุดราชการ ต้องสับเปลี่ยนหมุนเวียนข้าราชการที่ปฏิบัติหน้าที่ในเวลาราชการปกติทุกตาแหน่งมา

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


4 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

เข้ า เวรยามรั ก ษาการณ์ ท าให้ ข้ า ราชการเรื อ นจ า/ทั ณ ฑสถานต้ อ งปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ อ ย่ า งตรากตร ากว่ า
ข้าราชการอื่น จึงก่อให้เกิดความเบื่อหน่ายเสียขวัญไม่มีเวลาให้กับครอบครัวอย่างพอเพียง
2. เป็นงานที่ต้องปฏิบัติทันทีไม่สามารถปฏิเสธหรือผ่อนผันเวลาในการปฏิบัติ ภารกิจ
หลักที่สาคัญประการแรกของกรมราชทัณฑ์คือการควบคุมผู้ต้องขังไม่ให้หลบหนี กรมราชทัณฑ์ไม่อาจ
ปฏิเสธการรับตัวผู้ต้องขังไว้ในความควบคุมได้แม้เรือนจาจะมีอัตรากาลังหรือสถานที่ควบคุมไม่เพี ยงพอก็
ตาม ประกอบกับการควบคุมหรือการปล่อยตัวผู้ต้องขังจะต้องทาในทันทีที่ได้รับหมายศาลหรือคาสั่งตาม
กฎหมาย จะผ่อนผันไปดาเนินการในวันอื่นไม่ได้ ข้าราชการเรือนจาฯ จึงต้องปฏิบัติงานให้เสร็จสิ้นโดย
พลัน แม้ว่าจะเลยเวลาราชการหรือขาดแคลนอัตรากาลังก็ตาม ทาให้ข้าราชการที่ปฏิบัติงานอยู่ในปัจจุบัน
ต้องรับภาระหนักและเกิดความกดดันสูง
3. เป็นงานที่ต้องปฏิบัติด้วยความรอบคอบ ระมัดระวังและต้องอาศัยความละเอียดถี่
ถ้วนและถูกต้องแม่นตรงจะเกิดความผิดพลาดไม่ได้ การรับหมายศาลการับปล่อยตรวจค้นตัวผู้ต้องขัง
การคานวณวันพ้นโทษ/การลดวันต้องโทษและการดาเนินการงานด้านอื่น ๆ เช่น การประหารชีวิตนักโทษ
เด็ดขาดเป็นที่ต้องปฏิบัติอย่างรอบคอบ จะผิดพลาดไม่ได้ ซึ่งเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานต้องใช้ความชานาญ
การและประสบการณ์เฉพาะทาง
4. เป็นงานที่มีความยากมาก โดยเฉพาะงานด้านการแก้ไขผู้ต้องขัง ให้กลับตัวเป็น
พลเมืองดีของสังคมการแก้ไขพัฒนาผู้ต้องขังที่ได้ชื่อว่าเป็นผู้ร้ายโดยสันดานเป็นงานที่ยากยิ่งเนื่องจาก
ผู้กระทาผิดส่วนใหญ่สะสมพฤติกรรมความคิดและจิตสานึกในทางที่ไม่ถูกต้องเป็นระยะเวลานาน เป็น
บุคคลมีสภาพจิตผิดปกติดื้อด้านพฤติกรรมเบี่ยงเบน จึงเป็นงานที่ถือได้ว่ามีความยากมากเป็นพิเศษ
5. เกี่ยวข้องกับกฎหมายหลายฉบับ ได้แก่
-พ.ร.บ.ราชทัณฑ์ พ.ศ.2560
-พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการกักกันตามประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2510
-ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2499
-ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ.2478
-ข้อกาหนดมาตรฐานขั้นต่าขององค์การสหประชาชาติ
นอกจากนี้ยังต้องติดต่อประสานงานกับองค์การระหว่างประเทศหน่วยงานต่างประเทศ
สถานทูต สถานกงสุล องค์กรเอกชนและส่วนราชการอื่น ๆ
6. เป็นงานที่มีผลกระทบต่อความมั่นคงและปลอดภัยของสังคม
ลักษณะงานของกรมราชทัณฑ์หากการปฏิบัติหน้าที่เกิดความบกพร่องหรือเกิดความ
ผิดพลาดขึ้น เช่นผู้ต้องขังแหกหักหลบหนี ปล่อยผู้ต้องขังผิดตัวหรือระบบแก้ไขผู้ต้องขังไม่มี ประสิทธิภาพ
ผู้ต้องขังกลับไปกระทาผิ ด สร้างความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สิ นของประชาชนจะก่อให้เกิดควา ม
เสียหายต่อกระบวนการยุติธรรม ความสงบเรียบร้อยและความปลอดภัยของสังคม
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 5

การแบ่งส่วนราชการกรมราชทัณฑ์ กระทรวงยุติธรรม พ.ศ.2561


ก. ราชการบริหารส่วนกลาง
(1) สานักงานเลขานุการกรม
(2) กองกฎหมาย
(3) กองทัณฑปฏิบัติ
(4) กองทัณฑวิทยา
(5) กองบริการทางการแพทย์
(6) กองบริหารการคลัง
(7) กองบริหารทรัพยากรบุคคล
(8) กองพัฒนาพฤตินิสัย
(9) กองมาตรฐานการปฏิบัติต่อผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์
(10) กองยุทธศาสตร์และแผนงาน
(11) ทัณฑสถาน ตามที่รัฐมนตรีประกาศกาหนด 24 แห่ง
(12) เรือนจากลาง ตามที่รัฐมนตรีประกาศกาหนด 33 แห่ง
(13) เรือนจาพิเศษ ตามที่รัฐมนตรีประกาศกาหนด 4 แห่ง
(14) สถานกักกัน ตามที่รัฐมนตรีประกาศกาหนด 1 แห่ง
(15) สถานกักขัง ตามที่รัฐมนตรีประกาศกาหนด 5 แห่ง
(16) สถาบันพัฒนาข้าราชการราชทัณฑ์
ข. ราชการบริหารส่วนภูมิภาค
(๑) เรือนจาอาเภอ ตามที่รัฐมนตรีประกาศกาหนด ( 26 แห่ง)
(2) เรือนจาจังหวัด ตามที่รัฐมนตรีประกาศกาหนด ( 50แห่ง)
หมายเหตุ -มีเรือนจา/ทัณฑสถาน รวม 142 แห่ง สถานกักกัน 1 แห่ง
-มีเรือนจาชั่วคราว ภายใต้เรือนจาหลัก จานวน 91 แห่ง
-มีสถานที่เพื่อการควบคุมตัว และสถานที่เพื่อการตรวจพิสู จน์ จานวน 81
แห่ง จาแนกเป็น ภายนอกเรือนจา 25 แห่ง ทับซ้อนกับสถานกักขัง 8 แห่ง ไม่ทับซ้อน จานวน
17 แห่ง/ภายในเรือนจา จานวน 56 แห่ง ทับซ้อนกับสถานกักขัง จานวน 40 แห่ง ไม่ทับซ้อน
จานวน 16 แห่ง (ข้อมูล 1 สิงหาคม 2562)

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


6 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

รายชื่อเรือนจา 143 แห่ง


กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 7

วิสัยทัศน์กรมราชทัณฑ์
“องค์กรสมรรถนะสูงด้านการควบคุมและพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขัง
แบบมืออาชีพ บูรณาการ มาตรฐานและนวัตกรรม”

พันธกิจ
“ควบคุมและพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขัง”

ค่านิยมองค์กร
1. รักองค์กร
2. ความเสียสละ
3. ความซื่อสัตย์
4. ความรับผิดชอบ
5. คุณธรรม
6. ความโปร่งใส
7. วินัยและการปฏิบัติตามกฎข้อบังคับ
8. ใฝ่เรียนรู้
9. เข้าถึงเทคโนโลยี
10.เคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
11.ความพึงพอใจของผู้รับบริการ
ที่มา วิสัยทัศน์และพันธกิจ เป็นไปตามแผนปฏิบัติการกรมราชทัณฑ์ พ.ศ.2563-2565
*************

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


8 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

มีประเด็นอะไรใหม่ ๆ ใน พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.๒๕๖๐


-------------------------
๑. พระราชบั ญ ญั ติ ร าชทั ณ ฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้ ป ระกาศใช้ แ ละมี ผ ลใช้ บั ง คั บ เมื่ อ ใด
พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อ วันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐
และมีผลใช้บังคับเมื่อพ้น ๙๐ วัน นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา ดังนั้น มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่
๑๙ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ตามความในมาตรา ๒ แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐
๒. พระราชบั ญ ญั ติ ร าชทั ณ ฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ แตกต่ า งจากพระราชบั ญ ญั ติ ร าชทั ณ ฑ์
พุ ท ธศั ก ราช ๒๔๗๙ ฉบั บ เดิ ม อย่ า งไร ? พระราชบั ญ ญั ติ ร าชทั ณ ฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ มี บ ทบั ญ ญั ติ ที่
เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมหลายประการ ดังนี้
๑) เพิ่มเวลาติดตามจับกุมผู้ต้องขังหลบหนีจาก ๒๔ ชั่วโมง เป็น ๔๘ ชั่วโมง(ม.25)
๒) มี ก ารรั บ รองสิ ท ธิข องผู้ ต้ อ งขั ง ตามมาตรฐานสากลไว้ใ นพระราชบั ญ ญัติ (เดิ ม เป็ น เพี ย ง
ระเบียบฯ และแนวปฏิบัติ ) เช่น การศึกษา ศาสนา การรักษาพยาบาลการดูแลผู้ต้องขังที่มีครรภ์หรือ
คลอดบุตร (หมวด 5 สิทธิ หน้าที่ ประโยชน์และกิจการอื่นๆ เกี่ยวกับผู้ต้องขัง) ส่วนที่ 1 สิทธิของ
ผู้ต้องขัง ม.43-47)
๓) มีการปรับปรุงการแยกประเภทหรือชั้นของเรือนจา (ม.31-34)
๔) ได้กาหนดการดาเนินงานที่สาคัญไว้ในพระราชบัญญัติฯ (เดิมอยู่ในกฎหมาย ลาดับรองหรือ
เป็นเพียงแนวทางปฏิบัติ) ได้แก่
-ระบบการจาแนกลักษณะของผู้ต้องขัง ม.40
-ระบบการจัดชั้น กลุ่ม และการแยกคุมขังผู้ต้องขัง ม.41
-ระบบการพัฒนาพฤตินิสัย ม.42
-การเตรียมความพร้อมก่อนปล่อย ม.64
นอกจากนี้ พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ ยังมีบทบัญญัติที่เป็นหลักการใหม่ ดังนี้
๑) มี ค ณะกรรมการราชทั ณ ฑ์ ซึ่ ง มี อ านาจหน้ า ที่ ห ลั ก ในการก าหนดทิ ศ ทางนโยบาย การ
บริหารงานราชทัณฑ์ และเน้นความโปร่งใสโดยการมีส่วนร่วมจากองค์กรและบุคคลภายนอก ม.8
๒) มีบทบัญญัติเรื่องมาตรการบังคับโทษด้วยวิธีอื่นแทนการจาคุกและการกาหนด สถานที่อื่นเป็น
สถานที่คุมขัง เพื่อให้สอดคล้องกับหลักการพัฒนาพฤตินิสัยและลดปัญหาความแออัดภายในเรือนจา ม.6
๓) มีการเพิ่มอานาจให้แก่เจ้าพนักงานเรือนจามากขึ้น โดย
-เพิ่มอานาจเข้าตรวจค้นสถานที่ ยานพาหนะ เพื่อติดตามผู้ต้องขังหลบหนี ม.25
-เพิ่มอานาจการตรวจจดหมาย พัสดุภัณฑ์ และการสกัดกั้นการติดต่อสื่อสาร ม.29
-เพิ่มอานาจการตรวจค้นภายในเขตปลอดภัย (บริเวณภายนอกรอบเรือนจา) รวมทั้งให้อานาจใน
การทาลายอุปกรณ์นาส่งสิ่งของต้องห้าม เช่น ยิงโดรนส่งยาเสพติดเข้าเรือนจา ม.27
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 9

-มี ก ารฝึ ก อบรมเพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ แ ก่ เ จ้ า พนั ก งานเรื อ นจ า และมี
บทบัญญัติเรื่องเงินเพิ่มสาหรับตาแหน่งที่มีเหตุพิเศษ เพื่อเป็นขวัญและกาลังใจในการปฏิบัติหน้าที่แก่เจ้า
พนักงานเรือนจา ม.18-19
กาหนดชื่อเรื อนจ า โดยใช้คาว่า “เรื อนจา” เป็นคาขึ้นต้น แล้ ว ต่อด้ว ยชื่อของเรือนจา และ
กาหนดเขตความรับผิดชอบของเรือนจาโดยอาจกาหนดให้ครอบคลุมพื้นที่หลายจังหวัด โดยให้มีความ
เหมาะสม สอดคล้องกับการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่และรองรับการดาเนินการของศาล ม.32
มีการรับรองสิทธิของผู้ต้องขังตามมาตรฐานสากล เช่น การคุ้มครองกรณีถูกล่วงละเมิดทางเพศ
โดยเจ้าพนักงาน ซึ่งเป็นหลักการใหม่ในพระราชบัญญัตินี้ ม.47
๓. ข้อดีของพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ ฉบับใหม่ มีอะไรบ้าง
พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็นการปรับปรุงกฎหมายราชทัณฑ์ทั้งฉบับ อย่างเป็น
ระบบ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารงานราชทัณฑ์ การพัฒนาบุคลากร เจ้าหน้าที่ และเน้นระบบ
การพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขัง โดยเริ่มตั้งแต่การรับตัวผู้ต้องขัง การจาแนก ตลอดจนการเตรียมความพร้อม
ก่อนปล่อย เพื่อให้โอกาสแก่ผู้ต้องขังกลับสู่ครอบครัว สังคม และไม่กระทาผิดซ้าอีก ควบคู่กับการปกป้อง
สังคมโดยการเน้นควบคุมผู้กระทาผิดที่มีพฤติการณ์เป็นภัยร้ายต่อสังคม หรืออาชญากรโดยสันดาน ซึ่ง
สามารถสรุปข้อดีของพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ ฉบับใหม่ เป็น ๓ มิติ ดังนี้
๑) มิติต่อประชาชน/สังคม
ด้ า นความปลอดภั ย และการคื น คนดีสู่ สั ง คม : มีการกาหนดระยะเวลาที่ ถู ก คุ มขั ง การได้
ประโยชน์ การพัฒนาพฤตินิสัย และการเตรียมความพร้อมก่อนปล่อย เหมาะสมกับผู้ต้องขังแต่ละประเภท
อย่างแท้จริง
๒) มิติต่อองค์กร
เพิ่มประสิทธิภาพการทางาน ภาพลักษณ์ ความโปร่งใส ตรวจสอบได้
๓) มิติต่อผู้ต้องขัง
มีการคุ้มครองสิทธิตามมาตรฐานสากลตามข้อ ๒.
เน้นระบบการพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขังด้วยวิธีการและแนวทางที่เหมาะสม
๔. สิ ท ธิ แ ละหน้ า ที่ ข องผู้ ต้ อ งขั งตามพระราชบั ญ ญั ติฯ ฉบั บ ใหม่ เปลี่ ย นแปลงไปหรื อไม่
อย่างไร
ในส่วนของสิทธิ ผู้ต้องขังจะได้รับการปฏิบัติตามหลักมาตรฐานสากลมากขึ้น เช่น
-การคุ้มครองกรณีถูกล่วงละเมิดทางเพศโดยเจ้าพนักงานของเรือนจาและการได้รับคาแนะนา
และความช่วยเหลือ ม.47
-สาหรับผู้ต้องขังหญิงที่ตั้งครรภ์หรือให้นมบุตร ที่จะได้รับคาแนะนาด้านสุขภาพและโภชนาการ ม.57
-การได้รับประโยชน์ เช่น การพักการลงโทษ จะมีหลักเกณฑ์ที่เคร่งครัดและเหมาะสมมากยิ่งขึ้น

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


10 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

-ส่วนการได้รับประโยชน์ ผู้ต้องขังจะได้รับประโยชน์เรื่องการออกไปฝึกวิชาชีพ/ศึกษาอบรมนอก
เรือนจา ม.52(8)
ในส่วนของหน้าที่ ในเรื่องวินัยผู้ต้องขัง ได้ยกเลิกโทษเฆี่ยนและการขังห้องมืด ลดโทษขังเดี่ยว
เหลือไม่เกิน ๑ เดือนจากเดิม ๓ เดือน ม.69(6) นอกจากนี้ ได้มีปรับกาหนดโทษตามความผิดเกี่ยวกับ
เรื อนจ า เช่น เรื่ องสิ่ งของต้องห้ าม ให้ มีความเหมาะสมตามความร้ายแรงของสิ่ ง ของต้อ งห้ ามแต่ ล ะ
ประเภท ม.72-73
๕. ความเป็นมาของพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็นอย่างไร
ในปี ๒๕๔๖ กองนิติการ(กองกฎหมาย ในปัจจุบัน) กรมราชทัณฑ์ ได้ริเริ่มที่จะปรับปรุงแก้ไข
พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พุทธศักราช ๒๔๗๙ ในบางประเด็น ซึ่งร่างพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ (ฉบับที่ ..)
ได้ผ่านการพิจารณาของสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เมื่อปี ๒๕๕๐ และได้เข้าสู่การพิจารณาของ
รัฐสภาแล้ว แต่ค้างการพิจารณา ซึ่งต่อมากระทรวงยุติธรรมไม่ยืนยันร่างพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ (ฉบับที่
..) ในปี ๒๕๕๔ ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวจึงตกไป
ต่อมาในเดือนกรกฎาคม ๒๕๕๗ สานักงานกิจการยุติธรรม จึงได้นาร่างพระราชบัญญัติราชทัณฑ์
พ.ศ. .... ซึ่งได้เคยดาเนินการยกร่างไว้ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ มาแก้ไขเพิ่มเติม และดาเนินการเพื่อผลักดันร่าง
พระราชบั ญ ญั ติ ร าชทั ณ ฑ์ พ.ศ. .... ตามกระบวนการขั้ น ตอนต่ อ ไปอี ก ครั้ ง หนึ่ ง จนส าเร็ จ เป็ น
พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยสรุปได้ดังตารางความเป็นมาของร่างพระราชบัญญัติราชทัณฑ์
พ.ศ. ....
๖. การมีพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ ฉบับใหม่ จะทาให้การปฏิบัติงานราชทัณฑ์เป็นมาตรฐาน
เดียวกันด้วยหรือไม่
ตามมาตรา ๓๔ แห่ งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้กาหนดให้ อธิบดีว างระเบียบ
เกี่ยวกับการบริหารงานในเรือนจาและสถานที่คุมขัง การปฏิบัติงานของเจ้าพนักงานเรือนจาและเจ้าหน้าที่
ต่อผู้ต้องขัง รวมถึงเรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานราชทัณฑ์ เพื่อให้การปฏิบัติงานในเรือนจา เป็นแนวทาง
และมาตรฐานเดียวกัน เปรียบได้กับคู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedures
: SOPs) โดยมีชื่อเรียกว่า “ประมวลระเบียบงานราชทัณฑ์ (Correctional Service Code - CSC)”
ซึ่ ง จะเป็ น การแก้ ไ ข ปรั บ ปรุ ง กฎ ระเบี ย บ และการปฏิ บั ติ ง านราชทั ณ ฑ์ ใ นเรื่ อ งต่ า งๆ เพื่ อ ให้ ก าร
ปฏิบั ติงานสอดคล้องกับ หลักการในพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ และหลั กเกณฑ์ วิธีการที่
กาหนดไว้ในกฎหมายลาดับรองแล้ว อย่างไรก็ตาม นอกจากการบังคับโทษตามคาพิพากษาศาลแล้ว งาน
ราชทัณฑ์ยังเป็นงานที่มีหลายด้านที่ต้องเกี่ยวข้องกับการใช้ชีวิตของผู้ต้องขังในทุกเรื่อง ซึ่งมีกระบวนการ
ขั้นตอนมาก มีความละเอียดและซับซ้อน หลายกรณีจึงสมควรที่จะต้องวางระเบียบและขั้นตอนการปฏิบัติ
ไว้เป็นให้ชัดเจนเพื่อให้เจ้าพนักงานเรือนจาและเจ้าหน้าที่ปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง มีมาตรฐาน และเป็นไปใน
แนวทางเดียวกัน
---------------
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 11

ดัชนีทั่วไปของ พ.ร.บ.ราชทัณฑ์ พ.ศ.๒๕๖๐


๑. พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒560 ให้ไว้ ณ วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2560 เป็นปีที่ 2 ใน
รัชกาลปัจจุบัน (สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร)
๒. พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกาหนดเก้าสิบวัน นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เป็นต้นไป (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 134 ตอนที่ 21ก วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2560 ) มี
ผลบังคับใช้วันที่ 19 พฤษภาคม 2560
๓. พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 มีบทบัญญัติทั่วไป 8 หมวด 78 มาตรา
บททั่วไป มาตรา 1-7
หมวด 1 คณะกรรมการราชทัณฑ์ มาตรา 8-16
หมวด 2 อานาจหน้าที่เจ้าพนักงานเรือนจา มาตรา 17-30
หมวด 3 การจาแนก เขตความรับผิดชอบ และมาตรฐานเรือนจา มาตรา 31-34
หมวด 4 ผู้ต้องขัง
ส่วนที่ 1 การรับตัวผู้ต้องขัง มาตรา 35-39
ส่วนที่ 2 การจาแนกและการพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขัง มาตรา 40-42
หมวด 5 สิทธิ หน้าที่ ประโยชน์ และกิจการอื่น ๆ เกี่ยวกับผู้ต้องขัง
ส่วนที่ 1 สิทธิของผู้ต้องขัง มาตรา 43-47
ส่วนที่ 2 หน้าที่และการงานของผู้ต้องขัง มาตรา 48-51
ส่วนที่ 3 ประโยชน์ของผู้ต้องขัง มาตรา 52-53
ส่วนที่ 4 สุขอนามัยของผู้ต้องขัง มาตรา 54-59
ส่วนที่ 5 การติดต่อผู้ต้องขัง มาตรา 60-61
ส่วนที่ 6 ทรัพย์สินของผู้ต้องขัง มาตรา 62-63
หมวด 6 การเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยและการพ้นจากเรือนจา มาตรา 64-67
หมวด 7 วินัยและบทลงโทษ มาตรา 68-70
หมวด 8 ความผิดเกี่ยวกับเรือนจา มาตรา 71-75
บทเฉพาะกาล มาตรา 76-78
*************

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


12 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐


-------------------------
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
ให้ไว้ ณ วันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
เป็นปีที่ 2 ในรัชกาลปัจจุบัน
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้
ประกาศว่า
โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยการราชทัณฑ์
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของสภานิติ
บัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้
มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. 2560”
มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกาหนดเก้าสิบวัน นับแต่วันประกาศในราชกิจจา
นุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา 3 ให้ยกเลิก
(1) พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พุทธศักราช 2479
(2) พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2520
(3) พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2522
(4) พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2523
(5) ประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ 110/2557 เรื่อง การแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาย
ว่าด้วยราชทัณฑ์ ลงวันที่ 21 กรกฎาคม พุทธศักราช 2557
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้
“เรือนจา” หมายความว่าที่ซึ่งใช้ควบคุม ขัง หรือจาคุก ผู้ต้องขังกับทั้งสิ่งที่ใช้ต่อเนื่องกัน และ
ให้หมายความรวมถึงที่อื่นใด ซึ่งรัฐมนตรีได้กาหนดและประกาศในราชกิจจานุเบกษา วางอาณาเขตไว้
โดยชัดเจนด้วย
“ผู้ต้องขัง” หมายความรวมถึงนักโทษเด็ดขาด คนต้องขัง และคนฝาก
“นักโทษเด็ดขาด” หมายความว่าบุคคลซึ่งถูกขังไว้ ตามหมายจาคุกภายหลังคาพิพากษาถึง
ที่สุดและให้หมายความรวมถึงบุคคลซึ่งถูกขังไว้ตามคาสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายให้ลงโทษด้วย
“คนต้องขัง” หมายความว่าบุคคลซึ่งถูกขังไว้ตามหมายขัง
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 13

“คนฝาก” หมายความว่าบุคคลซึ่งถูกฝากให้ควบคุมไว้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
อาญา หรือกฎหมายอื่นโดยไม่มีหมายอาญา
“คณะกรรมการ” หมายความว่าคณะกรรมการราชทัณฑ์
“กรรมการ” หมายความว่ากรรมการราชทัณฑ์
“เจ้าพนักงานเรือนจา” หมายความว่าผู้ซึ่งมีคุณสมบัติตามที่ รัฐ มนตรี ประกาศกาหนดและ
อธิบดีได้แต่งตั้ง เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
“อธิบดี” หมายความว่าอธิบดีกรมราชทัณฑ์
“รัฐมนตรี” หมายความว่ารัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา 5 พระราชบัญญัตินี้ มิให้ใช้บังคับกับเรือนจาทหารตามกฎหมายว่าด้วยเรือนจาทหาร
มาตรา 6 กรมราชทัณฑ์อาจดาเนินการให้มี มาตรการบังคับโทษด้วยวิธีการอื่น นอกจากการ
ควบคุม ขัง หรือจาคุกไว้ในเรือนจา แต่มาตรการดังกล่าวต้องไม่ขัดต่อประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา รวมตลอดถึงกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ตามหลัก เกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดใน
กฎกระทรวงโดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
มาตรา 7 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอานาจ
ออกกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศ เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
กฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับได้

หมวด 1
คณะกรรมการราชทัณฑ์
----------------------------
มาตรา 8 ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการราชทัณฑ์” ประกอบด้วย
(1) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานกรรมการ
(2) ปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นรองประธานกรรมการ
(3) กรรมการโดยตาแหน่ง จานวนเก้าคน ได้แก่ ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์ ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงแรงงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ปลัดกระทรวง
สาธารณสุข ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ เลขาธิการสานักงานศาลยุติธรรม อัยการสูงสุด และเลขาธิการ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
(4) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จานวนเจ็ดคน ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้ง จากผู้มีความรู้ ความสามารถ
ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์เป็นที่ประจักษ์ ด้านนิติศาสตร์ ด้านศาสนา ศิลปะ หรือวัฒนธรรม

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


14 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ด้านอาชญาวิทยา ด้านทัณฑวิทยา ด้านสิทธิมนุษยชน ด้านจิตวิทยา และด้านอื่นที่เป็นประโยชน์ต่อ


การราชทัณฑ์ ด้านละหนึ่งคน
ให้อธิบดีเป็นกรรมการและเลขานุการ และให้อธิบดีแต่งตั้งข้าราชการในกรมราชทัณฑ์จานวน
ไม่เกินสองคนเป็นผู้ช่วยเลขานุการ
มาตรา 9 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้
(1) มีสัญชาติไทย
(2) มีอายุไม่ต่ากว่าสามสิบห้าปี
(3) ไม่เป็นผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น กรรมการหรือผู้
ดารงตาแหน่งที่รับผิดชอบในการบริหารพรรคการเมือง หรือเจ้าหน้าที่พรรคการเมือง
(4) ไม่เป็นข้าราชการซึ่งมีตาแหน่งหรือเงินเดือนประจา เว้นแต่เป็นผู้ดารงตาแหน่งอาจารย์ใน
มหาวิทยาลัยของรัฐ
(5) ไม่เป็นคนไร้ความสามารถหรือเสมือนไร้ความสามารถ
(6) ไม่เคยต้องคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก ไม่ว่าจะได้รับโทษจาคุกจริงหรือไม่ เว้นแต่เป็นโทษ
สาหรับความผิดที่ได้กระทาโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
(7) ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจเพราะ
กระทาผิดวินัย
มาตรา 10 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ มีวาระการดารงตาแหน่ง คราวละสามปี
เมื่อครบกาหนดตามวาระในวรรคหนึ่ง หากยังไม่ได้มีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม่ ให้
กรรมการผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ซึ่ ง พ้ น จากต าแหน่ ง ตามวาระนั้ น อยู่ ใ นต าแหน่ ง เพื่ อ ด าเนิ น งานต่ อ ไปจนกว่ า
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับแต่งตั้งใหม่เข้ารับหน้าที่
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากตาแหน่งตามวาระ อาจได้รับแต่งตั้งอีกได้ แต่จะดารงตาแหน่ง
ติดต่อกันเกินสองวาระไม่ได้
มาตรา 11 นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระตามมาตรา 10 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้น
จากตาแหน่ง เมื่อ
(1) ตาย
(2) ลาออก
(3) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 9
(4) รั ฐ มนตรี ใ ห้ อ อก เพราะบกพร่ อ งต่ อ หน้ า ที่ มี ค วามประพฤติ เ สื่ อ มเสี ย หรื อ หย่ อ น
ความสามารถ
ในกรณี ที่ ก รรมการผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ พ้ น จากต าแหน่ ง ก่ อ นวาระ รั ฐ มนตรี อ าจแต่ ง ตั้ ง ผู้ อื่ น เป็ น
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแทนได้ และให้ผู้ซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งแทนอยู่ในตาแหน่ง เท่ากับวาระที่
เหลืออยู่ของกรรมการซึ่งตนแทน
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 15

มาตรา 12 คณะกรรมการมีอานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้


(1) กาหนดนโยบายและทิศทางในการบริหารงานราชทัณฑ์เพื่อให้สอดคล้องกับภารกิจด้านการ
ราชทัณฑ์อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งพิจารณาให้ค วามเห็น เกี่ยวกับการบริห ารงานราชทัณฑ์ ต ามที่
คณะรัฐมนตรีขอให้พิจารณา
(2) ให้คาแนะนาหรือคาปรึกษาแก่รัฐมนตรีในการออกกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศตาม
พระราชบัญญัตินี้ รวมทั้งให้คาแนะนาแก่อธิบดีในการวางระเบียบกรมราชทัณฑ์
(3) ให้ความเห็นชอบกฎกระทรวง ระเบียบ หรือประกาศตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้
(4) กาหนดหรื อเสนอแนะแนวทาง กลยุทธ์ และมาตรการในการปรับปรุงและพัฒ นาการ
บริหารงานราชทัณฑ์ หรือการดาเนินการตามแผนการบริหารงานราชทัณฑ์ให้เป็นไปโดยมีประสิทธิภาพ
และสัมฤทธิ์ผล รวมทั้ง แนวทางในการพัฒนาพฤตินิสัย ผู้ต้องขังให้กลับตนเป็นคนดี การเตรียมความ
พร้อมก่อนปล่อยผู้ต้องขัง และการดูแลช่วยเหลือผู้ต้องขังหลังปล่อยเพื่อมิให้กลับไปกระทาความผิดซ้า
อีกและเสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรี หน่วยงานของรัฐ หรือองค์กรที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาพฤตินิสัย
ผู้ต้องขังและการดูแลช่วยเหลือผู้ต้องขังหลังปล่อยเพื่อพิจารณา
(5) กาหนดมาตรฐานการดาเนินการด้านต่าง ๆ ของเรือนจาให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัตินี้
(6) ปฏิบัติการอื่นตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่น
มาตรา 13 การประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุม ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวน
กรรมการทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม
ในการประชุมของคณะกรรมการ ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้
ให้รองประธานกรรมการเป็นประธานในที่ประชุม ถ้าประธานกรรมการและรองประธานกรรมการไม่มา
ประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้ที่ประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม
การวิ นิ จ ฉั ย ชี้ ข าดของที่ ป ระชุ ม ให้ ถื อ เสี ย งข้ า งมาก กรรมการคนหนึ่ ง ให้ มี เ สี ย งหนึ่ ง ในการ
ลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด
มาตรา 14 คณะกรรมการจะแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาวินิจฉัยหรือปฏิบัติการอย่าง
ใดอย่างหนึ่งตามที่คณะกรรมการมอบหมายก็ได้ และให้นาบทบัญญัติมาตรา 13 มาใช้บังคับกับการ
ประชุมของคณะอนุกรรมการโดยอนุโลม
มาตรา 15 ให้ประธานกรรมการ กรรมการ และอนุก รรมการได้รับเบี้ยประชุม และประโยชน์
ตอบแทนอื่น ตามหลักเกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรีกาหนด
มาตรา 16 ให้กรมราชทัณฑ์รับผิดชอบงานธุรการของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ
และประสานงานกับหน่วยงานของรัฐหรือองค์กรที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขัง การเตรียม
ความพร้อมก่อนปล่ อยผู้ต้องขัง และการดูแลช่วยเหลือผู้ต้องขังหลังปล่อย รวมทั้งปฏิบัติงานอื่นใด
ตามที่คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการมอบหมาย

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


16 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

หมวด 2
อานาจหน้าที่เจ้าพนักงานเรือนจา
---------------------------------
มาตรา 17 อธิบดีมีอานาจกาหนดอานาจและหน้าที่ของเจ้าพนักงานเรือนจาในส่วนที่เกี่ยวแก่
การงานและความรับผิดชอบ ตลอดจนเงื่อนไขที่จะปฏิบัติตามอานาจและหน้าที่นั้น
ในกรณีจาเป็นเพื่อประโยชน์ของทางราชการ ผู้บัญชาการเรือนจาอาจแต่งตั้งให้ข้าราชการหรือ
บุคลากรจากส่วนราชการอื่นเป็นผู้ช่ วยเหลือกรมราชทัณฑ์ในการปฏิบัติหน้าที่หรือภารกิจต่าง ๆ ตามที่
ได้รับมอบหมายเป็นครั้งคราวได้ โดยให้ผู้ได้รับการแต่งตั้งมีอานาจหน้าที่เช่นเดียวกับเจ้าพนักงานเรือนจา
การดาเนินการตามมาตรานี้ ให้เป็นไปตามระเบียบกรมราชทัณฑ์
มาตรา 18 ให้กรมราชทัณฑ์จัดให้ เจ้าพนักงานเรือนจา เข้ารับการฝึกอบรมก่อนเข้า ปฏิ บัติ
หน้าทีเ่ พื่อให้มีการประเมินและพัฒนาความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะในการปฏิบัติหน้าที่ รวมไปถึง
การจั ดฝึ กอบรมเพื่ อเพิ่ ม ทั กษะและความเชี่ย วชาญ ทั้งนี้ ตามหลั กสู ตรการฝึ กอบรมที่ ได้ รับ ความ
เห็นชอบจากคณะกรรมการ
มาตรา 19 ให้เจ้าพนักงานเรือนจา ผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมตามมาตรา 18 เป็นตาแหน่งที่มีเหตุ
พิเ ศษตามกฎหมายว่า ด้วยระเบียบข้า ราชการพลเรือน และในการกาหนดให้ ได้รับเงินเพิ่มส าหรับ
ตาแหน่งที่มีเหตุพิเศษให้คานึงถึง ภาระหน้าที่และคุณภาพของงาน โดยเปรียบเทียบกับค่าตอบแทนของ
ผู้ ป ฏิบั ติงานอื่น ในกระบวนการยุติ ธรรม ทั้งนี้ให้ เป็นตามระเบียบกระทรวงยุติธ รรมโดยได้รับความ
เห็นชอบจากกระทรวงการคลัง
มาตรา 20 เจ้าพนักงานเรือนจาจะใช้กาลังบังคับแก่ผู้ต้องขังไม่ได้ เว้นแต่กรณีดังต่อไปนี้
(1) การกระทาเพื่อป้องกันตัว
(2) ผู้ต้องขังพยายามหลบหนี ใช้กาลังกายขัดขืนโดยทางตรงหรือทางอ้อมหรือ ไม่ปฏิบัติตาม
คาสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายของเจ้าพนักงานเรือนจาหรือระเบียบกรมราชทัณฑ์
การดาเนินการตามวรรคหนึ่ง เจ้าพนักงานเรือนจาจะใช้กาลังบังคับได้ เพียงเท่าที่จาเป็นและ
เหมาะสมกับพฤติการณ์ และต้องรายงานเหตุต่อผู้บัญชาการเรือนจาทันที
มาตรา 21 ห้ามใช้เครื่องพันธนาการแก่ผู้ต้องขัง เว้นแต่กรณีดังต่อไปนี้
(1) ผู้ต้องขังมีพฤติการณ์ที่จะทาอันตรายต่อชีวิตหรือร่างกายของตนเองหรือผู้อื่น
(2) ผู้ต้องขังมีพฤติกรรมหรืออาการส่อว่าเป็นบุคคลวิกลจริตหรือจิตไม่สมประกอบ ซึ่งอาจจะ
ทาอันตรายต่อชีวิตหรือร่างกายของตนเองหรือผู้อื่น
(3) ผู้ต้องขังมีพฤติการณ์ที่น่าจะหลบหนีการควบคุม
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 17

(4) เมื่อผู้ต้องขังถูก คุมตัวไปนอกเรือนจาและเจ้าหน้าที่ของรัฐ ผู้มีหน้าที่ควบคุมเห็นเป็น การ


สมควรที่จะต้องใช้เครื่องพันธนาการ
(5) เมื่ออธิบดีสั่งว่าเป็นการจาเป็นต้องใช้เครื่องพันธนาการ เนื่องจากสภาพของเรือนจา สภาพ
ของท้องถิ่น หรือเหตุจาเป็นอื่น
ให้ผู้บัญชาการเรือนจากาหนดตัวพัศดีผู้มีอานาจสั่งให้ใช้เครื่องพันธนาการแก่ผู้ต้องขังตาม (๑)
(2) หรือ (3) และสั่งเพิกถอนคาสั่งให้ใช้เครื่องพันธนาการนั้น
การใช้เครื่องพันธนาการ (๑) (2) (3)หรือ (4) กับผู้ต้องขังซึ่งมีอายุต่ากว่าสิบแปดปี ผู้ต้องขังซึ่งมี
อายุเกินหกสิบปี ผู้ต้องขังหญิง หรือผู้ต้องขังซึ่งเจ็บป่วย พัศดีผู้มีอานาจสั่ง เจ้าพนักงานเรือนจาหรือ
เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้มีหน้าที่ควบคุมแล้วแต่กรณี ต้องเห็นเป็นการจาเป็นที่จะต้องใช้เครื่องพันธนาการนั้น
ด้วย
ให้ผู้สั่งใช้เครื่องพันธนาการบันทึกเหตุผลหรือความจาเป็นที่ต้องใช้เครื่องพันธนาการกับผู้ต้องขัง
นั้นไว้ด้วย
การก าหนดประเภท ชนิ ด และขนาดของเครื่ อ งพั น ธนาการ ให้ เ ป็ น ไปตามที่ ก าหนดใน
กฎกระทรวง
มาตรา 22 เจ้าพนักงานเรือนจาอาจใช้อาวุธอื่น นอกจากอาวุธปืนแก่ผู้ต้องขังได้ ดังต่อไปนี้
(1) ผู้ต้องขังกาลังหลบหนีหรือพยายามหลบหนี และไม่มีทางจะป้องกันอย่างอื่นนอกจากใช้
อาวุธ
(2) ผู้ต้องขังก่อความไม่สงบขึ้นและไม่เชื่อฟังเจ้าพนักงานเรือนจาห้ามปราม
(3) ผู้ต้องขังใช้กาลังทาร้ายหรือพยายามทาร้ายเจ้าพนักงานเรือนจาหรือผู้อื่น
ประเภทหรือชนิดของอาวุธ ตามวรรคหนึ่งที่เจ้าพนักงานเรือนจาจะพึงมีไว้ในครอบครองหรือใช้
ให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 23 เจ้าพนักงานเรือนจาอาจใช้อาวุธปืนแก่ผู้ต้องขังได้ เฉพาะแต่ในกรณีดังต่อไปนี้
(1) ผู้ต้องขังมีอาวุธและขัดขืนไม่ยอมวางอาวุธ อันอาจเกิดอันตรายต่อเจ้าพนักงานเรือนจาหรือ
ผู้อื่น
(2) ผู้ต้องขังซึ่งกาลังหลบหนี โดยไม่ยอมหยุดเมื่อเจ้าพนักงานเรือนจาสั่งให้หยุดและไม่มีทาง
อื่นที่จะจับกุมได้
(3) ผู้ต้องขังตั้งแต่สามคนขึ้นไปก่อการวุ่นวาย เปิดหรือพยายามเปิดหรือทาลายหรือพยายาม
ทาลาย ประตู รั้ว กาแพง หรือสิ่งปลูกสร้างอื่น ๆ ภายในเรือนจา หรือใช้กาลังทาร้ายเจ้าพนักงาน
เรือนจาหรือผู้อื่น และไม่ยอมหยุดเมื่อเจ้าพนักงานเรือนจาสั่งให้หยุด
(4) ผู้ต้องขังใช้อาวุธทาร้ายหรือพยายามทาร้ายเจ้าพนักงานเรือนจาหรือผู้อื่น

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


18 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

การใช้อาวุธปืนตามวรรคหนึ่ง หากมีเจ้าพนักงานเรือนจาผู้มีอานาจเหนือตนอยู่ในที่นั้นด้วย และ


อยู่ในวิสัยที่จะรับคาสั่งได้ การใช้อาวุธปืนนั้นจะกระทาได้ ต่อเมื่อได้รับคาสั่งจากเจ้าพนักงานเรือนจาผู้
นั้นแล้วเท่านั้น
มาตรา 24 ในกรณีมเี หตุฉุกเฉินอันอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตหรือความปลอดภัยของผู้ต้องขัง ถ้า
เจ้าพนักงานเรือนจาไม่สามารถย้ายผู้ต้องขังไปควบคุมไว้ ณ ที่อื่นได้ทันท่วงที จะปล่อยผู้ต้องขังไปชั่วคราว
ก็ได้ และให้แจ้งผู้ต้องขังที่ถูกปล่อยไปทราบว่า ต้องกลับมาเรือนจา หรือรายงานตนยังสถานีตารวจหรือ
ที่ว่าการอาเภอภายในยี่สิบสี่ชั่วโมงนับตั้งแต่เวลาที่ได้รับการปล่อยไป และต้องปฏิบัติตามคาสั่งของ
เจ้าหน้าที่นั้น ๆ ถ้าผู้ต้องขังที่ถูกปล่อยไปไม่กลับมาเรือนจา ไม่ไปรายงานตนหรือละเลยไม่ปฏิบัติตาม
คาสั่ งดังกล่ าว โดยไม่มีเหตุที่ อ าจรั บ ฟัง ได้ ให้ ถือว่าผู้ ต้อ งขั งนั้ นมี ความผิ ด ฐานหลบหนี ที่ คุ ม ขั ง ตาม
ประมวลกฎหมายอาญา
ในกรณีที่เจ้าพนักงานเรือนจาแจ้งให้ผู้ต้องขังที่ถูกปล่อยไปรายงานตนยังสถานีตารวจหรือที่ว่า
การอาเภอใด ให้เจ้าพนักงานเรือนจารีบแจ้งไปยังสถานีตารวจหรือที่ว่าการอาเภอนั้นโดยเร็ว
มาตรา 25 ภายในเวลาสี่สิบแปดชั่วโมงนับตั้งแต่ทราบเหตุผู้ต้องขังหลบหนี เพื่อประโยชน์ใน
การจัดการจับกุมผู้ต้องขังหลบหนี ให้เจ้าพนักงานเรือนจามีอานาจ ดังต่อไปนี้
(1) เข้าไปในเคหสถานหรือสถานที่ใด ๆ เพื่อตรวจค้นหรือจับกุมผู้ต้องขังซึ่งอยู่ระหว่างการ
หลบหนี เมื่อมีเหตุอันควรสงสัยว่าบุคคลดั งกล่าวหลบซ่อนอยู่ และมีเหตุอันควรเชื่อว่าหากเนิ่นช้าไปหรือ
รอจนกว่าจะได้หมายค้นจากศาลมาได้ ผู้ต้องขังนั้นจะหลบหนีไป หากเจ้าของหรือผู้รักษาสถานที่นั้นไม่
ยอมให้เข้าไป เจ้าพนักงานเรือนจามีอานาจใช้กาลังเพื่อเข้าไป ในกรณีจาเป็นจะเปิดหรือทาลายประตู
บ้าน ประตูเรือน หน้าต่าง รั้ว หรือสิ่งกีดขวางอย่างอื่นทานองเดียวกันนั้นก็ได้
(2) ค้นยานพาหนะที่มีเหตุอันควรสงสัยว่าผู้ต้องขังซึ่งอยู่ระหว่างการหลบหนีได้เข้าไปหลบซ่อน
อยู่และหากปล่อยให้เนิ่นช้าไปจะไม่สามารถตามหายานพาหนะหรือผู้ต้องขังดังกล่าวได้
เจ้าพนักงานเรือนจาตาแหน่ง ใดหรือระดับใดจะมีอานาจหน้าที่ ตามวรรคหนึ่งทั้งหมดหรือแต่
บางส่วนหรือจะต้องได้รับอนุมัติจากบุคคลใดก่อนดาเนินการ ให้เป็นไปตามระเบียบกรมราชทัณฑ์โดยทา
เอกสารและเครื่องหมายแสดงการมอบหมายอานาจหน้าที่ให้ไว้ประจาตัวเจ้าพนักงานเรือนจาผู้ได้รับ
อนุ มั ติ นั้ น และเจ้ า พนั ก งานเรื อ นจ าผู้ นั้ น ต้ อ งแสดงเอกสารและเครื่ อ งหมายดั ง กล่ า วต่ อ บุ ค คลที่
เกี่ยวข้องทุกครั้ง
ในการดาเนินการตามมาตรานี้ ให้เจ้าพนักงานเรือนจามีอานาจใช้อาวุธหรืออาวุธปืน ตาม
หลักเกณฑ์และเงื่อนไขตามมาตรา 22 หรือมาตรา 23 แล้วแต่กรณี กับผู้ต้องขังนั้นได้
มาตรา 26 การใช้อานาจตามมาตรา 25 นอกจากเจ้าพนักงานเรือนจาต้องดาเนินการเกี่ยวกับ
วิธี การค้น ตามประมวลกฎหมายวิธี พิจารณาความอาญาแล้ ว ให้ เจ้าพนักงานเรือนจาดาเนินการ
ดังต่อไปนี้ด้วย
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 19

(1) แสดงความบริสุทธิ์ก่อนการเข้าค้นและต้องปฏิบัติตามระเบียบกรมราชทัณฑ์
(2) บันทึกเหตุอันควรสงสัยและเหตุอันควรเชื่อที่ทาให้ต้องเข้าค้นเป็นหนังสือให้ไว้แก่เจ้าของ
ผู้รักษาหรือผู้ครอบครองเคหสถานหรือสถานที่ค้น แต่ถ้าไม่มีบุคคลดังกล่าวอยู่ ณ ที่นั้น ให้เจ้าพนักงาน
เรือนจาผู้ค้นส่งมอบสาเนาหนังสือนั้นให้แก่บุคคลนั้นในโอกาสแรกที่สามารถกระทาได้
(3) รายงานเหตุผลและผลการตรวจค้นเป็นหนังสือต่อผู้บังคับบัญชาเหนือตนขึ้นไปชั้นหนึ่งทราบ
ในกรณีที่เป็นการเข้าค้น ในเวลากลางคืนภายหลังพระอาทิตย์ตก เจ้าพนักงานเรือนจาผู้เป็น
หัวหน้าในการเข้าค้นต้องเป็นเจ้าพนักงานเรือนจาชั้นพัศดีขึ้นไป
มาตรา 27 ให้รัฐมนตรีโดยความเห็ นชอบของคณะกรรมการมีอานาจกาหนดอาณาบริเวณ
ภายนอกรอบเรือนจา ซึ่งเป็นที่สาธารณะเป็นเขตปลอดภัยโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา พร้อมแสดง
แผนที่ ข องอาณาบริ เ วณดั ง กล่ า ว ทั้ ง นี้ ต้ อ งค านึ ง ถึ ง สิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพของบุ ค คลในบริ เ วณนั้ น
ประกอบด้วย
ในกรณีที่มีพฤติการณ์และเหตุอันควรสงสั ยว่าบุคคลหรือยานพาหนะใดอาจส่งยาเสพติดให้โทษ
วั ต ถุ อ อกฤทธิ์ สารระเหย อาวุ ธ ปื น เครื่ อ งกระสุ น ปื น วั ต ถุ ร ะเบิ ด ดอกไม้ เ พลิ ง สิ่ ง เที ย มอาวุ ธ ปื น
โทรศัพท์มือถือหรือเครื่องมือสื่อสารอื่น อุปกรณ์ของสิ่งของดังกล่าว รวมทั้งวัตถุอื่นที่เป็นอันตรายหรือ
กระทบต่อความมั่นคงปลอดภัยของเรือนจาเข้าไปในเรือนจา ให้เจ้าพนักงานเรือนจามีอานาจตรวจค้น
บุคคลหรือยานพาหนะนั้นในเขตปลอดภัยตามวรรคหนึ่งได้ รวมทั้งมีอานาจยึด ทาให้เสียหาย ทาให้ใช้
การไม่ได้ หรือทาลายสิ่งของและทรัพย์สินที่ใช้เป็นเครื่องมือในการนาส่งสิ่งของดังกล่าวด้วย ในกรณีที่
เป็นความผิดทางอาญาให้มีอานาจจับกุมและแจ้งให้พนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจแห่งท้องที่ ที่ถูก
จับ เพื่อดาเนินการต่อไป
สิ่งของและทรัพย์สินที่ยึดไว้ตามวรรคสอง หากไม่ได้ใช้เป็นพยานหลักฐานในทางคดีและไม่ใช่
เป็นทรัพย์สินที่ผู้ใดทาหรือมีไว้เป็นความผิด ให้คืนแก่เจ้าของ เว้นแต่กรณีตามหาเจ้าของไม่ได้หรือเป็น
ของสดเสียง่าย ให้จาหน่ายตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดในระเบียบกรมราชทัณฑ์
มาตรา 28 เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าพนักงานเรือนจา ตามมาตรา 25 ถ้าเจ้า
พนักงานเรือนจาได้ขอให้บุคคลใดช่วยเหลือ ให้บุคคลนั้นมีอานาจช่วยการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าพนักงาน
เรือนจาได้ หากบุคคลนั้นเจ็บป่วย ได้รับบาดเจ็บ หรือตายเพราะเหตุที่ได้เข้าช่วยเหลือเจ้าพนักงาน
เรือนจาซึ่งกระทาการตามหน้าที่ ให้บุคคลนั้นมีสิทธิได้รับประโยชน์ ตามกฎหมายว่าด้วยการสงเคราะห์
ผู้ ป ระสบภั ย เนื่ อ งจากการช่ ว ยเหลื อ ราชการ การปฏิ บั ติ ง านของชาติ หรื อ การปฏิ บั ติ ต ามหน้ า ที่
มนุษยธรรม
มาตรา 29 เพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐ หรือเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี
ของประชาชน ให้เจ้าพนักงานเรือนจามีอานาจตรวจสอบจดหมาย เอกสาร พัสดุภัณฑ์ หรือสิ่งสื่อสาร

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


20 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

อื่นหรือสกัดกั้นการติ ดต่อสื่อสารทางโทรคมนาคมหรือโดยทางใดๆ ซึ่งมีถึงหรือจากผู้ต้องขัง ทั้งนี้ ให้


เป็นไปตามระเบียบกรมราชทัณฑ์
ความสงบเรียบร้อยตามวรรคหนึ่ง ให้หมายความเฉพาะการป้องกันเหตุร้าย และรักษาความ
สงบเรียบร้อยของเรือนจา
ความในวรรคหนึ่ง มิให้ใช้บังคับกับบรรดาคาร้องทุกข์ หรือเรื่องราวใด ๆ ที่ได้ยื่นตามมาตรา
46 และมาตรา 47 และเอกสารโต้ตอบระหว่างผู้ต้องขังกับทนายความของผู้นั้น
มาตรา 30 เจ้าพนักงานเรือนจา ข้าราชการหรือบุคลากรจากส่วนราชการอื่น ตามมาตรา 17
วรรคสอง และบุคคลซึ่งช่วยเหลือเจ้าพนักงานเรือนจาตามมาตรา 28 ไม่ต้องรับผิดทางแพ่ง ทางอาญา
หรือทางวินัย เนื่องจากการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ หากเป็นการกระทาที่สุจริตไม่เลือกปฏิบัติ
และไม่เกินสมควรแก่เหตุหรือไม่เกินกว่ากรณีจาเป็น แต่ไม่ตัดสิทธิผู้ได้รับความเสียหายที่จะเรียกร้อง
ค่าเสียหายจากทางราชการตามกฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่

หมวด 3
การจาแนก เขตความรับผิดชอบ และมาตรฐานเรือนจา
-------------------------------
มาตรา 31 การจาแนกประเภทหรือชั้นของเรือนจา ให้รัฐมนตรีประกาศกาหนดโดยอาศัย
เกณฑ์อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้
(1) เพศของผู้ต้องขัง
(๒) สถานะของผู้ต้องขัง
(3) ความประสงค์ในการพัฒนาพฤตินิสัยของผู้ต้องขัง
(4) ความมั่นคงของเรือนจา
(5) ลักษณะเฉพาะทางของเรือนจา
เพื่อประโยชน์ในการอบรม พัฒนาพฤตินิสัย และควบคุมผู้ต้องขัง อธิบดีจะสั่งให้จัดแบ่งอาณา
เขตภายในเรือนจ าออกเป็ น ส่วนๆ โดยคานึงถึงประเภทหรือชั้ นของเรือนจาที่ได้จาแนกไว้และความ
เหมาะสมกับผู้ต้องขังแต่ละประเภทก็ได้
การจัดแบ่งอาณาเขตภายในเรือนจาตามวรรคสอง จะจัดโดยให้มีสิ่งกีดกั้นหรือขอบเขตที่แน่นอน
และจัดแยกผู้ต้องขังแต่ละประเภทไว้ในส่วนต่าง ๆ ที่ได้จัดแบ่งนั้นก็ได้ ในกรณีที่เรือนจาใดโดยสภาพ ไม่
อาจดาเนินการดังกล่าวได้ ให้แยกการควบคุมให้ใกล้เคียงกับแนวทางดังกล่าว
มาตรา 32 ให้กรมราชทัณฑ์กาหนดชื่อเรือนจา โดยใช้คาว่า “เรือนจา” เป็นคาขึ้นต้นแล้วต่อ
ด้วยชื่อของเรือนจา และเขตความรับผิดชอบของเรือนจาโดยอาจกาหนดให้ครอบคลุมพื้นที่หลายจังหวัด
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 21

ทั้งนี้ให้มีความเหมาะสม สอดคล้องกับการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่และรองรับการดาเนินการของ
ศาล
การดาเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามประกาศกระทรวงยุติธรรมและแจ้งให้หน่วยงานที่
เกี่ยวข้องได้รับทราบด้วย
มาตรา 33 การกาหนดอาณาเขตในสถานที่อื่นที่มิใช่เรือนจา ให้เป็นสถานที่คุมขังเพื่อดาเนิน
กิจการตามภารกิจของกรมราชทัณฑ์ ให้สามารถทาได้ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดใน
กฎกระทรวง
มาตรา 34 เพื่อให้การบริหารงานของเรือนจาและสถานที่คุมขังตามมาตรา 33 ทุกแห่งเป็นไป
ในแนวทางและมาตรฐานเดียวกัน ให้อธิบดีวางระเบียบเกี่ยวกับการบริหารงานในเรือนจาและสถานที่
คุมขัง การปฏิบัติงานของเจ้าพนักงานเรือนจาและเจ้าหน้าที่ การแก้ไข บาบัด ฟื้นฟู และพัฒนาพฤติ
นิ สั ย ผู้ ต้ อ งขั ง การปฏิ บั ติ ตั ว ของผู้ ต้ อ งขั ง แต่ ล ะประเภท และการอื่ น อั น จ าเป็ น ตามที่ ก าหนดใน
พระราชบัญญัตินี้
เพื่อประโยชน์ในการดาเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้กรมราชทัณฑ์นาเทคโนโลยีสนเทศ รวมทั้ง
ระบบและเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งมาใช้ ใ นการบริ ห ารจั ด การเรื อ นจ าให้ มี
ประสิทธิภาพ
หมวด 4
ผู้ต้องขัง
ส่วนที่ 1
การรับตัวผู้ต้องขัง
-----------------------------
มาตรา 35 เจ้าพนักงานเรือนจาจะรับบุคคลใด ๆ ไว้เป็นผู้ต้องขังในเรือนจาได้ต่อเมื่อได้รับหมาย
อาญาหรือเอกสารอันเป็นคาสั่งของผู้มีอานาจตามกฎหมาย โดยให้ผู้มีอานาจออกหมายอาญาหรือ
เอกสารดังกล่าว ระบุเลขประจาตัวประชาชน หรือเอกสารแสดงตนของผู้ต้องขังเท่าที่ทราบด้วย
มาตรา 36 ในวันที่รับตัวผู้ต้องขังเข้าไว้ใหม่ในเรือนจา ให้เจ้าพนักงานเรือนจา จัดทาทะเบียน
ประวัติผู้ต้องขัง โดยอย่างน้อยมีรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องดังต่อไปนี้
(1) ชื่อและนามสกุลของผู้ต้องขัง เลขประจาตัวประชาชน หรือเอกสารแสดงตนของผู้ต้องขัง
เท่าที่ทราบ
(2) ข้อหาหรือฐานความผิดผู้นั้นได้กระทา
(3) บันทึกลายนิ้วมือหรือสิ่งแสดงลักษณะเฉพาะของบุคคล และตาหนิรูปพรรณ
(4) สภาพของร่างกายและจิตใจ ความรู้และความสามารถ

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


22 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

(5) รายละเอียดอื่นตามที่กาหนดในระเบียบกรมราชทัณฑ์
ให้กรมราชทัณฑ์นาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดทาทะเบียนประวัติผู้ต้องขัง ตามวรรค
หนึ่ง รวมทั้งใช้ประโยชน์ในการวิเคราะห์และประมวลผลด้วย
เมื่อเจ้าพนักงานเรือนจาร้องขอ ให้เจ้าพนักงานผู้มีอานาจสืบสวนหรือสอบสวนคดีอาญาหรือเจ้า
พนักงานผู้ครอบครองหรือควบคุมดูแลประวัติผู้ต้องขังส่งรายงานแสดงประวัติของผู้ต้องขังนั้นให้แก่เจ้า
พนักงานเรือนจา
มาตรา 37 ในวันที่รับตัวผู้ต้องขังเข้าไว้ใหม่ในเรือนจา ให้แพทย์ พยาบาลหรือเจ้าพนักงาน
เรือนจาที่ผ่านการอบรมด้านการพยาบาล ทาการตรวจร่างกายของผู้ต้องขัง ในกรณีที่ไม่สามารถ
ดาเนิ น การตรวจร่ างกายภายในวัน ที่รับตัวเข้าไว้ได้ ให้ เจ้าพนักงานเรือนจาเป็นผู้ ตรวจร่างกายของ
ผู้ ต้ อ งขั ง นั้ น ในเบื้ อ งต้ น ก่ อ นได้ แต่ ต้ อ งจั ด ให้ มี ก ารตรวจโดยเร็ ว ทั้ ง นี้ ให้ เ ป็ น ไปตามระเบี ย บกรม
ราชทัณฑ์
มาตรา 38 ในวันที่รับตัวผู้ต้องขังไว้ใหม่ในเรือนจา ต้องแจ้งให้ผู้ต้องขังทราบถึง ข้อบังคับ
เรือนจา ระเบียบกรมราชทัณฑ์เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวของผู้ต้องขัง และสิทธิ หน้าที่และประโยชน์ที่
ผู้ต้องขังจะพึงได้รับตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้ รวมทั้งเรื่องอื่นที่จาเป็น
ในกรณีที่ผู้ต้องขังไม่รู้หนังสือ ต้องชี้แจงรายละเอียดในข้อบังคับเรื อนจาและระเบีย บกรม
ราชทัณฑ์และสิทธิ หน้าที่ และประโยชน์ ที่ผู้ ต้องขังจะพึงได้รับตามที่กาหนดไว้ในพระราชบั ญญั ตินี้
รวมทั้งเรื่องอื่นที่จาเป็นตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้ต้องขังทราบด้วยวาจาหรือด้วยวิธีการอื่นใดเพื่อให้ผู้ต้องขัง
เข้าใจด้วย
การแจ้ งตามวรรคหนึ่งหรื อวรรคสอง ให้เ จ้า พนักงานเรื อนจาบัน ทึกไว้ใ นทะเบียนประวัติ
ผู้ต้องขังด้วย
มาตรา 39 ในกรณีที่ผู้ต้องขังมีเด็กอายุต่าว่าสามปี ซึ่งอยู่ในความดูแลของตนติดมายังเรือนจา
หรือเด็กซึ่งคลอดในระหว่างที่มารดาถูกคุมขังในเรือนจา หากมีความจาเป็นหรือปรากฏว่าไม่มีผู้ใดจะเลี้ยง
ดูเด็กนั้น ผู้บัญชาการเรือนจาจะอนุญาตให้เด็กนั้นอยู่ในเรือนจาจนกว่าเด็กอายุครบสามปีก็ได้ หรือให้
ส่งเด็กนั้นไปยังหน่วยงานซึ่งมีห น้าที่ให้ การสงเคราะห์ คุ้มครองสวัสดิภ าพ หรือพัฒนาฟื้นฟูเด็ก เพื่อ
ดาเนินการตามอานาจหน้าที่ต่อไปก็ได้ ทั้งนี้ให้เป็นไปตามระเบียบกรมราชทัณฑ์ โดยคานึงถึงประโยชน์
สูงสุดของเด็กเป็นสาคัญ
ในกรณีมีเด็กซึ่งได้รับอนุญาตให้อยู่ในเรือนจาตามวรรคหนึ่ง ให้เรือนจาจัดหาสิ่งจาเป็นพื้นฐาน
ในการดารงชีวิตให้ตามสมควร
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 23

ส่วนที่ 2
การจาแนกและการพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขัง
-----------------------
มาตรา 40 เพื่อประโยชน์ในการจัดชั้น จัดกลุ่ม ควบคุม แยกคุมขัง แก้ไข บาบัด ฟื้นฟูและ
พัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขัง ให้ กลับตนเป็นคนดี และการเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยตัวผู้ต้องขัง ให้
อธิบดีจัดให้มีระบบการจาแนกลักษณะของผู้ต้องขัง โดยให้คานึงถึงโทษและพฤติการณ์ในการกระทา
ความผิด ลักษณะความผิด ความรุนแรงของคดี การกระทาความผิดที่ได้กระทามาก่อนแล้ว และความ
ประพฤติและวินัยในระหว่างคุมขัง ตลอดจนระยะเวลากาหนดโทษคุมขังที่เหลืออยู่ของผู้ต้องขังดังกล่าว
และให้อธิบดีมีอานาจย้ายผู้ต้องขังตามระบบการจาแนกและการแยกคุมขังดังกล่าวด้วย ทั้งนี้ ให้เป็นไป
ตามกฎกระทรวงโดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
ระบบการจาแนกลักษณะของผู้ต้องขังเกี่ยวกับพฤติการณ์การกระทาความผิด ลักษณะความผิด
และความรุนแรงของคดีตามวรรคหนึ่ง อย่างน้อยต้องกาหนดถึงเรื่องการกระทาความผิด โดยบันดาล
โทสะ โดยไตร่ตรองไว้ก่อน หรือความเป็นอาชญากรโดยสันดาน
มาตรา 41 ภายใต้บังคับมาตรา 40 เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการผู้ต้องขังภายในเรือนจา
ให้อธิบดีจัดให้มีระบบการจัดชั้น การจัดกลุ่มผู้ต้องขังและการแยกคุมขัง โดยต้องคานึงถึงประเภทหรือ
ชั้นของเรือนจาที่ได้จาแนกไว้ตามมาตรา 31 และความเหมาะสมกับผู้ต้องขังแต่ละประเภท แต่ละชั้น การ
ควบคุม แก้ไข บาบัด ฟื้นฟู และพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขัง ตลอดจนการเตรียมความพร้อมก่อนปล่อย ทั้งนี้
ให้เป็นไปตามกฎกระทรวงโดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
มาตรา 42 เพื่อประโยชน์ในการแก้ไข บาบัด ฟื้นฟู และพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขังให้กลับตนเป็น
คนดี ให้อธิบดีจัดให้มีระบบการพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขังด้วยวิธีการและแนวทางที่เหมาะสมเกี่ยวกับการ
พัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขัง โดยให้ผู้ต้องขังได้รับการศึกษา การอบรมทั้งด้านคุณธรรมและจริยธรรม การ
ทางาน การฝึกวิชาชีพ การปฏิบัติศาสนกิจ การเรียนรู้วัฒนธรรมอันดีงาม กิจกรรมสันทนาการ กีฬา
รวมทั้งจะต้องมีโอกาสได้รับการติดต่อกับครอบครัว ญาติมิตร องค์กรเอกชนที่มีภารกิจเพื่อการแก้ไข
บาบัด ฟื้นฟู และพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขังและรับรู้ถึงข่าวสารและความเปลี่ยนแปลงของโลกภายนอก
ทั้งนี้ให้เป็นไปตามระเบียบกรมราชทัณฑ์โดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


24 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

หมวด 5
สิทธิ หน้าที่ ประโยชน์ และกิจการอื่น ๆ เกี่ยวกับผู้ต้องขัง
ส่วนที่ 1
สิทธิของผู้ต้องขัง
-----------------------
มาตรา 43 ให้เรือนจาจัดให้ผู้ต้องขังได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษา
แห่งชาติ โดยต้องดาเนินการให้สอดคล้องกับ หลักสูตรการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ รวมทั้งต้องมี
การฝึกอบรมด้านคุณธรรมและจริยธรรม และการฝึกอบรมเพื่อเพิ่มโอกาสการจ้างงาน
ให้ผู้ต้องขังทุกคนมีโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาและการฝึกอบรมอย่างเท่าเทียมกัน
การกาหนดหลักสูตร หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการจัดการศึกษาและการฝึกอบรมให้แก่
ผู้ต้องขัง ให้เป็นไปตามระเบียบกรมราชทัณฑ์
มาตรา 44 ให้เรือนจารับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการศึกษาขั้นพื้นฐานและการฝึกอบรมให้แก่
ผู้ต้องขัง รวมทั้งต้องจัดหาบรรดาเครื่องอุปกรณ์ในการศึกษาขั้นพื้นฐานและการอบรมให้แก่ผู้ต้องขัง เว้น
แต่ผู้ต้องขังจะนาอุปกรณ์ในการศึกษาของตนเองมาใช้และได้รับอนุญาตแล้ว
ในกรณีที่ผู้ต้องขังต้องการศึกษาขั้นสูงกว่าการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ต้องขังต้องเป็นผู้รับผิดชอบ
ค่าใช้จ่ายในการศึกษาดังกล่าวเอง โดยให้เรือนจาอานวยความสะดวกตามสมควร
มาตรา 45 ในกรณีที่เรือนจาใด มีผู้ต้องขังที่นับถือศาสนาเดียวกันเป็นจานวนมากพอสมควร
ให้เรือนจานั้นจัดหาภิกษุ นักบวช หรือผู้มีความรู้ หรือผู้ปฏิบัติหน้าที่อนุศาสนาจารย์หรื อผู้น าทาง
ศาสนาแห่งศาสนาที่ผู้ต้องขังนับถือ เพื่อสอนธรรมะ ให้คาแนะนาทางจิตใจ หรือประกอบศาสนกิจใน
เรือนจานั้นได้ โดยผู้ต้องขังทุกคนมีสิทธิเข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าว และมีสิทธิที่จะมีหนังสือธรรมะ หรือคู่มือ
พิธีกรรมของศาสนาที่ตนนับถือไว้ในครอบครองได้ ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามระเบียบกรมราชทัณฑ์
มาตรา 46 ภายใต้บังคับของบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาว่าด้วย
การอภัยโทษ การเปลี่ยนโทษหนักเป็นเบา และลดโทษ ผู้ต้องขังมีสิทธิที่จะยื่นคาร้องทุกข์หรือเรื่องราว
ใด ๆ ต่อเจ้าพนักงานเรือนจา ผู้บัญชาการเรือนจา อธิบดี รัฐมนตรี หรือหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง
หรือทูลเกล้าฯ ถวายฎีก าต่อพระมหากษัตริย์ได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดใน
กฎกระทรวง
มาตรา 47 ผู้ต้องขังมีสิทธิร้องเรียนเกี่ยวกับการถูกล่วงละเมิดทางเพศจากการปฏิบัติหน้าที่
โดยมิชอบของเจ้าพนักงานของเรือนจาได้ โดยให้ได้รับความคุ้มครองและให้คาปรึกษาในทันที รวมทั้ ง
คาร้ องดัง กล่ าวต้ องรั ก ษาเป็ น ความลั บ และได้ รั บ การไต่ ส วนชี้ ข าดโดยพนั ก งานอั ย การ ทั้งนี้ ตาม
หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 25

ในกรณีตามวรรคหนึ่ง หากผู้ต้องขังซึ่งเป็นหญิงและตั้งครรภ์ให้นาบทบัญญัติมาตรา 59 มาใช้


บังคับด้วยโดยอนุโลม

ส่วนที่ 2
หน้าที่และการงานของผู้ต้องขัง
-----------------------------
มาตรา 48 ผู้ต้องขังมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามคาสั่งของเจ้าพนักงานเรือนจา ข้อบังคับเรือนจา
และระเบียบกรมราชทัณฑ์
เจ้าพนักงานเรือนจามีอานาจสั่งให้ผู้ต้องขังทางานอย่างหนึ่งอย่างใดในเรือนจา ดังต่อไปนี้
(1) ทางานสาธารณะ
(2) ทางานรักษาความสะอาดหรืองานสุขาภิบาลของเรือนจา
(3) ทางานบารุงรักษาเรือนจา
(4) ทางานอื่นใดเพื่อประโยชน์ของทางราชการ
การทางานของผู้ต้องขังตามวรรคสอง ต้องสอดคล้องกับการจาแนกลักษณะและการจัดแยก
คุมขังผู้ต้องขังตามมาตรา 31 โดยให้เรือนจาจัดงานให้เหมาะสมกับความพร้อมด้านร่างกายและจิตใจ
กาหนดเวลาทางานและวันหยุดประจาสัปดาห์ กาหนดมาตรการเพื่อคุ้มครองรักษาความปลอดภัยและ
สุขภาพให้แก่ผู้ต้องขัง และลักษณะของงานสาธารณะ ทั้งนี้ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข
ตามที่กาหนดในระเบียบกรมราชทัณฑ์
มาตรา 49 เจ้าพนักงานเรือนจาอาจสั่งให้นักโทษเด็ดขาดออกไปทางานสาธารณะหรือทางาน
อื่นใดเพื่อประโยชน์ของทางราชการตามมาตรา 48 นอกเรือนจาได้ โดยให้เป็นไปตามระเบียบกรม
ราชทัณฑ์
ให้คณะกรรมการ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาคัดเลือกนักโทษเด็ดขาดที่จะสั่งให้
ออกไปทางานสาธารณะหรือทางานอื่นใดเพื่อประโยชน์ของทางราชการตามมาตรา 48 นอกเรือนจา
มาตรา 50 ผู้ต้องขังไม่มีสิทธิได้ค่าจ้างจากการงานที่ได้ทา แต่ในกรณีที่การงานที่ได้ทาไปนั้น
ก่อให้เกิดรายได้ซึ่งคานวณเป็นราคาเงินได้ ผู้ต้องขังอาจได้รับเงินรางวัลตอบแทนจากการงานนั้นได้
การคานวณรายได้เป็นราคาเงินและการจ่ายเงินรางวัล ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่
กาหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 51 ผู้ต้องขังซึ่งได้รับบาดเจ็บ เจ็บป่วย หรือตาย เนื่องจากการงานตามมาตรา 48 หรือ
มาตรา 49 มีสิทธิได้รับเงินทาขวัญตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง
ในกรณีที่ผู้ต้องขังซึ่งมีสิทธิได้รับเงินทาขวัญตามวรรคหนึ่งตาย ให้จ่ายเงินทาขวัญนั้นแก่ทายาท

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


26 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ส่วนที่ 3
ประโยชน์ของผู้ต้องขัง
--------------------------
มาตรา 52 นั ก โทษเด็ ด ขาดคนใดแสดงให้ เ ห็ น ว่ า มี ค วามประพฤติ ดี มี ค วามอุ ต สาหะ
ความก้าวหน้าในการศึกษา และทาการงานเกิดผลดี หรือทาความชอบแก่ทางราชการเป็นพิเศษ อาจ
ได้รับประโยชน์อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้
(1) ได้รับความสะดวกในเรือนจา ตามระเบียบกรมราชทัณฑ์
(2) เลื่อนชั้น
(3) ได้รับแต่งตั้งให้มีตาแหน่งหน้าที่ช่วยเหลือเจ้าพนักงานเรือนจา
(4) ลาไม่เกินเจ็ดวันในคราวหนึ่ง โดยไม่นับรวมเวลาที่ต้องใช้ในการเดินทางเข้าด้วย เมื่อมีความ
จ าเป็ น เห็ น ประจั ก ษ์ เ กี่ ย วด้ ว ยกิ จ ธุ ร ะส าคั ญ หรื อ กิ จ การในครอบครั ว แต่ ห้ า มมิ ใ ห้ อ อกไปนอก
ราชอาณาจักรและต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้ในระเบียบกรมราชทัณฑ์ ระยะเวลาที่อนุญาตให้ลา
นี้ มิให้หักออกจากการคานวณกาหนดโทษ ถ้านักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับอนุญาตให้ลาออกไปไม่กลับเข้า
เรือนจาภายในเวลาที่กาหนดเกินกว่ายี่สิบสี่ชั่วโมง ให้ถือว่านักโทษเด็ดขาดผู้นั้น หลบหนีที่คุมขังตาม
ประมวลกฎหมายอาญา
(5) ลดวันต้องโทษจาคุกให้ เดือนละไม่เกินห้าวัน แต่การลดวันต้องโทษจาคุกจะพึงกระทาได้
ต่อเมื่อนักโทษเด็ดขาดได้รับโทษจาคุกตามคาพิพากษาถึงที่สุดมาแล้ว ไม่น้อยกว่าหกเดือนหรือหนึ่งใน
สามของกาหนดโทษตามหมายศาลในขณะนั้นแล้วแต่อย่างใดจะมากกว่า หรือไม่น้อยกว่าสิบปีในกรณีที่
ต้ อ งโทษจ าคุ ก ตลอดชี วิตที่ มี ก ารเปลี่ ยนโทษจาคุ ก ตลอดชีวิต เป็ น โทษจ าคุ ก มีก าหนดเวลา ทั้ ง นี้ ให้
คณะกรรมการ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาวินิจฉัยลดวันต้องโทษจาคุก
(6) ลดวันต้องโทษจาคุกลงอีกไม่เกินจานวนวันที่ทางานสาธารณะหรือทางานอื่นใดเพื่อประโยชน์
ของทางราชการนอกเรือนจาตามมาตรา 49 และอาจได้รับเงินรางวัลด้วยก็ได้
(7) พักการลงโทษเมื่อนักโทษเด็ดขาดได้รับโทษมาแล้ว ไม่น้อยกว่าหกเดือน หรือหนึ่งในสาม
ของกาหนดโทษตามหมายศาลในขณะนั้นแล้วแต่อย่างใดจะมากกว่า หรือ ไม่น้อยกว่า สิบปี ในกรณีที่
ต้องโทษจาคุกตลอดชีวิตที่มีการเปลี่ยนโทษจาคุกตลอดชีวิตเป็นโทษจาคุกมีกาหนดเวลา และกาหนด
ระยะเวลาที่จะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขให้กาหนดเท่ากับกาหนดโทษที่ยังเหลืออยู่ ทั้งนี้ ในการคานวณ
ระยะเวลาการพักการลงโทษ ถ้ามีวันลดวันต้องโทษจาคุกตาม(6) ให้นามารวมกับระยะเวลาในการพัก
การลงโทษด้วยโดยในการพักการลงโทษ ให้คณะกรรมการแต่งตั้ง คณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณา
วินิจฉัยการพักการลงโทษ
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 27

(8) ได้รับการพิจารณาอนุญาตให้ ออกไปฝึกวิชาชีพในสถานประกอบการหรือรับการศึกษา


อบรมนอกเรือนจาโดยมีหรือไม่มีผู้ควบคุมก็ได้ แต่การอนุญาตให้ออกไปฝึ กวิชาชีพหรือรับการศึกษา
อบรมนอกเรือนจาจะพึงกระทาได้ต่อเมื่อนักโทษเด็ดขาดได้รับโทษจาคุกตามคาพิพากษาถึงที่สุดมาแล้ว ไม่
น้อยกว่าหนึ่งในสามของกาหนดโทษตามหมายจาคุกเมื่อคดีถึงที่สุดในขณะนั้น และเหลือโทษจาคุกไม่
เกินสามปีหกเดือน ทั้งนี้ ให้คานึงถึงประโยชน์ในการศึกษาอบรมและแก้ไขพัฒนาพฤตินิสัยของนักโทษ
เด็ดขาดและความปลอดภัยของสังคมประกอบกัน แต่ถ้านักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับอนุญาตให้ออกไปฝึ ก
วิชาชีพในสถานประกอบการหรือรับการศึกษาอบรมนอกเรือนจาโดยไม่มีผู้ควบคุมไม่กลับเข้าเรือนจา
ภายในเวลาที่กาหนดเกินกว่ายี่สิบสี่ชั่วโมง ให้ถือว่านักโทษเด็ดขาดผู้นั้นหลบหนีที่คุมขังตามประมวล
กฎหมายอาญา
การดาเนินการตาม (2) (3) (5) (6) (7) และ(8) ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่
กาหนดในกฎกระทรวง โดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ และต้องนาพฤติการณ์กระทา
ความผิด ลักษณะความผิด และความรุนแรงของคดี รวมตลอดทั้งการกระทาความผิดที่ได้กระทามาก่อน
แล้วตามที่กาหนดไว้ในมาตรา 40 มาประกอบการพิจารณาด้วย
มาตรา 53 นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับการลดวันต้องโทษจาคุกตามมาตรา 52(5)หรือ(6) หรือ
ได้รับการพักการลงโทษตามมาตรา 52(7) และได้รับการปล่อยตัวไปก่อนครบกาหนดโทษตามหมายศาล
ในขณะนั้น ห้ามมิให้เดินทางออกนอกราชอาณาจักรก่อนครบกาหนดโทษตามหมายศาลในขณะนั้นและ
ต้องปฏิบัติตนโดยเคร่งครัดตามเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง
ในกรณีที่นักโทษเด็ดขาดผู้ใดพยายามหรือได้เดินทางออกนอกราชอาณาจักรหรือไม่ปฏิบัติตาม
เงื่อนไขที่กาหนดไว้ในวรรคหนึ่ง ให้เจ้าพนักงานเรือนจาหรือพนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจ ซึ่งเจ้า
พนักงานเรือนจาร้องขอในกรณีจาเป็น มีอานาจจับนักโทษเด็ดขาดผู้นั้นได้โดยมิต้องมีหมายจับ และ
นากลับเข้าจาคุกต่อไปตามกาหนดโทษที่ยังเหลืออยู่โดยไม่ต้องมีหมายจาคุกอีก โดยให้คณะอนุกรรมการ
ตามมาตรา 52(5)หรือ(7) พิจารณาตรวจสอบว่านักโทษเด็ดขาดได้พยายามหรือได้เดินทางออกนอก
ราชอาณาจักรหรือได้ปฏิบัติถูกต้องตามเงื่อนไขหรือไม่ หากปรากฏว่านักโทษเด็ดขาดไม่ได้กระทาการ
ดังกล่าว ให้มีคาสั่งให้มีการลดวันต้องโทษจาคุกหรือพักการลงโทษต่อไป แต่หากได้กระทาการนั้น ให้มี
อานาจสั่งเพิกถอนการลดวันต้องโทษจาคุกหรือการพักการลงโทษ แล้วแต่กรณี และอาจถูกพิจารณา
ลงโทษทางวินัยอีกด้วยก็ได้

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


28 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ส่วนที่ 4
สุขอนามัยของผู้ต้องขัง
-------------------------
มาตรา 54 ให้เรือนจาทุกแห่งจัดให้มีสถานพยาบาล เพื่อเป็นที่ทาการรักษาพยาบาลผู้ต้องขังที่
ป่วย จัดให้มีแพทย์ พยาบาล หรือเจ้าพนักงานเรือนจาที่ผ่านการอบรมด้านการพยาบาล ซึ่งอยู่ปฏิบัติ
หน้าที่เป็นประจาที่สถานพยาบาลนั้นด้วย อย่างน้อยหนึ่งคน และให้ดาเนินการอื่นใดเกี่ยวกับการตรวจ
ร่างกายตามมาตรา 37 การดูแลสุขอนามัย การสุขาภิบาล และการตรวจสุขภาพตามความจาเป็น รวมทั้ง
สนับสนุนให้ผู้ต้องขังได้รับโอกาสในการออกกาลังกายตามสมควร และจัดให้ผู้ต้องขังได้รับ อุปกรณ์ช่วย
เกี่ยวกับสายตาและการได้ ยิน การบริการทันตกรรม รวมถึงอุปกรณ์สาหรับผู้มีกายพิการตามความ
จาเป็นและเหมาะสม ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามระเบียบกรมราชทัณฑ์
มาตรา 55 ในกรณีที่ผู้ต้องขังป่วย มีปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพจิต หรือเป็นโรคติดต่อ ให้ผู้บัญชาการ
เรือนจาดาเนินการให้ผู้ต้องขังได้รับการตรวจจากแพทย์โดยเร็ว
หากผู้ต้องขังนั้นต้องได้รับการบาบัดรักษาเฉพาะด้านหรือถ้าคงรักษาพยาบาลอยู่ ในเรือนจาจะไม่
ทุเลาดีขึ้น ให้ส่งตัวผู้ต้องขังดังกล่าวไปยังสถานบาบัดรักษาสาหรับโรคชนิดนั้นโดยเฉพาะ โรงพยาบาล
หรือสถานบาบัดรักษาทางสุขภาพจิตนอกเรือนจาต่อไป ทั้งนี้ หลักเกณฑ์และวิธีการส่งตัวผู้ต้องขังไปรักษา
ตัวนอกเรือนจา ระยะเวลาการรักษาตัว รวมทั้งผู้มีอานาจอนุ ญาต ให้เป็นไปตามกฎกระทรวงโดยได้รับ
ความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
ในกรณีที่ส่งตัวผู้ต้องขังไปรักษาตัวนอกเรือนจาตามวรรคสอง มิให้ถือว่าผู้ต้องขังนั้นพ้นจากการ
คุมขัง และถ้าผู้ต้องขังไปเสียจากสถานที่ที่รับผู้ต้องขังไว้รักษาตัว ให้ถือว่า มีความผิดฐานหลบหนีที่คุมขัง
ตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 56 ในกรณีที่ผู้ต้องขัง ตาย ป่วยหนัก บาดเจ็บสาหัส วิกลจริ ต หรื อจิตไม่ปกติ ให้
ผู้บัญชาการเรือนจาแจ้งเรื่องดังกล่าวให้คู่สมรสของผู้ต้องขังนั้น ญาติ หรือบุคคลที่ผู้ต้องขังระบุไว้ทราบ
โดยไม่ชักช้า
มาตรา 57 ให้เรือนจาจัดให้ผู้ต้องขังหญิงที่ตั้งครรภ์หรือให้นมบุตรได้รับคาแนะนาทางด้าน
สุขภาพและโภชนาการจากแพทย์ พยาบาล หรือเจ้าพนักงานเรือนจาที่ผ่านการอบรมด้านการพยาบาล
และต้องจัดอาหารที่เพียงพอและในเวลาที่เหมาะสมให้แก่ผู้ต้องขังหญิงที่ตั้งครรภ์ ทารก เด็ก และมารดาที่
ให้ น มบุ ตร และต้องไม่ขัดขวางผู้ ต้องขังหญิงในการให้ นมบุตรและการดูแลบุตร เว้นแต่มีปัญหาด้าน
สุขภาพ ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามระเบียบกรมราชทัณฑ์
มาตรา 58 ให้เรือนจาจัดเตรียมให้ผู้ต้องขังหญิงที่ตั้งครรภ์ได้คลอดบุตรในโรงพยาบาลหรื อ
สถานพยาบาลนอกเรือนจา ณ ท้องที่ที่เรือนจานั้นตั้งอยู่ หากเด็กคลอดในเรือนจา ห้ามมิให้บันทึกว่าเด็ก
เกิดในเรือนจา โดยให้ระบุเฉพาะท้องที่ที่เรือนจานั้นตั้งอยู่
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 29

เมื่อผู้ต้องขังหญิงคลอดบุตรแล้ว ให้ผู้ต้องขังหญิงนั้นอยู่พักรักษาตัวต่อไปภายหลังการคลอดได้ ไม่


เกินเจ็ดวันนับแต่วันคลอด ในกรณีที่จาเป็นต้องพักรักษาตัวนานกว่านี้ ให้เสนอความเห็นของแพทย์ผู้ทา
การคลอดเพื่อขออนุญาตต่อผู้บัญชาการเรือนจา
ให้เด็กที่อยู่ร่วมกับมารดาในเรือนจาได้รับการตรวจสุขภาพร่างกายโดยผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพ
เด็ก เพื่อวินิจฉัยและให้การรั กษาตามความจาเป็น รวมทั้งการตรวจป้องกัน โรค และการบริการด้าน
สุขอนามัย
การดาเนินการตามวรรคสองและวรรคสามให้เป็นไปตามระเบียบกรมราชทัณฑ์
มาตรา 59 ผู้ต้องขังหญิงซึ่งถูกล่วงละเมิดทางเพศโดยเฉพาะผู้ที่ตั้งครรภ์จากการถูกล่วงละเมิด
ดังกล่าว ต้องได้รับคาแนะนาหรือคาปรึกษาทางการแพทย์ที่เหมาะสม และต้องได้รับการสนับสนุนการ
ดูแลสุขภาพทางกายและทางจิตตามความจาเป็น รวมทั้งการให้ความช่วยเหลือด้านกฎหมายด้วย ทั้งนี้
ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง

ส่วนที่ 5
การติดต่อผู้ต้องขัง
---------------------------
มาตรา 60 ผู้ต้องขังพึงได้รับการอนุญาตให้ติดต่อกับบุคคลภายนอกตามระเบียบกรมราชทัณฑ์
บุคคลภายนอกซึ่งได้รับอนุญาตให้เข้าไปในเรือนจาเพื่อกิจธุระ เยี่ยมผู้ต้องขังหรือเพื่อประโยชน์
อย่างอื่น จะต้องปฏิบัติตามระเบียบกรมราชทัณฑ์ที่ประกาศไว้โดยเปิดเผย
มาตรา 61 ให้เรือนจาจัดสถานที่ให้ผู้ต้องขังได้พบและปรึกษากับทนายความหรือผู้ซึ่งจะเป็น
ทนายความเป็นการเฉพาะตัวได้ตามที่กาหนดในระเบียบกรมราชทัณฑ์

ส่วนที่ 6
ทรัพย์สินของผู้ต้องขัง
----------------------------
มาตรา 62 ทรัพย์สินชนิดใดจะเป็นสิ่งของที่อนุญาตหรือไม่อนุญาตให้เก็บรักษาไว้ในเรือนจา
ให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
ทรัพย์สินที่เป็นสิ่งของอนุญาตให้เก็บรักษาไว้ในเรือนจา แต่มีปริมาณหรือจานวนเกินกว่าที่
อธิบ ดีอนุ ญาต หรื อเป็ น สิ่ งของที่ไม่อนุญาตให้ เก็บรั กษาไว้ในเรื อนจา ให้แจ้งญาติมารั บคืน จากเจ้ า
พนั กงานเรื อนจ า แต่ ถ้า ไม่มีผู้มารั บ ภายในเวลาที่เรือนจากาหนด อาจจาหน่า ยแล้วมอบเงิน ให้แ ก่

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


30 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ผู้ต้องขังภายหลังหักค่าใช้จ่ายในการจาหน่าย แต่ถ้าของนั้นมีสภาพเป็นของสดเสียง่าย ของอันตรายหรือ


โสโครกให้เจ้าพนักงานเรือนจาทาลายเสีย
การจาหน่ายและการทาลายสิ่งของตามวรรคสอง ให้เป็นไปตามระเบียบกรมราชทัณฑ์
มาตรา 63 ทรั พย์ สิ น ของผู้ ต้องขังที่ตกค้างอยู่ในเรือนจา ในกรณีดังต่อไปนี้ ให้ ตกเป็นของ
แผ่นดิน
(1) ผู้ต้องขังหลบหนีพ้นกาหนดสามเดือนนับแต่วันที่หลบหนี
(2) ผู้ต้องขังถูก ปล่อยตัวไปแล้วและไม่มารับทรัพย์สิน เงินรางวัล หรือเงินทาขวัญของตนไป
ภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่ได้รับการปล่อยตัว

หมวด 6
การเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยและการพ้นจากเรือนจา
--------------------------
มาตรา 64 ให้เ รื อนจ าเตรี ย มความพร้ อ มก่ อนปล่ อ ย โดยริเริ่มเตรียมการตั้ ง แต่ไ ด้ รั บ ตั ว
ผู้ต้ องขัง ไว้ในเรื อนจ า เพื่อให้ มีกระบวนการในการส่งเสริมและช่วยเหลื อผู้ต้องขังได้อย่างถูกวิธีและ
เหมาะสม เพื่อให้ผู้ต้องขังแต่ละคนกลับไปใช้ชีวิตในสังคมได้ รวมทั้งต้องให้คาแนะนาเกี่ยวกับการจัดการ
เรื่องส่วนตัว เศรษฐกิจ สังคม ตลอดจนมีความสัมพันธ์ที่ดีกับครอบครัวและชุมชน ทั้งนี้ ให้เป็ นไปตาม
ระเบียบกรมราชทัณฑ์
มาตรา 65 ผู้ต้องขังที่จาคุกมาแล้วจนเหลือโทษที่ต้องจาคุกตามระเบียบที่กรมราชทัณฑ์กาหนด
ให้เรือนจาจัดให้พักการทางาน และในกรณีที่เห็นสมควรให้จัดแยกคุมขังไว้ต่างหากจากผู้ต้องขังอื่นแล้วจัด
ให้ได้รับการอบรมเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนปล่อย
มาตรา 66 ในกรณีที่ผู้ต้องขังซึ่งถึงกาหนดปล่อยป่วยหนัก ไม่สามารถไปจากเรือนจาได้ และ
ขออนุญาตอยู่รักษาตัวในเรือนจาต่อไป ให้ผู้บัญชาการเรือนจาพิจารณาอนุญาตตามที่เห็นสมควร แต่ต้อง
รายงานให้อธิบดีทราบ
มาตรา 67 เมื่อจะปล่อยตัวผู้ต้องขัง ให้ปฏิบัติดังต่อไปนี้
(1) เรียกคืนทรัพย์สินที่เป็นของทางราชการ
(2) จ่ายเครื่องแต่งกายให้ตามที่กรมราชทัณฑ์กาหนด สาหรับผู้ต้องขังไม่มีเครื่องแต่งกายจะแต่ง
ออกไปจากเรือนจา
(3) ทาหลักฐานการปล่อยตัว
(4) คืนทรัพย์สินของผู้ต้องขังให้แก่ผู้ต้องขัง รวมทั้งเงินรางวัลและเงินทาขวัญ
(5) ออกใบสาคัญการปล่อยนักโทษเด็ดขาดที่พ้นโทษ
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 31

หมวด 7
วินัยและบทลงโทษ
---------------------------
มาตรา 68 ผู้ ต้องขังผู้ ใด ฝ่า ฝืน หรื อไม่ปฏิบัติ ตามคาสั่ งของเจ้าพนักงานเรือนจา ข้อบังคับ
เรือนจาหรือระเบียบกรมราชทัณฑ์ ให้ถือว่าผู้ต้องขังผู้นั้นกระทาผิดวินัย
มาตรา 69 เมื่อผู้ต้องขังกระทาผิดวินัย จะถูกลงโทษสถานหนึ่งสถานใด ดังต่อไปนี้
(1) ภาคทัณฑ์
(2) งดการเลื่อนชั้นโดยมีกาหนดเวลา
(3) ลดชั้น
(4) ตัดการอนุญาตให้ได้รับการเยี่ยมเยียนหรือติดต่อไม่เกินสามเดือน เว้นแต่เป็นกรณีการติดต่อ
กับทนายความตามที่กฎหมายกาหนด หรือเป็นการติดต่อของผู้ต้องขังหญิงกับบุตรผู้เยาว์
(5) ลดหรืองดประโยชน์และรางวัลทั้งหมดหรือแต่บางส่วนหรือบางอย่าง
(6) ขังเดี่ยวไม่เกินหนึ่งเดือน
(7) ตัดจานวนวันที่ได้รับการลดวันต้องโทษ
ในกรณีและเงื่อนไขอย่างใดจะลงโทษดังระบุไว้ในวรรคหนึ่ง การดาเนินการพิจ ารณาลงโทษ การ
ลงโทษ การเพิกถอน เปลี่ยนแปลง งด หรือรอการลงโทษ และการอุทธรณ์ รวมทั้งผู้มีอานาจในการ
ดาเนินการดังกล่าว ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 70 ในกรณีที่ผู้ต้องขังได้กระทาความผิดอาญาขึ้นภายในเรือนจาและความผิดนั้นเป็ น
ความผิดลหุโทษ ความผิดฐานทาให้เสียทรัพย์ของเรือนจา ความผิดตามมาตรา 73 หรือความผิดฐาน
พยายามหลบหนีที่คุมขัง ให้ผู้บัญชาการเรือนจามีอานาจวินิจฉัยลงโทษฐานผิดวินัยตามพระราชบัญญัติ
นี้และจะนาเรื่องขึ้นเสนอต่อพนักงานสอบสวนเพื่อดาเนินการสอบสวนหรือฟ้องร้องตามกฎหมายด้วยก็ได้
ความผิดตามวรรคหนึ่ง ที่ผู้บัญชาการเรือนจาจะใช้อานาจวินิจฉัยลงโทษทางวินัย ให้เป็นไปตาม
ระเบียบกรมราชทัณฑ์โดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
ความในมาตรานี้ไม่ตัดสิทธิของเอกชนที่จะเป็นโจทก์ยื่นฟ้องคดีอาญาหรือคดีแพ่งตามกฎหมาย

หมวด 8
ความผิดเกี่ยวกับเรือนจา
-----------------------------
มาตรา 71 ผู้ใดเข้าไปในเรือนจาโดยมิได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานเรือนจา ต้องระวางโทษ
จาคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


32 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

มาตรา 72 ผู้ใดกระทาด้วยประการใดให้เข้ามาหรือให้ออกไปจากเรือนจา หรือครอบครองหรือ


ใช้ในเรือนจา หรือรับจากหรือส่งมอบแก่ผู้ต้องขัง ซึ่งสิ่งของต้องห้าม ดังต่อไปนี้ ต้องระวางโทษจาคุกไม่
เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
(1) ยาเสพติดให้โทษ วัตถุออกฤทธิ์ และสารระเหย รวมถึงอุปกรณ์ที่ใช้ในการเสพ
(2) สุราหรือของมึนเมาอย่างอื่น
(3) เครื่องมืออันเป็นอุปกรณ์ในการหลบหนี
(4) อาวุธ เครื่องกระสุนปืน วัตถุระเบิด ดอกไม้เพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปืน
(5) น้ามันเชื้อเพลิงหรือวัตถุอื่นใดที่ก่อให้เกิดเพลิงได้
(6) เครื่องคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ หรือเครื่องมือสื่อสารอื่น รวมทั้งอุปกรณ์สาหรับสิ่งของดังกล่าว
(7) สิ่งของอื่นที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อเรือนจาหรือความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี
ของประชาชน ทั้งนี้ ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 73 ผู้ใดกระทาด้วยประการใดให้เข้ามาหรือให้ออกไปจากเรือนจา หรือครอบครองหรือ
ใช้ในเรือนจา หรือรับจากหรือส่งมอบแก่ผู้ต้องขัง ซึ่งสิ่งของต้องห้าม ดังต่อไปนี้ ต้องระวางโทษจาคุกไม่
เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
(1) อุปกรณ์สาหรับเล่นการพนัน
(2) ของเน่าเสียหรือของมีพิษต่อร่างกาย
(3) เงินตรา
(4) เครื่องมือและอุปกรณ์สาหรับสักร่างกาย
(5) สิ่งของอื่นที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อเรือนจาหรือความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี
ของประชาชน ทั้งนี้ ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 74 สิ่งของต้องห้ามตามความในมาตรา 72 และมาตรา 73 ไม่หมายความรวมถึง
สิ่งของซึ่งมีไว้เพื่อใช้ในราชการ
สิ่งของต้องห้ามที่มีการฝ่าฝืนมาตรา 72 หรือมาตรา 73 ให้ริบเสียทั้งสิ้น
ในกรณี สิ่ ง ของต้ อ งห้ า มตามมาตรา 73 หากไม่ มี ก ารด าเนิ น การฟ้ อ งร้ อ งตามกฎหมาย
ให้ผู้บัญชาการเรื อนจามี อานาจดาเนินการกับสิ่ งของต้องห้ามดังกล่ าว ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ
เงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 33

มาตรา 75 ถ้าผู้กระทาความผิดตามมาตรา 72 หรือมาตรา 73 เป็นเจ้าพนักงานเรือนจาหรือ


เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้เข้าไปปฏิบัติหน้าที่หรือผู้ปฏิบัติหน้าที่อยู่ในเรือนจา ต้องระวางโทษเป็นสามเท่าของ
โทษที่กาหนดไว้สาหรับความผิดนั้น

บทเฉพาะกาล
------------------------
มาตรา 76 บรรดากฎกระทรวง ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คาสั่งและมติคณะรัฐมนตรี ที่ได้
ออกตามพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พุทธศักราช 2479 ที่ใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้
บังคับ ให้ยังคงใช้บังคับได้ต่อไปเพียงเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัตินี้ จนกว่าจะมีกฎกระทรวง
ระเบียบข้อบังคับ ประกาศหรือคาสั่งที่ออกตามพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
การดาเนิ น การออกกฎกระทรวง ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หรือคาสั่ ง ตามวรรคหนึ่ง ให้
ดาเนิ น การให้ แล้ ว เสร็ จ ภายในเก้า สิ บ วัน นั บแต่วัน ที่ พระราชบั ญญัตินี้ มีผ ลใช้ บัง คับ หากไม่ส ามารถ
ดาเนินการได้ให้รัฐมนตรีรายงานเหตุผลที่ไม่อาจดาเนินการได้ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบ
มาตรา 77 ให้เจ้าพนักงานเรือนจาตามพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พุทธศักราช 2479 และยังคง
ปฏิบัติหน้าที่อยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ เป็นเจ้าพนักงานเรือนจาตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา 78 ในวาระเริ่มแรกที่ยังไม่มีการแต่งตั้งกรรมการผู้ ทรงคุณวุฒิตามมาตรา 8(4) ให้
คณะกรรมการประกอบด้ ว ยกรรมการโดยต าแหน่ ง เพื่ อ ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต ามพระราชบั ญ ญั ติ นี้
แต่ต้องไม่เกินเก้าสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ

ผู้สนองพระราชโองการ
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา
นายกรัฐมนตรี

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


34 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

หมายเหตุ :- เหตุ ผ ลในการประกาศใช้ พ ระราชบั ญ ญั ติ ฉ บั บ นี้ คื อ โดยที่ พ ระราชบั ญ ญั ติ ร าชทั ณ ฑ์


พุทธศักราช ๒๔๗๙ได้ใช้บังคับมาเป็นเวลานานและมีบทบัญญัติบางประการไม่สอดคล้องกับนโยบายทาง
อาญาของประเทศ ประกอบกับ มีกฎหมายและกฎเกณฑ์ในระดับสากลที่เ กี่ยวข้อ งกับการปฏิ บั ติ ต่ อ
ผู้ ต้องขังประเภทต่าง ๆ และการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ซึ่งมิได้มีการบัญญัติไว้ในพระราชบั ญ ญั ติ
ดังกล่าว ส่งผลให้การดาเนินงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องไม่สอดคล้องตามมาตรฐานสากล อาทิ ข้อกาหนด
มาตรฐานขั้ น ต่ าส าหรั บ ปฏิ บั ติ ต่ อ ผู้ ต้ อ งขั ง (Standard MinimumRules for the Treatment of
Prisoners / SMR) หรือข้อกาหนดของสหประชาชาติ สาหรับการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังหญิงในเรือนจาและ
มาตรการที่มิใช่การควบคุมขังสาหรับผู้กระทาผิดหญิง (United Nations Rules forthe Treatment of
Women Prisoners and Non-Custodial Measures for Women Offenders)หรือข้อกาหนดกรุงเทพ
(Bangkok Rules) รวมทั้งยังไม่สามารถจัดการหรือบริหารโทษของผู้ต้องขังเฉพาะรายหรือเฉพาะคดีได้
อย่ างเหมาะสม เนื่ องจากไม่มีบ ทบั ญญัติให้ อานาจในการดาเนินการ และไม่ส ามารถดาเนินการให้มี
สถานที่ควบคุมหรือคุมขังผู้ต้องขังประเภทอื่น นอกจากการคุมขังไว้ในเรือนจา ซึ่งทาให้ระบบการพัฒนา
พฤติ นิ สั ย และการบริ ห ารงานเรื อ นจ าไม่ เ ป็ น ไปตามเป้ า หมายที่ ก าหนดไว้ สมควรก าหนดให้ มี
คณะกรรมการราชทั ณ ฑ์ เ พื่ อ ก าหนดนโยบายและทิ ศ ทางในการบริ ห ารงานราชทั ณ ฑ์ แ ละปรั บ ปรุง
กฎหมายให้สามารถแก้ไข บาบัด ฟื้นฟูและพัฒนาพฤตินิสัยของผู้ต้องขัง กับทั้งเป็นเครื่องมือในการแก้ไข
ปั ญ หาอื่ น ในการบริ ห ารจั ด การกระบวนงานของกรมราชทั ณ ฑ์ เพื่ อ ให้ เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพยิ่ ง ขึ้ น จึ ง
จาเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 35

เรียบเรียงพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.๒๕๖๐
กฎกระทรวง และระเบียบ กระกาศ คาสั่งที่เกี่ยวข้อง
**************
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
ให้ไว้ ณ วันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
เป็นปีที่ 2 ในรัชกาลปัจจุบัน
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้
ประกาศว่า
โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยการราชทัณฑ์
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของสภานิติ
บัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้
มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. 2560”
มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกาหนดเก้าสิบวัน นับแต่วันประกาศในราชกิจจา
นุเบกษาเป็นต้นไป (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 134 ตอนที่ 21 ก ลงวันที่ 18 กุมภาพันธ์
2560)
มาตรา 3 ให้ยกเลิก
(1) พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พุทธศักราช 2479 (58 มาตรา)
(2) พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2520
(3) พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2522
(4) พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2523
(5) ประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ 110/2557 เรื่อง การแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาย
ว่าด้วยราชทัณฑ์ ลงวันที่ 21 กรกฎาคม พุทธศักราช 2557

มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้
“เรือนจา” หมายความว่าที่ซึ่งใช้ควบคุม ขัง หรือจาคุกผู้ต้องขังกับทั้งสิ่งที่ใช้ต่อเนื่องกันและให้
หมายความรวมถึงที่อื่นใด ซึ่งรัฐมนตรีได้กาหนดและประกาศในราชกิจจานุเบกษา วางอาณาเขตไว้โดย
ชัดเจนด้วย
“ผู้ต้องขัง” หมายความรวมถึงนักโทษเด็ดขาด คนต้องขัง และคนฝาก
“นักโทษเด็ดขาด” หมายความว่าบุคคลซึ่งถูกขังไว้ตามหมายจาคุกภายหลังคาพิพากษาถึงที่สุด
และให้หมายความรวมถึงบุคคลซึ่งถูกขังไว้ตามคาสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายให้ลงโทษด้วย
“คนต้องขัง” หมายความว่าบุคคลซึ่งถูกขังไว้ตามหมายขัง

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


36 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

“คนฝาก” หมายความว่าบุคคลซึ่งถูกฝากให้ควบคุมไว้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
อาญา หรือกฎหมายอื่นโดยไม่มีหมายอาญา
“คณะกรรมการ” หมายความว่าคณะกรรมการราชทัณฑ์
“กรรมการ” หมายความว่ากรรมการราชทัณฑ์
“เจ้าพนักงานเรือนจา” หมายความว่า ผู้ซึ่งมีคุณสมบัติตามที่รัฐมนตรีประกาศกาหนดและ
อธิบดีได้แต่งตั้ง เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้

ประกาศกระทรวงยุติธรรม
เรื่อง กาหนดคุณสมบัติเจ้าพนักงานเรือนจาตาม พ.ร.บ.ราชทัณฑ์ พ.ศ.2560
(ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 135 ตอนพิเศษ 222 ง ลงวันที่ 11 กันยายน 2561)
-------------------------
เพื่อให้เจ้าพนักงานเรือนจา มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัติราชทัณฑ์
พ.ศ. 2560
อาศัย อานาจตามความในมาตรา 4 ประกอบมาตรา 7 แห่ งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.
2560 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม จึงออกประกาศกาหนดคุณสมบัติของเจ้าพนักงานเรือนจา เพื่อ
ปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยงานราชทัณฑ์ไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 เจ้าพนักงานเรือนจาต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้
(1) เป็นข้าราชการ สังกัดกรมราชทัณฑ์ ประกอบด้วยประเภทและระดับตาแหน่งดังต่อไปนี้
(ก) ประเภทบริหาร ระดับสูง และระดับต้น
(ข) ประเภทอานวยการ ระดับสูง และระดับต้น
(ค) ประเภทวิชาการ ระดับทรงคุณวุฒิ ระดับเชี่ยวชาญ ระดับชานาญการพิเศษ ระดับ
ชานาญการ และระดับปฏิบัติการ
(ง) ประเภททั่ ว ไป ระดั บ ทั ก ษะพิ เ ศษ ระดั บ อาวุ โ ส ระดั บ ช านาญงาน และระดั บ
ปฏิบัติงาน
(2) พนักงานราชการ สังกัดกรมราชทัณฑ์
(3) ลูกจ้างประจา สังกัดกรมราชทัณฑ์
ข้อ 2 ประกาศฉบับนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ.2561
พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 37

คาสั่งกรมราชทัณฑ์
ที่ 1758/2561
เรื่อง แต่งตั้งเจ้าพนักงานเรือนจา ตามพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.2560
-------------------
สื บ เนื่ อ งจากประกาศกระทรวงยุ ติ ธ รรม เรื่ อ ง ก าหนดคุ ณ สมบั ติ เ จ้ า พนั ก งานเรื อ นจ าตาม
พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 ลงวันที่ 7 สิงหาคม 2561 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมได้
กาหนดคุณสมบัติของข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้างประจาสังกัดกรมราชทัณฑ์ เพื่อปฏิบัติการ
ตามพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 ซึ่งได้ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศและงาน
ทั่วไป เล่มที่ 135 ตอนพิเศษ 222 ง วันที่ 11 กันยายน 2561 เรียบร้อยแล้ว
อาศั ย อ านาจตามความในมาตรา 4 แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ ร าชทั ณ ฑ์ พ.ศ.2560 จึ ง แต่ ง ตั้ ง
ข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้างประจา ซึ่งมีคุณสมบัติตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
ประกาศก าหนดเป็ น เจ้ า พนั ก งานเรื อ นจ า โดยให้ มี ห น้ า ที่ แ ละอ านาจตามที่ ก าหนดไว้ ใ นกฎหมาย
ดังต่อไปนี้
1. ข้าราชการ สังกัดกรมราชทัณฑ์ ได้แก่ผู้ดารงตาแหน่ง ประเภทบริหาร ระดับสูง และระดับ
ต้น ประเภทอานวยการ ระดับสูงและระดับต้น ประเภทวิชาการ ระดับทรงคุณวุฒิ ระดับเชี่ยวชาญ
ระดับชานาญการพิเศษ ระดับชานาญการและระดับปฏิบัติการและประเภททั่วไป ระดับทักษะพิเศษ
ระดับอาวุโส ระดับชานาญงานและระดับปฏิบัติงาน
2. พนักงานราชการ สังกัดกรมราชทัณฑ์
3. ลูกจ้างประจา สังกัดกรมราชทัณฑ์
ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป
สั่ง ณ วันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ.2561

พันตารวจเอก ณรัชต์ เศวตนันทน์


อธิบดีกรมราชทัณฑ์

“อธิบดี” หมายความว่า อธิบดีกรมราชทัณฑ์


“รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา 5 พระราชบัญญัตินี้ มิให้ใช้บังคับกับเรือนจาทหารตามกฎหมายว่าด้วยเรือนจาทหาร

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


38 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

มาตรการบังคับโทษด้วยวิธีอื่น
มาตรา 6 กรมราชทัณฑ์อาจดาเนินการให้มี มาตรการบังคับโทษด้วยวิธีการอื่น นอกจากการ
ควบคุม ขัง หรือจาคุกไว้ในเรือนจา แต่มาตรการดังกล่าวต้องไม่ขัดต่อประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
อาญา รวมตลอดถึ ง กฎหมายอื่ น ที่ เ กี่ ยวข้ อ ง ทั้ ง นี้ ตามหลั ก เกณฑ์ วิ ธี ก าร และเงื่ อ นไขที่ ก าหนดใน
กฎกระทรวงโดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
มาตรา 7 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอานาจ
ออกกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศ เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
กฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับได้

คณะกรรมการราชทัณฑ์
หมวด 1
คณะกรรมการราชทัณฑ์
----------------------------
มาตรา 8 ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการราชทัณฑ์” ประกอบด้วย
(1) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานกรรมการ
(2) ปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นรองประธานกรรมการ
(3) กรรมการโดยตาแหน่ง จานวนเก้าคน ได้แก่ ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์ ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงแรงงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ปลัดกระทรวง
สาธารณสุข ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ เลขาธิการสานักงานศาลยุติธรรม อัยการสูงสุด และเลขาธิการ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
(4) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จานวนเจ็ดคน ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้ง จากผู้มีความรู้ ความสามารถ
ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์เป็นที่ประจักษ์ด้านนิติศาสตร์ ด้านศาสนา ศิลปะ หรือวัฒนธรรม ด้าน
อาชญาวิทยา ด้ านทัณฑวิทยา ด้านสิ ทธิมนุษยชน ด้านจิตวิทยา และด้านอื่นที่เป็นประโยชน์ต่อการ
ราชทัณฑ์ ด้านละหนึ่งคน
ให้อธิบดีเป็นกรรมการและเลขานุการ และให้อธิบดีแต่งตั้งข้าราชการในกรมราชทัณฑ์จานวนไม่
เกินสองคนเป็นผู้ช่วยเลขานุการ
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 39

ประกาศกระทรวงยุติธรรม
เรื่อง แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการราชทัณฑ์
(ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๒๙ ง ลงวันที่ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑)
---------------------------
อาศัยอานาจตามความในมาตรา 7 วรรคหนึ่ง และมาตรา 8 วรรคหนึ่ง(4) แห่งพระราชบัญญัติ
ราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ประกาศแต่งตั้งบุคคลเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
ในคณะกรรมการราชทัณฑ์ไว้ ดังต่อไปนี้
1. พลตารวจเอกวันชัย ศรีนวลนัด ผู้ทรงคุณวุฒิด้านนิติศาสตร์
2. นายเผ่าทอง ทองเจือ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านศาสนา ศิลปะ หรือวัฒนธรรม
3. รองศาสตราจารย์ศรีสมบัติ โชคประจักษ์ชัด ผู้ทรงคุณวุฒิด้านอาชญาวิทยา
4. นายนัทธี จิตสว่าง ผู้ทรงคุณวุฒิด้านทัณฑวิทยา
*5. นายดารงศักดิ์ เครือแก้ว ผู้ทรงคุณวุฒิด้านสิทธิมนุษยชน
6. นางวัลลี ธรรรมโกสิทธิ์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านจิตวิทยา
7. รองศาสตราจารย์อภิญญา เวชยชัย ผู้ทรงคุณวุฒิด้านอื่นที่เป็นประโยชน์ต่อการราชทัณฑ์
ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 22 มกราคม พ.ศ.2561
พลอากาศเอกประจิน จั่นตอง
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
-------------------------------

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


40 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

มาตรา 9 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้


(1) มีสัญชาติไทย
(2) มีอายุไม่ต่ากว่าสามสิบห้าปี
(3) ไม่เป็นผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น กรรมการ หรือผู้
ดารงตาแหน่งที่รับผิดชอบในการบริหารพรรคการเมือง หรือเจ้าหน้าที่พรรคการเมือง
(4) ไม่เป็นข้าราชการซึ่งมีตาแหน่งหรือเงินเดือนประจา เว้นแต่เป็นผู้ดารงตาแหน่งอาจารย์ใน
มหาวิทยาลัยของรัฐ
(5) ไม่เป็นคนไร้ความสามารถหรือเสมือนไร้ความสามารถ
(6) ไม่เคยต้องคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก ไม่ว่าจะได้รับโทษจาคุกจริงหรือไม่ เว้นแต่เป็นโทษ
สาหรับความผิดที่ได้กระทาโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
(7) ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจเพราะ
กระทาผิดวินัย
มาตรา 10 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ มีวาระการดารงตาแหน่งคราวละสามปี
เมื่อครบกาหนดตามวาระในวรรคหนึ่ง หากยังไม่ได้มีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม่ ให้
กรรมการผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ซึ่ ง พ้ น จากต าแหน่ ง ตามวาระนั้ น อยู่ ใ นต าแหน่ ง เพื่ อ ด าเนิ น งานต่ อ ไปจนกว่ า
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับแต่งตั้งใหม่เข้ารับหน้าที่
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากตาแหน่งตามวาระ อาจได้รับแต่ งตั้งอีกได้ แต่จะดารงตาแหน่ง
ติดต่อกันเกินสองวาระไม่ได้
มาตรา 11 นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระตามมาตรา 10 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้น
จากตาแหน่ง เมื่อ
(1) ตาย
(2) ลาออก
(3) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 9
(4) รั ฐ มนตรี ใ ห้ อ อก เพราะบกพร่ อ งต่ อ หน้ า ที่ มี ค วามประพฤติ เ สื่ อ มเสี ย หรื อ หย่ อ น
ความสามารถ (เพราะรัฐมนตรีแต่งตั้ง)
ในกรณี ที่ ก รรมการผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ พ้ น จากต าแหน่ ง ก่ อ นวาระ รั ฐ มนตรี อ าจแต่ ง ตั้ ง ผู้ อื่ น เป็ น
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแทนได้ และให้ผู้ซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งแทนอยู่ในตาแหน่งเท่ากับวาระที่
เหลืออยู่ของกรรมการซึ่งตนแทน
มาตรา 12 คณะกรรมการมีอานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(1) กาหนดนโยบายและทิศทางในการบริหารงานราชทัณฑ์เพื่อให้สอดคล้องกับภารกิจด้านการ
ราชทัณฑ์อย่ างมีป ระสิ ทธิภาพ รวมทั้งพิจารณาให้ ความเห็ นเกี่ยวกับการบริหารงานราชทัณฑ์ตามที่
คณะรัฐมนตรีขอให้พิจารณา
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 41

(2) ให้คาแนะนาหรือคาปรึกษาแก่รัฐมนตรีในการออกกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศตาม


พระราชบัญญัตินี้ รวมทั้งให้คาแนะนาแก่อธิบดีในการวางระเบียบกรมราชทัณฑ์
(3) ให้ความเห็นชอบกฎกระทรวง ระเบียบ หรือประกาศตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้
(4) ก าหนดหรื อ เสนอแนะแนวทาง กลยุ ท ธ์ และมาตรการในการปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาการ
บริหารงานราชทัณฑ์ หรือการดาเนินการตามแผนการบริหารงานราชทัณฑ์ให้เป็นไปโดยมีประสิทธิภาพ
และสัมฤทธิ์ผล รวมทั้งแนวทางในการพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขังให้กลับตนเป็นคนดี การเตรียมความพร้อม
ก่อนปล่อยผู้ต้องขัง และการดูแลช่วยเหลือผู้ต้อ งขังหลังปล่อยเพื่อมิให้กลับไปกระทาความผิดซ้าอีกและ
เสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรี หน่วยงานของรัฐ หรือองค์กรที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขังและ
การดูแลช่วยเหลือผู้ต้องขังหลังปล่อยเพื่อพิจารณา
(5) กาหนดมาตรฐานการดาเนินการด้านต่าง ๆ ของเรือนจาให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัตินี้
(6) ปฏิบัติการอื่นตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่น
มาตรา 13 การประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุม ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวน
กรรมการทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม
ในการประชุมของคณะกรรมการ ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้
ให้รองประธานกรรมการเป็นประธานในที่ประชุม ถ้าประธานกรรมการและรองประธานกรรมการไม่มา
ประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้ที่ประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม
การวิ นิ จ ฉั ย ชี้ ข าดของที่ ป ระชุ ม ให้ ถื อ เสี ย งข้ า งมาก กรรมการคนหนึ่ ง ให้ มี เ สี ย งหนึ่ ง ในการ
ลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด
มาตรา 14 คณะกรรมการจะแต่งตั้ง คณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาวินิจฉัยหรือปฏิบัติการ
อย่างใดอย่างหนึ่งตามที่คณะกรรมการมอบหมายก็ได้ และให้นาบทบัญญัติมาตรา 13 มาใช้บังคับกับการ
ประชุมของคณะอนุกรรมการโดยอนุโลม
มาตรา 15 ให้ประธานกรรมการ กรรมการ และอนุกรรมการได้รับเบี้ยประชุม และประโยชน์
ตอบแทนอื่น ตามหลักเกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรีกาหนด
มาตรา 16 ให้กรมราชทัณฑ์รับผิดชอบงานธุรการของคณะกรรมการและคณะอนุก รรมการ
และประสานงานกับหน่วยงานของรัฐหรือองค์กรที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขัง การเตรียม
ความพร้อมก่อนปล่อยผู้ต้องขัง และการดูแลช่วยเหลือผู้ต้องขังหลังปล่อย รวมทั้งปฏิบัติงานอื่นใดตามที่
คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการมอบหมาย

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


42 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

อานาจหน้าที่เจ้าพนักงานเรือนจา
หมวด 2
อานาจหน้าที่เจ้าพนักงานเรือนจา
มาตรา 17 อธิบดีมีอานาจกาหนดอานาจและหน้าที่ของเจ้าพนักงานเรือนจาในส่วนที่เกี่ยวแก่
การงานและความรับผิดชอบ ตลอดจนเงื่อนไขที่จะปฏิบัติตามอานาจและหน้าที่นั้น
ในกรณีจาเป็นเพื่อประโยชน์ของทางราชการ ผู้บัญชาการเรือนจาอาจแต่งตั้งให้ข้าราชการ
หรือบุคลากรจากส่วนราชการอื่นเป็นผู้ช่วยเหลือกรมราชทัณฑ์ ในการปฏิบัติหน้าที่หรือภารกิจต่าง ๆ
ตามที่ได้รับมอบหมายเป็นครั้งคราวได้ โดยให้ผู้ได้รับการแต่งตั้งมีอานาจหน้าที่เช่นเดียวกับเจ้าพนักงาน
เรือนจา
การดาเนินการตามมาตรานี้ ให้เป็นไปตามระเบียบกรมราชทัณฑ์

ระเบียบกรมราชทัณฑ์
ว่าด้วยอานาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานเรือนจา และการแต่งตั้งผู้ช่วยเหลือกรมราชทัณฑ์ พ.ศ.2561
-----------------------------
โดยที่เป็นการสมควรมีระเบียบว่าด้วยอานาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานเรือนจาและการแต่งตั้งผู้ช่วย
เหลือกรมราชทัณฑ์ เพื่อให้การปฏิบัติงานราชทัณฑ์สามารถดาเนินการต่อไปได้ตามภารกิจ อาศัยอานาจ
ตามความในมาตรา 17 แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 อธิบดีกรมราชทัณฑ์จึงวางระเบียบไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยอานาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานเรือนจา
และการแต่งตั้งผู้ช่วยเหลือกรมราชทัณฑ์ พ.ศ.2561”
ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป
ข้อ 3 บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ คาสั่ง ประกาศ หรือหนังสือสั่งการอื่นใด ซึ่งขัดหรือแย้งกับ
ระเบียบนี้ให้ใช้ระเบียบนี้แทน
ข้อ 4 ให้อธิบดีกรมราชทัณฑ์ รักษาการตามระเบียบนี้ และมีอานาจวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการ
ปฏิบัติตามระเบียบนี้
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 43

หมวด 1
อานาจและหน้าที่ของเจ้าพนักงานเรือนจา
ส่วนที่ 1
เจ้าพนักงานอานวยการกลาง
------------------
ข้อ 5 อธิบดีเป็นผู้อานวยการเรือนจาโดยทั่วไป มีอานาจบังคับบัญชากิจการเรือนจาเหนือเจ้า
พนักงานเรือนจาทั้งปวง
อธิบดีมีอานาจประกาศกาหนดเขตการบริหารงานเรือนจา และตั้งผู้บัญชาการเรือนจาผู้หนึ่ง
ภายในเขต ให้ มี อ านาจเหนื อ ผู้ บั ญ ชาการเรื อ นจ าอื่ น ในเขตเดี ย วกั น โดยปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต ามที่ ไ ด้ รั บ
มอบหมาย
ข้อ 6 รองอธิบดีเป็นรองผู้อานวยการเรือนจาโดยทั่วไป มีอานาจบังคับบัญชากิจการเรือนจา
เหนือเจ้าพนักงานเรือนจาทั้งปวง รองจากอธิบดี
ข้อ 7 ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านทัณฑวิทยา มีหน้าที่ให้คาปรึกษา แนะนาและวินิจฉัยปัญหาทาง
วิชาการเพื่อประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารกรมราชทัณฑ์ และติดตามผลการดาเนินงานของกรม
ราชทัณฑ์ ตามที่ได้รับมอบหมายจากอธิบดี
ข้อ 8 ผู้ตรวจราชการกรมเป็นเจ้าหน้าที่ตรวจการเรือนจาตามที่อธิบดีมอบหมาย มีอานาจตรวจ
การเรือนจา ให้คาปรึกษาแนะนาแก่เจ้าพนักงานเรือนจา
ข้อ 9 ผู้อานวยการกองมีอานาจติดตามผลการดาเนินงานของเรือนจา และให้คาปรึกษาแนะนา
แก่เจ้าพนักงานเรือนจาเฉพาะส่วนที่ได้รับหมายจากอธิบดี
ข้อ 10 เมื่ออธิบดีสั่งให้ข้าราชการสังกัดกรมราชทัณฑ์ผู้ใดไปควบคุมกิจการเรือนจา ให้ถือว่า
ผู้นั้นเป็นผู้บัญชาการเรือนจา มีอานาจและหน้าที่บังคับบัญชากิจการเรือนจานั้น
ส่วนที่ 2
เจ้าพนักงานประจาเรือนจา
--------------------
ข้อ 12 ตาแหน่งเจ้าพนักงานผู้ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ประจาเรือนจา มีดังต่อไปนี้
(1) ผู้บัญชาการเรือนจา
(2) พัศดี
(3) ผู้คุม
ข้อ 13 ผู้บัญชาการเรือนจา มีอานาจและหน้าที่รับผิดชอบบังคับบัญชากิจการเรือนจาโดยทั่วไป
และมีอานาจบังคับบัญชาเหนือพัศดี ผู้คุม และผู้ต้องขังทั้งปวงที่สังกัดเรือนจานั้น

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


44 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ให้ผู้บัญชาการเรือนจาจัดแบ่งหน้าที่การงานออกเป็นส่วน ๆ โดยให้พัศดีมีอานาจและหน้าที่
ควบคุมการงานนั้นตามส่วน ในกรณีเช่นนี้ผู้บัญชาการเรือนจาจะให้พัศดีผู้หนึ่งมีอานาจควบคุมการงาน
ของเรือนจาเหนือพัศดีด้วยกันก็ได้
พัศ ดี หรื อผู้คุมคนใดจะทาหน้า ที่ฝ่า ยใด ประการใด ให้ เป็นไปตามที่ ผู้บัญชาการเรื อนจา
มอบหมายตามความเหมาะสม
นอกจากหน้าที่ดังกล่าว ผู้บัญชาการเรือนจาจะต้องตรวจการเรือนจาตามที่กรมราชทัณฑ์กาหนด
เอาใจใส่ดูแลทุกข์สุขผู้ต้องขัง เปิดโอกาสให้ร้องทุกข์ได้โดยสะดวกและเต็มที่ และบังคับบัญชาเจ้าหน้าที่
หรือเจ้าพนักงานอื่นซึ่งปฏิบัติหน้าที่ประจาเรือนจาด้วย
ข้อ 14 พัศดี เป็นเจ้าพนักงานเรือนจารองจากผู้บัญชาการเรือนจา มีอานาจบังคับบัญชาใน
ส่วนการงานที่ได้รับมอบหมาย และมีอานาจหน้าที่เหนือผู้คุมและผู้ต้องขังทั้งปวงที่สังกัดเรือนจานั้น
ในกรณีที่พัศดีมีไม่เพียงพอหรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ผู้บัญชาการเรือนจาอาจแต่งตั้งเจ้า
พนักงานเรือนจาผู้หนึ่งผู้ใดทาหน้าที่ผู้ช่วยพัศดีก็ได้
ข้อ 15 นอกเหนือจากการงานที่พัศดีจะต้องรับผิดชอบตามที่ผู้บัญชาการเรือนจามอบหมายแล้ว
พัศดีมีหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(1) ปกครองและควบคุมระเบียบวินัยของผู้คุมในสังกัด
(2) มอบหมายให้ผู้คุมในสังกัดไปดาเนินการควบคุมหรือจัดทาการงานของเรือนจา
(3) ทาการตามคาสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายของผู้บังคับบัญชา
(4) รักษา ดูแล บูรณะสถานที่และทรัพย์สินของเรือนจา
(5) ปกครองและควบคุมระเบียบวินัยของผู้ต้องขัง
(6) ตรวจตราป้องกันการกระทาผิดวินัยของผู้ต้ องขัง ตลอดจนการหลบหนีและจับกุมเมื่อมีการ
กระทาผิดอาญา
(7) จัดการและควบคุมการทางานของผู้ต้องขัง
(8) จัดการและควบคุมการศึกษาตลอดจนการอบรมผู้ต้องขัง
(9) ดูแลการอนามัยของผู้ต้องขังและการสุขาภิบาลของเรือนจา
(10) เปิดโอกาสให้ผู้ต้องขังร้องทุกข์ได้โดยสะดวกและเต็มที่
(11) ปฏิบัติการอื่นตามที่กฎหมายกาหนดให้เป็นหน้าที่ของพัศดี
ข้อ 16 เจ้าพนักงานเรือนจาที่ได้รับการแต่งตั้งตามข้อ 14 วรรค 2 มีหน้าที่ดังต่อไปนี้
(1) ช่วยเหลือพัศดีในการปกครอง และควบคุมระเบียบวินัยของผู้คุม
(๒) ช่วยเหลือพัศดีในการปกครองและควบคุมอบรมผู้ต้องขัง
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 45

(3) ปฏิบัติงานตามข้อ 15(3) ถึง (10)


(4) ปฏิบัติการอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
ข้อ 17 ผู้คุม เป็นเจ้าพนักงานเรือนจารองจากพัศดี มีหน้าที่ดังต่อไปนี้
(1) ตามข้อ 15(3) ถึง (10)
(2) เมื่อผู้ต้องขังในความควบคุมของเจ้าพนักงานอื่นก่อความไม่สงบหรือกระทาผิดอาญา จะต้อ ง
เข้าจั ดการจั บ กุมช่ว ยเหลื อเจ้าพนั กงานอื่น เว้นแต่ไม่อาจทาดังนั้นได้เพราะเหตุที่มีผู้ ต้องขังในความ
ควบคุมของตนซึ่งจะก่อความไม่สงบหรือกระทาผิดอาญาขึ้น ในกรณีดังกล่าวจะต้องรีบแจ้งให้เจ้าพนักงาน
ผู้ควบคุมและพัศดีทราบเหตุ
(3) ปฏิบัติการอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
ข้อ 18 ในกรณีเกิดเหตุร้ายหรือสถานการณ์ฉุกเฉินในกิจการของเรือนจา เป็นเหตุให้ผู้มีอานาจ
บังคับบัญชาสูงสุดของเรือนจาขณะนั้นตกอยู่ในความควบคุมของผู้ก่อเหตุร้ายหรือสถานการณ์ฉุกเฉินให้
เจ้าพนักงานเรื อนจ ารองลงมาตามลาดับมีอานาจสั่งการหรือดาเนินการใด ๆ แทนผู้มีอานาจนั้นเพื่ อ
ควบคุมสถานการณ์ทั้งปวง
หมวด 2
การแต่งตั้งผู้ช่วยเหลือกรมราชทัณฑ์
-----------------------
ข้อ 19 ในกรณีจาเป็นเพื่อประโยชน์ของทางราชการ เพื่อปฏิบัติหน้าที่หรือภารกิจต่าง ๆ เป็น
ครั้งคราว ให้ผู้บัญชาการเรือนจาแต่งตั้งข้าราชการหรือบุคลากรจากส่วนราชการอื่น เป็นผู้ช่วยเหลือกรม
ราชทัณฑ์ มีอานาจหน้าที่รับผิดชอบตามที่ได้รับมอบหมายจากผู้บัญชาการเรือนจา
ข้อ 20 ผู้ที่จะได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้ช่วยเหลือกรมราชทัณฑ์ได้ ต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้
(1) เป็นข้าราชการหรือบุคลากรจากส่วนราชการอื่น
(๒) เป็นผู้ที่ไม่มีโรคหรือสภาพร่างกายที่เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติหน้าที่
(3) กรณีที่เคยได้รับการแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ผู้ช่วยเหลือกรมราชทัณฑ์มาก่อน ต้องไม่เคยถูก
ลงโทษทางวินัยเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว หรือเคยทาให้ผู้ต้องขังหลบหนีระหว่างการควบคุม
ผู้ที่ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามวรรคหนึ่ง เมื่อมีเหตุผลพิเศษที่จาเป็น อธิบดีก รม
ราชทัณฑ์อาจพิจารณายกเว้นให้แต่งตั้งเป็นการเฉพาะรายก็ได้
ข้อ 21 หนังสือแต่งตั้งให้ใช้ตามแบบแนบท้ายระเบียบนี้และจะต้องระบุข้อความไว้ให้ชัดเจน
เกี่ยวกับหน้าที่ สถานที่ปฏิบัติหน้าที่และกาหนดเวลาในการปฏิบัติหน้าที่

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


46 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ข้อ 22 ผู้บัญชาการเรื อนจามีอานาจจะถอนการแต่งตั้งผู้ช่ว ยเหลื อกรมราชทัณฑ์ได้ในกรณี


ดังต่อไปนี้
(1) เมื่อปรากฏว่าผู้ช่วยเหลือกรมราชทัณฑ์ไม่กระทาตามกฎหมาย ระเบียบ หรือคาสั่งที่ได้รับ
มอบหมายในขณะปฏิบัติหน้าที่
(2) เมื่อปรากฏในภายหลังว่า ผู้ช่วยเหลือกรมราชทัณฑ์นั้นขาดคุณสมบัติและมีลักษณะต้องห้าม
ตามข้อ 20
(3) มีพฤติการณ์ที่ส่ อให้ เห็ น ว่า หากให้ ผู้ ช่ว ยเหลื อกรมราชทัณฑ์นั้นทาหน้าที่ต่อไปแล้ ว จะ
ก่อให้เกิดความเสียหายขึ้น
(4) เมื่อหน้าที่ที่ได้รับการแต่งตั้งสิ้นสุดลงแล้ว
คาสั่งถอนการแต่งตั้งตามวรรคหนึ่ง ให้ประกาศไว้โดยเปิดเผย ณ สถานที่ปฏิบัติหน้าที่ของผู้ช่วย
เหลือกรมราชทัณฑ์ที่ถูกถอดถอนการแต่งตั้งนั้น พร้อมทั้งแจ้งให้หน่วยงานต้นสังกัดผู้นั้นทราบด้วย
ข้อ 23 หนังสือแต่งตั้งให้หมดอายุในกรณีใดกรณีหนึ่ง ดังนี้
(1) เมื่อถึงกาหนดวันซึ่งได้ระบุไว้ในหนังสือแต่งตั้ง
(2) วันที่มีคาสั่งถอนการแต่งตั้งตามข้อ 22
ข้อ 24 ในการปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับการรับตัวผู้ต้องขัง ให้ผู้ช่วยเหลือกรมราชทัณฑ์แสดงหนังสือ
แต่งตั้งต่อเจ้าพนักงานเรือนจาที่มีหน้าที่จ่ายผู้ต้องขังทุกครั้ง หากไม่ปฏิบัติหน้าที่ ตามนี้ ห้ามเจ้าพนักงาน
เรือนจาจ่ายผู้ต้องขังมอบให้ไปเป็นอันขาด
ข้อ 25 ผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งก่อนวันที่ระเบียบนี้ใช้บังคับ ให้ถือเป็นผู้ช่วยเหลือกรมราชทัณฑ์ตาม
ระเบียบนี้
ประกาศ ณ วันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2561
พันตารวจเอก ณรัชต์ เศวตนันทน์
อธิบดีกรมราชทัณฑ์

การฝึกอบรมก่อนเข้าปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าพนักงานเรือนจา
มาตรา 18 ให้กรมราชทัณฑ์จัดให้เจ้าพนักงานเรือนจา เข้ารับการฝึกอบรมก่อนเข้า ปฏิบั ติ
หน้าที่เพื่อให้มีการประเมินและพัฒนาความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะในการปฏิบัติหน้าที่ รวมไป
ถึงการจัดฝึกอบรมเพื่อเพิ่มทักษะและความเชี่ยวชาญ ทั้งนี้ ตามหลักสูตรการฝึกอบรมที่ได้รับความ
เห็นชอบจากคณะกรรมการ
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 47

หลักสูตรหลักของกระบวนการพัฒนาข้าราชการ กรมราชทัณฑ์ ตามมาตรา 18


1. หลักสูตรเจ้าพนักงานเรือนจา
2. หลักสูตรข้าราชการราชทัณฑ์บรรจุใหม่ (แรกรับ)
3. หลักสูตรความรู้พื้นฐานในการปฏิบัติราชการ
4. หลักสูตรเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์แรกเข้าทางาน
5. หลักสูตรผู้คุมมืออาชีพ
6. หลักสูตรพัศดีเรือนจา
7. หลักสูตรนักบริหารงานราชทัณฑ์ระดับต้น(พัศดี)
8. หลักสูตรเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ระดับผู้บังคับบัญชา(พัศดี)
9. หลักสูตรนักศึกษาผู้บัญชาการเรือนจา(นผบ.)
10. หลักสูตรนักบริหารงานราชทัณฑ์ระดับสูง(นรส.)

หลักสูตรเพิ่มทักษะและความเชี่ยวชาญในงานราชทัณฑ์ ตามมาตรา 18
1. หลักสูตรชุดปฏิบัติการพิเศษเพื่อป้องกันและระงับเหตุร้ายในเรือนจา
2. หลักสูตรเทคนิคการตรวจค้นจู่โจม
3. หลักสูตรการเจรจาต่อรอง แก้ไขเหตุวิกฤตและบริหารเหตุวิกฤติ
4. หลักสูตรการควบคุมผู้ต้องขังในเรือนจามั่นคงสูงสุด(Supper Maximum Security)
5. หลักสูตรเทคนิคการสืบสวนหาข่าว
6. หลักสูตรการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังหญิงตามข้อกาหนดกรุงเทพ (Bangkok Rules)
(ไม่นับรวมหลักสูตรการขับเคลื่อนเรือนจาต้นแบบตามข้อกาหนดกรุงเทพ)
7. หลักสูตรครูฝึกราชทัณฑ์ระดับต้น
8. หลักสูตรนักบริหารงานเรือนจาระดับหัวหน้าฝ่าย(นบฝ.) ฝ่ายบริหารทั่วไป
9. หลักสูตรนักบริหารงานเรือนจาระดับหัวหน่าฝ่าย(นบฝ.) ฝ่ายพัฒนาพฤตินิสัยและสวัสดิการ
10. หลักสูตรนักบริหารงานเรือนจาระดับหัวหน้าฝ่าย(นบฝ.) ฝ่ายควบคุมและรักษาการณ์
11. หลักสูตรนักบริหารงานเรือนจาระดับหัวหน้าฝ่าย(นบฝ.) ฝ่ายทัณฑปฏิบัติ

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


48 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

เงินเพิ่มสาหรับตาแหน่งที่มีเหตุพิเศษ
มาตรา 19 ให้เจ้าพนักงานเรือนจา ผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมตามมาตรา 18 เป็นตาแหน่งที่มีเหตุ
พิเศษตามกฎหมายว่า ด้ วยระเบียบข้า ราชการพลเรื อน และในการกาหนดให้ได้รับเงินเพิ่มส าหรับ
ตาแหน่งที่มีเหตุพิเศษให้คานึงถึง ภาระหน้าที่และคุณภาพของงาน โดยเปรียบเทียบกับค่าตอบแทนของ
ผู้ ป ฏิบั ติงานอื่น ในกระบวนการยุ ติธ รรม ทั้งนี้ให้ เป็นตามระเบียบกระทรวงยุติธ รรมโดยได้รับ ความ
เห็นชอบจากกระทรวงการคลัง

คุ้มครองกรณีใช้กาลังบังคับแก่ผู้ต้องขัง
มาตรา 20 เจ้าพนักงานเรือนจาจะใช้กาลังบังคับแก่ผู้ต้องขังไม่ได้ เว้นแต่กรณีดังต่อไปนี้
(1) การกระทาเพื่อป้องกันตัว
(2) ผู้ต้องขัง พยายามหลบหนี ใช้กาลังกายขัดขืนโดยทางตรงหรือทางอ้อมหรือไม่ปฏิบัติตาม
คาสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายของเจ้าพนักงานเรือนจาหรือระเบียบกรมราชทัณฑ์
การดาเนินการตามวรรคหนึ่ง เจ้าพนักงานเรือนจาจะใช้กาลังบังคับได้เพียงเท่าที่จาเป็นและ
เหมาะสมกับพฤติการณ์ และต้องรายงานเหตุต่อผู้บัญชาการเรือนจาทันที

การใช้เครื่องพันธนาการ
มาตรา 21 ห้ามใช้เครื่องพันธนาการแก่ผู้ต้องขัง เว้นแต่กรณีดังต่อไปนี้
(1) ผู้ต้องขังมีพฤติการณ์ที่จะทาอันตรายต่อชีวิตหรือร่างกายของตนเองหรือผู้อื่น
(2) ผู้ต้องขังมีพฤติกรรมหรืออาการส่อว่าเป็นบุคคลวิกลจริตหรือจิตไม่สมประกอบซึ่งอาจจะทา
อันตรายต่อชีวิตหรือร่างกายของตนเองหรือผู้อื่น
(3) ผู้ต้องขังมีพฤติการณ์ที่น่าจะหลบหนีการควบคุม
(4) เมื่อผู้ต้องขังถูกคุมตัวไปนอกเรือนจาและเจ้าหน้าที่ของรัฐ ผู้มีหน้าที่ควบคุมเห็นเป็นการ
สมควรที่จะต้องใช้เครื่องพันธนาการ
(5) เมื่ออธิบดีสั่งว่าเป็นการจาเป็นต้องใช้เครื่องพันธนาการ เนื่องจากสภาพของเรือนจาสภาพ
ของท้องถิ่น หรือเหตุจาเป็นอื่น
ให้ผู้บัญชาการเรือนจากาหนดตัวพัศดีผู้มีอานาจสั่งให้ใช้เครื่องพันธนาการแก่ผู้ต้องขังตาม (๑)
(2) หรือ (3) และสั่งเพิกถอนคาสั่งให้ใช้เครื่องพันธนาการนั้น
การใช้เครื่องพันธนาการ (๑) (2) (3)หรือ (4) กับผู้ต้องขังซึ่งมีอายุต่ากว่าสิบแปดปี ผู้ต้องขังซึ่งมี
อายุเกินหกสิบปี ผู้ต้องขังหญิง หรือผู้ต้องขังซึ่งเจ็บป่วย พัศดีผู้มีอานาจสั่ง เจ้าพนักงานเรือนจาหรือ
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 49

เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้มีหน้าที่ควบคุมแล้วแต่กรณี ต้องเห็นเป็นการจาเป็นที่จะต้องใช้เครื่องพันธนาการนั้น
ด้วย
ให้ผู้สั่งใช้เครื่องพันธนาการบันทึกเหตุผลหรือความจาเป็นที่ต้องใช้เครื่องพันธนาการกับผู้ต้องขัง
นั้นไว้ด้วย
การก าหนดประเภท ชนิ ด และขนาดของเครื่ อ งพั น ธนาการ ให้ เ ป็ น ไปตามที่ ก าหนดใน
กฎกระทรวง

กฎกระทรวง
กาหนดประเภท ชนิด และขนาดของเครื่องพันธนาการที่ใช้แก่ผู้ต้องขัง พ.ศ.๒๕๖๓
(ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๗ ตอนที่ ๘๔ ก ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๖๓)
------------------------
อาศั ย อ านาจตามความในมาตรา ๗ วรรคหนึ่ ง และมาตรา ๒๑ วรรคห้ า แห่ ง
พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.๒๕๖๐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้ยกเลิก
(๑) หมวด ๓ เครื่องพันธนาการ ของส่วนที่ ๒ อานาจและหน้าที่เจ้าพนักงานเรือนจา
ข้อ ๒๕ ข้อ ๒๖ ข้อ ๒๗ ข้อ ๒๘ ข้อ ๒๙ และข้อ ๓๐ แห่งกฎกระทรวงมหาดไทย ออกตามความใน
มาตรา ๕๘ แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พุทธศักราช ๒๔๗๙
(๒) กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ.๒๕๔๑) ออกตามความในพระราชบัญญัติราชทัณฑ์
พุทธศักราช ๒๔๗๙ (๓) กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๕ (พ.ศ.๒๕๕๘) ออกตามความในพระราชบั ญ ญั ติ
ราชทัณฑ์ พุทธศักราช ๒๔๗๙
ข้อ ๒ ประเภทของเครื่องพันธนาการที่ใช้แก่ผู้ต้องขัง มีดังต่อไปนี้
(๑) สายรัดข้อมือ
(๒) เสื้อพันธนาการ
(๓) กุญแจมือ
(๔) กุญแจเท้า
(๕) ชุดกุญแจมือและกุญแจเท้า
(๖) ตรวน
(๗) โซ่ล่าม

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


50 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ข้อ ๓ สายรัดข้อมือมี ๒ แบบ ดังต่อไปนี้


(๑) สายรัดข้อมือแบบที่ ๑ ได้แก่ สายรัดข้อมือพลาสติกขึ้นรูปเป็นชิ้นเดียวกันทั้งหมด
แบบตวัดรัดให้แน่นด้วยตัวเอง โดยใช้ปลายพลาสติกพันรอบข้อมือซ้ายและข้อมือขวา และต้องสอดปลาย
สายพลาสติกเข้ า กับ ช่อง ๒ ช่องตรงกลางของอุปกรณ์ เมื่อปลายสายพลาสติกเข้ าช่องแล้ว จะไม่
สามารถดึงสายรัดข้อมือกลับออกมาอีกได้ โดยบริเวณฐานของสายรัดข้อมือมีขนาด เส้นผ่านศูนย์กลางไม่
น้อยกว่า ๑ เซนติเมตร ส่วนสายรัดข้อมือมีความกว้างไม่น้อยกว่ า ๐.๕ เซนติเมตร และมีความยาว
โดยรวมไม่น้อยกว่า ๘๕ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน ๑๐๐ เซนติเมตร
(๒) สายรัดข้อมือแบบที่ ๒ ได้แก่ สายรัดข้อมือพลาสติกขึ้นรูปเป็นชิ้นเดียวกันทั้งหมด
แบบตวัดรัดให้แน่นด้วยตัวเอง โดยใช้ปลายพลาสติกพันรอบข้อมือซ้ายและข้อมือขวา และต้องสอด ปลาย
สายพลาสติกเข้ากับช่อง ๑ ช่องตรงปลายของอุปกรณ์ เมื่อปลายสายพลาสติกเข้าช่องแล้ว จะไม่สามารถ
ดึงสายรัดข้อมือกลับออกมาอีกได้ โดยบริเวณฐานของสายรัดข้อมือมีขนาด เส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า
๑ เซนติเมตร ส่วนสายรัดข้อมือมีความกว้างไม่น้อยกว่า ๐.๕ เซนติเมตร และมีความยาวโดยรวมไม่น้อย
กว่า ๑๔ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน ๒๐ เซนติเมตร
ข้อ ๔ เสื้อพันธนาการ ได้แก่ เสื้อที่ทาด้วยผ้าอย่างหนาหรือวัสดุอื่นใดที่มีความคงทน
แข็งแรง ลาตัวมีความกว้างระหว่าง ๙๐ เซนติเมตร ถึง ๑๒๕ เซนติเมตร แขนเสื้อมีความยาว จากหัวไหล่
ถึงปลายแขนไม่น้อยกว่า ๑๐๐ เซนติเมตร โดยด้านหน้าของตัวเสื้อประกอบด้วยบริเวณ ปลายแขนเสื้อทั้ง
สองข้างเย็บปิดและติดตั้งห่วงโลหะที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า ๒ เซนติเมตร ข้างละ ๑ ห่วง
เพื่อใช้ร้อยสายรัดที่มีความยาวไม่น้อยกว่า ๑๒๐ เซนติเมตร และมีความกว้าง ไม่น้อยกว่า ๒ เซนติเมตร
ตัว สายรั ดทาจากผ้ าอย่ างหนาหรื อวัส ดุ อื่นใดที่ มี ความคงทนแข็ง แรง ไม่น้อยกว่ าวัส ดุที่ ใช้ท าตั ว เสื้ อ
ด้านหลังของตัวเสื้อประกอบด้วยสายรัดและห่วงโลหะติดตั้งไว้ไม่น้อยกว่า ๓ จุด โดยสายรัดมีความยาวไม่
น้อยกว่า ๕๐ เซนติเมตร และมีความกว้างไม่น้อยกว่า ๒ เซนติเมตร ด้านข้างของตัวเสื้อบริเวณกึ่งกลาง
ด้านหน้า และด้านหลังติดตั้งสายรัดและจุดยึดเพื่อใช้รัดใต้หว่ างขา จานวน ๑ จุด โดยสายรัดมีความยาว
ไม่น้อยกว่า ๕๐ เซนติเมตร และมีความกว้างไม่น้อยกว่า ๒ เซนติเมตร
ข้อ ๕ กุญแจมือ มี ๕ แบบ ดังต่อไปนี้
(๑) กุญแจมือแบบที่ ๑ ได้แก่ ห่วงทาด้วยโลหะ มีฟันเฟืองโลหะเพื่อใช้ตวัดรัดข้อมือ
ซ้าย และข้อมือขวาให้แน่น ระหว่างตัวห่วงโลหะทั้งสองข้างเชื่อมติดกันด้วยลูกโซ่โลหะที่มีขนาด เส้นผ่าน
ศูนย์กลางไม่เกิน ๔.๗๕ มิลลิเมตร และมีความยาวไม่น้อยกว่า ๓ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน ๑๐ เซนติเมตร
(๒) กุญแจมือแบบที่ ๒ ได้แก่ ห่วงทาด้วยโลหะ มีฟันเฟืองโลหะเพื่อใช้ตวัดรัดข้อมือ
ซ้าย และข้อมือขวาให้แน่น ระหว่างตัวห่วงโลหะทั้งสองข้างเชื่อมติดกันด้วยบานพับโลหะที่มีจุดยึดติดกับ
ตัวห่วงโลหะอย่างน้อยข้างละสองจุด
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 51

(๓) กุญแจมือแบบที่ ๓ ได้แก่ ห่วงทาด้วยโลหะ มีฟันเฟืองโลหะเพื่อใช้ตวัดรัดข้อมือ


ซ้าย และข้อมือขวาให้แน่น ตัวห่วงโลหะแต่ละข้างเชื่อมติดกับห่วงโลหะที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่
เกิน ๔.๗๕ มิลลิเมตร สอดเข้ากับบานพับโลหะที่มีจุดยึดติดกับสายเข็มขัดรัดเอวที่มีจุดยึดไม่น้อยกว่ าสี่
จุด สายเข็มขัดรัดเอวยาวไม่เกิน ๑๓๐ เซนติเมตร และมีระยะห่ างระหว่างบานพับโลหะที่ยึดติดกับ
สายเข็มขัดรัดเอวด้านซ้ายและเอวด้านขวาไม่น้อยกว่า ๓๐ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน ๑๐๐ เซนติเมตร
(๔) กุญแจมือแบบที่ ๔ ได้แก่ ห่วงทาด้วยโลหะ มีฟันเฟืองโลหะเพื่อใช้ตวัดรัดข้อมือ
ซ้าย และข้อมือขวาให้แน่น ตัวห่วงโลหะแต่ละข้างเชื่อมติดกับลูกโซ่โลหะที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่
เกิน ๔.๗๕ มิลลิเมตร และมีความยาวไม่น้อยกว่า ๓ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน ๑๐ เซนติเมตร ยึดติดกับสาย
เข็มขัดรัดเอวที่ทาจากลูกโซ่โลหะที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน ๔.๗๕ มิลลิเมตร และมีความยาวไม่
เกิน ๑๓๐ เซนติเมตร และมีระยะห่างระหว่างตัวห่วงโลหะที่อยู่ที่เอวด้ านซ้ายและเอวด้านขวา ไม่น้อย
กว่า ๓๐ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน ๑๐๐ เซนติเมตร ปลายทั้งสองข้างของสายเข็มขัดรัดเอวลูกโซ่ โลหะมีห่วง
สาหรับใช้สอดแม่กุญแจโลหะเพื่อยึดสายเข็มขัดรัดเอวลูกโซ่โลหะทั้งสองข้างเข้าด้วยกัน
(๕) กุญแจมือแบบที่ ๕ ได้แก่ ห่วงทาด้วยโลหะ มีฟันเฟืองโลหะเพื่อใช้ตวัดรัดข้อมือ
ซ้าย และข้อมือขวาให้แน่น ตัวห่วงโลหะแต่ละข้างเชื่อมติดกับลูกโซ่โลหะที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่
เกิน ๔.๗๕ มิลลิเมตร และมีความยาวไม่น้อยกว่า ๓ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน ๑๐ เซนติเมตร ยึดติด
กับ สายเข็มขัดรัดเอวที่ทาจากลูกโซ่โลหะที่ด้านหน้าลาตัว ลูกโซ่โลหะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน
๔.๗๕ มิลลิเมตร สายเข็มขัดรัดเอวลูกโซ่โลหะมีความยาวไม่เกิน ๑๓๐ เซนติเมตร ปลายทั้งสองข้าง
ของสายเข็มขัดรัดเอวลูกโซ่โลหะมีห่วงสาหรับใช้สอดแม่กุญแจโลหะเพื่อยึดสายเข็มขัดรัดเอวลูกโซ่โลหะ
ทั้งสองข้างเข้าด้วยกัน
การคลายห่วงโลหะที่ใช้ตวัดรัดข้อมือของกุญแจมือตามวรรคหนึ่ง ให้ใช้ลูกกุญแจโลหะไข
ที่ตัวห่วงโลหะทั้งสองข้ างด้วยลูกกุญแจโลหะดอกเดียวกัน ส่วนการคลายแม่กุญแจโลหะของกุญแจมือ
แบบที่ ๔ และแบบที่ ๕ ให้ใช้ลูกกุญแจโลหะดอกเดียวกันกับที่ใช้ในการคลายห่วงโลหะ
ข้อ ๖ กุญแจเท้า ได้แก่ ห่วงทาด้วยโลหะ มีฟันเฟืองโลหะเพื่อใช้ตวัดรัดข้อเท้าซ้ายและ
ข้อเท้าขวาให้แน่น ระหว่างตัวห่วงโลหะทั้งสองข้างเชื่อมติดกันด้วยลูกโซ่โลหะที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง
ไม่เกิน ๔.๗๕ มิลลิเมตร และมีความยาวไม่น้อยกว่า ๓๘ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน ๕๐ เซนติเมตร
การคลายห่วงโลหะที่ใช้ตวัดรัดข้อเท้าของกุญแจเท้าตามวรรคหนึ่ง ให้ใช้ลูกกุญแจโลหะ
ไขที่ตัวห่วงโลหะทั้งสองข้างด้วยลูกกุญแจโลหะดอกเดียวกัน
ข้อ ๗ ชุดกุญแจมือและกุญแจเท้า ได้แก่ กุญแจมือแบบที่ ๑ ตามข้อ ๕ (๑) และกุญแจ
เท้า ตามข้อ ๖ ที่ระหว่างกึ่งกลางของลูกโซ่โลหะของกุญแจมือแบบที่ ๑ และลูกโซ่โลหะของกุญแจเท้า
เชื่อมติดกับลูกโซ่โลหะที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน ๔.๗๕ มิลลิเมตร และมีความยาวไม่น้อยกว่า
๘๐ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน ๑๐๐ เซนติเมตร

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


52 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ข้อ ๘ ตรวน มี ๓ ขนาด ดังต่อไปนี้


(๑) ขนาดที่ ๑ วัดเส้นผ่านศูนย์กลางเหล็กวงแหวน ๑๐ มิลลิเมตร โซ่ระหว่างวงแหวน
มีความยาวไม่น้อยกว่ า ๕๐ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน ๗๕ เซนติเมตร และมีขนาดของลูกโซ่ที่วัด เส้นผ่ าน
ศูนย์กลางเหล็กไม่เกิน ๑๐ มิลลิเมตร
(๒) ขนาดที่ ๒ วัดเส้นผ่านศูนย์กลางเหล็กวงแหวน ๑๒ มิลลิเมตร โซ่ระหว่างวงแหวน
มีความยาวไม่น้อยกว่ า ๕๐ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน ๗๐ เซนติเมตร และมีขนาดของลูกโซ่ที่วัด เส้นผ่ าน
ศูนย์กลางเหล็กไม่เกิน ๔.๗๕ มิลลิเมตร
(๓) ขนาดที่ ๓ วัดเส้นผ่านศูนย์กลางเหล็กวงแหวน ๑๗ มิลลิเมตร โซ่ระหว่างวงแหวน
มีความยาวไม่น้อยกว่ า ๕๐ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน ๗๕ เซนติเมตร และมีขนาดของลูกโซ่ที่วัด เส้นผ่ าน
ศูนย์กลางเหล็กไม่เกิน ๑๗ มิลลิเมตร
ข้อ ๙ โซ่ล่าม ให้มีขนาดตามที่กาหนดไว้สาหรับตรวนขนาดที่ ๑ และขนาดที่ ๓ โดยมี
ความยาวของโซ่ไม่น้อยกว่า ๙๐ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน ๑๓๐ เซนติเมตร
ข้อ ๑๐ สายรัดข้อมือ เสื้อพันธนาการ กุญแจมือ กุญแจเท้า ชุดกุญแจมือและกุญแจเท้า
ตรวน และโซ่ล่าม ให้เป็นไปตามแบบท้ายกฎกระทรวง
ให้ไว้ ณ วันที่ 25 กันยายน พ.ศ.๒๕๖3
สมศักดิ์ เทพสุทิน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
หมายเหตุ :- เหตุ ผ ลในการประกาศใช้ ก ฎกระทรวงฉบั บ นี้ คื อ โดยที่ ม าตรา ๒๑ วรรคห้ า แห่ ง
พระราชบั ญญัติร าชทัณ ฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ บัญญัติให้ การกาหนดประเภท ชนิด และขนาดของเครื่ อ ง
พันธนาการที่ใช้แก่ผู้ต้องขัง ให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง จึงจาเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

การใช้อาวุธอื่นนอกจากอาวุธปืน
มาตรา 22 เจ้าพนักงานเรือนจาอาจใช้อาวุธอื่น นอกจากอาวุธปืนแก่ผู้ต้องขังได้ ดังต่อไปนี้
(1) ผู้ต้องขังกาลังหลบหนีหรือพยายามหลบหนี และไม่มีทางจะป้องกันอย่างอื่นนอกจากใช้
อาวุธ
(2) ผู้ต้องขังก่อความไม่สงบขึ้นและไม่เชื่อฟังเจ้าพนักงานเรือนจาห้ามปราม
(3) ผู้ต้องขังใช้กาลังทาร้ายหรือพยายามทาร้ายเจ้าพนักงานเรือนจาหรือผู้อื่น
ประเภทหรือชนิดของอาวุธตามวรรคหนึ่งที่เจ้าพนักงานเรือนจาจะพึงมีไว้ในครอบครองหรือใช้ให้
เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 53

กฎกระทรวง
กาหนดประเภทหรือชนิดของอาวุธอื่นนอกจากอาวุธปืน ที่เจ้าพนักงานเรือนจา
จะพึงมีไว้ในครอบครองหรือใช้ในการปฏิบตั ิหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๖๓
(ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๗ ตอนที่ ๘๔ ก ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๖๓)
-------------------
อาศั ย อ านาจตามความในมาตรา ๗ วรรคหนึ่ ง และมาตรา ๒๒ วรรคสอง แห่ ง
พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้ยกเลิกกฎกระทรวงมหาดไทย ออกตามความในพระราชบัญญัติราชทั ณ ฑ์
พุทธศักราช ๒๔๗๙ (ฉบับที่ ๔)
ข้อ ๒ อาวุธอื่นนอกจากอาวุธปืนที่เจ้าพนักงานเรือนจาจะพึงมีไว้ในครอบครอง หรือ ใช้
ในการปฏิบัติหน้าที่มดี ังต่อไปนี้
(๑) ตะบองไม้กลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า ๒.๕ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน ๓
เซนติเมตร มีความยาวไม่เกิน ๗๐ เซนติเมตร มีลักษณะผิวเรียบและมีขนาดเท่ากันตลอด จากด้ามจับถึง
ปลาย
(๒) ตะบองโลหะชนิดยืดหดได้ มีความยาวยืดสุดไม่เกิน ๗๐ เซนติเมตร (๓) ตะบอง
พลาสติกหรือไฟเบอร์หรือทาจากวัสดุสังเคราะห์อื่นที่คล้ ายกัน มีความยาวไม่เกิน ๗๐ เซนติเมตร มี
ลักษณะกลมและมีผิวเรียบจะมีกิ่งสาหรับจับหรือไม่ก็ได้

ให้ไว้ ณ วันที่ 25 กันยายน พ.ศ. ๒๕๖3


สมศักดิ์ เทพสุทิน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


54 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

อาวุธปืนแก่ผู้ต้องขัง
มาตรา 23 เจ้าพนักงานเรือนจาอาจใช้อาวุธปืนแก่ผู้ต้องขังได้ เฉพาะแต่ในกรณีดังต่อไปนี้
(1) ผู้ต้องขังมีอาวุธและขัดขืนไม่ยอมวางอาวุธ อันอาจเกิดอันตรายต่อเจ้าพนักงานเรือนจา
หรือผู้อื่น
(2) ผู้ต้องขังซึ่งกาลังหลบหนีโดยไม่ยอมหยุดเมื่อเจ้าพนักงานเรือนจาสั่งให้หยุดและไม่มีทางอื่น
ที่จะจับกุมได้
(3) ผู้ต้องขังตั้งแต่ สามคนขึ้นไปก่อการวุ่นวาย เปิดหรือพยายามเปิดหรือทาลายหรือพยายาม
ทาลาย ประตู รั้ว กาแพง หรือสิ่งปลูกสร้างอื่น ๆ ภายในเรือนจา หรือใช้กาลังทาร้ายเจ้าพนักงานเรือนจา
หรือผู้อื่น และไม่ยอมหยุดเมื่อเจ้าพนักงานเรือนจาสั่งให้หยุด
(4) ผู้ต้องขังใช้อาวุธทาร้ายหรือพยายามทาร้ายเจ้าพนักงานเรือนจาหรือผู้อื่น
การใช้อาวุธปืนตามวรรคหนึ่ง หากมีเจ้าพนักงานเรือนจาผู้มีอานาจเหนือตนอยู่ในที่นั้นด้วย
และอยู่ในวิสัยที่จะรับคาสั่งได้ การใช้อาวุธปืนนั้นจะกระทาได้ต่อเมื่อได้รับคาสั่งจากเจ้าพนักงานเรือนจา
ผู้นั้นแล้วเท่านั้น

ระเบียบกรมราชทัณฑ์
ว่าด้วยการใช้อาวุธปืนและเครื่องกระสุนปืน
พ.ศ. ๒๕๔๓
เพื่อให้การดาเนินการเกี่ยวกับการใช้อาวุธปืนและเครื่องกระสุนปืนของข้าราชการและหน่วยงาน
ของกรมราชทัณฑ์เป็นไปตามกฎกระทรวงฉบับที่ ๑๔ (พ.ศ. ๒๕๓๘) ออกตามความในพระราชบัญญัติ
อาวุธ ปื น เครื่ อ งกระสุ น ปื น วัต ถุร ะเบิ ดดอกไม้เ พลิ ง และสิ่ งเทีย มอาวุธ ปื น พ.ศ. ๒๔๙๐ข้อ ๘ (๔) กรม
ราชทัณฑ์โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการตามกฎกระทรวงฉบับที่ ๑๔ (พ.ศ. ๒๕๓๘)ออกตามความ
ในพระราชบัญญัติอาวุธปืนเครื่องกระสุนปืนวัตถุระเบิดดอกไม้เพลิงและสิ่งเทียมอาวุธปืนพ.ศ. ๒๔๙๐
อธิบดีกรมราชทัณฑ์จึงวางระเบียบไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า“ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการใช้อาวุธปืนและเครื่องกระสุนปืน
พ.ศ. ๒๕๔๓”
ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการใช้อาวุธปืนในภายในเรือนจาพ.ศ.๒๕๓๑
ข้อ ๔ บรรดาระเบียบข้อบังคับหรือคาสั่งอื่นซึ่งขัดหรือแย้งกับระเบียบนี้ให้ใช้ระเบียบนี้แทน
ข้อ ๕ ในระเบียบนี้
“อาวุธปืน”หมายความรวมถึงอาวุธปืนและเครื่องกระสุนปืนที่ได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการ
ตามกฎกระทรวงฉบับที่ ๑๔ (พ.ศ. ๒๕๓๘) ออกตามความในพระราชบัญญัติอาวุธปืนเครื่องกระสุนปืน
วัตถุระเบิดดอกไม้เพลิงและสิ่งอาวุธ พ.ศ.๒๔๙๐ซึ่งกระทรวงมหาดไทยได้ทาเครื่องหมายและบัญชีแล้ว
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 55

“การใช้อาวุธปืน”หมายความรวมถึงการเบิกจ่ายการเรียกส่งคืนการเก็บการบารุงรักษาและการ
พกพาอาวุธปืน
“ผู้สั่งจ่าย”หมายความรวมถึงผู้บัญชาการเรือนจาผู้อานวยการทัณฑสถานและหัวหน้าหน่วยงาน
สถานที่อื่นใดของกรมราชทัณฑ์ที่ใช้ควบคุมผู้ต้องขัง
“นายทะเบียน”หมายความรวมถึงข้าราชการกรมราชทัณฑ์ซึ่งได้รับแต่งตั้งจากกรมราชทัณฑ์ทา
หน้าที่นายทะเบียนผู้ดูแลการเบิกจ่ายฝากเก็บและจัดทาบัญชีประจาการอาวุธปืน
“เรื อนจ า”หมายความรวมถึงทัณฑสถานสถานกักขังสถานกักกันและสถานที่อื่นใดของกรม
ราชทัณฑ์ที่ใช้ควบคุมผู้ต้องขังผู้ต้องกักขังผู้ต้องกักกัน
“ข้า ราชการกรมราชทัณ ฑ์ ”หมายความรวมถึงข้าราชการในสั งกัดส่ ว นกลางกรมราชทัณฑ์
เรือนจาและทัณฑสถานและให้หมายความรวมถึงข้าราชการอื่นที่ได้รับแต่งตั้งเป็นผู้คุมพิเศษด้วย
“อธิบดี”หมายความรวมถึงอธิบดีกรมราชทัณฑ์
ข้อ ๖ อธิบดีกรมราชทัณฑ์เป็นผู้รักษาการตามระเบียบนี้

หมวด ๑
การเบิกจ่ายและการเรียกส่งคืน
ข้อ ๗ การเบิกจ่ายอาวุธปืนให้แก่ข้าราชการกรมราชทัณฑ์ให้จ่ายได้เฉพาะกรณีที่จาเป็นต้อง
นาไปใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ราชการ โดยให้ผู้สั่งจ่ายพิจารณาจ่ายให้เหมาะสมกับเหตุการณ์และความ
จาเป็นและห้ามจ่ายประจาตัวเป็นประจาเว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากผู้สั่งจ่ายเป็นกรณีพิเศษและเมื่อเสร็จ
สิ้นภารกิจแล้วต้องส่งคืนเก็บทันที
อาวุธปืนและเครื่องกระสุนปืนตามข้อ ๔(๑) – (๘) และ (๑๒) แห่งกฎกระทรวงฉบับที่ ๑๔ (พ.ศ.
๒๕๓๘) ออกตามความในพระราชบัญญัติอาวุธปืนเครื่องกระสุนปืนวัตถุระเบิดดอกไม้เพลิงและสิ่งเทียม
อาวุธปืน พ.ศ. ๒๔๙๐ ห้ามจ่ายประจาตัวเป็นการประจาเป็นอันขาด เมื่อเสร็จสิ้นภารกิจและกลับมาถึง
หน่วยงานแล้วต้องส่งคืนเก็บทันที
ข้อ ๘ การเบิกจ่ายและการฝากเก็บให้นายทะเบียนทาบัญชีจ่ายอาวุธปืนและฝากเก็บอาวุธปืน
ตามแบบท้ายระเบียบนี้
หมวด ๒
การใช้อาวุธปืน
ข้อ ๙ ห้ามนาอาวุธปืนเข้าไปภายในเรือนจาโดยเด็ดขาด เจ้าพนักงานเรือนจาหรือเจ้าพนักงาน
ตามกฎหมายอื่นที่ถืออาวุธจะเข้าไปติดต่อภายในเรือนจา ให้ฝากอาวุธปืนกระสุนปืนรวมทั้งกระสุนปืนที่
นาออกจากอาวุธปืนแล้วไว้กับเจ้าพนักงานเรือนจาที่มีหน้าที่รับฝากพร้อมกับให้ลงชื่อผู้ฝากและผู้รับฝาก
ในสมุดไว้เป็นหลักฐาน เสร็จแล้วให้เก็บรักษาไว้ในที่ปลอดภัยทุกครั้ง ทั้งนี้เว้นแต่พนักงานซึ่งปฏิบัติหน้าที่
เวรรักษาการณ์ในเวลากลางคืน

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


56 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ในกรณีฉุกเฉินที่จะต้องปฏิบัติตามมาตรา ๑๗ แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พุทธศักราช ๒๔๗๙


ไม่อยู่ในบังคับแห่งระเบียบข้อนี้
ข้อ ๑๐ ให้จ่ายอาวุธปืนยาวพร้อมกระสุนปืนไม่เกิน ๕ นัดแก่เจ้าพนักงานซึ่งปฏิบัติหน้าที่เวร
รักษาการณ์ในเวลากลางคืน สาหรับเวรผู้ใหญ่และพัศดีเวรให้จ่ายปืนพกพร้อมด้วยกระสุนปืนไม่เกิน ๑ ชุด
อาวุธปืนที่จะนาเข้าไปปฏิบัติหน้าที่ให้สั่งจ่ายเป็นผู้พิจารณาตามความเหมาะสม แต่หากเห็นว่า
สภาพการณ์ แ ห่ ง เรื อ นจ าไม่ เ หมาะสมหรื อ ไม่ มี ค วามจ าเป็ น ต้ อ งใช้ อ าวุ ธ ปื น ขณะปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ เ วร
รักษาการณ์ในเวลากลางคืน ก็ให้พิจารณาสั่งการในทางที่เป็นประโยชน์แก่การควบคุมผู้ต้องขัง
ข้อ ๑๑ ในระหว่างปฏิบัติหน้าที่ให้ผู้ใช้อาวุธปืนถืออาวุธปืนและกระสุนปืนติดตัวอยู่ตลอดเวลา
และให้ระมัดระวังอย่าให้อาวุธปืนหรือกระสุนตกอยู่ในความครอบครองของผู้ต้องขังหรือบุคคลอื่นใดเป็น
อันขาด

หมวด ๓
การเก็บและบารุงรักษา
ข้อ ๑๒ การเก็บอาวุธปืนให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กรมราชทัณฑ์กาหนดให้ถือปฏิบัติ
ดังนี้
(๑) ในส่วนกลางให้กองคลังเป็นนายทะเบียนผู้รับผิดชอบในการเก็บรักษาโดยจัดตู้พร้อมกุญแจ
และทาบัญชีควบคุมการเบิกจ่ายอาวุธปืนตามแบบที่กาหนด
(๒) ให้เรือนจาจัดสร้างที่สาหรับเก็บอาวุธปืนและเครื่องกระสุนปืนไว้เป็นสัดส่วนมีความแข็งแรง
และอยู่ในที่ปลอดภัยยากแก่การที่ผู้ต้องขังจะเข้าถึง
(๓) ให้เรือนจาแต่งตั้งข้าราชการตั้งแต่ระดับ ๗ขึ้นไป เป็นนายทะเบียนและจะให้มีผู้ช่ว ยตาม
จานวนที่เห็นสมควรเป็นผู้ช่วยนายทะเบี ยนร่วมรับผิดชอบในการเบิกจ่ายฝากเก็บและดูแลรักษาอาวุธปืน
ทุกชนิดของเรือนจา
ข้อ ๑๓ การบารุงรักษาอาวุธปืนให้เป็นไปตามวิธีปฏิบัติและข้อแนะนาในการบารุงรักษาตามที่
กรมราชทัณฑ์กาหนด

หมวด ๔
การพาอาวุธปืน
ข้อ ๑๔ ห้ามข้าราชการกรมราชทัณฑ์ซึ่งแต่งเครื่องแบบก็ดีหรือมิได้แต่งเครื่องแบบก็ดีพาอาวุธ
ปืนไปในเมืองหมู่บ้านหรือทางสาธารณะโดยเปิดเผยหรือโดยไม่มีเหตุอันสมควรหรือพาไปในชุมชนที่ได้จัด
ให้มีขึ้นเพื่อนมัสการการรื่นเริงการมหรศพหรือการอื่นใดเว้นแต่ในกรณีดังต่อไปนี้
(๑) ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้ติดตามจับกุมผู้ต้องขังที่หลบหนีการควบคุมของเรือนจา
(๒) ผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่ควบคุมผู้ต้องขังหรือเวรรักษาการณ์
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 57

(๓) ผู้ซึ่งทาหน้าที่ควบคุมเงินหรือพัสดุของหลวงที่มีค่า
(๔) ผู้ซึ่งทาหน้าที่นาอาวุธปืนของทางราชการหรือของกลางส่งยังที่ต่างๆ
(๕) ในกรณีพิเศษอื่นๆที่ได้รับอนุญาตจากอธิบดี
เมื่อเสร็จภารกิจแล้วให้ผู้มีอาวุธปืนเหล่านั้นกลับหน่วยงานตนโดยเร็วห้ามพาอาวุธปืนแวะเวียนไป
ในที่อื่นใดอีก
ข้อ ๑๕ ข้าราชการกรมราชทัณฑ์ที่มีความจาเป็นต้องพาอาวุธ ปืนติดตัว ไปเพื่อปฏิบัติหน้าที่
ราชการจะต้องได้รับอนุญาตจากอธิบดีหรือผู้ที่อธิบดีมอบหมายการอนุญาตดังกล่าวต้องทาเป็นหนังสือ
ตามแบบท้ายกฎกระทรวงมหาดไทย โดยมอบให้กับผู้รับอนุญาตนาติดตัวไปการอนุญาตให้อยู่ในดุลยพินิจ
ของอธิบดีหรือผู้ที่อธิบดีมอบหมายโดยพิจารณากาหนดระยะเวลาแต่ละครั้งตามความเหมาะสมทั้งนี้การ
อนุญาตครั้งหนึ่งต้องไม่เกิน ๖ เดือน
ข้อ ๑๖ ห้ามข้าราชการกรมราชทัณฑ์พาอาวุธปืนเข้าไปในเขตพระราชฐานโดยเด็ดขาด
ข้อ ๑๗ การพาอาวุธปืนเพื่อปฏิบัติราชการตามระเบียบนี้ให้ข้าราชการกรมราชทัณฑ์ถือปฏิบัติ
ดังนี้
(๑) กรณีแต่งเครื่องแบบให้พาได้โดยใช้ซองปืนสีน้าตาลหรือสีดาร้อยติดเข็มขัดให้เรียบร้อย
(๒) กรณีที่มิได้แต่งเครื่องแบบให้พาไปโดยมิดชิดไม่อาจสังเกตได้ง่ายและห้ามพาอาวุธปืนโดย
เปิดเผยให้เป็นที่หวาดกลัวแก่ประชาชนเป็นอันขาดทั้งนี้ให้นาบัตรประจาตัวข้าราชการติดตัวไว้ให้พร้อมที่
จะรับการตรวจได้ทุกเมื่อ
(๓) กรณีพาอาวุธปืนชนิดปืนยาวไปปฏิบัติราชการต้องแต่งเครื่องแบบโดยพาไปให้เหมาะสม
อย่าพาไปในลักษณะที่ทาให้ประชาชนเกิดความรู้สึกหวาดกลัว
ข้อ ๑๘ ให้ข้าราชการกรมราชทัณฑ์ที่พาอาวุธปืนถือปฏิบัติตามระเบียบนี้โดยเคร่งครัด หากฝ่า
ฝืนย่อมเป็นความผิดทางวินัยหรืออาจถูกดาเนินคดีตามกฎหมายได้
ประกาศ ณ วันที่ ๑๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๓
(นายศิวะ แสงมณี)
อธิบดีกรมราชทัณฑ์

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


58 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

การปล่อยผู้ต้องขังไปชั่วคราวกรณีมีเหตุฉุกเฉิน
มาตรา 24 ในกรณีมีเหตุฉุกเฉินอันอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตหรือความปลอดภัย ของผู้ต้องขัง
ถ้าเจ้าพนักงานเรือนจาไม่สามารถย้ายผู้ต้องขังไปควบคุมไว้ ณ ที่อื่นได้ทันท่วงที จะปล่อยผู้ต้องขังไป
ชั่วคราวก็ได้ และให้แจ้งผู้ต้องขังที่ถูกปล่อยไปทราบว่าต้องกลับมาเรือนจา หรือรายงานตนยังสถานี
ตารวจหรือที่ว่าการอาเภอภายในยี่สิบสี่ชั่วโมงนับตั้งแต่เวลาที่ได้รับการปล่อยไป และต้องปฏิบัติตาม
คาสั่งของเจ้าหน้าที่นั้น ๆ ถ้าผู้ต้องขังที่ถูกปล่อยไปไม่กลับมาเรือนจา ไม่ไปรายงานตนหรือละเลยไม่ปฏิบัติ
ตามคาสั่งดังกล่าว โดยไม่มีเหตุที่อาจรับฟังได้ ให้ถือว่าผู้ต้องขังนั้นมีความผิด ฐานหลบหนีที่คุมขังตาม
ประมวลกฎหมายอาญา
ในกรณีที่เจ้าพนักงานเรือนจาแจ้งให้ผู้ต้องขังที่ถูกปล่อยไปรายงานตนยังสถานีตารวจหรือที่ว่า
การอาเภอใด ให้เจ้าพนักงานเรือนจารีบแจ้งไปยังสถานีตารวจหรือที่ว่าการอาเภอนั้นโดยเร็ว

ระเบียบกรมราชทัณฑ์
ว่าด้วยการปล่อยผู้ถูกคุมขังชั่วคราวในกรณีมีเหตุฉุกเฉิน พ.ศ.2563
-------------------
โดยที่เป็นการสมควรกาหนดให้มีแนวทางเกี่ยวกับการปล่อยชั่วคราวผู้ต้องขัง ผู้ต้องกักขังและผู้
ต้องกักกัน ในกรณีมีเหตุฉุกเฉินจนอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตหรือความปลอดภัยของผู้ถูกคุมขังดังกล่าว
อาศัยอานาจตามความในมาตรา 24 และมาตรา 34 แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.2560
มาตรา 9 แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการกักขัง ตามประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2506
มาตรา 11 แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการกักกัน ตามประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2510
ประกอบมาตรา 32 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และฉบับที่แก้ไข
เพิ่มเติม อธิบดีกรมราชทัณฑ์จึงออกระเบียบไว้ ดังนี้
ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการปล่อยผู้ถูกคุมขังชั่วคราวในกรณีมี
เหตุฉุกเฉิน พ.ศ.2563”
ข้อ 2 ระเบียบนี้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป
ข้ อ 3 บรรดาระเบี ย บ ข้อบั งคับ คาสั่ ง ประกาศ หรือหนังสื อสั่ งการอื่นใดซึ่งขัดหรือแย้งกับ
ระเบียบนี้ให้ใช้ระเบียบนี้แทน
ข้อ 4 ในระเบียบนี้
“เหตุฉุกเฉิน” หมายความว่า สถานการณ์อันกระทบต่อความมั่นคงปลอดภัยของเรือนจาจนไม่
อาจควบคุมได้ ซึ่งทาให้ผู้ถูกคุมขังตกอยู่ในภาวะคับขันจนอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตหรือความปลอดภัย
เช่น ภัยพิบัติทางธรรมชาติ อัคคีภัย โรคติดต่อร้ายแรง หรือโรคระบาดที่ร้ายแรงจนไม่อาจป้องกันได้
“สถานที่คุมขัง” หมายความว่า เรือนจา ทัณฑสถาน สถานกักขัง และสถานกักกัน
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 59

“ผู้ถูกคุม” หมายความว่า ผู้ต้องขัง ผู้ต้องกักขัง และผู้ต้องกักกัน


“ผู้บังคับบัญชาสถานที่คุมขัง ” หมายความว่า ผู้บัญชาการเรือนจา ผู้อานวยการทัณฑสถาน
ผู้อานวยการสถานกักขัง และผู้อานวยการสถานกักกัน
“เจ้าพนักงาน” หมายความว่า เจ้าพนักงานเรือนจา พนักงานเจ้าหน้าที่ประจาสถานกักขังและ
สถานกักกัน
ข้อ 5 เมื่อปรากฏมีเหตุฉุกเฉินเกิดขึ้น และผู้บังคับบัญชาสถานที่คุมขังพิจารณาแล้วเห็นว่าไม่
สามารถย้ายผู้ถูกคุมขังไปควบคุมไว้ ณ ที่อื่นได้ทันท่วงที ให้ขออนุมัติอธิบดีกรมราชทัณฑ์ก่อนการปล่อยผู้
ถูกคุมขังไปชั่วคราว และให้ทาบันทึกไว้เป็นหลักฐาน เว้นแต่กรณี มีเหตุสุดวิสัยหรือตกอยู่ในสถานการณ์ที่
ไม่อาจขออนุมัติได้ ก็ให้ปล่อยชั่วคราวไปได้
ข้อ 6 กรณีผู้ถูกคุมขังตามข้อ 5 เป็นผู้ต้องขัง ให้เจ้าพนักงานเรือนจาผู้ทาการปล่อยชั่วคราวแจ้ง
ผู้ต้องขังนั้นทราบว่า ต้องกลับมาเรือนจาหรือรายงานตนยังสถานีตารวจหรือที่ว่าการอาเภอภายในยี่ สิบสี่
ชั่วโมง นับตั้งแต่เวลาที่ได้รับการปล่อยตัวชั่วคราวไป และอาจสั่งในประการอื่นที่จาเป็นด้วยก็ได้
ข้อ 7 กรณีเจ้าพนักงานเรือนจาแจ้งหรือสั่งให้ผู้ต้องขังที่ถูกปล่อยชั่วคราว ไปรายงานตนที่สถานี
ตารวจ หรือที่ว่าการอาเภอแห่งใด ให้รีบแจ้งไปยังสถานีตารวจหรือที่ว่าการอาเภอแห่งนั้นโดยเร็ว
ข้อ 8 ถ้าผู้ถูกคุมขังตามข้อ 5 เป็นผู้ถูกกักขัง ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ประจาสถานที่คุมขัง ผู้ทาการ
ปล่อยชั่วคราวแจ้งให้ผู้ถูกคุมขังนั้นกลับมารายงานตนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ สถานที่คุมขังภายในยี่สิบสี่
ชั่วโมงนับแต่เวลาที่ปล่อยชั่วคราวไป มิฉะนั้นให้พนักงานเจ้าหน้าที่ดาเนินการตามกฎหมายแล้วแต่กรณี
ข้อ 9 ในกรณีการปล่อยชั่วคราวผู้ถูกคุมขังตามระเบียบนี้จะต้องพิจารณาหลักเกณฑ์ เงื่อนไข
วิธีการ และข้อกาหนดที่เกี่ ยวข้องตามกฎหมาย และระเบียบอื่นประกอบด้วย ให้เจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่
ดาเนินการโดยรอบคอบก่อนปฏิบัติตามระเบียบนี้
ข้อ 10 เจ้าพนักงานอาจใช้เครื่องมืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว หรือเทคโนโลยีสารสนเทศ
กับผู้ถูกคุมขังได้ตามความเหมาะสม และเมื่อได้ดาเนินการแล้วให้รายงานกรมราชทัณฑ์ทราบโดยเร็ว
ข้ อ 11 เพื่อให้ การปฏิบั ติต ามระเบี ยบนี้เป็ น ไปด้ว ยความเรียบร้ อย ให้ ส ถานที่คุม ขัง จั ด ท า
หลักฐานเกี่ยวกับผู้ถูกคุมขังที่จะปล่อยชั่วคราวเท่าที่สามารถกระทาได้ในขณะนั้น
ข้อ 12 ให้อธิบดีกรมราชทัณฑ์เป็นผู้รักษาการตามระเบียบนี้ และมีอานาจวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับ
การปฏิบัติตามระเบียบนี้
ประกาศ ณ วันที่ 3 เมษายน พ.ศ.2563
(พันตารวจเอก ณรัชต์ เศวตนันทน์)
อธิบดีกรมราชทัณฑ์

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


60 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

อานาจในการตรวจค้นและจับกุมผู้ต้องขังหลบหนี
มาตรา 25 ภายในเวลาสี่สิบแปดชั่วโมงนับตั้งแต่ทราบเหตุผู้ต้องขังหลบหนี เพื่อประโยชน์ใน
การจัดการจับกุมผู้ต้องขังหลบหนี ให้เจ้าพนักงานเรือนจามีอานาจ ดังต่อไปนี้
(1) เข้าไปในเคหสถานหรื อสถานที่ใด ๆ เพื่อตรวจค้นหรือจับกุมผู้ต้องขังซึ่งอยู่ระหว่างการ
หลบหนี เมื่อมีเหตุอันควรสงสัยว่าบุคคลดังกล่าวหลบซ่อนอยู่ และมีเหตุอันควรเชื่อว่ าหากเนิ่นช้าไปหรือ
รอจนกว่าจะได้หมายค้นจากศาลมาได้ ผู้ต้องขังนั้นจะหลบหนีไป หากเจ้าของหรือผู้รักษาสถานที่นั้นไม่
ยอมให้เข้าไป เจ้าพนักงานเรือนจามีอานาจใช้กาลังเพื่อเข้าไป ในกรณีจาเป็นจะเปิดหรือทาลายประตู
บ้าน ประตูเรือน หน้าต่าง รั้ว หรือสิ่งกีดขวางอย่างอื่นทานองเดียวกันนั้นก็ได้
(2) ค้นยานพาหนะที่มีเหตุอันควรสงสัยว่าผู้ต้องขังซึ่งอยู่ระหว่างการหลบหนีได้เข้าไปหลบซ่อน
อยู่และหากปล่อยให้เนิ่นช้าไปจะไม่สามารถตามหายานพาหนะหรือผู้ต้องขังดังกล่าวได้
เจ้าพนักงานเรือนจาตาแหน่งใดหรือระดับใดจะมีอานาจหน้าที่ตามวรรคหนึ่ งทั้งหมดหรื อแต่
บางส่วนหรือจะต้องได้รับอนุมัติจากบุคคลใดก่อนดาเนินการ ให้เป็นไปตามระเบียบกรมราชทัณฑ์โดยทา
เอกสารและเครื่องหมายแสดงการมอบหมายอานาจหน้าที่ให้ไว้ประจาตัวเจ้าพนักงานเรือนจาผู้ได้รับ
อนุมัตินั้นและเจ้าพนักงานเรือนจาผู้นั้นต้องแสดงเอกสารและเครื่องหมายดังกล่าวต่อบุคคลที่เกี่ยวข้องทุก
ครั้ง
ในการดาเนิ น การตามมาตรานี้ ให้ เจ้าพนักงานเรือ นจามีอ านาจใช้อ าวุธ หรื ออาวุธ ปื น ตาม
หลักเกณฑ์และเงื่อนไขตามมาตรา 22 หรือมาตรา 23 แล้วแต่กรณี กับผู้ต้องขังนั้นได้
มาตรา 26 การใช้อานาจตามมาตรา 25 นอกจากเจ้าพนักงานเรือนจาต้องดาเนินการเกี่ยวกับ
วิธีการค้นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาแล้ว ให้เจ้าพนักงานเรือนจาดาเนินการดังต่อไปนี้
ด้วย
(1) แสดงความบริสุทธิ์ก่อนการเข้าค้นและต้องปฏิบัติตามระเบียบกรมราชทัณฑ์
(2) บันทึกเหตุอันควรสงสัยและเหตุอันควรเชื่อที่ทาให้ต้องเข้าค้นเป็นหนังสือให้ไว้แก่เจ้าของ
ผู้รักษาหรือผู้ครอบครองเคหสถานหรือสถานที่ค้น แต่ถ้าไม่มีบุคคลดังกล่าวอยู่ ณ ที่นั้น ให้เจ้าพนักงาน
เรือนจาผู้ค้นส่งมอบสาเนาหนังสือนั้นให้แก่บุคคลนั้นในโอกาสแรกที่สามารถกระทาได้
(3) รายงานเหตุผลและผลการตรวจค้นเป็นหนังสือต่อผู้บังคับบัญชาเหนือตนขึ้นไปชั้นหนึ่งทราบ
ในกรณีที่เป็นการเข้าค้นในเวลากลางคืนภายหลังพระอาทิตย์ตก เจ้าพนักงานเรือนจาผู้เป็น
หัวหน้าในการเข้าค้นต้องเป็นเจ้าพนักงานเรือนจาชั้นพัศดีขึ้นไป
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 61

ระเบียบกรมราชทัณฑ์
ว่าด้วยการจัดการจับกุมผู้ต้องขังหลบหนี พ.ศ.2561
------------------------------
เพื่อให้การปฏิบัติงานเกี่ยวกับการใช้อานาจของเจ้าพนักงานเรือนจาในการเข้าไป หรือค้นสถานที่
หรื อ ยานพาหนะในการติ ดตามจั บ กุ ม ผู้ ต้อ งขั ง ที่ห ลบหนี จากการคุ ม ขั ง เป็ น ไปด้ ว ยความเรีย บร้อย
เหมาะสมมีประสิทธิภาพ และไม่กระทบต่อสิทธิส่วนบุคคลเกินสมควร อาศัยอานาจตามความในมาตรา
25 และมาตรา 26 แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 อธิบดีกรมราชทัณฑ์จึงวางระเบียบไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกรมราชทัณฑ์ ว่าด้วยการจัดการจับกุมผู้ต้องขังหลบหนี พ.ศ.
2561”
ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป
ข้อ 3 บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ คาสั่ง ประกาศ หรือหนังสือสั่งการอื่นใด ซึ่งขัดหรือแย้งกับ
ระเบียบนี้ ให้ใช้ระเบียบนี้แทน
ข้อ 4 ในระเบียบนี้
“ผู้บัญชาการเรือนจา” หมายความรวมถึงหัวหน้าผู้บังคับบัญชาสถานที่คุมขังอื่นใดในความดูแล
ของกรมราชทัณฑ์
“เจ้ า ของเคหสถาน หรื อ สถานที่ หรื อ ยานพาหนะ” หมายความรวมถึ ง ผู้ รั ก ษาหรื อ ผู้
ครอบครองเคหสถานหรือสถานที่หรือยานพาหนะ แทนเจ้าของสถานที่หรือยานพาหนะที่ทาการเข้าตรวจ
ค้น
ข้อ 5 เมื่อมีผู้ต้องขังหลบหนีจากการคุมขัง ให้เรือนจาดาเนินการร้องทุกข์กล่าวโทษต่อพนักงาน
สอบสวนก่อน จึงดาเนินการออกติดตามจับกุมและปฏิบัติตามระเบียบนี้
ข้อ 6 ในการเข้าไปในเคหสถานหรือสถานที่ใด ๆ หรือค้นยานพาหนะ เพื่อตรวจค้นหรือจับกุม
ผู้ต้องขังหลบหนี ให้ผู้บัญชาการเรือนจา ออกคาสั่งแต่งตั้งเจ้าพนักงานเรือนจาชั้นพัศดีขึ้นไปเป็นหัวหน้า
หากเรือนจาใดไม่มีพัศดี หรือพัศดีไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ในขณะนั้น ให้ผู้บัญชาการเรือนจามอบหมาย
เจ้าพนักงานเรือนจาผู้หนึ่งผู้ใด ทาหน้าที่พัศดีข้างต้น
การดาเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้เป็นหัวหน้าในการเข้าค้นหรือจับกุมปฏิบัติหน้าที่ดังนี้
(1) วางแผนการเข้าตรวจค้นหรือจับกุม
(2) ควบคุม กากับการดาเนินการเข้าตรวจค้นหรือจับกุมของเจ้าพนักงานเรือนจา
(3) กระทาการอื่น ๆ ซึ่งหัวหน้าชุดเห็นสมควรเพื่อการตรวจค้นหรือจับกุม

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


62 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

(4) รายงานผลการตรวจค้นหรือจับกุมให้ผู้บัญชาการเรือนจาทราบ
ข้อ 7 การตรวจค้นต้องกระทาในระหว่างเวลาพระอาทิตย์ขึ้นและพระอาทิตย์ตก เว้นแต่มีเหตุ
จาเป็นอันไม่อาจรอได้หรือได้ลงมือตรวจค้นในเวลากลางวันแล้วแต่ยังไม่แล้วเสร็จจะค้นในเวลากลางคืน
หลังพระอาทิตย์ตกได้ต่อเมื่อได้รับอนุญาตจากผู้บัญชาการเรือนจาและหัวหน้าผู้ทาหน้าที่การตรวจค้นต้อง
เป็นเจ้าพนักงานเรือนจาชั้นพัศดีขึ้นไป
ข้อ 8 ในการเข้าไปในเคหสถานหรือสถานที่หรือตรวจค้นยานพาหนะหรือจับกุม เจ้าพนักงาน
เรื อ นจ า ผู้ มี อ านาจค้ น หรื อ จั บ กุ ม จะต้ อ งแสดงตั ว ว่ า เป็ น เจ้ า พนั ก งาน โดยต้ อ งแสดงเอกสารและ
เครื่ องหมายแสดงการมอบหมายอานาจหน้าที่ให้ ไว้ประจาตัวเจ้าพนักงานเรือนจา ผู้ได้รับอนุมัติต่อ
เจ้าของเคหสถานหรือสถานที่หรือยานพาหนะที่จะทาการเข้าตรวจค้นหรือจับกุม และต้องแต่งเครื่องแบบ
ขณะเข้าทาการตรวจค้น หรือจับกุมจะต้องได้รับอนุญาตจากผู้บัญชาการเรือนจาเป็นลายลักษณ์อักษร
หรือด้วยวาจาก็ได้
เอกสารและเครื่องหมายแสดงการมอบหมายอานาจหน้าที่ตามวรรคหนึ่ง ได้แก่ คาสั่งแต่งตั้งเจ้า
พนักงานเรือนจาตามข้อ 5 และบัตรประจาตัวเจ้าพนักงานเรือนจา
ข้อ 9 ก่อนทาการตรวจค้นให้เจ้าพนักงานเรือนจาผู้ที่จะทาการตรวจค้นทุกคนแสดงความบริสุทธิ์
ของตนเองพร้อมมอบบันทึกเหตุอันควรสงสัยหรือเหตุอันควรเชื่อที่ทาให้ต้องดาเนินการเข้าตรวจค้นให้ไว้
แก่เจ้าของเคหสถานหรือสถานที่หรือยานพาหนะที่จะทาการเข้าตรวจค้นตามข้อก่อน
กรณี เจ้าของเคหสถานหรือสถานที่หรือยานพาหนะไม่อยู่ในสถานที่ตรวจค้นตามวรรคหนึ่งให้เจ้า
พนักงานเรือนจาผู้ค้น ส่งมอบบันทึกเหตุอันควรสงสัยหรือเหตุอันควรเชื่อแก่บุคคลนั้นในโอกาสแรกที่
สามารถกระทาได้
ข้อ 10 เมื่อเจ้าพนักงานเรือนจาได้ดาเนินการตามข้อก่อนแล้วให้เจ้าของเคหสถานหรือสถานที่
หรือยานพาหนะนั้นลงลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐานในแบบบันทึกการตรวจค้น เว้นแต่ไม่สามารถลงลายมือ
ชื่อไว้เป็นหลักฐานได้ ให้เจ้าพนักงานเรือนจาทาบันทึกแสดงเหตุขัดข้องไว้ก่อนเข้าทาการตรวจค้น
แบบบันทึกการตรวจค้นตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามแบบท้ายระเบียบนี้
ข้อ 11 การค้นให้ค้นต่อหน้าเจ้าของเคหสถานหรือสถานที่หรือยานพาหนะ เว้นแต่ไม่สามารถค้น
ต่อหน้าที่บุคคลดังกล่าวได้ไม่ว่าในกรณีใด ก็ให้ค้นต่อหน้าบุคคลอื่นอย่างน้อยสองคนซึ่งเจ้าพนักงานได้
ขอให้มาเป็นพยาน
ในการตรวจค้นนั้น ให้กระทาด้วยความรอบคอบโดยต้องระมัดระวังมิให้เกิดความเสียหายแก่
ทรัพย์สินเกินสมควร
ข้อ 12 กรณีเจ้าของเคหสถานหรือสถานที่ไม่ยินยอมหรือขัดขวางการเข้าตรวจค้นหรือจับกุมให้
เจ้าพนักงานเรือนจามีอานาจใช้กาลังเพื่อเข้าไป ในกรณีจาเป็นจะเปิดหรือทาลายประตูบ้าน ประตูเรือน
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 63

หน้าต่าง รั้วหรือสิ่งกีดขวางอย่างอื่น ให้กระทาได้เท่าที่จะเป็นและสะดวกแก่การตรวจค้นเท่านั้น แต่


ก่อนที่จะใช้อานาจนี้ ชอบที่จะแจ้งให้เจ้าของเคหสถานหรือสถานที่หรือแจ้งพยานทราบก่อน
ข้อ 13 หลั งทาการตรวจค้น หรือจับกุมเสร็จสิ้น ให้ เจ้าพนักงานเรือนจาผู้ ค้นจัดให้ เจ้าของ
เคหสถานหรือสถานที่หรือยานพาหนะลงลายมือชื่อในแบบบันทึกการตรวจค้น หากเจ้าของเคหสถานหรือ
สถานที่หรือยานพาหนะไม่ยินยอมลงลายมือชื่อ ให้เจ้าพนักงานเรือนจาผู้ค้นบันทึกแสดงเหตุขัดข้องไว้
กรณีทรัพย์สินเสียหายหรือถูกทาลายจากการตรวจค้นหรือจับกุม ให้เจ้าพนักงานเรือนจาผู้ค้น
บันทึกรายการทรัพย์สินที่เสียหายหรือถูกทาลายไว้ในแบบบันทึกการตรวจค้นด้วย
ข้อ 14 ในกรณีเจ้าพนักงานเรือนจาผู้ค้นตรวจพบสิ่งของใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการหลบหนีและ
จาเป็นต้องนาสิ่งของดังกล่าวไปใช้เป็นพยานหลักฐานหรือเพื่อประโยชน์ในการติดตามจับกุมผู้หลบหนีให้
จั ด ท าบั ญ ชี ร ายละเอี ย ดสิ่ ง ของที่ จ ะต้ อ งน าออกไป พร้ อ มทั้ ง ให้ เ จ้ า ของเคหสถานหรื อ สถานที่ ห รื อ
ยานพาหนะลงลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐานด้วย กรณีบุคคลดังกล่าวไม่อยู่ในสถานที่ตรวจค้นหรือไม่ยินยอม
ลงลายมือชื่อให้เจ้าพานักงานเรือนจาบันทึกเหตุขัดข้องไว้ในบัญชีรายละเอียดสิ่งของไว้ด้วย
บัญชีรายละเอียดสิ่งของตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามแบบท้ายระเบียบนี้
ข้อ 15 การใช้อาวุธอื่นนอกจากอาวุธปืนหรืออาวุธปืนกับผู้ต้องขังที่หลบหนีตามอานาจในมาตรา
22 หรือมาตรา 23 แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 ให้เจ้าพนักงานเรือนจาพึงระมัดระวังและ
พิจารณาให้เป็นไปตามเงื่อนไขที่กฎหมายกาหนดโดยเคร่งครัด
ข้อ 16 เมื่อการดาเนินการเข้าตรวจค้นหรื อจับกุมเสร็จสิ้น ให้เจ้าพนักงานเรือนจาที่เข้าทาการ
ตรวจค้นหรือจับกุมรายงานเหตุผลและผลการตรวจค้นเป็นหนังสือต่อผู้บัญชาการเรือนจาโดยเร็วเพื่อ
พิจารณาสั่งการ
ประกาศ ณ วันที่ 30 เมษายน พ.ศ.2561
พันตารวจเอก ณรัชต์ เศวตนันทน์
อธิบดีกรมราชทัณฑ์

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


64 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

กาหนดอาณาบริเวณภายนอกเรือนจาเป็นเขตปลอดภัย
มาตรา 27 ให้รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการมีอานาจกาหนดอาณาบริเวณ
ภายนอกรอบเรือนจา ซึ่งเป็นที่สาธารณะเป็นเขตปลอดภัยโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา พร้อมแสดง
แผนที่ของอาณาบริเวณดังกล่าว ทั้งนี้ ต้องคานึงถึงสิทธิและเสรีภาพของบุคคลในบริเวณนั้นประกอบด้วย
ในกรณีที่มีพฤติการณ์และเหตุอันควรสงสัยว่าบุคคลหรือยานพาหนะใดอาจส่งยาเสพติดให้โทษ
วั ต ถุ อ อกฤทธิ์ สารระเหย อาวุ ธ ปื น เครื่ อ งกระสุ น ปื น วั ต ถุ ร ะเบิ ด ดอกไม้ เ พลิ ง สิ่ ง เที ย มอาวุ ธ ปื น
โทรศัพท์มือถือหรือเครื่องมือสื่อสารอื่น อุปกรณ์ของสิ่งของดังกล่าว รวมทั้งวัตถุอื่นที่เป็นอันตรายหรือ
กระทบต่อความมั่นคงปลอดภัยของเรือนจาเข้าไปในเรือนจา ให้เจ้าพนักงานเรือนจามีอานาจตรวจค้น
บุคคลหรือยานพาหนะนั้นในเขตปลอดภัยตามวรรคหนึ่งได้ รวมทั้งมีอานาจยึด ทาให้เสียหาย ทาให้ใช้การ
ไม่ได้ หรือทาลายสิ่งของและทรัพย์สินที่ใช้เป็นเครื่องมือในการนาส่งสิ่งของดังกล่าวด้วย ในกรณีที่เป็น
ความผิดทางอาญาให้มีอานาจจับกุมและแจ้งให้พนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจแห่งท้องที่ที่ถูกจับ เพื่อ
ดาเนินการต่อไป
สิ่งของและทรัพย์สินที่ยึดไว้ ตามวรรคสอง หากไม่ได้ใช้เป็นพยานหลักฐานในทางคดีและไม่ใช่
เป็นทรัพย์สินที่ผู้ใดทาหรือมีไว้เป็นความผิด ให้คืนแก่เจ้าของ เว้นแต่กรณีตามหาเจ้าของไม่ได้หรือเป็น
ของสดเสียง่าย ให้จาหน่ายตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดในระเบียบกรมราชทัณฑ์

ระเบียบกรมราชทัณฑ์
ว่าด้วยการจาหน่ายและทาลายสิ่งของที่ไม่อนุญาตให้เก็บรักษาไว้ในเรือนจา
และสิ่งของที่ได้ยึดไว้ตามอานาจหน้าที่ พ.ศ.2561
----------------------
เพื่อให้การดาเนินการจาหน่ายสิ่งของที่ไม่อนุญาตให้เก็บรักษาไว้ในเรือนจา และการทาลายของ
สดเสียง่าย ของอันตรายหรือโสโครกเป็นไปด้วยความเรียบร้อย อาศัยอานาจตามความในมาตรา 27
วรรคสามและมาตรา 62 วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 อธิบดีกรมราชทัณฑ์จึง
วางระเบียบไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการจาหน่ายและทาลายสิ่ งของที่ ไม่
อนุญาตให้เก็บรักษาไว้ในเรือนจาและสิ่งของที่ได้ยึดไว้ตามอานาจหน้าที่ พ.ศ.2561”
ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป
ข้อ 3 บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ คาสั่ง ประกาศ หรือหนังสือสั่งการอื่นใด ซึ่งขัดหรือแย้งกับ
ระเบียบนี้ให้ใช้ระเบียบนี้แทน
ข้อ 4 ทรัพย์สินที่เป็นสิ่งของอนุญาตให้เก็บรักษาไว้ในเรือนจา ได้แก่
(1) สิ่งของเกี่ยวกับการรักษาอนามัย เช่น แปรงสีฟัน ยาสีฟัน หวี สบู่ ผ้าเช็ดตัว
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 65

(2) อาหารที่ปรุงแล้วเสร็จโดยเรือนจาหรือร้านของเรือนจา และเครื่องบริโภคที่จัดซื้อมาเพื่อ


จาหน่ายในร้านค้าของเรือนจา ซึ่งยอมให้ผู้ต้องขังรับประทานได้
(3) ทรัพย์สินอื่น ๆ ตามที่กรมราชทัณฑ์กาหนด
ปริมาณหรือจานวนทรัพย์สินใน (1)(2)และ(3)ให้เป็นไปตามที่กรมราชทัณฑ์กาหนด
สิ่งของอนุญาตตามวรรคหนึ่ง ให้เก็บไว้ในที่ที่เรือนจาจัดให้
ข้อ 5 ทรัพย์สินหรือสิ่งของที่ผู้ต้องขังนาติดตัวมาดังต่อไปนี้
(1) สิ่งของที่อนุญาตให้เก็บรักษาไว้ในเรือนจาแต่มีปริมาณหรือจานวนเกินกว่าที่กรมราชทัณฑ์
กาหนด
(2) สิ่งของที่เมื่อนาเข้าไปแล้วเป็นความผิดเกี่ยวกับเรือนจา
(3) สิ่งของอื่นนอกจาก (1)และ(2)
ให้เจ้าพนักงานเรือนจาแจ้งญาติมารับคืน แต่หากญาติไม่ประสงค์จะรับคืนหรือไม่มารับคืนภายใน
เวลาที่เรือนจากาหนด ให้เรือนจาจัดจาหน่ายตามวิธีการที่เหมาะสมและราคาที่เป็นธรรมที่ผู้ต้องขังพึง
ได้รั บ ส าหรั บ เงิน ที่ได้จ ากการจาหน่ายทรัพย์สิ นดังกล่ าวภายหลังหั กค่าใช้จ่ายในการดาเนินการ ให้
เรือนจารับฝากไว้แก่ผู้ต้องขัง
ในกรณีผู้ต้องขังไม่มีญาติหรือไม่สามารถติดต่อญาติได้ให้ดาเนินการตามวิธีการในวรรคหนึ่งโดย
อนุโลม
กรณี ผู้ ต้ อ งขั ง ต่ า งชาติ ไ ม่ มี ญ าติ ห รื อ ไม่ ส ามารถติ ด ต่ อ ญาติ ไ ด้ ให้ เ รื อ นจ าติ ด ต่ อ สถาน
เอกอัครราชทูตหรือสถานกงสุล แต่หากติดต่อแล้วไม่มีผู้มารับภายในเวลาที่เรือนจากาหนดให้ดาเนินการ
ตามวิธีการในวรรคหนึ่งโดยอนุโลม
ข้อ 6 ในกรณีที่ผู้ต้องขังมีเงินติดตัวมาและไม่สามารถมอบไว้กับญาติได้ ให้เรือนจารับฝากไว้ตาม
หลักเกณฑ์และวิธีการที่กรมราชทัณฑ์กาหนด
ข้ อ 7 ทรั พ ย์ สิ น หรื อ สิ่ ง ของที่ มี ส ภาพเป็น ของสดเสี ย ง่า ย ของอั น ตรายหรื อ โสโครก ให้ เ จ้ า
พนักงานเรือนจาทาบันทึกไว้เป็นหลักฐานแล้วทาลายเสีย
ข้อ 8 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับกับการจาหน่ายทรัพย์สินตามมาตรา 27 วรรคสอง วรรคสาม แห่ง
พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 กรณีตามหาเจ้าของไม่ได้หรือเป็นของสดเสียง่ายด้วยโดยอนุโลม
ข้อ 9 ให้อธิบดีกรมราชทัณฑ์รักษาการตามระเบียบนี้ และมีอานาจวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการ
ปฏิบัติตามระเบียบนี้
ประกาศ ณ วันที่ 30 เมษายน พ.ศ.2561
พันตารวจเอก ณรัชต์ เศวตนันทน์ อธิบดีกรมราชทัณฑ์

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


66 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

มาตรา 28 เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าพนักงานเรือนจาตามมาตรา 25 ถ้าเจ้า


พนักงานเรือนจาได้ขอให้บุคคลใดช่วยเหลือ ให้บุคคลนั้นมีอานาจช่วยการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าพนักงาน
เรือนจาได้ หากบุคคลนั้นเจ็บป่วย ได้รับบาดเจ็บ หรือตายเพราะเหตุที่ได้เข้าช่วยเหลือเจ้าพนัก งาน
เรือนจาซึ่งกระทาการตามหน้าที่ ให้บุคคลนั้นมีสิทธิได้รับประโยชน์ตามกฎหมายว่าด้วยการสงเคราะห์
ผู้ ป ระสบภั ย เนื่ อ งจากการช่ ว ยเหลื อ ราชการ การปฏิ บั ติ ง านของชาติ หรื อ การปฏิ บั ติ ต ามหน้ า ที่
มนุษยธรรม

อานาจตรวจสอบจดหมายพัสดุภัณฑ์หรือสกัดกั้น
การสื่อสารทางโทรคมนาคม
มาตรา 29 เพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐ หรือเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของ
ประชาชน ให้เจ้าพนักงานเรือนจามีอานาจตรวจสอบจดหมาย เอกสาร พัสดุภัณฑ์ หรือสิ่งสื่อสารอื่นหรือ
สกัดกั้นการติดต่อสื่อสารทางโทรคมนาคมหรือโดยทางใดๆ ซึ่งมีถึงหรือจากผู้ต้องขัง ทั้ งนี้ ให้เป็นไปตาม
ระเบียบกรมราชทัณฑ์
ความสงบเรียบร้อยตามวรรคหนึ่ง ให้หมายความเฉพาะการป้องกันเหตุร้าย และรักษาความ
สงบเรียบร้อยของเรือนจา
ความในวรรคหนึ่ง มิให้ใช้บังคับกับบรรดาคาร้องทุกข์ หรือเรื่องราวใด ๆ ที่ได้ยื่นตามมาตรา 46
และมาตรา 47 และเอกสารโต้ตอบระหว่างผู้ต้องขังกับทนายความของผู้นั้น

ระเบียบกรมราชทัณฑ์
ว่าด้วยการตรวจสอบจดหมาย เอกสาร พัสดุภัณฑ์ หรือสิ่งสื่อสารอื่นหรือสกัดกั้นการติดต่อสื่อสารทาง
โทรคมนาคม หรือโดยทางใด ๆ ซึ่งมีถึงหรือจากผู้ต้องขัง พ.ศ.2561
-----------------------
เพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐหรือเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน
โดยอาศัยมาตรการในการตรวจสอบและสกัดกั้นการติดต่อสื่อสาร อาศัยอานาจตามความในมาตรา 29
แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 อธิบดีกรมราชทัณฑ์จึงออกระเบียบ ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการตรวจสอบจดหมาย เอกสาร พัสดุ
ภัณฑ์ หรือสิ่งสื่อสารอื่นหรือสกัดกั้นการติดต่อสื่อสารทางโทรคมนาคม หรือโดยทางใด ๆ ซึ่งมีถึงหรือจาก
ผู้ต้องขัง พ.ศ.2561”
ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป
ข้อ 3 บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ คาสั่ง ประกาศ หรือหนังสือสั่งการอื่นใด ซึ่งขัดหรือแย้งกับ
ระเบียบนี้ให้ใช้ระเบียบนี้แทน
ข้อ 4 ในระเบียบนี้
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 67

“จดหมาย เอกสาร พัสดุภัณฑ์หรือสิ่งสื่อสาร” หมายความว่า จดหมาย เอกสาร พัสดุภัณฑ์หรือ


สิ่งสื่อสารอื่นที่จัดส่งโดยไปรษณีย์หรือผู้มีอาชีพรับส่งสิ่งของดังกล่าว
ข้ อ 5 จดหมาย เอกสาร พั ส ดุ ภั ณ ฑ์ ห รื อ สิ่ ง สื่ อ สารอื่ น ใดที่ มี ถึ ง หรื อ จากผู้ ต้อ งขั ง นั้ น ให้ เ จ้ า
พนักงานเรือนจาตรวจสอบเนื้อหาในจดหมายหรือเอกสาร หรือตรวจสอบวัสดุสิ่งของในพัสดุภัณฑ์นั้นว่า มี
ผลกระทบต่อความมั่นคงของรัฐ ความสงบเรียบร้อยของเรือนจา หรือศีลธรรมอันดีของประชาชนหรือไม่
ก่อนส่งให้แก่ผู้ต้องขังหรือบุคคลภายนอกต่อไป
ในกรณีที่มีการตรวจพบข้อความ พัสดุภัณฑ์ หรือสิ่งสื่อสารอื่นที่อาจส่งผลกระทบต่อความมั่นคง
ของรัฐ ความสงบเรียบร้อยของเรือนจา หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ให้ผู้บัญชาการเรือนจาหรือผู้ที่
ได้รับมอบหมายจากผู้บัญชาการเรือนจา สั่งให้แก้ไข ระงับการส่ง ส่งคืนผู้ฝากส่ง ทาลาย หรือดาเนินการ
สอบสวนหรือส่งเรื่องฟ้องร้องดาเนินคดีตามกฎหมายแล้วแต่กรณี
ข้อ 6 การตรวจพัสดุภัณฑ์หรือสิ่งสื่อสารอื่น ให้ทาต่อหน้าผู้ต้องขังที่ได้รับหรือส่งพัสดุภัณฑ์หรือ
สิ่งสื่อสารนั้น
การตรวจสอบจดหมายหรือเอกสาร ให้เจ้าพนักงานเรือนจาตรวจสอบข้อความและลงลายมือชื่อ
ประทับตรารับรองการตรวจก่อนส่งให้ผู้ต้องขังหรือบุคคลภายนอก
ข้อ 7 ก่อนที่จะทาการตรวจพัสดุภัณฑ์หรือสิ่งสื่อสารอื่นที่มีถึงผู้ต้องขัง จะต้องให้ผู้ต้องขังลง
ลายมือชื่อรับพัสดุภัณฑ์หรือสิ่งสื่อสารนั้น
หากผู้ต้องขังไม่ยอมลงลายมือชื่อรับพัสดุภัณฑ์หรือสิ่งอื่นตามวรรคหนึ่ง ห้ามเจ้าพนักงานเรือนจา
เปิดพัสดุภัณฑ์หรือสิ่งสื่อสารนั้น และให้ส่งคืนผู้จัดส่งโดยเร็ว
ข้ อ 8 กรณี ที่ เ อกสาร พั ส ดุ ภั ณ ฑ์ ห รื อ สิ่ ง สื่ อ สารอื่ น ที่ผู้ ต้อ งขั ง ลงลายมื อ ชื่ อ รับ ไว้เ ป็น สิ่ ง ของ
ต้องห้ามหรือผิดกฎหมาย ให้ดาเนินการสอบสวนเพื่อดาเนินการทางวินัยหรือส่งเรื่องฟ้องร้องดาเนินคดี
ตามกฎหมายแล้วแต่กรณี
ข้อ 9 เพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐหรือเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยของเรือนจาหรือศีลธรรมอัน
ดีของประชาชน ให้อธิบดีกรมราชทัณฑ์หรือผู้บัญชาการเรือนจาดาเนินการจัดหาเครื่องมืออุปกรณ์ในการ
ตรวจสอบหรือสกัดกั้นการติดต่อสื่อสารทางโทรคมนาคมหรือโดยทางใดๆ ระหว่างบุคคลภายนอกกับ
ผู้ต้องขังในเรือนจา
ข้อ 10 ระเบียบนี้มิให้ใช้บังคับกับบรรดาคาร้องทุกข์ หรือเรื่องราวใดๆ ที่ได้ยื่นตามมาตรา 46
และมาตรา 47 แห่ งพระราชบั ญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 และเอกสารโต้ตอบระหว่างผู้ ต้องขังกับ
ทนายความของผู้นั้น
ข้อ 11 ให้อธิบดีกรมราชทัณฑ์รักษาการตามระเบียบนี้ และมีอานาจวินิจฉัยปั ญหาเกี่ยวกับการ
ปฏิบัติตามระเบียบนี้
ประกาศ ณ วันที่ 30 เมษายน พ.ศ.2561
พันตารวจเอก ณรัชต์ เศวตนันทน์
อธิบดีกรมราชทัณฑ์

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


68 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

มาตรา 30 เจ้าพนักงานเรือนจา ข้าราชการหรือบุคลากรจากส่วนราชการอื่น ตามมาตรา


17 วรรคสอง และบุคคลซึ่งช่วยเหลือเจ้าพนักงานเรือนจา ตามมาตรา 28 ไม่ต้องรับผิดทางแพ่ง ทาง
อาญา หรือทางวินัย เนื่องจากการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ หากเป็นการกระทาที่สุจริตไม่เลือก
ปฏิบั ติและไม่เกิน สมควรแก่เหตุห รือไม่เกินกว่ากรณีจาเป็น แต่ไม่ตัดสิ ทธิผู้ได้รับความเสียหายที่จะ
เรียกร้องค่าเสียหายจากทางราชการตามกฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่

หมวด 3
การจาแนก เขตความรับผิดชอบ และมาตรฐานเรือนจา
--------------------
การจาแนกประเภทหรือชั้นของเรือนจา
มาตรา 31 การจาแนกประเภทหรือชั้นของเรือนจา ให้รัฐมนตรี ประกาศกาหนดโดยอาศัย
เกณฑ์อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้
(1) เพศของผู้ต้องขัง
(๒) สถานะของผู้ต้องขัง
(3) ความประสงค์ในการพัฒนาพฤตินิสัยของผู้ต้องขัง
(4) ความมั่นคงของเรือนจา
(5) ลักษณะเฉพาะทางของเรือนจา
เพื่อประโยชน์ในการอบรม พัฒนาพฤตินิสัย และควบคุมผู้ต้องขัง อธิบดีจะสั่งให้จัดแบ่งอาณา
เขตภายในเรือนจ าออกเป็ น ส่วนๆ โดยคานึงถึงประเภทหรือชั้นของเรือนจาที่ได้จาแนกไว้และความ
เหมาะสมกับผู้ต้องขังแต่ละประเภทก็ได้
การจั ดแบ่ งอาณาเขตภายในเรื อนจาตามวรรคสอง จะจัดโดยให้ มีสิ่ งกีดกั้นหรื อขอบเขตที่
แน่นอนและจัดแยกผู้ต้องขังแต่ละประเภทไว้ในส่วนต่าง ๆ ที่ได้จัดแบ่ งนั้นก็ได้ ในกรณีที่เรือนจาใดโดย
สภาพ ไม่อาจดาเนินการดังกล่าวได้ ให้แยกการควบคุมให้ใกล้เคียงกับแนวทางดังกล่าว

กาหนดชื่อและเขตความรับผิดชอบของเรือนจา
มาตรา 32 ให้กรมราชทัณฑ์กาหนดชื่อเรือนจา โดยใช้คาว่า “เรือนจา” เป็นคาขึ้นต้นแล้วต่อ
ด้วยชื่อของเรือนจา และเขตความรับผิดชอบของเรือนจาโดยอาจกาหนดให้ครอบคลุมพื้นที่หลายจังหวัด
ทั้งนี้ให้มีความเหมาะสม สอดคล้องกับการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่และรองรับการดาเนินการของศาล
การดาเนินการตามวรรคหนึ่งให้เป็นไปตามประกาศกระทรวงยุ ติธรรมและแจ้งให้หน่วยงานที่
เกี่ยวข้องได้รับทราบด้วย
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 69

กาหนดอาณาเขตในสถานที่อื่นที่มิใช่เรือนจา
ให้เป็นสถานที่คุมขัง
มาตรา 33 การกาหนดอาณาเขตในสถานที่อื่นที่มิใช่เรือนจา ให้เป็นสถานที่คุมขังเพื่อดาเนิน
กิจการตามภารกิจของกรมราชทัณฑ์ ให้สามารถทาได้ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดใน
กฎกระทรวง

กฎกระทรวง
กาหนดสถานทีค่ ุมขัง พ.ศ. ๒๕๖๓
(ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๗ ตอนที่ ๘๔ ก ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๖๓)
-----------------------
อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๗ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๓๓ แห่งพระราชบัญญัติ
ราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ในกฎกระทรวงนี้ “สถานที่คุมขัง” หมายความว่า สถานที่อื่นที่มิใช่เรือนจาซึ่งเป็น
สถานที่ของทางราชการหรือ เอกชนที่เจ้ าของหรือผู้ปกครองดูแลรักษาสถานที่อนุญาตหรือยินยอมเป็น
หนังสือให้ใช้ประโยชน์ ในการควบคุมผู้ต้องขัง ทั้งนี้ ต้องไม่ใช่สถานที่ตามมาตรา ๘๙/๒ แห่งประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญา
ข้อ ๒ การกาหนดอาณาเขตของสถานที่คุมขัง จะกาหนดอาณาเขตของอสังหาริมทรัพย์
ทั้งแปลง หรื อส่ ว นใดส่ วนหนึ่งของอาคารหรือสิ่ งปลู กสร้ างที่ตั้งอยู่บนอสั งหาริมทรั พย์นั้นก็ได้ โดย
อสังหาริมทรัพย์ อาคาร หรือสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว ต้องมีลักษณะ ดังต่อไปนี้
(๑) กรณีอสังหาริมทรัพย์ ต้องมีขอบเขตที่แน่นอน และมีอ าคารหรือสิ่งปลูกสร้ างที่มี
ลักษณะ เป็นการถาวรตั้งอยู่ สามารถใช้ประโยชน์จากอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างดังกล่าวได้ โดยไม่ต้องทา
การก่อสร้าง ซ่อมแซม หรือปรับปรุงใหม่
(๒) กรณี อ าคารหรื อ สิ่ ง ปลู ก สร้ า ง ต้ อ งมี ลั ก ษณะเป็ น การถาวรและตั้ ง อยู่ บ น
อสังหาริมทรัพย์ โดยส่วนที่จะกาหนดเป็นอาณาเขตของสถานที่คุมขังต้องสามารถใช้ประโยชน์ได้ โดยไม่
ต้องทา การก่อสร้าง ซ่อมแซม หรือปรับปรุงใหม่
ข้อ ๓ สถานที่คุมขังต้องมีวัตถุประสงค์ในการใช้คุมขังผู้ต้องขังเพื่อประโยชน์อย่ างหนึ่ง
อย่างใด ดังต่อไปนี้
(๑) การปฏิบัติตามระบบการจาแนกและการแยกคุมขัง
(๒) การดาเนินการตามระบบการพัฒนาพฤตินิสัย
(๓) การรักษาพยาบาลผู้ต้องขัง
(๔) การเตรียมความพร้อมก่อนปล่อย

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


70 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ข้อ ๔ สถานที่คุมขังตามข้อ ๓ (๑) ได้แก่


(๑) สถานที่สาหรับอยู่อาศัย
(๒) สถานที่สาหรับควบคุม กักขัง หรือกักตัวตามกฎหมายของทางราชการที่มิใช่เรือนจา
ข้อ ๕ สถานที่คุมขังตามข้อ ๓ (๒) ได้แก่
(๑) สถานที่ราชการ หรือสถานที่ที่ส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐใช้ประโยชน์ในการ
จัดทา บริการสาธารณะ
(๒) สถานศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ
(๓) วัดตามกฎหมายว่าด้วยคณะสงฆ์
(๔) มัสยิดตามกฎหมายว่าด้วยการบริหารองค์กรศาสนาอิสลาม
(๕) สถานที่ทาการหรือสถานประกอบการของเอกชน
(๖) สถานที่ทาการของมูลนิธิ สถานสงเคราะห์ หรือสถานที่ที่ใช้ส าหรับการสั งคม
สงเคราะห์ ไม่ว่าจะเป็นของทางราชการหรือเอกชน
ข้อ ๖ สถานที่คุมขังตามข้อ ๓ (๓) ได้แก่ สถานพยาบาลประเภทที่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน
ข้อ ๗ สถานที่คุมขังตามข้อ ๓ (๔) ได้แก่ สถานที่คุมขังตามข้อ ๓ (๑) (๒) หรือ (๓) ที่ใช้
สาหรับคุมขังนักโทษเด็ดขาดที่เหลือกาหนดโทษจาคุกไม่เกินสามปีหกเดือน หรือต้องโทษจาคุก มาแล้วไม่
น้อยกว่าสองในสามของกาหนดโทษครั้งหลังสุด ในกรณีที่เหลือกาหนดโทษจาคุกเกินสามปี หกเดือน
ข้อ ๘ เมื่ออธิบดีได้วางระเบียบตามมาตรา ๓๔ วรรคหนึ่ง เกี่ยวกับการบริหารงาน
และ การอื่นอันจาเป็นในสถานที่คุมขังใดตามข้อ ๔ ข้อ ๕ ข้อ ๖ หรือข้อ ๗ แล้วแต่กรณี แล้วให้
อธิบดี จัดให้มีบัญชีสถานที่คุมขังนั้นและประกาศในระบบสารสนเทศของกรมราชทัณฑ์ให้ทราบถึงอาณา
เขต และวัตถุประสงค์ของสถานที่คุมขังแต่ละแห่งด้วย
ให้ไว้ ณ วันที่ 25 กันยายน พ.ศ. ๒๕๖3
สมศักดิ์ เทพสุทิน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๓๓ แห่งพระราชบัญญัติ
ราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ บัญญัติให้การกาหนดอาณาเขตในสถานที่อื่นที่มิใช่เรือนจาให้เป็นสถานที่คุมขัง
เพื่อดาเนินกิจการตามภารกิจของกรมราชทัณฑ์ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนด
ในกฎกระทรวง จึงจาเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 71

การวางระเบียบเกี่ยวกับการบริหารงานในเรือนจา
มาตรา 34 เพื่อให้การบริหารงานของเรือนจาและสถานที่คุมขังตามมาตรา 33 ทุกแห่งเป็นไป
ในแนวทางและมาตรฐานเดียวกัน ให้อธิบดีวางระเบียบเกี่ยวกับการบริหารงานในเรือนจาและสถานที่
คุมขัง การปฏิบัติงานของเจ้าพนักงานเรือนจาและเจ้าหน้าที่ การแก้ไข บาบัด ฟื้นฟู และพัฒนาพฤตินิสัย
ผู้ต้องขัง การปฏิบัติตัวของผู้ต้องขังแต่ละประเภท และการอื่นอันจาเป็นตามที่กาหนดในพระราชบัญญัตินี้
เพื่อประโยชน์ในการดาเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้กรมราชทัณฑ์นาเทคโนโลยีสนเทศ รวมทั้ง
ระบบและเครื่องมืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่เกี่ยวข้องมาใช้ในการบริหารจัดการเรือนจาให้มีประสิทธิภาพ

ระเบียบกรมราชทัณฑ์
ว่าด้วยการคุมขังและปฏิบัติต่อผู้ต้องขังในแดนความมั่นคงสูงสุด
และเรือนจาความมั่นคงสูงสุด พ.ศ.2561
-----------------------
เพื่อให้การบริหารงานเรือนจา การคุมขังและการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังที่มีพฤติการณ์เกี่ยวข้องกับ
โทรศัพท์มือถือ ยาเสพติด ดื้อด้านยากต่อการปกครอง กระทาตัวเป็นผู้มีอิทธิพล หรือมีพฤติการณ์ที่ต้อง
คุมขังดูแลเป็นพิเศษในระหว่างที่ถูกคุมขังอยู่ในเรือนจา เป็นไปในแนวทางและมาตรฐานเดียวกัน ในแดน
ความมั่นคงสูงสุดและเรือนจาความมั่นคงสูงสุด เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการตามภารกิจ
หน้าที่ของกรมราชทัณฑ์ อันเป็นการรักษาความสงบเรียบร้อยของสังคมและรักษาความมั่นคงของรัฐ
โดยรวม
อาศัยอานาจตามความในมาตรา 34 แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 อธิบดีจึงออก
ระเบียบไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกรมราชทัณฑ์ ว่าด้วยการคุมขังและปฏิบัติต่อผู้ต้องขังในแดน
ความมั่นคงสูงสุด และเรือนจาความมั่นคงสูงสุด พ.ศ.2561”
ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศ เป็นต้นไป
ข้อ 3 บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ คาสั่ง ประกาศ หรือหนังสือสั่งการอื่นใด ซึ่งขัดหรือแย้งกับ
ระเบียบนี้ให้ใช้ระเบียบนี้แทน
ข้อ 4 ในระเบียบนี้
“ผู้ต้องขัง” หมายความรวมถึง นักโทษเด็ดขาด คนต้องขัง คนฝาก ที่ถูกคุมขังในแดนความมั่นคง
สูงสุดหรือในเรือนจาความมั่นคงสูงสุด
“คุมขัง” หมายความว่า คุมตัว ควบคุม ขังหรือจาคุก

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


72 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

“แดนความมั่นคงสูงสุด ” หมายความว่า พื้นที่ส่วนใดส่วนหนึ่งของเรือนจาความมั่นคงสูงสุดที่


กรมราชทัณฑ์เห็นชอบให้กาหนดเพื่อการคุมขังผู้ต้องขังตามระเบียบนี้
“เรือนจาความมั่นคงสูงสุด” หมายความว่า เรือนจาที่กรมราชทัณฑ์กาหนดให้เป็นเรือนจาความ
มันคงสูงสุด ได้แก่ เรือนจากลางเขาบิน เรือนจากลางระยอง เรือนจากลางพิษณุโลก เรือนจากลาง
คลองไผ่ และเรือนจากลางนครศรีธรรมราช ซึ่งใช้ในการคุมขังผู้ต้องขังที่มีคาสั่งย้ายจากกรมราชทัณฑ์
หรื อ คณะกรรมการพิ จ ารณาคดี ย้ า ยผู้ ต้ อ งขั ง พฤติ ก ารณ์ และให้ ห มายความรวมถึ ง การคุ ม ขั ง ตาม
พฤติการณ์อื่น ตามที่กรมราชทัณฑ์กาหนดด้วย
“คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการคัดย้ายผู้ต้องขังพฤติการณ์
“อธิบดี” หมายความว่า อธิบดีกรมราชทัณฑ์
ข้อ 5 ผู้ต้องขังที่มีลักษณะหรือพฤติการณ์อย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ อาจได้รับการพิจารณา
จากคณะกรรมการให้ย้ายไปคุมขังยังเรือนจาความมั่นคงสูงสุด ตามที่กรมราชทัณฑ์กาหนดไว้
(1) ผู้ต้องขังที่มีพฤติกรรมใช้เรือนจาเป็นแหล่งการซื้อ -ขายยาเสพติดหรืออุปกรณ์สื่อสารหรือ
กระทาผิดกฎหมายอื่นหรือมีพฤติกรรมอยู่เบื้องหลั งการกระทาผิดเกี่ยวกับยาเสพติดหรืออุปกรณ์สื่อสาร
ในเรือนจา
(2) ผู้ต้องขังที่มีพฤติการณ์ดื้อด้านยากต่อการปกครองของเรือ นจา มีลักษณะเตรียมการหรือ
พยายามแหกหั ก หลบหนี ก่ อ การจลาจลและรวมทั้ ง ผู้ ต้ อ งขั ง ที่ มี ลั ก ษณะเป็ น กลุ่ ม ก่ อ ความวุ่ น วาย
เดือดร้อนให้ผู้ต้องขังอื่นในเรือนจา
(3) ผู้ ต้องขังที่มีพฤติการณ์กระทาตัว เป็นผู้ มีอิทธิพลของเรือนจา เช่น ผู้ ต้องขังที่ใช้จ้างวาน
สนับสนุนหรือผู้อยู่เบื้องหลังในการกระทาผิดกฎหมายหรือวินัยของเรือนจาหรือพ่อค้าสินค้าโดยไม่ได้รับ
อนุญาต ผู้มีอิทธิพลหรือเจ้ามือการพนัน
(4) ผู้ต้องขังอื่นตามที่คณะกรรมการมีมติเห็นชอบให้ย้ายเข้าไปคุมขังในเรือนจาความมั่นคงสูงสุด
ข้ อ 6 ให้ มี ค ณะกรรมการคณะหนึ่ ง เรี ย กว่ า “คณะกรรมการคั ด ย้ า ยผู้ ต้ อ งขั ง พฤติ ก ารณ์ ”
ประกอบด้ว ย รองอธิบ ดีซึ่งอธิบ ดีมอบหมาย เป็นประธานกรรมการ ผู้ อานวยการส านั กทัณฑวิ ท ยา
ผู้อานวยการสานักทัณฑปฏิบัติ ผู้บัญชาการเรือนจาที่กรมราชทัณฑ์กาหนดเป็นเรือนจาแดนความมั่นคง
สูงสุดหรือเรือนจาความมั่นคงสูงสุด ผู้อานวยการกองนิติการ ผู้อานวยการส่วนจาแนกลักษณะและย้าย
ผู้ต้องขัง สานักทัณฑปฏิบัติ หัวหน้าฝ่ายป้องกันและปราบปรามยาเสพติด สานักทัณฑวิทยา เป็นกรรมการ
และผู้อานวยการส่วนมาตรการผู้ต้องขัง สานักทัณฑวิทยา เป็นกรรมการและเลขานุการ โดยมีเจ้าหน้าที่
จากสานักทัณฑวิทยา ที่ได้รับมอบหมายจากผู้อานวยการสานักทัณฑวิทยา อีกคนหนึ่ง เป็นคณะกรรมการ
และผู้ช่วยเลขานุการ
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 73

ข้อ 7 ให้คณะกรรมการมีอานาจหน้ าที่ในการพิจารณาอนุมัติการย้ายผู้ต้องขังจากเรือนจาไปคุม


ขังยังเรือนจาความมั่นคงสูงสุด
การประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวนกรรมการ
ทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม
การวิ นิ จ ฉั ย ชี้ ข าดของที่ ป ระชุ ม ให้ ถื อ เสี ย งข้ า งมาก กรรมการคนหนึ่ ง ให้ มี เ สี ย งหนึ่ ง ในการ
ลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด
การประชุมต้องบันทึกรายงานการประชุมไว้เป็นเอกสารหลักฐาน
ข้อ 8 การย้ ายผู้ ต้องขังไปคุมขังยังเรือนจาความมั่นคงสู งสุ ด เรือนจาฝ่ ายย้ายต้องส่ งข้อมู ล
รายละเอียดพฤติการณ์ของผู้ต้องขังให้เรือนจาฝ่ายรับย้ายเพื่อเป็นข้อมูลในการกาหนดมาตรการในการคุม
ขังที่เหมาะสมต่อไป ตามแบบที่กรมราชทัณฑ์กาหนด
ข้อ 9 การย้ายผู้ต้องขังไปคุมขังยังเรื อนจาความมั่นคงสูง เรือนจาความมั่นคงสูงสุด ไปคุมขังยัง
เรือนจาความมั่นคงสูงสุดอื่น ให้เรือนจาทาหนังสือขออนุญาตกรมราชทัณฑ์เพื่อนารายชื่อผู้ต้องขังเสนอ
คณะกรรมการพิจารณาอนุมัติ
กรณีมีเหตุจาเป็นเร่งด่วนให้อธิบดีเป็นผู้พิจารณาอนุมัติเสียก่อน แล้วนารายชื่อผู้ต้องขังนั้นเสนอ
ให้คณะกรรมการพิจารณาให้ความเห็นชอบโดยเร็ว
ข้อ 10 ผู้ต้องขังกระทาผิดวินัย หากต้องย้ายเข้าคุมขังยังเรือนจาความมั่นคงสูงสุด ให้เรือนจา
ฝ่ายย้ายจะต้องดาเนินการกระบวนการทางวินัยแก่ผู้ต้องขังกระทาความผิดทุกรายจนเสร็จ แล้วส่งเรื่องให้
เรือนจาความมั่นคงสูงสุดที่เป็นเรือนจาฝ่ายรับย้ายออกคาสั่งลงโทษ ในการนี้หากเรือนจาฝ่ายรับย้ายยังมี
ข้อสงสั ย อาจตรวจสอบขยายผลเพื่อเป็นข้อมูล ให้เรือนจาฝ่ายย้ายดาเนินการในส่ว นที่เกี่ยวข้องก่อน
พิจารณาออกคาสั่งลงโทษได้ แต่ถ้าการสอบสวนขยายผลของเรือนจาความมั่นคงสูงสุดและเรือนจาฝ่าย
ย้ายปรากฏข้อเท็จจริงผู้ต้องขังไม่มีส่วนเกี่ยวข้องตามที่กล่าวหา ให้เรือนจาความมั่นคงสูงสุดขออนุญาต
กรมราชทัณฑ์ย้ายผู้ต้องขังไปคุมขังยังเรือนจาความมั่นคงสูงสุดหรือเรือนจาอื่นที่เหมาะสม พร้อมจัดทา
รายละเอียดพฤติกรรมของผู้ต้องขังส่งให้เรือนจาฝ่ายรับย้ายเป็นข้อมูล ในการกาหนดมาตรการในการ
ควบคุมที่เหมาะสม
ข้อ 11 การคัดย้ายผู้ต้องขังที่อยู่ในการคุมขังของเรือนจาความมั่นคงสูงสุด เข้าคุมขั งยังแดน
ความมั่นคงสูงสุดภายในเรือนจาให้เป็นอานาจผู้บัญชาการเรือนจาความมั่นคงสูงสุดแห่งนั้น
ข้อ 12 ผู้ต้องขังที่คณะกรรมการ พิจารณาอนุมัติให้ย้ายไปคุมขังในแดนความมั่นคงสูงสุด จะต้อง
ถูกคุมขังไว้เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 6 เดือน ก่อนที่จะพิจารณาย้ายไปเรือนจาอื่นๆ ภายในความมั่นคง
สูงแห่งนั้นหรือย้ายไปยังแดนความมั่นคงสูงของเรือนจาความมั่นคงสูงสุดแห่งอื่น

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


74 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ข้อ 13 ให้เรือนจาความมั่นคงสูงสุดประเมินพฤติการณ์ผู้ต้องขังที่ถูกควบคุมขังในแดนความ
มั่นคงสูง ตามแบบกรมราชทัณฑ์กาหนดทุก 3 เดือน กรณีผู้ต้องขังที่ถูกแยกการคุมขังให้เรือนจาประเมิน
พฤติการณ์ทุก 1 เดือน
หากผู้ต้องรายใดไม่ผ่านการประเมินพฤติการณ์ หรือมีพฤติการณ์กระทาผิดวินัยของเรือนจา หรือ
มีพฤติการณ์กระด้างกระเดื่องยากต่อการปกครองของเรือนจา หรือไม่มีการเปลี่ยนแปลงพฤติการณ์ ไป
ในทางที่ไม่ดีขึ้น ให้เรือนจาเริ่มกระบวนการใหม่อีกครั้ง
ข้อ 14 การคัดย้ายผู้ต้องขังออกนอกแดนความมั่นคงสูงสุด ให้เรือนจาความมั่นคงสูงสุดประเมิน
พฤติการณ์ผู้ต้องขังและนาเข้าประชุมคณะกรรมการในชั้นเรือนจา แล้วนาผลพิจารณาพร้อมรายงานการ
ประเมินพฤติการณ์ต่อคณะกรรมการพิจารณาให้ความเห็นชอบต่อไป
ข้อ 15 ในกรณีผู้ต้องขังรายใดไม่ผ่านการประเมินจากคณะกรรมการในชั้นเรือนจา ให้ออกจาก
แดนความมั่นคงสูงสุด ให้ระบุเหตุผลและแจ้งให้ผู้ต้องขังรายนั้นทราบด้วย
ข้อ 16 ผู้ต้องขังที่ได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการให้ออกไปควบคุมขังนอกแดนความมั่นคง
สูงสุดแล้ว ให้เรือนจาเฝ้าระวังและประเมินพฤติการณ์ต่อไปอีกไม่น้อยกว่า 1 ปี 6 เดือน
ข้อ 17 เมื่อผู้ต้องขังถูกคุมขังครบตามกาหนดเวลาและเงื่อนไขในข้อ 12 ถึงข้อ 16 หากเรือนจา
เห็ น ควรย้ ายผู้ ต้องขังไปคุมขัง ณ เรื อนจาแห่ งอื่น ให้ เรือนจาขอหนังสื ออนุมัติกรมราชทัณฑ์ เพื่อให้
กรรมการพิจารณาและมีคาสั่งต่อไป
ข้อ 18 ในกรณีการย้ายผู้ต้องขังที่ถูกคุมขังในเรือนจาความมั่นคงสูงสุดไปคุมขังยังเรือนจาแห่ง
อื่นให้เรือนจาความมั่นคงสูงสุดส่งข้อมูลพฤติการณ์ผู้ต้องขังไปยังฝ่ายรับย้ายและให้เรือนจาฝ่ายรับย้ายนั้น
รายงานพฤติการณ์ผู้ต้องขังให้กรมราชทัณฑ์ทราบต่อไปอีกอย่างน้อย 1 ปี โดยให้รายงานทุก 3 เดือน
ข้อ 19 กรณีผู้ต้องขังที่ถูกหน่วยงานภายนอกว่าเป็น “ผู้ร้ายรายสาคัญ” ให้พิจารณาคุมขังไว้ใน
แดนความมั่นคงสูงสุดไปจนกว่าจะได้รับการยืนยันจากหน่วยงานภายนอกว่าไม่มีพฤติการณ์เคลื่อนไหว
แล้ว จึงจะได้รับพิจารณาจากคณะกรรมการประเมินพฤติการณ์ของเรือนจามั่นคงสูงสุดให้ย้ายออกไปคุม
ขังในแดนอื่นๆ ภายในความมั่นคงสูงสุดแห่งนั้น หรือย้ายไปยังแดนความมั่นคงสูงสุดของเรือนจาแห่งอื่น
ข้อ 20 ให้เรือนจาดาเนินการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังในด้านการคุมขังภายในแดนความมั่นคงสูง ดังนี้
(1) ไม่อนุญาตให้ผู้ต้องขังออกนอกแดนความมั่นคงสูงสุดในทุกกรณี เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากผู้
บัญชาการเรือนจา
(2) ไม่อนุญาตให้บุคคลอื่นที่ไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้องไปในแดนความมั่นคงสูงสุดทุกกรณี เว้นแต่ได้รับ
อนุญาตจากผู้บัญชาการเรือนจา
(3) ในแต่ละวันให้หมุนเวียนผู้ต้องขังออกจากห้องคุมขังเพื่อผ่อนคลายหรือการออกกาลั งกาย
โดยกาหนดจานวนและเวลาให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ภายในแดนความมั่นคงสูงสุด
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 75

(4) ให้เรือนจาความมั่นคงสูงสุดตรวจค้นห้องคุมขังไม่น้อยกว่าสัปดาห์ละ 1 ครั้ง


ข้อ 21 ให้เรือนจาจัดให้ผู้ต้องขังมีกิจกรรมด้านนันทนาการและการพักผ่อนหย่อนใจ ดังนี้
(1) อนุญาตให้ผู้ต้องขังอ่านหนังสือธรรมะหรือหนังสือตามหลักคาสอนของแต่ละศาสนาได้
(2) อนุญาตให้ผู้ต้องเล่นกีฬาหรือออกกาลังกาย โดยให้เรือนจาความมั่นคงสูงสุดเป็นผู้กาหนด
ประเภทกีฬาตามความเหมาะสม
(3) อนุญาตให้เปิดเสียงตามสาย เช่น ธรรมะ หรือหลักคาสอนของแต่ละศาสนาเพื่อผ่อนคลาย
ความเครียดให้ผู้ต้องขัง โดยให้เรือนจาความมั่นคงสูงสุดเป็นผู้กาหนดเวลาตามความเหมาะสม
ข้อ 22 ให้เรือนจาจัดผู้ต้องขังพึงได้รับการเยี่ยมเยือนหรือติดต่อบุคคลภายนอก ดังนี้
(1) การได้รับการเยี่ยมเยือนหรือติดต่อบุคคลภายนอก ให้เป็นไปตามกรมราชทัณฑ์กาหนด
(2) กรณีการเยี่ยมเยือนผ่านระบบวีดิทัศน์ให้เยี่ยมได้สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ครั้งละไม่เกิน 20 นาที
(3) ให้ญาติแจ้งความประสงค์ขอเยี่ยมผู้ต้องขังผ่านระบบการจองล่วงหน้า กรณีญาติไม่ได้แจ้ง
ล่วงหน้าให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาเป็นกรณีไป
(4) การเยี่ยมผู้ต้องขังให้ญาตินาบัตรประจาตัวประชาชนหรือเอกสารทางราชการอื่นที่แสดง
ตัวตนมาประกอบการเยี่ยมทุกครั้ง กรณีผู้ต้องขังต่างชาติให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาเป็นกรณีไป
(5) ให้ เรื อนจ าทาฐานข้อมูลทะเบียนรายชื่อญาติ เพื่อสิ ทธิในการเยี่ยมผู้ ต้องขังผ่ านจอภาพ
จานวนไม่เกิน 10 คน โดยตรวจสอบประวัติของญาติกับหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องด้วย
สาหรับรายชื่อที่ไม่ได้ขึ้ นทะเบียนไว้จะไม่อนุญาตให้เข้าเยี่ยมทุกกรณี เว้นแต่ได้รับอนุญาตจาก
ผู้บัญชาการเรือนจา
(6) ไม่อนุญาตให้ผู้ต้องขังรับของเยี่ยมหรือพัสดุจากญาติหรือบุคคลอื่น เว้นแต่ได้รับอนุญาตจาก
กรมราชทัณฑ์
ข้อ 23 ให้เรือนจาดาเนินการจัดเลี้ยงอาหารผู้ต้องขังและการสุขาภิบาล ดังนี้
(1) ให้ผู้ต้องขังรับประทานอาหารเฉพาะที่เรือนจาจัดให้เท่านั้น โดยให้เรือนจาจัดอาหารให้
ผู้ต้องขังให้เหมาะสมกับสภาพการคุมขังและได้รับความเป็นธรรมโดยเสมอภาคกัน
(2) ให้เรือนจาจัดเวรผู้ต้องขังในแดนความมั่นคงสูง ทางานสุขาภิบาลหรือทาความสะอาดพื้นที่
ส่วนกลาง โดยหมุนเวียนผู้ต้องขังแบ่งความรับผิดชอบแต่ละห้องและกาหนดหน้าที่ของผู้ต้องขังให้ชัดเจน
(3) กรณีผู้ต้องขังในแดนความมั่นคงสูงสุดที่ทาหน้าที่ซักรีดหรือขนส่งอาหารระหว่างอาคารคุมขัง
และที่ทาการแดน ให้เรือนจาคัดเลือกอย่างรอบคอบ โดยพิจารณาจากพฤติการณ์ขณะถูกคุมขังเป็นสาคัญ

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


76 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

สาหรับการทาความสะอาดหรืองานอื่นๆ บริเวณรอบนอกของอาคารแดนความมั่นคงสูงสุดให้
เรือนจาจัดผู้ต้องขังจากภายนอกแดนความมั่นคงสูงสุดมาดาเนินการได้ โดยให้พิจารณาคัดเลือกผู้ต้องขังที่
ไว้วางใจได้และได้รับอนุญาตจากผู้บัญชาการเรือนจา
ข้อ 24 ให้อธิบดีรักษาการตามระเบียบนี้ และมีอานาจวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตาม
ระเบียบนี้
ประกาศ ณ วันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2561
พันตารวจเอก (ณรัชต์ เศวตนันทน์)
อธิบดีกรมราชทัณฑ์

หมวด 4 ผู้ต้องขัง
ส่วนที่ 1 การรับตัวผู้ต้องขัง
การระบุเลขประจาตัวประชาชนหรือเอกสารแสดงตนของผู้ต้องขัง
มาตรา 35 เจ้าพนักงานเรือนจาจะรับบุคคลใด ๆ ไว้เป็นผู้ต้องขังในเรือนจาได้ต่อเมื่อได้รับหมาย
อาญาหรือเอกสารอันเป็นคาสั่งของผู้มีอานาจตามกฎหมาย โดยให้ผู้มีอานาจออกหมายอาญาหรือ
เอกสารดังกล่าว ระบุเลขประจาตัวประชาชน หรือเอกสารแสดงตนของผู้ต้องขังเท่าที่ทราบด้วย

หมายอาญาที่ก่อให้เกิดอานาจการคุมขัง มี ๔ ประเภท คือ


๑. หมายขังระหว่างสอบสวน มีสีฟ้า
๒. หมายขังระหว่างพิจารณาไต่สวนมูลฟ้องมีสีเขียว
๓. หมายขังระหว่างอุทธรณ์ฎีกา มีสีเหลือง
๔. หมายจาคุกเมื่อคดีถึงที่สุด มีสีชมพู หรือหมายเด็ดขาด
เอกสารอันเป็นคาสั่งของผู้มีอานาจตามกฎหมาย ใครคือเจ้าพนักงานผู้มีอานาจที่ออกคาสั่งให้
ขังบุคคลไว้ในเรือนจา
เจ้าพนักงานผู้มีอานาจที่จะออกคาสั่งให้ขังบุคคลไว้ในเรือนจา ประกอบด้วย
๑. ศาล มีอานาจออกหมายศาลให้ควบคุมตัวบุคคลไว้ในเรือนจา
๒. ผู้ว่าราชการจังหวัด มีอานาจออกคาสั่งฝากบุคคลวิกลจริตไว้ในเรือนจา
๓. ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายเป็นเจ้าพนักงานผู้มีอานาจ มีอานาจ
ฝากบุคคลที่ถูกเนรเทศ
๔. พนักงานตรวจคนเข้าเมือง มีอานาจฝากบุคคลต่างด้าวซึ่งเข้าเมืองโดยมิชอบ
๕. นายกรัฐมนตรี มีอานาจออกคาสั่งให้ลงโทษจาคุกบุคคลไว้ในเรือนจา
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 77

๖. พนักงานอัยการ มีอานาจฝากผู้ต้องขังเข้าควบคุมไว้ในเรือนจา
๗. ผู้อานวยการสถานพินิจและคุ้มครองเด็ก มีอานาจฝากเด็กในสถานพินิจที่มีพฤติการณ์เป็น
ภัยต่อบุคคลอื่น
๘. หัวหน้าคณะปฏิวัติ หรือหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครอง มีอานาจออกคาสั่งให้จาคุกบุคคล
ไว้ในเรือนจา

การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดทาทะเบียนประวัติ
มาตรา 36 ในวันที่รับตัวผู้ต้องขังเข้าไว้ใหม่ในเรือนจา ให้เจ้าพนักงานเรือนจาจัดทาทะเบียน
ประวัติผู้ต้องขังโดยอย่างน้อยมีรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องดังต่อไปนี้
(1) ชื่อและนามสกุลของผู้ต้องขัง เลขประจาตัวประชาชน หรือเอกสารแสดงตนของผู้ต้องขัง
เท่าที่ทราบ
(2) ข้อหาหรือฐานความผิดผู้นั้นได้กระทา
(3) บันทึกลายนิ้วมือหรือสิ่งแสดงลักษณะเฉพาะของบุคคล และตาหนิรูปพรรณ
(4) สภาพของร่างกายและจิตใจ ความรู้และความสามารถ
(5) รายละเอียดอื่นตามที่กาหนดในระเบียบกรมราชทัณฑ์
ให้กรมราชทัณฑ์นาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดทาทะเบียนประวัติผู้ต้องขังตามวรรค
หนึ่ง รวมทั้งใช้ประโยชน์ในการวิเคราะห์และประมวลผลด้วย
เมื่อเจ้าพนักงานเรือนจาร้องขอ ให้เจ้าพนักงานผู้มีอานาจสืบสวนหรือสอบสวนคดีอาญาหรือเจ้า
พนักงานผู้ครอบครองหรือควบคุมดูแลประวั ติผู้ต้องขังส่งรายงานแสดงประวัติของผู้ต้องขังนั้นให้แก่เจ้า
พนักงานเรือนจา
มาตรา 37 ในวันที่รับตัวผู้ต้องขังเข้าไว้ใหม่ในเรือนจา ให้แพทย์ พยาบาลหรือเจ้าพนักงาน
เรื อนจ าที่ผ่า นการอบรมด้ านการพยาบาลทาการตรวจร่ างกายของผู้ต้องขัง ในกรณีที่ไม่ส ามารถ
ดาเนิ น การตรวจร่ างกายภายในวัน ที่รับตัวเข้าไว้ได้ ให้ เจ้าพนักงานเรือนจาเป็นผู้ ตรวจร่างกายของ
ผู้ต้องขังนั้นในเบื้องต้นก่อนได้แต่ต้องจัดให้มีการตรวจโดยเร็ว ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามระเบียบกรมราชทัณฑ์

ระเบียบกรมราชทัณฑ์
ว่าด้วยการตรวจร่างกายผู้ต้องขังเข้าใหม่และผู้ต้องขังเข้า-ออกเรือนจา พ.ศ.2561
------------------------------------
เพื่อให้การดาเนินการเกี่ยวกับการตรวจร่างกายผู้ต้องขังเข้าใหม่เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและ
สอดคล้ องกับ เจตนารมณ์ของกฎหมาย อาศัยอานาจตามความในมาตรา 37 แห่งพระราชบัญ ญั ติ
ราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 อธิบดีกรมราชทัณฑ์จึงออกระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


78 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการตรวจร่างกายผู้ต้องขั งเข้าใหม่และ


ผู้ต้องขังเข้า-ออกเรือนจา พ.ศ.2561”
ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป
ข้อ 3 บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ คาสั่ง ประกาศ หรือหนังสือสั่งการอื่นใด ซึ่งขัดหรือแย้งกับ
ระเบียบนี้ให้ใช้ระเบียบนี้แทน
ข้อ 4 ในระเบียบนี้
“ผู้ต้องขังเข้าใหม่” หมายความว่า ผู้ต้องขังที่ยังไม่ผ่านการจาแนกลักษณะผู้ต้องขังขั้นพื้นฐาน
ข้อ 5 ให้อธิบดีรักษาการตามระเบี ยบนี้ และมีอานาจวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตาม
ระเบียบนี้
ข้อ 6 ให้เรือนจานาเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมทั้งระบบและเครื่องมืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ มา
ใช้ในการตรวจร่างกายผู้ต้องขังเข้าใหม่และผู้ต้องขัง เข้า-ออก เรือนจาตามสมควร
หมวด 1
การตรวจร่างกายผู้ต้องขังเข้าใหม่
ข้อ 7 เมื่อได้รับหมายอาญาหรือเอกสารอันเป็นคาสั่งของเจ้าพนักงานผู้มีอานาจตามกฎหมาย ให้
เจ้าพนักงานเรือนจารับบุคคลตามหมายหรือคาสั่งนั้นไว้เป็นผู้ต้องขังในเรือนจา
ข้อ 8 ให้เจ้าพนักงานเรือนจาผู้รับตัวผู้ต้องขังเข้าใหม่ตรวจสอบความถูกต้องว่าเป็นบุคคลตามชื่อ
ที่ปรากฏในหมายอาญาหรือเอกสารอันเป็นคาสั่งของเจ้าพนักงานผู้มีอานาจตามกฎหมายหรือไม่ หาก
ไม่ใช่ ให้แจ้งแก่เจ้าหน้าที่ผู้นาตัวมาส่งทราบทันที
ข้ อ 9 ในวั น ที่ รั บ ตั ว เรื อ นจ าต้ อ งจั ด ให้ ผู้ ต้ อ งขั ง เข้ า ใหม่ ไ ด้ รั บ การตรวจร่ า งกายจากแพทย์
พยาบาล หรือเจ้าพนักงานเรือนจาที่ผ่านการอบรมด้านพยาบาล โดยดาเนินการดังนี้
(๑ ) ผู้ ต้องขังหญิง ให้ แพทย์ พยาบาลหรือเจ้ า พนั ก งานเรื อ นจาหญิ ง ที่ผ่ านการอบรมด้ า น
พยาบาลเป็นผู้ตรวจ เว้นแต่กรณีบุคคลดั งกล่าวไม่สามารถดาเนินการตรวจร่างกายในวันที่รับตัวได้ หรือ
กรณีมีเหตุจาเป็นอย่างยิ่งให้เจ้าพนักงานเรือนจาอื่นที่เป็นหญิง เป็นผู้ตรวจในเบื้องต้นก่อนก็ได้ แล้วจัดให้
ผู้ต้องขังนั้นได้รับการตรวจอนามัยจากแพทย์ พยาบาล หรือเจ้าพนักงานเรือนจาหญิงที่ผ่านการอบรมด้าน
พยาบาลโดยเร็ว
(2) ผู้ต้องขังชาย ให้แพทย์ พยาบาล หรือเจ้าพนักงานเรือนจาที่ผ่านการอบรมด้านพยาบาลเป็น
ผู้ตรวจ เว้นแต่กรณีบุคคลดังกล่าวไม่สามารถดาเนินการตรวจร่างกายในวันที่รับตัวได้ หรือกรณีมีเหตุ
จาเป็นอย่างยิ่งให้เจ้าพนักงานเรือนจาอื่นเป็นผู้ตรวจในเบื้องต้นก่อนก็ ได้ แล้วจัดให้ผู้ต้องขังนั้นได้รับการ
ตรวจอนามัยจากแพทย์ พยาบาล หรือเจ้าพนักงานเรือนจาที่ผ่านการอบรมด้านพยาบาลโดยเร็ว
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 79

กรณีผู้ทาการตรวจร่างกายเป็นหญิง ต้องจัดให้มีเจ้าพนักงานเรือนจาที่เป็นชายเข้าร่วมในการ
ตรวจร่างกายนั้นด้วย
(3) ผู้ต้องขังชายที่ผ่านการศัลยกรรมแปลงเพศเป็นหญิงแล้ว ให้ดาเนินการตรวจร่างกายโดยนา
หลักการในข้อ 9(1)มาใช้โดยอนุโลม
ในการตรวจร่างกาย ให้แพทย์ พยาบาล เจ้าพนักงานเรือนจาที่ผ่านการอบรมด้านพยาบาลหรือ
เจ้าพนักงานเรือนจาผู้ตรวจ บันทึกผลการตรวจสุขภาพ อาการเจ็บป่วย ร่องรอยบาดแผล โดยมีรูปถ่าย
ประกอบผลการตรวจ และให้สอบถามถึงโรคประจาตัวกับทั้งยาที่ใช้รักษาอาการของโรคด้วย
ข้อ 10 ในกรณีตรวจพบว่าผู้ต้องขังเข้าใหม่รายใดมีอาการเจ็บป่วย หรือพบบาดแผลก่อนถูกส่ง
ตัวเข้าเรือนจา ให้เจ้าพนักงานเรือนจาบันทึกปากคาผู้ต้องขังเกี่ยวกับกับอาการเจ็บป่วยหรือลั ก ษณะ
บาดแผลที่พบโดยให้ผู้ต้องขังนั้นลงลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐานพร้อมพยาน และถ่ายรูปบาดแผลไว้ด้วย
ข้ อ 11 กรณีที่ตรวจพบว่ าผู้ ต้ อ งขั ง เข้ า ใหม่ร ายใดมี อาการเจ็ บป่ว ย หรือมีบาดแผล ให้ เจ้ า
พนั กงานเรื อนจ าแจ้ งให้ ญาติห รื อบุ คคลที่ผู้ ต้องขังร้องขอทราบถึงอาการเจ็บป่ว ยหรือเหตุแห่ งการมี
บาดแผลนั้นด้วย
สาหรับผู้ต้องขังเข้าใหม่ชาวต่างชาติ ซึ่งไม่สามารถแจ้งบุคคลตามวรรคหนึ่งได้ ให้เรือนจาแจ้ง
สถานเอกอัครราชทูต หรือสถานกงสุลที่ผู้ต้องขังมีสัญชาติอยู่ทราบ กรณีไม่ มีสถานเอกอัครราชทูตหรือ
สถานกงสุลประจ าประเทศไทย ให้เรือนจาแจ้งรายละเอียดของผู้ ต้อ งขังไปยังกรมราชทัณฑ์เพื่ อ แจ้ง
กระทรวงการต่างประเทศทราบ
ข้อ 12 เมื่อพบว่าผู้ต้องขังเข้าใหม่คนใดเจ็บป่วย มีอาการมึนเมา มีอาการส่อว่าจิตไม่สมประกอบ
ไม่สามารถควบคุมตัวเองได้ มีประวัติการติดสุรา หรือมีโรคติดต่อซึ่งจะลุกลามเป็นภัยแก่ผู้อื่น ให้จัดแยก
ผู้ต้องขังเข้าใหม่นั้นจากผู้ต้องขังอื่นและให้แพทย์ พยาบาลหรือเจ้าพนักงานเรือนจาที่ผ่านการอบรมด้าน
พยาบาลชี้แจงแนะนาการปฏิบัติแก่เจ้าพนักงานเรือนจา ถ้าจาเป็นต้องส่งตัวผู้ต้องขังเข้าใหม่นั้นไปรักษา
ยังสถานพยาบาลภายนอกเรือนจา ให้ดาเนินการเพื่อให้ผู้ต้องขังได้รับการตรวจรักษา
หมวด 2
การตรวจร่างกายผู้ต้องขังเข้า-ออกเรือนจา
ข้อ 13 การตรวจร่างกายผู้ต้องขังที่เข้า -ออก เรือนจา ซึ่งไม่ใช่ผู้ต้องขังเข้าใหม่ เรือนจาให้เจ้า
พนั กงานเรื อนจ าที่มิใช่แพทย์ พยาบาล หรือเจ้าพนักงานเรือนจาที่ผ่ านการอบรมด้านพยาบาลเป็ น
ผู้ดาเนินการตรวจร่างกายก็ได้ โดยให้นาวิธีการในหมวด 1 มาบังคับใช้โดยอนุโลม
ข้อ 14 ในกรณีมีเหตุอันควรสงสัยว่าจะมีการซุกซ่อนสิ่งของต้องห้ามหรือสิ่งผิดกฎหมายเข้าสู่
เรือนจาให้เจ้าพนักงานเรือนจาดาเนินการตรวจร่างกายอย่างถี่ถ้วน โดยให้คานึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


80 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

และให้นาเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมทั้งระบบและเครื่องมืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ มาใช้ในการตรวจ


ร่างกายตามสมควร
ประกาศ ณ วันที่ 30 เมษายน พ.ศ.2561
พันตารวจเอก ณรัชต์ เศวตนันทน์
อธิบดีกรมราชทัณฑ์

การแจ้งให้ผู้ต้องขังเข้าใหม่ทราบถึงข้อบังคับระเบียบสิทธิประโยชน์ต่าง ๆ
มาตรา 38 ในวัน ที่รั บ ตัว ผู้ ต้องขังไว้ใหม่ในเรือนจา ต้องแจ้งให้ ผู้ ต้องขังทราบถึง ข้อบังคับ
เรือนจา ระเบียบกรมราชทัณฑ์เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวของผู้ต้องขัง และสิทธิ หน้าที่และประโยชน์ที่
ผู้ต้องขังจะพึงได้รับตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้ รวมทั้งเรื่องอื่นที่จาเป็น
ในกรณีที่ผู้ต้องขังไม่รู้หนังสือ ต้องชี้แจงรายละเอียดในข้อบังคับเรือนจาและระเบียบกรม
ราชทัณฑ์และสิทธิ หน้าที่ และประโยชน์ที่ผู้ต้องขังจะพึงได้รับ ตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้
รวมทั้งเรื่องอื่นที่จาเป็นตามวรรคหนึ่งให้ผู้ต้องขังทราบด้วยวาจาหรือด้วยวิธีการอื่นใดเพื่อให้ผู้ต้องขัง
เข้าใจด้วย
การแจ้ งตามวรรคหนึ่ งหรื อวรรคสอง ให้เ จ้า พนักงานเรื อนจาบัน ทึกไว้ใ นทะเบี ยนประวั ติ
ผู้ต้องขังด้วย

เด็กติดผู้ต้องขัง
มาตรา 39 ในกรณีที่ผู้ต้องขังมีเด็กอายุต่าว่าสามปี ซึ่งอยู่ในความดูแลของตนติดมายังเรือนจา
หรือเด็กซึ่งคลอดในระหว่างที่มารดาถูกคุมขังในเรือนจา หากมีความจาเป็นหรือปรากฏว่าไม่มีผู้ใดจะเลี้ยง
ดูเด็กนั้น ผู้บัญชาการเรือนจาจะอนุญาตให้เด็กนั้นอยู่ในเรือนจาจนกว่าเด็กอายุครบสามปีก็ได้ หรือให้
ส่งเด็กนั้นไปยังหน่วยงานซึ่งมีห น้าที่ให้ การสงเคราะห์ คุ้มครองสวัสดิภ าพ หรือพัฒนาฟื้นฟูเด็ก เพื่อ
ดาเนินการตามอานาจหน้าที่ต่อไปก็ได้ ทั้งนี้ให้เป็นไปตามระเบียบกรมราชทัณฑ์ โดยคานึงถึงประโยชน์
สูงสุดของเด็กเป็นสาคัญ
ในกรณีมีเด็กซึ่งได้รับอนุญาตให้อยู่ในเรือนจาตามวรรคหนึ่ง ให้เรือนจาจัดหาสิ่งจาเป็นพื้นฐานใน
การดารงชีวิตให้ตามสมควร
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 81

ระเบียบกรมราชทัณฑ์
ว่าด้วยเด็กในความดูแลของผู้ต้องขัง พ.ศ.2561
---------------------
เพื่อให้การดาเนินการเกี่ยวกับเด็กซึ่งอยู่ในความดูแลของผู้ต้องขังและติดมายังเรือนจาหรือเด็กซึ่ง
คลอดในระหว่างที่มารดาถูกคุมขังในเรือนจา เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและสอดคล้องกับเจตนารมณ์ของ
กฎหมาย อาศัยอานาจตามความในมาตรา 39 แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 อธิบดีกรม
ราชทัณฑ์ จึงออกระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ระเบียบนี้เรี ยกว่า “ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยเด็กในความดูแลของผู้ ต้องขัง พ.ศ.
2561”
ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป
ข้อ 3 บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ คาสั่ง ประกาศ หรือหนังสือสั่งการอื่นใด ซึ่งขัดหรือแย้งกับ
ระเบียบนี้ ให้ใช้ระเบียบนี้แทน
ข้อ 4 ในระเบียบนี้
“เด็กในความดูแลของผู้ต้องขัง ” หมายความว่า เด็กอายุต่ากว่าสามปีซึ่งอยู่ในความดูแลของ
ผู้ต้องขังและติดมายังเรือนจาและเด็กซึ่งคลอดในระหว่างที่มารดาถูกคุมขังในเรือนจาและอายุยังต่ากว่า
สามปี
ข้อ 5 เมื่อมีเด็กในความดูแลของผู้ต้องขังเข้ามาในเรือนจาให้เจ้าพนักงานเรือนจาพิจารณาว่าเด็ก
ในความดูแลของผู้ต้องขังนั้น จาเป็นต้องอยู่ในความดูแลของผู้ต้องขังหรือไม่และผู้ต้องขังยังมีทางที่จะ
มอบเด็กให้บุคคล หน่วยงาน หรือสถานที่ใดไปอุปการะเลี้ยงดูได้หรือไม่ ถ้ามีผู้ รับไปอุปการะเลี้ยงดูให้
ผู้ต้องขังจัดการมอบให้ไป หากมีความจาเป็นหรือปรากฏว่าไม่มีผู้ใดจะเลี้ยงดูเด็กให้ผู้ต้องขังยื่นคาร้องขอ
อนุญาตให้เด็กอยู่ในเรือนจาเสนอผู้บัญชาการเรือนจาเพื่อพิจารณาอนุญาตให้เด็กนั้นอยู่ในเรือนจาได้
ข้อ 6 การที่จะอนุญาตให้เด็กในความดูแลของผู้ต้องขังอยู่ในเรือนจาตามข้อ 5 นั้นต้องปรากฏว่า
(1) เด็กนั้นอยู่ในความดูแลของผู้ต้องขัง
(2) เด็ ก มี ค วามจ าเป็ น ที่ เด็ ก จะต้ อ งอยู่กั บ ผู้ ต้ อ งขัง หรื อ ปรากฏว่า ไม่ มี ค รอบครัว ญาติ มิตร
หน่วยงานซึ่งมีหน้าที่ให้การสงเคราะห์ คุ้มครองสวัสดิภาพ หรือพัฒนาฟื้นฟูเด็ก ที่จะรับเลี้ยงดูเด็กนั้น
ข้อ 7 เด็กในความดูแลของผู้ต้องขังที่ได้รับอนุญาตให้อยู่ในเรือนจา ให้ผู้ต้องขังทาหนังสือมอบ
อานาจการปกครองนอกจากการจัดการทรัพย์สินของเด็กให้ไว้แก่ผู้บัญชาการเรือนจานั้น
ข้อ 8 การมอบเด็กในความดูแลของผู้ต้องขังให้บุคคล หน่วยงาน หรือสถานที่ใดไปช่วยอุปการะ
เลี้ยงดูดังกล่าวไว้ในข้อ 5 ให้เรือนจาทาหนังสือส่งรับมอบตัวเด็กตามแบบท้ายระเบียบนี้ไว้ต่อกันเป็น

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


82 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

หลักฐานสามฉบับ โดยผู้ต้องขังและผู้ที่รับมอบเด็กยึดถือไว้ฝ่ายละหนึ่งฉบับ และเก็บรักษาไว้ ณ เรือนจา


หนึ่งฉบับ
กรณีเด็กในความดูแลของผู้ต้องขังซึ่ งเป็นชาวต่างชาติ ให้เรือนจาประสานสถานเอกอัครราชทูต
หรือสถานกงสุลที่ผู้ต้องขังมีสัญชาติ เพื่อรับรองสถานะของเด็กในความดูแลของผู้ต้องขัง บุคคล หน่วยงาน
หรือสถานที่ที่จะรับเด็กไปอุปการะเลี้ยงดู
กรณีไม่สามารถดาเนินการตามวรรคสองได้ ให้เรือนจาประสานงานกับกระทรวงการพัฒนาสังคม
และความมั่น คงของมนุษย์ เพื่อดาเนิ นการตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองเด็กโดยคานึงถึง
ประโยชน์สูงสุดของเด็กเป็นสาคัญ
ข้อ 9 ในระหว่างอยู่ในเรือนจา ถ้าปรากฏว่ามีบุคคล หน่วยงาน หรือสถานที่ดังกล่าวไว้ในข้อ 6
จะรับเด็กในความดูแลของผู้ต้องขังไปอุปการะเลี้ยงดู ให้ผู้บัญชาการเรือนจาดาเนินการตามข้อ 8 โดยต้อง
ได้รับความยินยอมจากมารดาของเด็กหรือผู้ต้องขังที่เด็กนั้นอยู่ในความดูแลแล้วแต่กรณี
ข้อ 10 การอุปการะเลี้ย งดูเด็กในความดูแลของผู้ต้องขังในระหว่ างที่ได้รับอนุญาตให้ อยู่ ใน
เรือนจา เป็นหน้าที่ของเรือนจาในการจัดหาสิ่งจาเป็นพื้นฐานให้ตามสมควร
กรณี จ าเป็ น ให้ เ รื อ นจ าประสานกั บ หน่ ว ยงานภายนอก เช่ น ส านั ก งานสาธารณสุ ขจังหวัด
สานักงานพัฒ นาสังคมและความมั่น คงของมนุษย์จังหวัด ศูนย์ส่งเสริมอนามัยแม่และเด็ก สานักงาน
กาชาดจังหวัด หรือโรงพยาบาลของรัฐหรือเอกชน เพื่อขอความอนุเคราะห์สนับสนุนเครื่องอุปโภคบริโภค
ที่จาเป็นสาหรับเลี้ยงดูเด็กในความดูแลของผู้ต้องขัง
ข้อ 11 เด็กในความดูแลของผู้ต้องขังที่อนุญาตให้อยู่ในเรือนจา เรือนจาควรจัดให้ได้รับการ
ปฏิบัติโดยคานึงถึงประโยชน์สูงสุดของเด็กอย่างน้อย ดังนี้
(1) ต้องไม่ได้รับการปฏิบัติเสมือนเป็นผู้ต้องขัง
(2) จัดให้มีการตรวจสุขภาพ ส่งเสริมพัฒนาการและสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคให้เหมาะสมตามวัย
พร้อมทั้งดาเนินการรักษาเมื่อเจ็บป่วยแก่เด็กที่อยู่ในความปกครองดูแล
(3) จัดที่พักอาศัย ที่หลับนอน เครื่องนุ่งห่มให้เหมาะสมและถู กสุขลักษณะ และจัดอาหารให้ถูก
สุขอนามัยและเพียงพอแก่เด็กที่อยู่ในความปกครองดูแลโดยไม่ให้ปะปนกับผู้ต้องขังเท่าที่จะกระทาได้ เว้น
แต่การจัดเช่นนั้นอาจเกิดความเสียหายหรือมีความจาเป็นที่ทาให้ไม่สามารถกระทาได้ จึงจัดให้รวมกับ
ผู้ต้องขังที่เป็นมารดา ผู้ต้องขังที่เด็กนั้นอยู่ในความดูแล หรือผู้ต้องขังอื่น
(4) จัดกิจกรรมนันทนาการให้แก่เด็กที่อยู่ในความปกครองดูแลให้เหมาะสมกับวัยและสภาพของ
เด็กแต่ละคน
ข้อ 12 เมื่อผู้ต้องขังถึงกาหนดพ้นโทษ ให้เรือนจาส่งมอบเด็กในความดูแลของผู้ต้องขังนั้นให้แก่
ผู้ต้องขังไปทันที ถ้าเด็กนั้นอยู่ในความอุปการะเลี้ยงดูของบุคคล หน่วยงานหรือสถานที่ที่รับมอบไป ให้
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 83

เรือนจาแจ้งให้บุคคล หน่วยงานหรือสถานที่นั้นนาเด็กในความดูแลของผู้ต้องขังนั้นมาส่งให้แก่ผู้ต้องขังใน
วันปล่อยตัวผู้ต้องขัง
ข้อ 13 ให้อธิบดีกรมราชทัณฑ์รักษาการตามระเบียบนี้ และมีอานาจวินิจฉัย ปัญหาเกี่ยวกับการ
ปฏิบัติตามระเบียบนี้
ประกาศ ณ วันที่ 30 เมษายน พ.ศ.2561
พันตารวจเอก ณรัชต์ เศวตนันทน์
อธิบดีกรมราชทัณฑ์

ส่วนที่ 2
การจาแนกและการพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขัง
--------------------
มาตรา 40 เพื่อประโยชน์ในการจัดชั้น จัดกลุ่ม ควบคุม แยกคุมขัง แก้ไข บาบัด ฟื้นฟูและ
พัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขังให้กลับตนเป็นคนดี และการเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยตัวผู้ต้องขัง ให้
อธิบดีจัดให้มีระบบการจาแนกลักษณะของผู้ต้องขัง โดยให้คานึงถึงโทษและพฤติการณ์ในการกระทา
ความผิด ลักษณะความผิด ความรุนแรงของคดี การกระทาความผิดที่ได้กระทามาก่อนแล้ว และ
ความประพฤติ แ ละวิ นัย ในระหว่ า งคุม ขั ง ตลอดจนระยะเวลากาหนดโทษคุ ม ขั ง ที่ เ หลือ อยู่ ข อง
ผู้ต้องขังดังกล่าว และให้อธิบดีมีอานาจย้ายผู้ต้องขังตามระบบการจาแนกและการแยกคุมขังดังกล่าว
ด้วย ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามกฎกระทรวงโดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
ระบบการจาแนกลักษณะของผู้ต้องขังเกี่ยวกับพฤติการณ์การกระทาความผิด ลักษณะความผิด
และความรุนแรงของคดีตามวรรคหนึ่ง อย่างน้อยต้องกาหนดถึงเรื่องการกระทาความผิดโดยบัน ดาล
โทสะ โดยไตร่ตรองไว้ก่อน หรือความเป็นอาชญากรโดยสันดาน

ระบบการจัดชั้นหรือระบบการจัดกลุ่มผู้ต้องขัง
มาตรา 41 ภายใต้บังคับมาตรา 40 เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการผู้ต้องขังภายในเรือนจา
ให้อธิบดีจัดให้มีระบบการจัดชั้น การจัดกลุ่มผู้ต้องขังและการแยกคุมขัง โดยต้องคานึงถึงประเภทหรือ
ชั้นของเรือนจาที่ได้จาแนกไว้ตามมาตรา 31 และความเหมาะสมกับผู้ต้องขังแต่ละประเภท แต่ละชั้น การ
ควบคุม แก้ไข บาบัด ฟื้นฟู และพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขัง ตลอดจนการเตรียมความพร้อมก่อนปล่อย ทั้งนี้
ให้เป็นไปตามกฎกระทรวงโดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


84 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

กฎกระทรวง
กาหนดระบบการจาแนกลักษณะของผู้ต้องขัง การควบคุมและการแยกคุมขัง
และการย้ายผู้ต้องขัง พ.ศ. ๒๕๖๓
(ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๗ ตอนที่ ๘๔ ก ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๖๓)
--------------------
อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๗ วรรคหนึ่ง มาตรา ๔๐ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๔๑
แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมโดยได้รับความเห็นชอบ
จากคณะกรรมการราชทัณฑ์ออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้ยกเลิกหมวด ๔ การควบคุมผู้ต้องขัง ของส่วนที่ ๒ อานาจและหน้าที่เจ้า
พนักงานเรือนจา ข้อ ๓๑ ข้อ ๓๒ ข้อ ๓๓ และข้อ ๓๔ และหมวด ๑ ข้อความทั่วไป ของส่วนที่ ๔
การแยกผู้ต้องขัง ข้อ ๔๐ ข้อ ๔๑ ข้อ ๔๒ และข้อ ๔๓ แห่งกฎกระทรวงมหาดไทย ออกตามความใน
มาตรา ๕๘ แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พุทธศักราช ๒๔๗๙

หมวด ๑
การจาแนกลักษณะของผู้ต้องขัง
---------------------
ข้ อ ๒ ให้ ผู้ บั ญ ชาการเรื อ นจ าจั ด ให้ มี แ ดนแรกรั บ หรื อ สถานที่ แ รกรั บ ในเรื อ นจ า
โดยเฉพาะ สาหรับแยกขังผู้ต้องขังเข้ าใหม่หรือรับย้ ายจากเรือนจาอื่นเพื่อรอการจาแนกลักษณะของ
ผู้ต้องขัง รายบุคคลก่อนที่จะส่งตัวไปรับการอบรม แก้ไข และฟื้นฟูจิตใจตามความเหมาะสมของผู้ต้องขัง
รายบุคคล
ข้อ ๓ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาแต่งตั้งเจ้ าพนักงานเรือนจาจานวนไม่น้อยกว่ าหนึ่ง คน
ปฏิบัติหน้าที่จาแนกลักษณะของผู้ต้องขัง โดยจะต้องเป็นนักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ หรือ เจ้า
พนักงานเรือนจาซึ่งผ่านการกอบรมด้านการจาแนกลักษณะของผู้ต้องขังจากกรมราชทัณฑ์
เจ้ าพนั กงานเรื อนจ าซึ่งได้รับการแต่งตั้งตามวรรคหนึ่ง มีห น้ าที่ศึกษาและรวบรวม
ประวัติ ของผู้ต้องขังแต่ละคนและสังเกตพฤติกรรมของผู้ต้องขังในการใช้ชีวิตในเรือนจา
ข้อ ๔ การจาแนกลักษณะของผู้ต้องขัง ให้ดาเนินการดังต่อไปนี้
(๑) ขั้นพื้นฐาน ให้ดาเนินการกลั่นกรองผู้ต้องขัง โดยการจัดชั้น จัดกลุ่ม ควบคุม และ
แยกคุมขังผู้ต้องขัง
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 85

(๒) ขั้นแก้ไข บาบัด ฟื้นฟู และพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขังให้กลับตนเป็นคนดี ให้นาข้อมูล


จาก (๑) และข้ อ มู ล อื่ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ งมาใช้ ใ นการวิ เ คราะห์ การวางแผน และการปฏิ บั ติ ต่ อ ผู้ ต้ อ งขั ง
รายบุคคลให้เหมาะสม
(๓) ขั้นการเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยตัวผู้ต้องขัง ให้นาข้อมูลจาก (๑) และ (๒)มาใช้
วางแผนเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยตัวผู้ต้องขังรายบุคคลให้เหมาะสม
การดาเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่อธิบดีกาหนด
ข้อ ๕ ให้มีคณะทางานเพื่อจาแนกลักษณะของผู้ต้องขังประจาเรือนจา ประกอบด้วย
ผู้บัญชาการเรือนจ าเป็น ประธาน และเจ้ าพนักงานเรือนจาซึ่งมีความรู้และความชานาญในด้า นการ
ควบคุม การศึกษา การฝึกวิชาชีพ การบาบัดรักษา การพัฒนาจิตใจ หรือการสาธารณสุข จานวนไม่
น้ อยกว่ าห้ าคน เป็ น คณะทางาน และให้ เจ้ าพนักงานเรือนจาผู้ รับผิ ดชอบงานจาแนกลั ก ษณะของ
ผู้ต้องขัง เป็นคณะทางานและเลขานุการ
การแต่งตั้งคณะทางานตามวรรคหนึ่ง อาจมีผู้แทนจากหน่วยงานหรือบุคคลภายนอก
ร่วมเป็น คณะทางานด้วยก็ได้
ข้อ ๖ คณะทางานเพื่อจาแนกลักษณะของผู้ต้องขังมีหน้าที่และอานาจ ดังต่อไปนี้
(๑) กาหนดแผนการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังรายบุคคล โดยคานึงถึงประโยชน์ในการจัดชั้น
จัดกลุ่ม ควบคุม แยกคุมขัง แก้ไข บาบัด ฟื้นฟู และพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขังให้กลับตนเป็นคนดี และการ
เตรียมความพร้อมก่อนปล่อยตัวผู้ต้องขัง
(๒) พิจารณาทบทวนและปรับเปลี่ยนแผนการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังรายบุคคล
(๓) ดาเนินการอื่นใดเพื่อประโยชน์ในการจาแนกลักษณะของผู้ต้องขัง
ข้อ ๗ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาจัดประชุมคณะทางานเพื่อจาแนกลักษณะของผู้ต้องขัง
อย่างน้อยเดือนละหนึ่งครั้ง
การประชุมของคณะทางานต้องมีคณะทางานมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวน
คณะทางานทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม
การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้ างมาก คณะทางานคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งใน
การลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด
ความเห็นของคณะทางานให้เป็นที่สุด
ข้อ ๘ ให้ เจ้ าพนั กงานเรือนจาติดตามผลการปฏิบัติต ามแผนการปฏิบัติต่อผู้ ต้องขั ง
รายบุคคล หลังจากที่ผ่านการจาแนกลักษณะของผู้ต้องขังไปแล้วไม่น้อยกว่าหกเดือน

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


86 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ข้อ ๙ คณะทางานตามข้อ ๕ อาจทบทวนแผนการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังรายบุคคล ก่อน


ครบระยะเวลาตามที่กาหนดในข้อ ๘ ได้ หากปรากฏข้อเท็จจริงดังต่อไปนี้
(๑) พบปัญหาขัดข้องจากการปฏิบัติตามแผนการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังรายบุคคล
(๒) พบข้อมูลใหม่ที่เป็นสาระสาคัญต่อการจาแนกลักษณะของผู้ต้องขัง
ในกรณีผู้ต้องขังเจ็บป่วย มีโรคประจาตัว หรือมีเหตุจาเป็นจนไม่อาจปฏิบัติตามแผนการ
ปฏิบัติ ต่อผู้ต้องขังรายบุคคลได้ ผู้บัญชาการเรือนจาอาจสั่งให้งดการปฏิบัติตามแผนดังกล่าวได้จนกว่าจะ
มี การรายงานต่อคณะทางานตามข้อ ๕ เพื่อพิจารณาทบทวนแผนการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังรายบุคคล
ข้อ ๑๐ ให้เรือนจาจัดเก็บข้อมูลการจาแนกลักษณะของผู้ต้องขังเพื่อการสืบค้น โดยให้
นาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ และนาข้อมูลดังกล่าวมาประกอบการพิจารณาการเลื่อนชั้น หรือลดชั้น
การย้ ายผู้ ต้องขัง การงานของผู้ ต้องขัง การพักการลงโทษ การลดวันต้องโทษจาคุก และการให้
ประโยชน์แก่ผู้ต้องขังอย่างอื่นด้วย
หมวด ๒
การควบคุมและการแยกคุมขัง
-----------------
ข้อ ๑๑ ในการควบคุมผู้ต้องขัง ให้ดาเนินการ ดังต่อไปนี้
(๑) กรณีป กติ ให้ ผู้ บั ญชาการเรือนจาสั่งการหรือมอบหมายให้ เจ้าพนักงานเรือนจา
ควบคุม ตรวจตรา และปองกันการกระทาความผิดของผู้ต้องขัง รวมถึงการปฏิบัติการอื่น ตามที่กฎหมาย
กาหนดให้เป็นหน้าที่และอานาจของเจ้าพนักงานเรือนจา ในกรณีที่มีการจ่ายผู้ต้องขังออกไปนอกเรือนจา
ให้ผู้บัญชาการเรือนจาจัดให้มีเจ้าพนักงานเรือนจาที่เพียงพอเพื่อปองกันการหลบหนี
(๒) กรณี มี เ หตุ ก ารณ์ ไ ม่ ส งบเกิ ด ขึ้ น ให้ เ จ้ า พนั ก งานเรื อ นจ าระงั บ เหตุ ห รื อ แก้ ไ ข
เหตุการณ์ พร้อมกับแจ้งให้พัศดีหรือผู้บัญชาการเรือนจาทราบ หากไม่สามารถควบคุมเหตุการณ์โดย
กาลังของเจ้ าพนั กงานเรื อนจ าเพีย งฝ่ ายเดียวได้ ให้ประสานขอกาลั งเสริมจากพนักงานฝ่ ายปกครอง
ตารวจ ทหาร หรือหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อระงับเหตุดังกล่าวและรายงานให้อธิบดีทราบ
ข้อ ๑๒ เรือนจาใดมีผู้ต้องขังหญิง ให้เจ้าพนักงานเรือนจาหญิงเป็นผู้ควบคุม เว้นแต่
กรณีมีเหตุจาเป็น
ข้อ ๑๓ ห้ามผู้ต้องขังชายหรือเจ้าพนักงานเรือนจาชายเข้าไปในเขตควบคุมผู้ต้องขังหญิง
เว้นแต่กรณี ดังต่อไปนี้
(๑) มีเหตุการณ์ไม่สงบเกิดขึ้น ซึ่งจาเป็นต้องเข้าไประงับเหตุ และเมื่อเหตุการณ์เข้าสู่
ภาวะปกติแล้ว ให้เจ้าพนักงานเรือนจาชายออกจากเขตควบคุมผู้ต้องขังหญิงทันที
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 87

(๒) การปฏิบัติหน้าที่ตามที่ผู้บัญชาการเรือนจามอบหมายหรือเพื่อประโยชน์ของทาง
ราชการ และต้องเข้าไปในเวลากลางวัน โดยมีเจ้าพนักงานเรือนจาตั้งแต่ชั้นพัศดีขึ้นไป และเจ้าพนักงาน
เรือนจา อีกจานวนไม่น้อยกว่าสองคนเข้าไปด้วย หากมีเหตุจาเป็นต้องเข้าไปในเขตควบคุมผู้ต้องขังหญิง
ในเวลากลางคืน ต้องได้รับอนุญาตจากผู้บัญชาการเรือนจาก่อน
ข้อ ๑๔ เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการผู้ต้องขังภายในเรือนจา ให้ผู้บัญชาการ
เรือนจา จัดแบ่งสถานที่ของเรือนจาออกเป็นส่วน ๆ โดยให้มีสิ่งกีดกั้นหรือขอบเขตที่แน่นอน และจัดแยก
ผู้ต้องขังแต่ละประเภทในส่วนที่ได้จัดแบ่ง หากเรือนจาใดโดยสภาพไม่สามารถกระทาได้ ให้พยายามแยก
คุมขัง ผู้ต้องขังให้ใกล้เคียงกับการจัดแบ่งสถานที่ของเรือนจาข้างต้นเท่าที่จะกระทาได้
ข้อ ๑๕ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาแยกคุมขังผู้ต้องขังในกรณี ดังต่อไปนี้
(๑) ผู้ต้องขังมีพฤติการณ์ที่อาจจะก่อเหตุร้ายหรืออาจจะก่อความไม่สงบเรียบร้อยขึ้นใน
เรือนจา หรือมีเหตุพิเศษอย่างอื่น ให้แยกผู้ต้องขังคนนั้นไปรวมกับผู้ต้องขังประเภทอื่น หรือสถานที่อื่น
ภายในเรือนจา
(๒) ผู้ต้องขังหลายคนในคดีเดียวกัน ให้แยกผู้ต้องขังแต่ละคนมิให้ปะปนกัน เว้นแต่
กรณี มีเหตุจาเป็น
(๓) ผู้ต้องขังป่วยด้วยโรคติดต่อหรือโรคอื่นที่อยู่ในระยะอันตราย ให้แยกผู้ต้องขังป่วย
ออกจากผู้ต้องขังคนอื่น
หมวด ๓
การย้ายผู้ต้องขัง
-------------------
ข้อ ๑๖ ให้อธิบดีย้ายผู้ต้องขังจากเรือนจาหนึ่งไปอีกเรือนจาหนึ่งในกรณี ดังต่อไปนี้
(๑) การควบคุมตามอานาจการคุมขัง
(๒) การบริหารความแออัดภายในเรือนจา
(๓) การควบคุมตามเพศ สถานะ พฤติการณ์ หรือวัตถุประสงค์ในการพัฒนาพฤตินิสัย
ผู้ต้องขัง
(๔) การดาเนินคดีหรือตามคาขอของส่วนราชการอื่น
(๕) เพื่อประโยชน์อื่นใดของทางราชการ การดาเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่
อธิบดีกาหนด
ข้อ ๑๗ การย้ายผู้ต้องขังตามข้อ ๑๖ หากเป็นคนต้องขังหรือคนฝากให้ขออนุญาตศาล
ก่อน เว้นแต่มีเหตุจาเป็นจะย้ายบุคคลดังกล่าวก่อนก็ได้ แต่ต้องรายงานให้ศาลทราบ

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


88 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ให้ไว้ ณ วันที่ 25 กันยายน พ.ศ. ๒๕๖3


สมศักดิ์ เทพสุทิน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือโดยที่มาตรา ๔๐ วรรคหนึ่ง และมาตรา
๔๑ แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ บัญญัติให้การจัดระบบการจาแนกลักษณะของผู้ต้องขัง
การควบคุมและการแยกคุมขัง และการย้ายผู้ต้องขัง ให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวงโดยได้รับ
ความเห็นชอบจากคณะกรรมการราชทัณฑ์ จึงจาเป็นต้องออกกฎกระทรวง

ระบบการพัฒนาพฤตินิสัย ด้วยวิธีการและแนวทางที่เหมาะสม
มาตรา 42 เพื่อประโยชน์ในการแก้ไข บาบัด ฟื้นฟู และพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขังให้กลับตนเป็น
คนดี ให้อธิบดีจัดให้มีระบบการพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขังด้วยวิธีการและแนวทางที่เหมาะสมเกี่ยวกับการ
พัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขัง โดยให้ ผู้ต้องขังได้รับการศึกษา การอบรมทั้งด้านคุณธรรมและจริยธรรม การ
ทางาน การฝึกวิชาชีพ การปฏิบัติศาสนกิจ การเรียนรู้วัฒนธรรมอันดีงาม กิจกรรมสันทนาการ กีฬา
รวมทั้งจะต้องมีโอกาสได้รับการติดต่อกับครอบครัว ญาติมิตร องค์กรเอกชนที่มีภารกิจเพื่อการแก้ไข
บาบัด ฟื้นฟู และพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขังและรับรู้ถึงข่าวสารและความเปลี่ยนแปลงของโลกภายนอก
ทั้งนี้ให้เป็นไปตามระเบียบกรมราชทัณฑ์โดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ

ระเบียบกรมราชทัณฑ์
ว่าด้วยการพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขัง พ.ศ.2561
--------------------
เพื่อให้ระบบการพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขังดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพด้วยวิธีการและแนวทางที่
เหมาะสม อันจะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาอบรมและการพัฒนาพฤตินิสัยให้แก่ผู้ต้องขัง ตามภารกิจของ
กรมราชทัณฑ์ อาศัยอานาจตามความมาตรา 42 แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 อธิบดีโดย
ความเห็นชอบของคณะกรรมการราชทัณฑ์ จึงวางระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ระเบียบเรียกว่า “ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขัง พ.ศ.2561”
ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป
ข้อ 3 บรรดาระเบียบ ข้อ บังคับ คาสั่ง ประกาศ หรือหนังสือสั่งการอื่นใด ซึ่งขัดหรือแย้งกับ
ระเบียบนี้ให้ใช้ระเบียบนี้แทน
ข้อ 4 ในระเบียบนี้
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 89

“หลักสูตร” หมายความว่า หลักสูตร โปรแกรม หรือการอบรมที่เรือนจาจัดให้ผู้ต้องขังเข้าร่วม


เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาพฤตินิสัย
“การพัฒ นาพฤตินิ สั ย ผู้ ต้องขัง ” หมายความว่า การแก้ไข บาบัด ฟื้นฟู และพัฒ นาผู้ ต้องขัง
เพื่อให้กลับตนเป็นคนดี
“ผู้ต้องขัง” หมายความถึงนักโทษเด็ดขาด คนต้องขังและคนฝาก
ข้อ 5 หลักสูตรการพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขังประกอบด้วยหลักสูตรดังต่อไปนี้
(1) หลักสูต รภาคบังคับ คือ หลั กสู ตรที่ผู้ ต้องขังทุกคนต้องเข้ารับการอบรม เช่น หลั กสู ตร
ปฐมนิเทศ หลักสูตรเตรียมความพร้อมก่อนปล่อย
(2) หลักสูตรภาคบังคับตามลักษณะแห่งคดี คือ หลักสูตรการแก้ไขฟื้นฟูผู้ต้องขังรายบุคคลตาม
ลักษณะแห่งคดีและพฤติการณ์แห่ งการกระทาความผิด เช่น โปรแกรมการแก้ไขผู้กระทาผิดทางเพศ
โปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้กระทาผิดที่ใช้ความรุนแรง โปรแกรมการแก้ไขผู้กระทาผิดเกี่ยวกับ
ชีวิตและร่างกาย โปรแกรมการแก้ไขผู้กระทาผิดเกี่ยวกับทรัพย์ โปรแกรมการแก้ไขผู้กระทาผิดที่ใช้ความ
รุ น แรงในครอบครั ว โปรแกรมการปรั บพฤติกรรมผู้ กระทาผิ ดอื่นเนื่ องมาจากการดื่มสุ รา โปรแกรม
ยุติธรรมนาสันติสุข โปรแกรมการแก้ไขผู้กระทาผิดซ้า หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสาหรับกลุ่ม
ผู้ต้องขังติดยาเสพติดในรูปแบบชุมชนบาบัด โครงการบาบัดและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ต้องขังติดยาเสพติดใน
รูปแบบวิวัฒน์พลเมืองราชทัณฑ์
(3) หลักสูตรภาคบังคับเลือก คือ หลักสูตรที่ผู้ต้องขังต้องเลือกเพื่อเข้ารับการอบรมตามแผนการ
ปฏิบัติต่อผู้ต้องขังรายบุ คคล เช่น หลักสูตรพัฒนาจิตใจ หลักสูตรการศึกษา หลักสูตรการฝึกวิช าชี พ
หลักสูตรการฝึกทักษะการทางาน หลักสูตรการพัฒนาทักษะชีวิต
(4) หลักสูตรอื่นๆ ที่กรมราชทัณฑ์กาหนด
หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขังตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่
กรมราชทัณฑ์กาหนด
ข้อ 6 ให้เรือนจาจัดให้ผู้ต้องขังทุกคนได้รับการอบรมหลักสูตรปฐมนิเทศก่อน จากนั้นจึงจัดให้
เข้ารับการอบรมในหลักสูตรรวมถึงกิจกรรมต่าง ๆ ตามที่เรือนจากาหนด เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาพฤติ
นิสัย ทั้งนี้ โดยให้คานึงถึงแผนการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังรายบุคคลด้วย
ข้อ 7 ผู้ต้องขังที่จะถือว่าเป็นผู้ผ่านการฝึกอบรมในแต่ละหลักสูตรนั้น ต้องผ่านการประเมินผล
ตามเกณฑ์ที่กรมราชทัณฑ์กาหนด
ข้อ 8 ให้เรือนจาจัดให้ผู้ต้องขังที่อยู่ระหว่างการฝึกอบรมได้รับโอกาสในเรื่องดังต่อไปนี้
(1) เข้าร่วมในการปฏิบัติศาสนกิจหรือกิจกรรมทางศาสนาตามที่ตนเองนับถือหรือการเรียนรู้
วัฒนธรรมอันดีงาม

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


90 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

(2) ได้รับการเยี่ยม ติดต่อกับครอบครัว ญาติมิตร หรือองค์กรเอกชนที่มีภารกิจเพื่อการแก้ไข


บาบัด ฟื้นฟู และพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขัง
(3) ได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารและความเปลี่ยนแปลงของโลกภายนอก เท่าที่ไม่เป็นอันตรายต่อความ
มั่นคงหรือขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน
(4) เข้าร่วมกิจกรรมอื่น ๆ ที่เรือนจาจัดขึ้น
การดาเนินการตามข้อนี้ หากมีระเบียบกาหนดไว้แล้ว ให้ดาเนินการให้เป็นไปตามระเบียบนั้น
ข้อ 9 ให้อธิบดีกรมราชทัณฑ์ รักษาการตามระเบียบนี้ และมีอานาจวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการ
ปฏิบัติตามระเบียบนี้
ประกาศ ณ วันที่ 30 เมษายน พ.ศ.2561
พันตารวจเอก ณรัชต์ เศวตนันทน์
อธิบดีกรมราชทัณฑ์

หมวด 5
สิทธิ หน้าที่ ประโยชน์ และกิจการอื่น ๆ เกี่ยวกับผู้ต้องขัง
----------------------
ส่วนที่ 1
สิทธิของผู้ต้องขัง
-----------------------
ให้ผู้ต้องขังได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรา 43 ให้เรือนจาจัดให้ผู้ต้องขังได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษา
แห่งชาติ โดยต้องดาเนินการให้สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ รวมทั้งต้องมี
การฝึกอบรมด้านคุณธรรมและจริยธรรม และการฝึกอบรมเพื่อเพิ่มโอกาสการจ้างงาน
ให้ผู้ต้องขังทุกคนมีโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาและการฝึกอบรมอย่างเท่าเทียมกัน
การกาหนดหลักสูตร หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการจัดการศึกษาและการฝึกอบรมให้แก่
ผู้ต้องขัง ให้เป็นไปตามระเบียบกรมราชทัณฑ์
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 91

ระเบียบกรมราชทัณฑ์
ว่าด้วยการกาหนดหลักสูตร หลักเกณฑ์ และวิธีการในการจัดการศึกษาให้แก่ผู้ต้องขัง พ.ศ.2561
-----------------
เพื่อให้การดาเนิ น การจั ดการศึกษาให้ แก่ผู้ ต้องขังเป็นไปด้ว ยความเรียบร้อยเหมาะสมและมี
ประสิทธิภาพ อาศัยอานาจตามความในมาตรา 43 แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 อธิบดีจึง
วางระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการกาหนดหลัก สูตร หลักเกณฑ์ และ
วิธีการในการจัดการศึกษาให้แก่ผู้ต้องขัง พ.ศ.2561”
ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป
ข้อ 3 บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ คาสั่ง ประกาศ หรือหนังสือสั่งการอื่นใด ซึ่งขัดหรือแย้งกับ
ระเบียบนี้ให้ใช้ระเบียบนี้แทน
ข้อ 4 ในระเบียบนี้
“หลักสูตร” หมายความว่า หลักสูตร โปรแกรม หรือการอบรมที่เรือนจาจัดให้ผู้ต้องขังเข้าร่วม
เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาพฤตินิสัย
“ผู้ต้องขัง” หมายความรวมถึงนักโทษเด็ดขาด คนต้องขัง และคนฝาก
ข้อ 5 ให้อธิบดีกรมราชทัณฑ์รักษาการตามระเบียบนี้ และมีอานาจวินิ จฉัยปัญหาเกี่ยวกับการ
ปฏิบัติตามระเบียบนี้

หมวด 1
การดาเนินการจัดการศึกษา
ข้ อ 6 ให้ เ รื อ นจ าแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการการศึ ก ษาภายในเรื อ นจ า จ านวนไม่ เ กิ น 7 คน
ประกอบด้ว ยผู้ บั ญชาการเรือนจ าเป็ นประธาน มีหั ว หน้าส่ ว นงานภายในเรือนจาเป็นกรรมการ และ
เจ้าหน้าที่ประจาฝ่ายการศึกษาและพัฒนาจิตใจของผู้ต้องขังร่วมเป็นกรรมการและเลขานุการเพื่อกาหนด
แผนงาน นโยบายและแนวทางการดาเนินการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับหลักสูตรตามหลักเกณฑ์และ
วิธีการที่กรมราชทัณฑ์กาหนด
ข้อ 7 ให้เรือนจาประสานสถาบันการศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อช่วยในการจัดการศึกษา
ให้แก่ผู้ต้องขัง รวมถึงสนับสนุนงบประมาณ บุคลากร และวัสดุอุปกรณ์ที่จาเป็นในการจัดการศึกษาให้แก่
ผู้ต้องขังในเรือนจา
ข้ อ 8 ให้ เ รื อ นจ าจั ด ให้ มี อ าคารสถานที่ ส าหรั บ การเรี ย นการสอน ห้ อ งเรี ย น ห้ อ งสมุ ด สื่ อ
โสตทัศนูปกรณ์ สื่อสารสนเทศ วัสดุครุภัณฑ์การศึกษาที่จาเป็นต้องใช้ในการจัดการศึกษา รวมทั้งจัดหา
หนังสือ วารสารหรือสิ่งพิมพ์อื่นสาหรับการศึกษาค้นคว้าด้วย
ข้อ 9 ให้เรือนจาอนุญาตให้ผู้ต้องขังใช้สื่อโสตทัศนูปกรณ์หรือสื่อสารสนเทศในสถานที่ที่จัดไว้
โดยเฉพาะเท่านั้นและให้เจ้าพนักงานเรือนจาควบคุมดูแลการใช้อย่างใกล้ชิด

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


92 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

กรณี ผู้ ต้ อ งขั ง ขออนุ ญ าตใช้ สื่ อ การเรี ย นการสอนที่ จั ด หามาด้ ว ยตนเอง ให้ เ รื อ นจ าท าการ
ตรวจสอบและจัดเก็บไว้ในสถานที่ที่เหมาะสม ทั้งนี้ จะอนุญาตให้นามาใช้เฉพาะสื่อที่จาเป็นและเรือนจา
ไม่มีไว้ให้บริการหรือมีแต่ไม่เพียงพอ
สถานที่ เวลาเปิด-ปิด และการเก็บรักษาสื่อโสตทัศนูปกรณ์หรือสื่อสารสนเทศ ให้เป็นไปตามที่
เรือนจากาหนด
ข้อ 10 กรณีจัดการเรียนการสอนแบบชั้นเรียน ให้เรือนจากาหนดเวลาเรียนในภาคเช้าหรือบ่าย
ตามที่เห็นสมควร และอนุญาตให้ผู้ต้องขังที่อยู่ในแดนต่าง ๆ เข้าเรียนตามวัน เวลา และสถานที่ที่กาหนด
ข้อ 11 ในระระเวลา 15 วันก่อนการจัดสอบ ให้เรือนจาชะลอการย้ายผู้ต้องขังที่เป็นนักเรียน
หรือนักศึกษาด้วยเหตุผลด้านการควบคุม เพื่อไม่ให้ผู้ต้องขังถูกตัดสิทธิการเข้าสอบ เว้นแต่กรณีมีเหตุ
ฉุกเฉินหรือจาเป็นเร่งด่วน หรือเป็นกรณีการย้ายที่เกี่ยวข้องกับพฤติการณ์ร้ายแรงของผู้ต้องขัง
หมวด 2
หลักเกณฑ์ คุณสมบัติ
ข้อ 12 ให้เรือนจาทาการสารวจและรวบรวมรายชื่อผู้ต้องขังที่จบการศึกษาในระดับต่ากว่า
การศึกษาขั้นพื้นฐานตามข้อมูลการจาแนกลักษณะผู้ต้องขังของคณะกรรมการจาแนกลักษณะผู้ต้องขัง
เพื่อพิจารณาให้ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ
ให้เรือนจาจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้แก่ผู้ต้องขังตามวรรคหนึ่งทุกคน ทั้งนี้ตามหลักสูตรของ
กระทรวงศึกษาธิการ โดยดาเนินการร่วมกับหน่วยงานหรือสถาบันการศึกษาสังกัดกระทรวงศึกษาธิการใน
พื้นที่เว้นแต่กรณีดังต่อไปนี้
(1) ผู้ต้องขังไม่ประสงค์จะรับการศึกษาต่อ และได้แจ้งความจานงพร้อมเหตุผลไว้เป็นลายลักษณ์
อักษร
(2) ไม่มีสัญชาติไทยหรือไม่มีเลขประจาตัวประชาชน
(3) เป็นบุคคลทุพพลภาพถึงขนาดที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา มีจิตไม่สมประกอบ หรือเป็น
โรคติดต่อร้ายแรง
(4) มี พ ฤติ ก รรมเสี่ ย งที่ จ ะแหกหั ก หลบหนี หรื อ มี พ ฤติ ก รรมอื่ น ที่ จ ะส่ ง ผลร้ า ยแรงต่ อ การ
บริหารงานเรือนจาจนไม่อาจควบคุมได้
ข้อ 13 ผู้ต้องขังที่จบการศึกษาขั้นพื้นฐานแล้ว หากประสงค์จะศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น ให้ยื่น
คาร้องต่อฝ่ายการศึกษาและพัฒนาจิต ใจเพื่อแจ้งความประสงค์ขอเข้ ารับการศึกษาในระดับที่สูงขึ้นตาม
ความสนใจและความถนัดของตน
หมวด 3
หลักสูตร
ข้อ 14 หลักสูตรการศึกษาสาหรับผู้ต้องขังมีดังนี้
(1) การศึกษาขั้นพื้นฐาน แบ่งออกเป็น 4 ระดับ คือ
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 93

(ก) การศึกษาสาหรับผู้ไม่รู้หนังสือ
(ข) การศึกษาระดับประถมศึกษา
(ค) การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
(ง) การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
(2) การศึกษาสายอาชีพ แบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือ
(ก) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
(ข) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
(3) การศึกษาระดับอุดมศึกษา คือ
(ก) การศึกษาในระดับประกาศนียบัตรหรืออนุปริญญา
(ข) ระดับปริญญาตรีและสูงกว่า
(4) การศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย คื อ การศึ ก ษาที่ ใ ห้ ผู้ เ รี ย นได้ เ รี ย นรู้ ด้ ว ยตัว เองตามความสนใจ
ศักยภาพความพร้อมและโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สังคม สภาพแวดล้อม สื่อหรือแหล่ง
ความรู้ อื่น ๆ เช่น การจั ดบรรยายความรู้แก่ผู้ ต้องขัง โดยวิทยากรผู้ ทรงคุณวุฒิ ภายนอก การเรียนรู้ ใน
ห้องสมุดและจากสื่อการเรียนรู้อื่น ๆ การจัดกิจกรรมฝึกอบรมลูกเสือ-ยุวกาชาด กิจกรรมด้านศิลปะ
(5) ธรรมศึกษาหรือหลักสูตรศาสนศึกษาของศาสนาต่าง ๆ
(6) หลักสูตรอื่น ๆ ที่กรมราชทัณฑ์กาหนด
ข้อ 15 การจัดการศึกษาในแต่ละหลักสูตรตามระเบียบนี้ ให้เรือนจาดาเนินการ ดังนี้
(1) การศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้เรือนจาจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องและเป็นไปตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานที่กระทรวงศึกษาธิการหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบกาหนด
(2) การศึกษาสายอาชีพ ให้เรือนจาจัดการเรียนการสอนให้ สอดคล้องและเป็นไปตามหลักสูตร
อาชีวศึกษาเท่าที่จะทาได้ ทั้งนี้ ให้จัดวัสดุอุปกรณ์ที่จาเป็นสาหรับการเรียนการสอนตามสมควร
(3) การศึกษาระดับอุดมศึกษา ให้เรือนจาจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องและเป็นไปตาม
หลักสูตรของสถาบันอุดมศึกษาเท่าที่จะทาได้
(4) การศึกษาตามอัธยาศัยและการฝึกอบรมด้านคุณธรรมและจริยธรรม ให้เรือนจาจัดให้มีตามที่
เห็นสมควรภายใต้หลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดีกรมราชทัณฑ์กาหนด
(5) การศึกษาธรรมศึกษาหรือหลักสูตรศาสนศึกษาของศาสนาต่าง ๆ ให้เรือนจาจัดการเรียนการ
สอน ให้สอดคล้องและเป็นไปตามหลักสูตรของสถาบันการศึกษาเจ้าของหลักสูตรเท่าที่จะทาได้
ประกาศ ณ วันที่ 30 เมษายน พ.ศ.2561
พันตารวจเอก ณรัชต์ เศวตนันทน์
อธิบดีกรมราชทัณฑ์

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


94 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

มาตรา 44 ให้เรือนจารับผิดชอบค่าใช้จ่า ยในการศึกษาขั้นพื้นฐานและการฝึ กอบรมให้ แ ก่


ผู้ต้องขัง รวมทั้งต้องจัดหาบรรดาเครื่องอุปกรณ์ในการศึกษาขั้นพื้นฐานและการอบรมให้แก่ผู้ต้องขัง เว้น
แต่ผู้ต้องขังจะนาอุปกรณ์ในการศึกษาของตนเองมาใช้และได้รับอนุญาตแล้ว
ในกรณีที่ผู้ต้องขังต้องการศึกษาขั้นสูงกว่าการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ต้องขังต้องเป็นผู้รับผิดชอบ
ค่าใช้จ่ายในการศึกษาดังกล่าวเอง โดยให้เรือนจาอานวยความสะดวกตามสมควร

มาตรา 45 ในกรณีที่เรือนจาใด มีผู้ต้องขังที่นับถือศาสนาเดียวกันเป็นจานวนมากพอสมควร


ให้เรือนจานั้น จัดหาภิกษุ นักบวช หรือผู้มีความรู้ หรื อผู้ปฏิบัติหน้า ที่อนุศ าสนาจารย์หรือผู้น าทาง
ศาสนาแห่งศาสนาที่ผู้ต้องขังนับถือ เพื่อสอนธรรมะ ให้คาแนะนาทางจิตใจ หรือ ประกอบศาสนกิจใน
เรือนจานั้นได้ โดยผู้ต้องขังทุกคนมีสิทธิเข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าว และมีสิทธิที่จะมีหนังสือธรรมะ หรือ
คู่มือพิธีกรรมของศาสนาที่ตนนับถือไว้ในครอบครองได้ ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามระเบียบกรมราชทัณฑ์

ระเบียบกรมราชทัณฑ์
ว่าด้วยการประกอบศาสนกิจของผู้ต้องขัง พ.ศ.2561
-----------------
เพื่อให้ การนั บ ถือศาสนาและการประกอบศาสนกิจของผู้ ต้องขังในเรือนจาเป็นไปด้วยความ
เรียบร้อยเหมาะสม อาศัยอานาจตามความในมาตรา 45 แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.2560
อธิบดีกรมราชทัณฑ์ จึงออกระเบียบไว้ดังร่อไปนี้
ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการประกอบศาสนกิจของผู้ต้องขัง พ.ศ.
2561”
ข้อ 2 ระเบียบให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป
ข้อ 3 บรรดาระเบียบ ข้ อบังคับ คาสั่ง ประกาศ หรือหนังสือสั่งการอื่นใด ซึ่งขัดหรือแย้งกับ
ระเบียบนี้ ให้ใช้ระเบียบนี้แทน
ข้อ 4 ให้เรือนจาจัดให้ผู้ต้องขังที่นับถือศาสนาพุ ทธไหว้พระสวดมนต์ในห้องขังหรือในสถานที่อื่น
ที่เห็นว่าเหมาะสมอย่างน้อยวันละหนึ่งครั้งตามเวลาที่เรือนจากาหนด
ในการไหว้พระสวดมนต์นั้น ให้จัดผู้ต้องขังที่สมควรเป็นผู้นาสวดเป็นประจาไว้หนึ่งคนสาหรับ
ขึ้นต้นบทและให้เจ้าพนักงานเรือนจาจัดให้ผู้ต้องขังนั้นนาสวดอยู่ด้านหน้า และผู้ต้องขังอื่นๆ ให้สวดมนต์
ทั่วถึงกันทุกคนด้วยความเป็นระเบียบและพร้อมเพรียงกันโดยเคร่งครัด
เมื่อเจ้าพนักงานเรือนจาผู้ควบคุมการสวดมนต์สั่งให้สวดและเมื่อเริ่มสวดแล้ว ห้ามผู้ต้องขังคนใด
ลุกออกจากบริเวณหรือจุดที่กาหนด เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานเรือนจาผู้ควบคุม
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 95

ข้อ 5 กรณีผู้ต้องขังที่นับถือศาสนาอื่น ให้ปฏิบัติตามวิธีการที่ศาสนานั้น ๆ กาหนดไว้ตามสมควร


โดยจัดให้ผู้ต้องขังคนหนึ่งคนใดเป็นผู้นาในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา และให้นาความในข้อ 4 มา
ใช้บังคับโดยอนุโลมแต่ต้องไม่ขัดต่อพิธีการของศาสนาดังกล่าว
การดาเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้เรือนจาอานวยความสะดวกแก่ผู้ต้องขังตามสมควร
ข้อ 6 ในกรณีที่มีผู้ต้องขังกาลังประกอบศาสนกิจตามศาสนาที่ตนนับถืออยู่นั้น ให้ผู้ต้องขังที่นับ
ถือศาสนาอื่นหรือไม่ได้นับถือศาสนาใดๆ อยู่ในความสารวมและห้ามกระทาการอันเป็นการรบกวนหรือ
สร้างความเดือดร้อนราคาญในระหว่างที่มีการประกอบศาสนกิจนั้น
ข้อ 7 ให้ เรื อนจ าจั ดหาภิก ษุ นักบวช ผู้ ปฏิบัติห น้าที่อนุศาสนาจารย์ห รื อผู้ นาทางศาสนาที่
ผู้ต้องขังนับถือ เพื่อสอนธรรมะ ให้คาแนะนาทางจิตใจ หรือประกอบศาสนกิจในเรือนจาแก่ผู้ต้องขัง ตาม
โอกาสและความเหมาะสม โดยเฉพาะในวันสาคัญของประเทศไทย วันสาคัญของแต่ละศาสนา หรือวัน
ส าคั ญ ของสถาบั น พระมหากษั ต ริ ย์ เช่ น วั น ขึ้ น ปี ใ หม่ วั น สงกรานต์ วั น มาฆบู ช า วั น วิ ส าขบู ช า วั น
อาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา วันคริสต์มาส วันตรุษอิดิ้ลฟิตริ วันเฉลิมพระชนมพรรษา วัน
ฉัตรมงคล
ในการประกอบศาสนกิจหรือพิธีกรรมตามวรรคหนึ่ง เรือนจาอาจพิจารณาในเรื่องเครื่องแต่งกาย
อาหารหรือเรื่องจาเป็นอื่น ๆ ตามหลักศาสนาของผู้ต้องขังที่จะเข้าร่วมพิธีหรือเข้าร่วมกิจกรรมนั้น ๆ
เท่าที่สามารถจะกระทาได้ตามความเหมาะสม ทั้งนี้โดยต้องไม่กระทบต่อความมั่นคงปลอดภัยของเรือนจา
หรือไม่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน
ข้อ 8 ให้เรือนจาพิจารณาอนุญาตให้ผู้ต้องขังครอบครองหนังสื อธรรมะหรือคู่มือพิธีกรรมของ
ศาสนาที่ตนนับถือได้
การครอบครองหนังสือธรรมะหรือคู่มือพิธีกรรมตามวรรคหนึ่ง ต้องไม่กระทบต่อการตรวจค้น
หรือมาตรการรักษาความปลอดภัยของเรือนจา
ข้อ 9 การประกอบศาสนกิจอื่นนอกจากที่กาหนดไว้ในระเบียบนี้ ให้เป็นไปตามที่กรมราชทัณฑ์
กาหนด
ข้อ 10 ให้อธิบดีกรมราชทัณฑ์รักษาการตามระเบียบนี้ และมีอานาจวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการ
ปฏิบัติตามระเบียบนี้
ประกาศ ณ วันที่ 30 เมษายน พ.ศ.2561
พันตารวจเอก ณรัชต์ เศวตนันทน์
อธิบดีกรมราชทัณฑ์

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


96 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

มาตรา 46 ภายใต้บังคับของบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาว่าด้วย
การอภัยโทษ การเปลี่ยนโทษหนักเป็นเบา และลดโทษ ผู้ต้องขังมีสิทธิที่จะยื่นคาร้องทุกข์หรือเรื่องราว
ใด ๆ ต่อเจ้าพนักงานเรือนจา ผู้บัญชาการเรือนจา อธิบดี รัฐมนตรี หรือหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง
หรือทูลเกล้าฯ ถวายฎีกาต่อพระมหากษัตริย์ได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดใน
กฎกระทรวง

กฎกระทรวง
การร้องทุกข์ การยื่นเรื่องราวใด ๆ หรือการทูลเกล้าฯ ถวายฎีกาของผู้ต้องขัง พ.ศ. ๒๕๖๓
(ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๗ ตอนที่ ๘๔ ก ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๖๓)
-----------------------
อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๗ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๔๖ แห่งพระราชบัญญัติ
ราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้ยกเลิกหมวด ๖ การร้องทุกข์ ยื่นเรื่องราว และถวายฎีกาของผู้ต้องขัง ของ
ส่วนที่ ๗ วินัยของผู้ต้องขัง ข้อ ๑๒๐ ข้อ ๑๒๑ ข้อ ๑๒๒ ข้อ ๑๒๓ ข้อ ๑๒๔ ข้อ ๑๒๕ และข้อ
๑๒๖ แห่ ง กฎกระทรวงมหาดไทยออกตามความในมาตรา ๕๘ แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ ร าชทั ณ ฑ์
พุทธศักราช ๒๔๗๙
ข้ อ ๒ ผู้ ต้ อ งขั ง มี สิ ท ธิ ยื่ น ค าร้ อ งทุ ก ข์ ห รื อ เรื่ อ งราวใด ๆ ต่ อ เจ้ า พนั ก งานเรื อ นจ า
ผู้บัญชาการเรือนจา อธิบดี รัฐมนตรี หรือหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง หรือทูลเกล้าฯ ถวายฎีกาต่อ
พระมหากษัตริย์ การดาเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้ยื่นต่อเจ้าพนักงานเรือนจาหรือสถานที่ที่เรือนจาจัดไว้
เพื่อดาเนินการจัดส่งไปยังบุคคลหรือหน่วยงานที่ผู้ต้องขังประสงค์ก็ได้
ข้อ ๓ ผู้ต้องขังจะยื่นคาร้องทุกข์ด้วยวาจาหรือโดยทาเป็นหนังสือก็ได้ ถ้ากระทาด้วย
วาจา ให้เจ้าพนักงานเรือนจาซึ่งรับคาร้องทุกข์เป็นผู้บันทึกคาร้องทุกข์ในบันทึกคาร้องทุกข์หรือหนังสือ
ร้องทุกข์นั้นต้องลงลายมือชื่อผู้ร้องทุกข์และเจ้าพนักงานเรือนจาซึ่งรับคาร้องทุกข์ด้วย
ข้ อ ๔ การเขี ย นหนั ง สื อ ร้ อ งทุ ก ข์ ห รื อ เรื่ อ งราวใด ๆ หรื อ การทู ล เกล้ า ฯ ถวายฎี กา
ผู้ต้องขัง ต้องเขียนด้วยตนเอง เว้นแต่ไม่สามารถเขียนด้วยตนเองได้ ให้เจ้าพนักงานเรือนจาพิจารณา
ให้ความช่วยเหลือตามความประสงค์ของผู้ต้องขัง ในกรณีที่ผู้ต้องขังไม่สามารถจัดหาเครื่องเขียนส่ว นตัว
ได้ ให้เจ้าพนักงานเรือนจาจัดหาให้ การเขียนหนังสือร้องทุกข์หรือเรื่องราวใด ๆ หรือการทูลเกล้าฯ
ถวายฎีกา ตามวรรคหนึ่ง ผู้ต้องขังต้องเขียนในสถานที่ที่เรือนจาจัดให้
ข้อ ๕ เมื่อเจ้าพนักงานเรือนจาได้รับคาร้องทุกข์หรือเรื่องราวใด ๆ หรือฎีกา ที่ทูลเกล้าฯ
ถวายแล้ว ให้เจ้าพนักงานเรือนจาซึ่งได้รับมอบหมายตรวจดูข้อความและตรวจสอบข้อเท็จจริง แล้วทา
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 97

ความเห็นเสนอผู้บัญชาการเรือนจา พร้อมกับแนวทางการแก้ไขหรือการให้ความช่วยเหลือ เว้นแต่เป็น


การทูลเกล้าฯ ถวายฎีกา ให้ส่งหนังสือไปยังอธิบดีเพื่อดาเนินการต่อไป
ข้อ ๖ คาสั่งหรือคาชี้แจงตอบคาร้องทุกข์หรือเรื่องราวใด ๆ หรือการทูลเกล้าฯ ถวาย
ฎีกา ต้องแจ้งให้ผู้ต้องขังซึ่งยื่นคาร้องทุกข์หรือเรื่องราวใด ๆ หรือทูลเกล้าฯ ถวายฎีกาทราบ และให้
ผู้ต้องขัง คนนั้นลงลายมือชื่อรับทราบไว้เป็นหลักฐาน
ให้ไว้ ณ วันที่ 25 กันยายน พ.ศ. ๒๕๖3
สมศักดิ์ เทพสุทิน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๔๖ แห่งพระราชบัญญัติ
ราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ บัญญัติว่า ผู้ต้องขังมีสิทธิที่จะยื่นคาร้องทุกข์หรือเรื่องราวใด ๆ ต่อเจ้าพนักงาน
เรือนจา ผู้บัญชาการเรือนจา อธิบดี รัฐมนตรี หรือหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง หรือทูลเกล้าฯ ถวาย
ฎีกา ต่อพระมหากษัตริย์ได้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง จึงจาเป็นต้อง
ออก กฎกระทรวงนี้

สิทธิร้องเรียนเมื่อถูกละเมิดทางเพศจาก จพง.เรือนจา
มาตรา 47 ผู้ต้องขังมีสิทธิร้องเรียนเกี่ยวกับการถูกล่วงละเมิดทางเพศจากการปฏิบัติหน้าที่
โดยมิชอบของเจ้าพนักงานของเรือนจาได้ โดยให้ได้รับความคุ้มครองและให้คาปรึกษาในทันที รวมทั้ง
คาร้ องดัง กล่ าวต้ องรั ก ษาเป็ น ความลั บ และได้ รั บ การไต่ ส วนชี้ ข าดโดยพนั ก งานอั ย การ ทั้งนี้ ตาม
หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง
ในกรณีตามวรรคหนึ่ง หากผู้ต้องขังซึ่งเป็นหญิงและตั้งครรภ์ให้นาบทบัญญัติมาตรา 59 มาใช้
บังคับด้วยโดยอนุโลม

กฎกระทรวง
การปฏิบัติต่อผู้ตอ้ งขังซึ่งถูกล่วงละเมิดทางเพศ พ.ศ. ๒๕๖๓
(ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๗ ตอนที่ ๘๔ ก ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๖๓)
---------------------
อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๗ วรรคหนึ่ง มาตรา ๔๗ วรรคหนึ่ง และมาตรา
๕๙ แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมออกกฎกระทรวงไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ผู้ต้องขังซึ่งถูกล่วงละเมิดทางเพศ ได้แก่

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


98 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

(๑) ผู้ต้องขังซึ่งถูกล่วงละเมิดทางเพศจากการปฏิบัติหน้าที่ โดยมิชอบของเจ้าพนักงาน


เรือนจา
(๒) ผู้ต้องขังหญิงซึ่งถูกล่วงละเมิดทางเพศก่อนกรมราชทัณฑ์รับตัวไว้ ไม่ว่าจะมีการ
ตั้งครรภ์ หรือไม่ก็ตาม
ข้อ ๒ ในกรณีที่ผู้ต้องขังถูกล่วงละเมิดทางเพศจากการปฏิบัติหน้าที่ โดยมิชอบของ เจ้า
พนักงานเรือนจาตามข้อ ๑ (๑) ให้ร้องเรียนต่อผู้ บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปชั้นหนึ่งของเจ้าพนั กงาน
เรือนจาคนนั้น
การล่วงละเมิดทางเพศตามวรรคหนึ่ง ให้หมายความเฉพาะกรณีที่เจ้าพนักงานเรือนจา
กระทา การล่วงละเมิดทางเพศต่อผู้ต้องขังโดยตรงในการกระทาความผิดเกี่ยวกับเพศ ตามมาตรา ๒๗๖
มาตรา ๒๗๗ มาตรา ๒๗๘ มาตรา ๒๗๙ มาตรา ๒๘๒ มาตรา ๒๘๓ มาตรา ๒๘๓ ทวิ และ
มาตรา ๒๘๔ แห่งประมวลกฎหมายอาญา
ข้อ ๓ ผู้ต้องขังตามข้อ ๑ (๑) จะร้องเรียนด้ วยวาจาหรือโดยทาเป็นหนังสือก็ได้ ถ้า
กระทาด้วยวาจา ให้ผู้บัญชาการเรือนจาหรือผู้ได้รับมอบหมายซึ่งมิใช่ผู้ถูกกล่าวหาเป็นผู้บันทึกคาร้อง
ในคาร้องให้ระบุตัวเจ้าพนักงานเรือนจาผู้กระทาละเมิด พฤติการณ์แห่งการล่วงละเมิด
และความเสียหายที่ได้รับเท่าที่จะสามารถระบุได้
การดาเนินการตามข้อนี้ให้รักษาเป็นความลับ
ข้อ ๔ เมื่อผู้บัญชาการเรือนจาหรื อผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปชั้นหนึ่งของเจ้าพนักงาน
เรือนจา ซึ่งถูกกล่าวหาว่ากระทาการล่วงละเมิดทางเพศต่อผู้ต้ องขังทราบข้อร้องเรียน หรือได้รับคาร้อง
ตามข้อ ๓ แล้ว ให้ดาเนินการ ดังต่อไปนี้
(๑) จัดแพทย์ พยาบาล หรือเจ้าพนักงานเรือนจาซึ่งผ่านการอบรมด้านการพยาบาล
ทาการตรวจร่ างกายผู้ ต้องขั งคนนั้ น เพื่อหาร่องรอยการกระทาผิ ดและเก็บรวบรวมพยานหลั กฐาน
โดยเร็วเท่าที่จะกระทาได้ และรายงานไปยังผู้บัญชาการเรือนจาหรือผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปชั้นหนึ่ง
ของเจ้าพนักงานเรือนจานั้น ในกรณีที่ไม่สามารถดาเนินการได้ ให้ส่งตัวผู้ต้องขังออกไปรับการตรวจ
ที่โ รงพยาบาลภายนอก ในกรณีการตรวจร่างกายผู้ ต้ องขังหญิง ถ้าไม่ใช่แพทย์ห รื อ พยาบาล ให้ เจ้า
พนั กงานเรื อนจ าหญิ งซึ่งผ่ านการอบรมด้านการพยาบาลทาการตรวจร่างกาย ทั้ งนี้ ผู้ ต้องขังหญิ ง
จะขอให้นาบุคคลใดในเรือนจามาอยู่ร่วมในการตรวจด้วยก็ได้
(๒) จั ดให้ ผู้ ต้องขังได้พบนักจิตวิ ทยาหรื อนักสั งคมสงเคราะห์ โ ดยทัน ที ในกรณี ที่ มี
เหตุขัดข้อง ทาให้ไม่สามารถดาเนินการได้ ให้เจ้าพนักงานเรือนจาให้คาปรึกษาในเบื้องต้นก่อน
ข้อ ๕ เมื่อผู้บัญชาการเรือนจาหรื อผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้ นไปชั้นหนึ่ งของเจ้าพนักงาน
เรือนจา ซึ่งถูกกล่าวหาว่ากระทาการล่วงละเมิดทางเพศต่อผู้ต้องขังได้รับรายงานเกี่ยวกับการล่วงละเมิด
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 99

ทางเพศ ต่อผู้ต้องขังตามข้อ ๔ (๑) แล้วให้ตรวจสอบข้อเท็ จจริง และให้ผู้บัญชาการเรือนจารายงาน


อธิบดี เพื่อส่งเรื่องให้พนักงานอัยการพิจารณาไต่สวนชี้ขาด
ในระหว่างนี้ หากผู้บัญชาการเรือนจาเห็นว่ามีความจาเป็นที่จะต้องคุ้มครองผู้ต้องขัง
ซึ่งถูกล่วงละเมิดทางเพศหรือพยาน ให้จัดมาตรการรักษาความปลอดภัยตามความเหมาะสม และให้เจ้า
พนั ก งาน เรื อ นจ าซึ่ ง ถู ก ร้ อ งเรี ย นไปท าหน้ า ที่ อื่ น เพื่ อ ป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ เ ข้ า ไปเกี่ ย วข้ อ งหรื อ ยุ่ ง เหยิ ง กั บ
พยานหลักฐาน
ข้อ ๖ ในกรณีที่มีผู้ต้องขังหญิงซึ่งตั้งครรภ์เนื่องจากการถู กล่วงละเมิดทางเพศจากการ
ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ โ ดยมิ ช อบของเจ้ า พนั ก งานเรื อ นจ า ตามข้ อ ๑ (๑) ให้ ผู้ บั ญ ชาการเรื อ นจ าจั ด แพทย์
พยาบาล หรือเจ้าพนักงานเรือนจาซึ่งผ่านการอบรมด้านการพยาบาลให้คาแนะนา หรือคาปรึกษา ดูแล
สุขภาพ ทางกายและทางจิต และติดตามอาการอย่างใกล้ชิด โดยอาจแยกคุมขังผู้ต้องขังหญิงคนนั้นไว้ที่
สถานพยาบาลก็ได้
ข้อ ๗ ในกรณีที่มีผู้ต้องขังหญิงซึ่งถูกล่วงละเมิดทางเพศก่อนที่กรมราชทัณฑ์ จะรับตัวไว้
ไม่ว่าจะมีการตั้งครรภ์หรือไม่ก็ตามตามข้อ ๑ (๒) ให้แจ้งด้วยวาจาหรือทาเป็นหนังสือยื่นต่อผู้บัญชาการ
เรือนจาเพื่อขอรับความช่วยเหลือในการดาเนินการ ดังต่อไปนี้
(๑) จัดแพทย์ พยาบาล หรือเจ้าพนักงานเรือนจาซึ่งผ่านการอบรมด้านการพยาบาล
ให้คาแนะนาหรือคาปรึกษาเกี่ยวกับการดูแลและการฟื้นฟูสุขภาพทางกาย
(๒) จัดนักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห์เข้าพบปะพูดคุย รวมทั้งให้คาแนะนาหรือ
คาปรึกษาเกี่ยวกับการดูแลและการฟื้นฟูสุขภาพทางจิต
(๓) จั ดเจ้ าพนั กงานเรือนจาให้ คาปรึกษาในเบื้องต้นเกี่ยวกับการให้ ความช่วยเหลือ
ด้านกฎหมาย สอบถามข้อเท็จจริง หรือขอรับความช่วยเหลือจากหน่ว ยงานที่มีหน้าที่เพื่อให้ มี การ
ดาเนินการทางกฎหมายต่อไป การดาเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้นาความในข้อ ๔ และข้อ ๖ มาใช้บังคับ
ด้วยโดยอนุโลม
ให้ไว้ ณ วันที่ 25 กันยายน พ.ศ. ๒๕๖3
สมศักดิ์ เทพสุทิน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
หมายเหตุ :- เหตุผ ลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๔๗ วรรคหนึ่ง แห่ ง
พระราชบัญญัติ ราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ บัญญัติว่า ผู้ต้องขังมีสิทธิร้องเรียนเกี่ยวกับการถูกล่วงละเมิดทาง
เพศจากการปฏิบั ติ หน้ าที่ โ ดยมิช อบของเจ้าพนักงานเรือนจาได้ โดยให้ ได้รับความคุ้มครองและให้
คาปรึกษาในทันที รวมทั้งคาร้อง ดังกล่าวต้องรักษาเป็นความลับและได้รับการไต่สวนชี้ขาดโดยพนักงาน
อัยการ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง และมาตรา ๕๙ แห่ง

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


100 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ บัญญัติว่า ผู้ต้องขังหญิงซึ่งถูกล่วงละเมิดทางเพศ โดยเฉพาะผู้


ที่ตั้งครรภ์จากการถูกล่วงละเมิดดังกล่าว ต้องได้รั บคาแนะนา หรือคาปรึกษาทางการแพทย์ที่เหมาะสม
และต้องได้รับการสนับสนุนการดูแลสุขภาพทางกายและทางจิต ตามความจาเป็น รวมทั้งการให้ความ
ช่วยเหลือด้านกฎหมายด้วย ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ที่กาหนดในกฎกระทรวง จึง
จาเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

การทางานของผู้ต้องขัง
ส่วนที่ 2
หน้าที่และการงานของผู้ต้องขัง
-----------------------------
มาตรา 48 ผู้ต้องขังมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามคาสั่งของเจ้าพนักงานเรือนจา ข้อบังคับเรือนจา
และระเบียบกรมราชทัณฑ์
เจ้าพนักงานเรือนจามีอานาจสั่งให้ผู้ต้องขังทางานอย่างหนึ่งอย่างใดในเรือนจา ดังต่อไปนี้
(1) ทางานสาธารณะ
(2) ทางานรักษาความสะอาดหรืองานสุขาภิบาลของเรือนจา
(3) ทางานบารุงรักษาเรือนจา
(4) ทางานอื่นใดเพื่อประโยชน์ของทางราชการ
การทางานของผู้ต้องขังตามวรรคสอง ต้องสอดคล้องกับการจาแนกลักษณะและการจัดแยกคุม
ขังผู้ ต้องขังตามมาตรา 31 โดยให้ เรื อนจาจัดงานให้ เหมาะสมกับความพร้อมด้านร่างกายและจิตใจ
กาหนดเวลาทางานและวันหยุดประจาสัปดาห์ กาหนดมาตรการเพื่อคุ้มครองรักษาความปลอดภัยและ
สุขภาพให้แก่ผู้ต้องขัง และลักษณะของงานสาธารณะ ทั้งนี้ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข
ตามที่กาหนดในระเบียบกรมราชทัณฑ์
มาตรา 49 เจ้าพนักงานเรือนจาอาจสั่งให้นักโทษเด็ดขาดออกไปทางานสาธารณะหรือทางานอื่น
ใดเพื่อประโยชน์ของทางราชการตามมาตรา 48 นอกเรือนจาได้ โดยให้เป็นไปตามระเบียบกรมราชทัณฑ์
ให้คณะกรรมการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาคัดเลือกนักโทษเด็ดขาดที่จะสั่งให้ออกไป
ทางานสาธารณะหรือทางานอื่นใดเพื่อประโยชน์ของทางราชการตามมาตรา 48 นอกเรือนจา
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 101

ระเบียบกรมราชทัณฑ์
ว่าด้วยการส่งนักโทษเด็ดขาดออกไปทางานสาธารณะ
หรือทางานอื่นใดเพื่อเป็นประโยชน์ของทางราชการนอกเรือนจา พ.ศ. ๒๕๖๓
--------------------------

เพื่อให้การส่งนักโทษเด็ดขาดออกไปทางานสาธารณะหรือทางานอื่นใดเพื่อเป็นประโยชน์ทาง
ราชการนอกเรื อนจ า เป็ น ไปด้ว ยความเรียบร้อยและบังเกิดผลดีแก่ทางราชการตามพระราชบัญญัติ
ราชทัณฑ์ พ.ศ.๒๕๖๐ และกฎกระทรวง กาหนดประโยชน์ของนักโทษเด็ดขาด และเงื่อนไขที่นักโทษ
เด็ดขาดซึ่งได้รับการลดวันต้องโทษจาคุกหรือพักการลงโทษและได้รับการปล่อยตัวต้องปฏิบัติ พ.ศ.๒๕๖๒
อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๓๔ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙ แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.
๒๕๖๐ อธิบดีกรมราชทัณฑ์จึงวางระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกรมราชทัณฑ์ ว่ าด้วยการส่งนักโทษเด็ดขาดออกไปทางาน
สาธารณะหรือทางานอื่นใดเพื่อประโยชน์ของทางราชการนอกเรือนจา พ.ศ.๒๕๖๓”
ข้อ ๒ ระเบียบนี้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิก
(1) ระเบียบกรมราชทัณฑ์ ว่าด้วยการส่งนักโทษเด็ดขาดออกไปทางานสาธารณะหรือทางานอื่ น
ใดเพื่อประโยชน์ของทางราชการนอกเรือนจา พ.ศ.๒๕๖๑
(2) ระเบียบกรมราชทัณฑ์ ว่าด้วยการส่งนักโทษเด็ดขาดออกไปทางานสาธารณะหรือทางานอื่น
ใดเพื่อประโยชน์ของทางราชการนอกเรือนจา พ.ศ.๒๕๖๑ (ฉบับที่ ๒)
ข้อ ๔ ให้อธิบดีกรมราชทัณฑ์รักษาการตามระเบียบนี้ และมีอานาจวินิจฉัยปั ญหาเกี่ยวกับการ
ปฏิบัติตามระเบียบนี้
บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ คาสั่ง ประกาศหรือหนังสือสั่งการใด ซึ่งขัดหรือแย้งกับระเบียบนี้ ให้ใช้
ระเบียบนี้แทน
หมวด ๑
คุณสมบัติของนักโทษเด็ดขาดออกทางานสาธารณะ
หรือทางานอื่นใดเพื่อประโยชน์ของทางราชการนอกเรือนจา
ข้อ ๕ นักโทษเด็ดขาดชั้นกลางขึ้นไปที่ศาลมีคาพิพากษาลงโทษจาคุกไม่เกินสามปี และต้องโทษ
จ าคุกเพีย งคดีเดีย วอาจได้รั บ การพิจ ารณาคัดเลือกให้ ออกไปทางานสาธารณะหรือทางานอื่นใดเพื่อ
ประโยชน์ของทางราชการนอกเรือนจาได้ ต้องได้รับโทษจาคุกมาแล้วไม่น้อยกว่าหนึ่งในสี่ของกาหนดโทษ
ทีร่ ะบุไว้ในหมายแจ้งโทษเด็ดขาดหรือตามคาสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายให้ลงโทษ หากมีการพระราชทานอภัย
โทษหรือลดโทษ ให้ถือเอากาหนดโทษตามหมายแจ้งโทษเด็ดขาดหรือคาสั่งให้ลดโทษฉบับหลังสุด

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


102 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ข้อ ๖ นักโทษเด็ด ขาดนอกจากข้อ ๕ ซึ่งเหลือโทษจาคุกไม่เกินห้ าปี อาจได้รับการพิจ ารณา


คัดเลือกให้ออกไปทางานสาธารณะหรือทางานอื่นใดเพื่อประโยชน์ ของทางราชการนอกเรือนจาได้ ต้องมี
คุณสมบัติดังต่อไปนี้
(1) ชั้นเยี่ยม ต้องได้รับโทษจาคุกมาแล้วไม่น้อยกว่า หนึ่งในห้าของกาหนดโทษที่ระบุไว้ในหมาย
แจ้งโทษเด็ดขาดหรือตามคาสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายให้ลงโทษ
(2) ชั้นดีมาก ต้องได้รับโทษจาคุกมาแล้วไม่น้อยกว่า หนึ่งในสี่ของกาหนดโทษที่ระบุไว้ในหมาย
แจ้งโทษเด็ดขาดหรือตามคาสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายให้ลงโทษ
(3) ชั้นดี ต้องได้รับโทษจาคุกมาแล้วไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของกาหนดโทษที่ระบุไว้ในหมาย
แจ้งโทษเด็ดขาดหรือตามคาสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายให้ลงโทษ
(1) ชั้นกลาง ต้องได้รับโทษจาคุกมาแล้วไม่น้อยกว่า หนึ่งในสองของกาหนดโทษที่ระบุไว้ใน
หมายแจ้งโทษเด็ดขาดหรือตามคาสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายให้ลงโทษ
ในกรณีตาม (๑) (๒) (๓) และ (๔) ถ้ามีการพระราชทานอภัยโทษหรือลดโทษ ให้ถือกาหนดโทษ
ตามหมายแจ้งโทษเด็ดขาดหรือตามคาสั่งลดโทษฉบับหลังสุด
ข้อ ๗ นักโทษเด็ดขาดคดียาเสพติดนอกจากข้อ ๕ อาจได้รับ การพิจารณาคัดเลือกให้ออกไป
ทางานสาธารณะหรือทางานอื่นใดเพื่อประโยชน์ของทางราชการนอกเรือนจาตามข้อ ๖ ได้ตามหลักเกณฑ์
และเงื่อนไขดังต่อไปนี้
(๑) ต้องโทษจาคุกครั้งแรก โดยพิจารณาจากหมายจาคุกไม่ได้มีการเพิ่มโทษตามมาตรา ๙๒
มาตรา ๙๓ แห่งประมวลกฎหมายอาญา และมาตรา ๙๗ แห่งพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ
(๒) ผลการตรวจสอบจากสานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ไม่เข้าข่าย
เป็นผู้กระทาผิดรายสาคัญ
(๓) กาหนดโทษตามคาพิพากษาไม่เกิน ๑๕ ปี ไม่กระทาผิดฐานผลิต นาเข้าหรือส่งออกยาเสพติด
และมียาเสพติดของกลางไม่เกินจานวนที่กาหนด ดังนี้
-เฮโรอีน น้าหนัก ไม่เกิน ๒๐ กรัม
-ไอซ์ น้าหนัก ไม่เกิน ๒๐ กรัม
-เมทแอมเฟตามีน ไม่เกิน ๒,๐๐๐ เม็ด
-ยาอีหรือเอ็คซ์ตาซี ไม่เกิน ๑๐๐ เม็ด หรือน้าหนัก ไม่เกิน ๒๐ กรัม
-ยาแอลเอสดี ไม่เกิน ๑๐๐ เม็ด หรือน้าหนัก ไม่เกิน ๒๐ กรัม
-ยาเลิฟ ไม่เกิน ๑๐๐ เม็ด หรือน้าหนัก ไม่เกิน ๒๐ กรัม
-ฝิ่น น้าหนัก ไม่เกิน ๑๐๐ กรัม
-มอร์ฟีน น้าหนัก ไม่เกิน ๑๐๐ กรัม
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 103

-โคคาอีน น้าหนัก ไม่เกิน ๑๐๐ กรัม


-คีตามีน น้าหนัก ไม่เกิน ๑๐๐ กรัม
ข้อ ๘ นักโทษเด็ดขาดซึ่งต้องโทษในลักษณะความผิดดังต่อไปนี้ไม่อยู่ในข่ายได้รับการพิจารณา
คัดเลือกให้ออกทางานสาธารณะหรือทางานอื่นใดเพื่อประโยชน์ของทางราชการนอกเรือนจา
(๑) ความผิ ด เกี่ย วกับ ความมั่นคงแห่ งราชอาณาจักร และความผิ ดต่อความสั มพันธไมตรีกับ
ต่างประเทศ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๐๗ – มาตร ๑๓๕
(๒) ความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๓๕/๑ - มาตรา
๑๓๕/๔
(๓) ความผิดเกี่ยวกับเพศ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๗๖ วรรคสาม มาตรา ๒๗๗
มาตรา ๒๗๗ ทวิ มาตรา ๒๗๗ ตรี มาตรา ๒๘๐ มาตรา ๒๘๒ และมาตรา ๒๘๓
(๔) ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการกู้ยืมที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน
(๕) นักโทษเด็ดขาดที่มีคู่คดีอยู่ในเรือนจาเดียวกัน
(๖) อยู่ระหว่างถูกอายัดตัวเพื่อดาเนินคดีอื่น
(๗) อยู่ระหว่างดาเนินการทางวินัยหรือเคยถูกลงโทษทางวินัยในระยะเวลาหนึ่งปีที่ผ่านมา
(๘) มีพฤติการณ์เข้าข่ายนักโทษเด็ดขาดรายสาคัญที่เป็นเครือข่ายค้ายาเสพติดรายใหญ่ หรือ
โทรศัพท์มือถือในเรือนจา (Big Name) หรือเป็นนักโทษเด็ดขาดที่กระทาความผิดในคดีเป็นที่สนใจของ
สังคม (Brand Name) หรือนักโทษเด็ดขาดที่ต้องเฝ้าระวังการก่ออาชญากรรมสะเทือนขวัญหรือเป็นภัย
ต่อสังคม (Watch List)
(๙) มีโทษกักขังต่อจากโทษจาคุก
(๑๐) อยู่ระหว่างถูกดาเนินคดีอาญาอื่นหรือกระทาผิดอาญาขณะถูกคุมขังในเรือนจา
(๑๑) มีพฤติการณ์ที่แสดงให้เห็นว่า เมื่อจ่ายออกไปแล้วอาจจะหลบหนี หรือก่อให้เกิดความ
เสียหายแก่ราชการ
(๑๒) ความผิดอื่นตามที่อธิบดีกาหนด

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


104 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

หมวด ๒
การพิจารณาคัดเลือกนักโทษเด็ดขาดที่จะสั่งให้ออกไปทางานสาธารณะ
หรือทางานอื่นใดเพื่อประโยชน์ของทางราชการนอกเรือนจา
ข้อ ๙ ให้มีคณะอนุกรรมการพิจารณาคัดเลือกนักโทษเด็ดขาดที่จะสั่งให้ออกไปทางานสาธารณะ
หรือทางานอื่นใดเพื่อประโยชน์ของทางราชการนอกเรือนจา โดยมีอธิบดีกรมราชทัณฑ์หรือรองอธิบดีกรม
ราชทั ณ ฑ์ ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจากอธิ บ ดี ก รมราชทั ณ ฑ์ เ ป็ น ประธาน ผู้ อ านวยการ กองทั ณ ฑปฏิ บั ติ
ผู้อานวยการกลุ่มงานสาธารณะและงานนอกเรือนจา ผู้อานวยการกลุ่มงานส่งเสริมการจาแนกลักษณะ
ผู้ ต้ อ งขั ง กองทั ณ ฑปฏิ บั ติ เ ป็ น อนุ ก รรมการ และหั ว หน้ า ฝ่ า ยสาธารณะและงานนอกเรื อ นจ า เป็ น
อนุกรรมการและเลขานุการ
การประชุมคณะอนุ กรรมการ ต้องมีอนุกรรมการมาประชุมไม่น้ อยกว่ากึ่งหนึ่ง การให้ ความ
เห็นชอบของคณะอนุกรรมการให้ถือเสียงข้างมาก อนุกรรมการคนหนึ่งให้มีหนึ่งเสียงในการลงคะแนน ถ้า
คะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานที่ประชุมออกเสียงเพิ่มอีกหนึ่งเสียงเป็นเสียงชี้ขาด
ข้อ ๑๐ การส่งนักโทษเด็ดขาดออกไปทางานสาธารณะหรือทางานอื่นใดเพื่ อประโยชน์ของทาง
ราชการนอกเรือนจา ให้ผู้บัญชาการเรือนจาตั้งคณะทางานไม่น้อยกว่า ๓ คน ทาหน้าที่คัดเลือกนักโทษ
เด็ดขาดที่มีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่กาหนด เพื่อเสนอให้คณะอนุกรรมการตามข้อ ๙ เพื่อพิจารณาอนุมัติ
ต่อไป
ให้นาความในข้อ ๙ วรรคสอง มาใช้บังคับกับการประชุมของคณะทางานโดยอนุโลม
ข้อ ๑๑ การพิจารณาคัดเลือกนักโทษเด็ดขาดออกไปทางานสาธารณะหรือทางานอื่นใดเพื่ อ
ประโยชน์ของทางราชการนอกเรือนจา ต้องพิจารณาถึงพฤติการณ์การกระทาผิด ลักษณะความผิด
ความรุนแรงของคดีและการกระทาความผิดที่ได้กระทามาก่อนแล้ว รวมทั้งให้คานึงถึงอายุ ประวัติ ความ
ประพฤติ สติปัญญา การศึกษาอบรม สุขภาพ หรือความแข็งแรงของร่างกาย ภาวะแห่งจิต นิสัย อาชีพ
สิ่งแวดล้อม ฝีมือหรือความรู้ความชานาญในงาน สภาพแห่งความผิด และสภาพของท้องถิ่น ว่าสมควร
ออกไปทางานนั้นหรือไม่
ข้อ 1๒ ก่อนส่งนักโทษเด็ดขาดออกไปทางานสาธารณะนอกเรือนจา หรือทางานอื่นใดเพื่อ
ประโยชน์ของทางราชการนอกเรือนจา ให้เรือนจาเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติอธิบดีกรมราชทัณฑ์ ตาม
แบบประมาณการดาเนินงานที่กรมราชทัณฑ์กาหนด เว้นแต่เป็นโครงการหรือกิจกรรมที่กรมราชทัณฑ์สั่ง
ให้เรือนจาดาเนินการ
ข้อ ๑๓ นักโทษเด็ดขาดที่ได้รับการพิจารณาคัดเลือกให้ออกไปทางานสาธารณะหรือทางานอื่นใด
เพื่อประโยชน์ของทางราชการนอกเรือนจาแล้ว หากปรากฏพฤติการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ให้เจ้า
พนักงานเรือนจาผู้ทาหน้าที่ควบคุมรายงานให้ผู้บัญชาการเรือนจาทราบ เพื่อสั่งงดการส่งออกทางานและ
รายงานให้กรมราชทัณฑ์ทราบ
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 105

(1) สมคบกับผู้อื่นก่อความไม่สงบเรียบร้อยขึ้น
(2) ทาร้ายหรือพยายามทาร้ายเจ้าพนักงานเรือนจาหรือผู้อื่น
(3) พยายามหลบหนีหรือมีเหตุอันน่าเชื่อว่าจะหลบหนี
(4) ขัดคาสั่งซึ่งหน้าของเจ้าพนักงานเรือนจา
(5) จงใจก่อความเสียหายให้แก่ผู้อื่นหรือกิจการของเรือนจาและเกิดความเสียหายขึ้น
(6) กระทาความผิดเกี่ยวกับสิ่งของต้องห้าม
(7) มีพฤติการณ์แสดงให้เห็นถึงความเกียจคร้าน ไม่ตั้งใจทางานหรือจงใจหลีกเลี่ยงการทางาน
(8) เสพยาเสพติดให้โทษ
ข้อ ๑๔ เพื่อประโยชน์ในการป้องกันบันเทาสาธารณภัยหรือกรณีมีเหตุฉุกเฉิน และเมื่อได้รับการ
ร้องขอหรือผู้บัญชาการเห็นสมควร ให้เรือนจารายงานขออนุมัติส่งนักโทษเด็ดขาดที่ได้รับการคัดเลือก
ตามข้อ ๑๐ ออกไปช่วยเหลือหรือป้องกันบรรเทาสาธารณภัยนั้น โดยทางโทรสารหรือวิธีการสื่อสารอื่น
โดยเร็ว ทั้งนี้มติ ้องจัดทาโครงการเสนอเพื่อขออนุมัติจากอธิบดีกรมราชทัณฑ์ แต่หลังจากเสร็จสิ้นภารกิจ
ให้สรุปผลและรายงานให้กรมราชทัณฑ์ทราบ
หมวด ๓
การควบคุม
ข้อ ๑๕ การส่งนักโทษเด็ดขาดออกไปทางานสาธารณะ หรือทางานอื่นใดเพื่อประโยชน์ของทาง
ราชการนอกเรือนจา ให้ส่งออกจากเรือนจาได้ ตั้งแต่เวลา ๐๖.๐๐ น. และให้นากลับเข้าเรือนจาไม่เกิน
เวลา ๑๘.๐๐ น.
กรณีมีเหตุจาเป็นอันเนื่องมาจากสภาพของงานที่ให้นักโทษเด็ดขาดออกไปทางานนอกเรือนจาไม่
สามารถนานักโทษเด็ดขาดกลับเข้าเรือนจาภายในกาหนดเวลาตามวรรคหนึ่งให้เสนออธิบดีพิจารณา
อนุมัติ
ข้อ ๑๖ นักโทษเด็ดขาดที่ส่งออกไปทางานสาธารณะหรือทางานอื่นใดเพื่อประโยชน์ของทาง
ราชการนอกเรือนจา ให้ปฏิบัติตนดังต่อไปนี้
(๑) ต้องตัดผมตามแบบที่ทางราชการกาหนดไว้
(๒) ต้องแต่งกายตามแบบที่ทางราชการจ่ายให้ และห้ามมิให้นักโทษเด็ดขาดที่ส่งออกไปทางาน
สาธารณะหรืองานอื่นใดเพื่อประโยชน์ของทางราชการ ใช้เครื่องแต่งกายส่วนตัวนอกจากเครื่องแต่งกายที่
ทางราชการจ่ายให้เท่านั้น
(๓) ต้องไม่มีสิ่งของส่วนตัวใดๆติดตัวออกไป หรือต้องไม่รับฝากเงินหรือสิ่งของใดๆจากบุคคลอื่น
ติดตัวออกไปเป็นอันขาด เว้นแต่สิ่งของจาเป็นที่ใช้ประจาวัน

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


106 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

(4) ในเวลาส่งตัวกลับคืนเรือนจา ให้มีสิ่งของติดตัวเข้าไปได้เฉพาะที่นาติดตัวออกไปเท่านั้น


ข้อที่ 17 เมื่อมีการส่งนักโทษเด็ดขาดออกไปทางานสาธารณะหรือทางานอื่นใดเพื่อประโยชน์
ของทางราชการนอกเรือนจา ให้ผู้บัญชาการเรือนจาแต่งตั้งเจ้าพนักงานเรือนจาหนึ่งคนทาหน้าที่เป็น
หัวหน้าควบคุม โดยให้มีอานาจและหน้าที่รับผิดชอบบังคับบัญชาเหนือเจ้าพนักงานและนักโทษเด็ดขาดที่
ส่งออกไปทางานดังกล่าวนั้น และให้จัดให้มีผู้ควบคุมในอัตราส่วนตามความเหมาะสม โดยพิจารณาแล้ว
เห็นว่าจาเป็นและน่าจะไม่มีการหลบหนีหรือก่อการร้ายขึ้น
ข้อที่ 18 ให้เจ้าพนักงานเรือนจาผู้ทาหน้าที่เป็นหัวหน้าควบคุม ชี้แจงระเบียบ ข้อบังคับ หรือ
คาสั่งที่จะต้องประพฤติปฏิบัติระหว่างการทางาน ให้นักโทษเด็ดขาดที่ส่งออกไปทางานสาธารณะหรือ
ทางานอื่นใดเพื่อประโยชน์ของทางราชการนอกเรือนจาทราบ
ข้อ 19 การควบคุมนักโทษเด็ดขาดที่ส่งออกไปทางานสาธารณะหรือทางานอื่ นใดเพื่อประโยชน์
ของทางราชการนอกเรือนจา ให้ปฏิบัติดังนี้
(1) การควบคุมระหว่างเดินทาง
(ก) การนานักโทษเด็ดขาดจากเรือนจาไปยังสถานที่ทางาน หรือจากสถานที่ทางานแห่งหนึ่งไปยัง
อีกแห่งหนึ่ง หรือนากลับคืนเรือนจา ให้จัดให้มียานพาหนะสาหรับรับ-ส่งนักโทษเด็ดขาดทั้งไปและกลับใน
กรณีที่ไม่อาจจัดหายานพาหนะได้ ให้เจ้าพนักงานเรือนจาผู้ทาหน้าที่ควบคุมจัดให้นักโทษเด็ดขาดเดินแถว
เรียงหนึ่ง หรือเรียงสอง หรือเรียงสี่แล้วแต่กรณี โดยมีเจ้าพนักงานเรือนจาผู้ทาหน้าที่ควบคุมเดินตามหลัง
หรือเดินแซงข้างแถวระยะห่างพอสมควร เพื่อรักษาระเบียบวินัยไปจนถึงสถานที่ทางานหรือเรื อนจา
แล้วแต่กรณี
(ข) ในระหว่างการเดินทาง ให้นักโทษเด็ดขาดอยู่ในอาการสงบ ห้ามมิให้ส่งเสียงเอ็ดอึง หรือแสดง
กิริยาอันไม่สุภาพ เมื่อถึงสถานที่ทางานแล้วให้เจ้าพนักงานเรือนจาผู้ทาหน้ าที่เป็นหัวหน้าควบคุม สั่งบอก
เขตกาหนดที่นักโทษเด็ดขาดจะต้องปฏิบัติงานอยู่ภายในขอบเขตนั้นๆ ห้ามมิให้นักโทษเด็ดขาดออกไป
นอกเขตทางานหรื อเขตหยุ ดพักที่กาหนดเป็นอันขาด เว้นแต่มีเหตุจาเป็นและได้รับอนุญาตจากเจ้า
พนักงานเรือนจาผู้ทาหน้าที่ควบคุมแล้ว
(2) การควบคุมระหว่างทางาน
(ก) ห้ามมิให้นักโทษเด็ดขาด ซื้อ รับ หรือ ส่งของอย่างหนึ่งอย่างใดจากญาติมิตรหรือผู้หนึ่งผู้ใด
เป็นอันขาด เว้นแต่สิ่งของที่มีผู้บริจาคเลี้ยงนักโทษเด็ดขาดและได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานเรือนจาผู้ทา
หน้าที่เป็นหัวหน้าควบคุมแล้ว
(ข) ห้ามมิให้นักโทษเด็ดขาดติดต่อ พบปะ หรือรับการเยี่ยมจากญาติมิตร หรือผู้หนึ่งผู้ใดเป็นอัน
ขาด เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานเรือนจาผู้ทาหน้าที่เป็นหัวหน้าควบคุม และให้เยี่ยมได้เฉพาะ
เวลาระหว่างพักการทางานไม่เกิน 15 นาที โดยต้องมีเจ้าพนักงานเรือนจาควบคุมอย่างใกล้ชิด
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 107

(ค) ห้ามมิให้นักโทษเด็ดขาดผลัดเปลี่ยน หรือถอดเครื่องแต่งกายที่ได้แต่งมาจากเรือนจา เว้นแต่มี


เหตุจาเป็น และได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานเรือนจาผู้ ทาหน้าที่ควบคุม และเมื่อหมดความจาเป็นแล้ว
จะต้องผลัดเปลี่ยน หรือสวมใส่เครื่องแต่งกายอย่างเดิมทันที
(ง) ห้ามมิให้เจ้าพนักงานเรือนจาผู้ทาหน้าที่ควบคุมอนุญาตให้นักโทษเด็ดขาดออกไปนอกความ
ควบคุมของตนไม่ว่ากรณีใดๆ หรือควบคุมผู้ต้องขังไปในกิจการอันมิได้เกี่ยวด้วยการงานที่จ่ายไปทานั้น
เป็นอันขาด
(จ) ในระหว่างหยุดพักการทางาน ให้เจ้าพนักงานเรือนจาผู้ทาหน้าที่เป็นหัวหน้าควบคุมจัดให้
นักโทษเด็ดขาดรวมกันอยู่เป็นหมู่เป็นกองแห่งเดียวกันภายในเขตที่ได้กาหนดไว้อย่างชัดเจน และให้เ จ้า
พนักงานเรือนจาผู้ทาหน้าที่ควบคุมกระจายกันอยู่โดยรอบของหมู่หรือกองนักโทษเด็ดขาดนั้น ในระยะ
ใกล้ชิดพอที่จะมองเห็นนักโทษเด็ดขาดได้ทุกคน และหากหลบหนีก็อาจติดตามจับตัวได้ทันที
(ฉ) ในเวลาทางาน ห้ามมิให้แยกนักโทษเด็ดขาดกระจายกันทางานห่างจากเจ้าพนักงานเรือนจา
ผู้ทาหน้าที่ควบคุม จนอาจมีการหลบหนีไม่สามารถติดตามจับกุมได้ทันที และให้จัดนักโทษเด็ดขาดให้อยู่
ในที่ซึ่งเจ้าพนักงานเรือนจาผู้ทาหน้าที่ควบคุมสามารถมองเห็นได้ถนัดทุกคน กับให้เจ้าพนักงานเรือนจา
ผู้ทาหน้าที่ควบคุมระมัดระวังมิให้นักโทษเด็ดขาดไปลับตา
(ช) ในการควบคุมนักโทษเด็ดขาดทางานเป็นหมู่คณะ ในสถานที่โล่งแจ้งหรือในป่าซึ่งมีนักโทษ
เด็ดขาดจานวนมาก ให้กาหนดเขตควบคุมไว้ ให้ชัดเจน แล้วแจ้งให้นักโทษเด็ดขาดทุกคนทราบถึงเขต
ควบคุมนัน้ โดยทั่วกัน และตรงมุมของเขตนั้นให้ทาเครื่องหมายอย่างหนึ่ง อย่างใดที่สามารถมองเห็นได้ชัด
ไว้ แล้วให้เจ้าพนักงานเรือนจาผู้ทาหน้าที่ควบคุมยืนยาม หรือเดินตรวจรักษาการณ์ตามมุม หรือจุดสาคัญ
ในแนวเขต
ภายในเขตควบคุมนั้น ถ้าสามารถจัดได้ก็ให้จัดให้มีที่พัก ที่สาหรับรั บประทานอาหาร น้าดื่มและ
สถานที่ขับถ่ายไว้ให้พร้อม เพื่อมิให้นักโทษเด็ดขาดออกไปนอกเขตควบคุม
ข้อ 20 ในกรณีที่ปรากฏว่านักโทษเด็ดขาดส่งออกไปทางานสาธารณะหรือทางานอื่นใดเพื่ อ
ประโยชน์ของทางราชการนอกเรือนจาประพฤติไม่ชอบตามข้อ 13 และเจ้าพนักงานเรือนจาผู้ทาหน้าที่
เป็นหัวหน้าชุดควบคุมพิจารณาแล้วเห็นว่าไม่สมควรให้ทางานต่อไป ให้ส่งตัวนักโทษเด็ดขาดผู้นั้นกลับคืน
เรือนจาทันทีและรายงานผู้บัญชาการเรือนจาทราบเพื่อพิจารณาสั่งการ
ข้อ 21 นักโทษเด็ดขาดที่มีวันลดวันต้องโทษจาคุกสะสมจากการออกทางานสาธารณะหรื อ
ทางานอื่นใดเพื่อประโยชน์ของทางราชการนอกเรือนจา หากกระทาผิดวินัยขึ้นหรืออยู่ระหว่างดาเนินการ
ทางวินั ย ทุกกรณี ในรอบ 120 วัน ก่อนพิจารณาปล่ อยตัว ลดวั นต้ อ งโทษจ าคุ กจากการ ออกท างาน
สาธารณะหรือทางานอื่นใดเพื่อประโยชน์ของทางราชการนอกเรือนจา จะไม่ได้รับการพิจารณาปล่อยตัว
ลดวันต้องโทษจาคุก

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


108 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

นักโทษเด็ดขาดที่ได้รับการอนุมัติลดวันต้องโทษจาคุกแล้ว แต่กระทาผิดวินัยขึ้นในระหว่างรอการ
ปล่อยตัว ให้เรือนจางดการปล่อยตัวนักโทษเด็ดขาดดังกล่าว และรายงานอธิบดีกรมราชทัณฑ์พิจารณา
ยกเลิกการสั่งปล่อยตัวจากการอนุมัติลดวันต้องโทษจาคุกนั้น
ข้อ 22 เมื่อมีการส่งนักโทษเด็ดขาดออกไปทางานสาธารณะหรือทางานอื่นใดเพื่อประโยชน์ของ
ทางราชการนอกเรือนจา ให้ผู้บังคับบัญชาหมั่นไปตรวจตราการปฏิบัติงานตามหน่วยงานต่างๆ เพื่อทราบ
ถึงการควบคุมและการทางานว่าได้เป็นไปโดยชอบด้วยกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และคาสั่งของทาง
ราชการหรือไม่เมื่อเห็นว่าหน่ วยงานใดปฏิบัติการไม่ชอบ หรือมีข้อบกพร่องที่อาจนาความเสียหายมาสู่
ราชการก็ให้สั่งการแก้ไขเมื่อได้สั่งการไปแล้วหากมีการฝ่าฝืนอยู่อีก ก็ให้พิจารณาโทษทางวินัยแก่เจ้า
พนักงานเรือนจาผู้รับผิดชอบ
หมวด 4
การรายงานผล
ข้อ 23 หากงานสาธารณะหรืองานอื่นใดเพื่อ ประโยชน์ของทางราชการนอกเรือนจาที่จัดให้
นักโทษเด็ดขาดออกไปทางานนั้นมีผลประโยชน์ตอบแทน เมื่อได้รับค่าตอบแทนแล้วให้รีบจ่ายเงินรางวัล
ให้แก่นักโทษเด็ดขาดผู้มีส่วนร่วมในการทางานนั้นโดยเร็ว
ข้อ 24 เมื่อดาเนินงานสาธารณะนอกเรือนจา หรือทางานอื่นใดเพื่อประโยชน์ของทางราชการ
นอกเรือนจาเสร็จสิ้นแต่ละโครงการ ให้เรือนจาจัดทาบัญชีแสดงจานวนวันที่นักโทษเด็ดขาดแต่ละคนออก
ทางาน บัญชีแสดงจานวนวันที่ได้รับการลดวันต้องโทษจาคุกเพราะออกไปทางานสาธารณะหรืองานอื่นใด
เพื่อประโยชน์ของทางราชการนอกเรือนจา และบัญชี เงินรางวัลที่นักโทษเด็ดขาดแต่ละคนพึงได้ รับ แล้ว
รายงานให้กรมราชทัณฑ์ทราบ
ประกาศ ณ วันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2563
พันตารวจเอก ณรัชต์ เศวตนันทน์
อธิบดีกรมราชทัณฑ์
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 109

ระเบียบกรมราชทัณฑ์
ว่าด้วยการคัดเลือกนักโทษเด็ดขาดจ่ายออกทางานนอกเรือนจา พ.ศ. ๒๕61
...................................
เพื่อให้การพิจารณานั กโทษเด็ดขาดจ่ายออกทางานนอกเรือนจาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภ าพ
เรียบร้อย บังเกิดผลดีแก่ราชการ สอดคล้องกับหลักทัณฑปฏิบัติต่อผู้ต้องขังและสภาพการบริหารงานของ
เรือนจาในปัจจุบันอาศัยอานาจตามความมาตรา 32 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริห ารราชการแผ่นดิน
พ.ศ.2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5 ) พ.ศ. 2545
ประกอบมาตรา 34 แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 อธิบดีกรมราชทัณฑ์จึงวางระเบียบไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการคัดเลือกนักโทษเด็ดขาดจ่ายออก
ทางานนอกเรือนจา พ.ศ. 2561”
ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศเป็นต้นไป
ข้อ 3 ให้ยกเลิกระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการคัดเลือกนักโทษเด็ดขาดจ่ายออกทางานนอก
เรือนจา พ.ศ. 2555
ข้อ 4 บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ คาสั่ง หรือหนังสือสั่งการอื่นใดของกรมราชทัณฑ์ ซึ่งขัดหรือแย้ง
จากระเบียบนี้ให้ใช้ระเบียบนี้แทน
ข้อ 5 ในระเบียบนี้
“เรือนจา” หมายความรวมถึง ทัณฑสถาน หรื อสถานที่คุมขังตัวผู้ ต้องขังอื่นใดในสั งกัด กรม
ราชทัณฑ์
“ผู้บัญชาการเรือนจา” หมายความรวมถึง ผู้อานวยการทัณฑสถาน หรือหัวหน้าผู้ดูแลสถานที่
ควบคุมผู้ต้องขังอื่นใดในสังกัดกรมราชทัณฑ์
“อธิบดี” หมายความว่า อธิบดีกรมราชทัณฑ์
“งานนอกเรือนจา” หมายความว่า งานที่เกี่ยวข้องกับงานทาความสะอาด งานสุขาภิบาล งาน
บริการ งานบารุงรักษาเรือนจา งานฝึกทักษะวิชาชีพที่จัดให้ผู้ต้องขังทานอกบริเวณเรือนจา หรือสถานที่
อื่นใดที่ผู้บัญชาการเรือนจาอนุญาต
ข้อ 6 นักโทษเด็ดขาดที่จะได้รับการพิจารณาคัดเลือกจ่ายออกทางานนอกเรือนจาตามอานาจ
ของผู้บัญชาการเรือนจาต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้.
(1) อายุ 18 ปีขึ้นไป
(2) เป็นนักโทษเด็ดขาดชั้น กลางขึ้นไป มีความประพฤติดี มีความอุตสาหะในการทางานจน
เกิดผลดี
(3) ไม่อยู่ระหว่างถูกลงโทษทางวินัย หรือถูกลงโทษทางวินัยในรอบ 6 เดือน ก่อนออกทางาน
นอกเรือน
(4) ไม่อยู่ระหว่างถูกดาเนินคดีอาญาซึ่งได้กระทาผิดระหว่างถูกคุมขังในเรือนจา

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


110 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

(5) ไม่มีพฤติการณ์ที่แสดงให้เห็นว่า เมื่อจ่ายออกไปแล้วอาจจะหลบหนี หรืออาจก่อให้เกิดความ


เสียหายแก่ราชการ
(6) ก. กาหนดโทษไม่เกิน 1 ปี ได้รับโทษมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของกาหนดโทษ
ข. กาหนดโทษเกินกว่า 1 ปี ได้รับโทษมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ใน 2 ของกาหนดโทษตามหมาย
แจ้งโทษหลังสุด และเหลือโทษจาต่อไปไม่เกิน 3 ปี 6 เดือน
ข้อ 7 กรณีต่อไปนี้ ให้ เรื อนจาเสนอมากรมราชทัณฑ์เพื่ออธิบดีพิจารณาอนุมัติก่อนที่จะจ่าย
ออกไปทางานนอกเรือนจา
(1) นักโทษเด็ดขาดที่เป็นหญิง
(2) นักโทษเด็ดขาดที่กาหนดโทษเกิน 1 ปี ได้รับโทษมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ใน 2 ของกาหนดโทษ
ตามหมายแจ้งโทษหลังสุด และเหลือโทษจาต่อไปเกิน 3 ปี 6 เดือน
ข้อ 8 นักโทษเด็ดขาดดังต่อไปนี้ ไม่อยู่ในข่ายการรับพิจารณาคัดเลือกจ่ายออกไปทางานนอก
เรือนจา ตามข้อ 6 และข้อ 7
(1) นักโทษเด็ดขาดที่กระทาความผิดในคดีเดียวกัน (คู่คดี)
(2) นักโทษเด็ดขาดซึ่งต้องโทษในลักษณะดังต่อไปนี้
ก. ความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งราชอาณาจักร ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา
107 – มาตรา 135
ข. ความผิดเกี่ยวกับก่อการร้าย ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 135/1 – มาตรา
035/4
ค. ความผิดเกี่ยวกับเพศ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 276 วรรคสาม มาตรา
277 มาตรา 277 ทวิ มาตรา 277 ตรี มาตรา 280 มาตรา 282 และมาตรา 283
ง. ความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 289 มาตรา
292 และ มาตรา 298
จ. ความผิดฐานฉ้อโกง ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 343
ฉ. ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการกู้ยืมที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน
ช. ความผิดอื่นตามอธิบดีกาหนด
(3) อยู่ระหว่างถูกอายัดตัวเพื่อดาเนินคดีอื่น
(4) มีโทษกักขังต่อจากโทษจาคุกเกินกว่า 1 เดือน
ข้อ 9 นักโทษเด็ดขาดที่ได้รับการคัดเลือกให้ออกทางานนอกเรือนจา หากปรากฏพฤติการณ์
อย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ให้เจ้าพนักงานเรือนจาผู้ทาหน้าที่ควบคุมการทางานสั่งงดการทางานและส่ง
ตัวนักโทษเด็ดขาดนั้นกลับเข้าเรือนจาทันที
(1) สมคบกับผู้อื่นก่อความไม่สงบเรียบร้อย
(2) ทาร้ายหรือพยายามทาร้ายเจ้าพนักงานเรือนจา ผู้ช่วยเหลือ หรือบุคคลอื่น
(3) ใช้โอกาสจากการทางานพยายามหลบหนีหรือมีเหตุอันควรจะหลบหนี
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 111

(4) ขัดคาสั่งซึ่งหน้าของเจ้าพนักงานเรือนจาผู้ควบคุมการทางาน
(5) จงใจก่อความเสียหายต่อกิจการหรือทรัพย์สินของเรือนจา
(6) มีพฤติการณ์ให้เห็นถึงความเกียจคร้าน ไม่ตั้งใจทางาน หรือจงใจหลีกเลี่ยงงาน
(7) มีเหตุอันควรสงสัยว่าเข้าไปเกี่ยวข้องกับสิ่งต้องห้ามในเรือนจา
ข้อ 10 การดาเนินการตามข้อ 6 ข้อ 7 หรือข้อ 8 ให้เรือนจาตั้งคณะกรรมการขึ้นคณะหนึ่ง
จานวนไม่น้อยกว่า 3 คน ทาหน้าที่พิจารณาคัดเลือกนักโทษออกทางานนอกเรือนจาเสนอผู้บัญชาการ
เรือนจา เพื่อพิจารณาอนุมัติหรือสั่งการต่อไป
การคัดเลือกให้พิจารณานักโทษเด็ดขาดที่เหลือโทษจาคุกน้อยที่มีคุณสมบัติตามที่กาหนดเป็น
ลาดับแรก เว้นกรณีมีเหตุพิเศษอื่น และต้องคานึงถึงสุขภาพ อายุ สติปัญญา ฝีมือ และอุปนิสัยของนักโทษ
เด็ดขาดด้วย
ข้อ 11 นักโทษเด็ดขาดที่จ่ายออกทางานนอกเรือนจาจะต้องกลับเข้าเรือนจาไม่เกินเวลา 19.00
นาฬิกา ในวันเดียวกัน
กรณีมีเหตุจาเป็นเนื่องจากสภาพของงานที่ให้นักโทษเด็ดขาดออกไปทางานนอกเรือนจา ทาให้ไม่
สามารถนานักโทษเด็ดขาดกลับเข้าเรือนจาภายในเวลาตามวรรคหนึ่ง ให้เสนออธิบดีพิจารณาอนุมัติเป็น
กรณีไป
ข้อ 12 เมื่อมีการจ่ายนักโทษเด็ดขาดออกไปทางานนอกเรือนจาให้ผู้บังคับบัญชาเรือนจาจัดให้มี
เจ้าพนักงานเรือนจาผู้ทาหน้าที่ควบคุม 1 คน ต่อนักโทษเด็ดขาด 5 คน และจะเปลี่ยนแปลงอัตราส่วนนั้น
ได้ต่อเมื่อผู้บังคับบัญชาได้อนุมัติ โดยพิจารณาแล้วเห็นว่าจาเป็นและน่าจะไม่มีการหลบหนีหรือก่อการร้าย
ขึ้น
ข้อ 13 นักโทษเด็ดขาดคนใดที่ได้รับการพิจารณาคัดเลือกจ่ายออกทางานนอกเรือนจาถ้าปรากฏ
ขึ้นภายหลังว่าขาดคุณสมบัติหรือมี ลักษณะต้องห้ามตามที่กาหนดไว้ในข้อ 6 ข้อ 7 ข้อ 8 หรือปรากฏ
พฤติการณ์ตามข้อ 9 ให้งดจ่ายออกทางานทันที และให้คณะกรรมการตามข้อ 10 รายงานผู้มีอานาจจ่าย
นักโทษเด็ดขาดออกทางานนอกเรือนจาเพื่อพิจารณาสั่งงดจ่ายนักโทษเด็ดขาดดังกล่าว
ข้อ 14 ในระหว่างทางานให้เจ้าพนักงานเรือนจาผู้ทาหน้าที่ควบคุมการทางานระมัดระวังการใช้
เครื่องมือที่เป็นอันตรายหรือสามารถใช้เป็นอาวุธเพื่อหลบหนีหรือทาร้ายร่ายกาย
ข้อ 15 ให้นักโทษเด็ดขาดที่ออกทางานนอกเรือนจาได้พักผ่อนตามสมควรจากการทางานตาม
เวลาและสถานที่ที่เรือนจากาหนด
ประกาศ ณ วันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2561
พันตารวจเอก (ณรัชต์ เศวตนันทน์)
อธิบดีกรมราชทัณฑ์

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


112 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ระเบียบกรมราชทัณฑ์
ว่าด้วยการคัดเลือกนักโทษเด็ดขาดจ่ายออกทางานนอกเรือนจา
ประเภทความสามารถหรือทักษะพิเศษ พ.ศ. ๒๕63
...................................
เพื่อให้การพิจารณาคัดเลือกนักโทษเด็ดขาดจ่ายออกทางานนอกเรือนจาประเภทความสามารถ
หรือทักษะพิเศษไปด้วยความสงบเรียบร้อย อันจะเป็นประโยชน์ต่อการแก้ไขและพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขัง
ให้มีโอกาสปรับตัวใช้ชีวิตร่วมกับสังคมภายนอกได้ และบังเกิดผลดีแก่ราชการ อาศัยอานาจตามความใน
มาตรา 32 แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ บ ริ ห ารราชการแผ่ น ดิ น พ.ศ. 2534 ซึ่ ง แก้ ไ ขซึ่ ง เพิ่ ม เติ ม โดย
พระราชบัญญัติบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับ 5) พ.ศ. 2545 ประกอบมาตรา 34 แห่งพระราชบัญญัติ
ราชทัณฑ์ พ.ศ. 2560 อธิบดีกรมราชทัณฑ์จึงวางระเบียบนี้ไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ระเบียบเรียกว่า “ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าการคัดเลือกนักโทษเด็ดขาดจ่ายออกทางาน
นอกเรือนจาประเภทความสามารถหรือทักษะพิเศษ พ.ศ. 2563”
ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป
ข้อ 3 ให้ยกเลิกระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการคัดเลือกนักโทษเด็ดขาดจ่ายออกทางานนอก
เรือนจาประเภทความสามารถหรือทักษะพิเศษ พ.ศ. 2561
ข้อ 4 บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ คาสั่ง หรือหนังสือคาสั่งอื่นใดของกรมราชทัณฑ์ ซึ่งขัดหรือแย้ง
กับระเบียบนี้ให้ใช้ระเบียบนี้แทน
ข้อ 5 ในระเบียบนี้
“เรื อนจ า” หมายความรวมถึง ทัณฑสถาน หรือสถานที่ควบคุมผู้ ต้องขังอื่ นใดในสั ง กั ด กรม
ราชทัณฑ์
“ผู้บัญชาการเรือนจา” หมายความรวมถึง ผู้อานวยการทัณฑสถาน หรือหัวหน้าผู้ดูแลสถานที่
ควบคุมตัวผู้ต้องขังอื่นใดในสังกัดกรมราชทัณฑ์
“อธิบดี” หมายความรวมถึง อธิบดีกรมราชทัณฑ์
ข้อ 6 นักโทษเด็ดขาดที่จะออกทางานนอกเรือนจา ซึ่งลักษณะงานจาต้ องใช้ความสามารถหรือ
ทักษะพิเศษของนักโทษเด็ดขาดผู้นั้น การพิจารณาคัดเลือกจ่ายออกทางานนอกเรือนจาตามอานาจของ
ผู้บัญชาการเรือนจาต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้
(1) อายุ 18 ปี ขึ้นไป
(2) เป็นนักโทษเด็ดขาดชั้น กลางขึ้นไป มีความประพฤติดี มีความอุตสาหะในการทางานจน
เกิดผลดี
(3) ไม่อยู่ระหว่างถูกลงโทษทางวินัย หรือถูกลงโทษทางวินัยในรอบ 6 เดือน ก่อนออกทางาน
นอกเรือนจาประเภทความสามารถหรือทักษะพิเศษ
(4) ไม่อยู่ระหว่างถูกดาเนินคดีอาญาซึ่งได้กระทาผิดระหว่างถูกคุมขังในเรือนจา
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 113

(5) ไม่มีพฤติการณ์ที่แสดงให้เห็นว่า เมื่อจ่ายออกไปแล้วอาจจะหลบหนี หรืออาจก่อให้เกิดความ


เสียหายแก่ราชการ
(6) ได้รับโทษมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของกาหนดโทษตามหมายแจ้งโทษครั้งหลังสุดและ
เหลือโทษจาคุกต่อไปไม่เกิน 10 ปี
ข้อ 7 กรณีต่อไปนี้ ให้ เรื อนจาเสนอมากรมราชทัณฑ์เพื่ออธิบดีพิจารณาอนุมัติก่อนที่ จะจ่าย
ออกไปทางานนอกเรือนจา
(1) นักโทษเด็ดขาดเป็นผู้หญิง
(2) นักโทษเด็ดขาดที่มีคุณสมบัตินอกจากที่กาหนดไว้ตามข้อ 6
(3) นักโทษเด็ดขาดที่กระทาความผิดในคดีเดียวกัน(คู่คดี)
(4) นักโทษเด็ดขาดซึ่งต้องโทษในลักษณะความผิดดังต่อไปนี้
ก.ความผิ ดเกี่ย วกับ ความมั่นคงแห่งราชอาณาจักร ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา
107- มาตรา 135
ข.ความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา135/1-มาตรา
135/4
ค.ความผิดเกี่ยวกับเพศ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 276 วรรคสาม มาตรา 277
มาตรา 277 ทวิ มาตรา 277 ตรี มาตรา 280 มาตรา 282 และมาตรา 283
ง.ความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 289 มาตรา 292
และมาตร 298
จ.ความผิดฐานฉ้อโกง ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา343
ฉ.ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการกู้ยืมที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน
ช.ความผิดอื่นตามที่อธิบดีกาหนด
(5) อยู่ระหว่างถูกอายัดตัวเพื่อดาเนินคดีอื่น
(6) มีโทษกักขังต่อจากโทษจาคุก
(7) กรณีอื่นๆ ตามที่กรมราชทัณฑ์กาหนด

ข้อ 8 นักโทษเด็ดขาดที่ได้รับคัดเลือกให้ออกทางานนอกเรือนจา หากปรากฏพฤติการณ์ อย่างใด


อย่ างหนึ่ งดังต่อไปนี้ ให้ เ จ้าพนั กงานเรื อนจาผู้ทาหน้าที่ควบคุมการทางานสั่ งงดการทางานและส่งตัว
นักโทษเด็ดขาดผู้นั้นกลับเข้าเรือนจาทันที
(1) สมคบกับผู้อื่นก่อความไม่สงบเรียบร้อย
(2) ทาร้ายหรือพยามยามทาร้ายเจ้าพนักงานเรือนจา ผู้ช่วยเหลือ หรือบุคคลอื่น
(3) ใช้โอกาสจากการทางานพยายามหลบหนีหรือมีเหตุอันควรเชื่อว่าจะหลบหนี
(4) ขัดคาสั่งซึ่งหน้าของเจ้าพนักงานเรือนจาผู้ควบคุม

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


114 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

(5) จงใจก่อความเสียหายต่อกิจการหรือทรัพย์สินของเรือนจา
(6) มีพฤติการณ์ให้เห็นถึงความเกียจคร้าน ไม่ตั้งใจทางาน หรือจงใจหลีกเลี่ยงงาน
(7) มีเหตุอันควรสงสัยว่าเข้าไปเกี่ยวข้องกับสิ่งต้องห้ามเข้าเรือนจา
ข้อ 9 การดาเนินการตามข้อ 6 และข้อ 7 ให้เรือนจาตั้งคณะกรรมการขึ้นคณะหนึ่ง จานวนไม่
น้อยกว่า 3 คน ทาหน้าที่พิจารณาคัดเลือกนักโทษเด็ดขาดออกทางานนอกเรือนจาประเภทความสามารถ
หรือทักษะพิเศษ เสนอผู้บัญชาการเรือนจาเพื่อพิจารณาอนุมัติหรือสั่งการต่อไป
การคัดเลือกให้พิจารณานักโทษเด็ดขาดที่เหลือโทษจาคุกน้อยที่มีคุณสมบัติตามที่กาหนดเป็น
อันดับแรก เว้นแต่มีเหตุพิเศษอื่น และต้องคานึงถึงสุขภาพ อายุ สติปัญญา ฝีมือและอุปนิสัยของนักโทษ
เด็ดขาดด้วย
ข้อ 10 นักโทษเด็ดขาดที่จ่ายออกไปทางานนอกเรือนจาประเภทความสามารถหรือทักษะพิเศษ
จะต้องนากลับเข้าเรือนจาไม่เกินเวลา 19.00 นาฬิกาในวันเดียวกัน
กรณีมีเหตุจาเป็นอันเนื่องมาจากสภาพของงานที่ให้นักโทษเด็ดขาดออกไปทางานนอกเรือนจา
ไม่สามารถนานักโทษเด็ดขาดกลับเข้าเรือนจาภายในกาหนดเวลาตามวรรคหนึ่ง ให้เสนออธิบดีพิจารณา
อนุมัติเป็นกรณีไป
ข้อ 11 เมื่อมีการจ่ายนักโทษเด็ดขาดออกไปทางานนอกเรือนจาประเภทความสามารถหรือ
ทักษะพิเศษ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาจัดให้มีเจ้าพนักงานเรือนจาผู้ทาหน้าที่ควบคุม 1 คน ต่อนักโทษ
เด็ดขาด 5 คน และจะเปลี่ยนแปลงอัตราส่วนนั้นได้ต่อเมื่อผู้บัญชาการเรือนจาได้อนุมัติ โดยพิจารณาแล้ว
เห็นว่าจาเป็นและน่าจะไม่มีการหลบหนีหรือก่อการร้ายขึ้น
ข้อ 12 นักโทษเด็ดขาดคนใดที่ได้รับการพิจารณาคัดเลือกจ่ายออกทางานนอกเรือนจาประเภท
ความสามารถหรื อทักษะพิเศษ ถ้าปรากฏขึ้นภายหลังว่าขาดคุณสมบัติหรือมีลั กษณะต้องห้ ามตามที่
กาหนดไว้ในข้อ 6 ข้อ 7 ข้อ หรือปรากฏพฤติการณ์ตามข้อ 8 ให้งดจ่ายทันที และให้คณะกรรมการตาม
ข้อ 9 รายงานผู้ มีอานาจจ่ ายนักโทษเด็ดขาดออกทางานนอกเรือนจาเพื่ อพิ จารณาสั่งงดจ่ายนัก โทษ
เด็ดขาดดังกล่าวด้วย
ประกาศ ณ วันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563
นายอายุตม์ สินธพพันธุ์
อธิบดีกรมราชทัณฑ์

มาตรา 50 ผู้ต้องขังไม่มีสิทธิได้ค่าจ้างจากการงานที่ได้ทา แต่ในกรณีที่การงานที่ได้ทาไปนั้น


ก่อให้เกิดรายได้ซึ่งคานวณเป็นราคาเงินได้ ผู้ต้องขังอาจได้รับเงินรางวัลตอบแทนจากการงานนั้นได้
การคานวณรายได้เป็นราคาเงินและการจ่ายเงินรางวัล ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและ
เงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 115

กฎกระทรวง
การคานวณรายได้เป็นราคาเงินและการจ่ายเงินรางวัลให้แก่ผู้ต้องขัง
ซึ่งการงานที่ได้ทานั้นก่อให้เกิดรายได้ซึ่งคานวณเป็นราคาเงินได้ พ.ศ. ๒๕๖๓
(ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๗ ตอนที่ ๘๔ ก ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๖๓)
----------------------
อาศั ย อ านาจตามความในมาตรา ๗ วรรคหนึ่ ง และมาตรา ๕๐ วรรคสอง แห่ ง
พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้ยกเลิก
(๑) หมวด ๑ การจัดให้ทางาน และหมวด ๒ รางวัล ของส่วนที่ ๕ การงาน ข้อ ๕๐ ถึง
ข้อ ๖๕ แห่ งกฎกระทรวงมหาดไทยออกตามความในมาตรา ๕๘ แห่ งพระราชบั ญ ญัติ ราชทั ณ ฑ์
พุทธศักราช ๒๔๗๙
(๒) กฎกระทรวงมหาดไทยออกตามความในมาตรา ๕๘ แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์
พุทธศักราช ๒๔๗๙ (ฉบับที่ ๒)
(๓) กฎกระทรวง ฉบับที่ ๕ (พ.ศ.๒๕๐๔) ออกตามความในพระราชบัญญัติราชทัณฑ์
พุทธศักราช ๒๔๗๙
(๔) กฎกระทรวง ฉบับที่ ๗ (พ.ศ.๒๕๒๐) ออกตามความในพระราชบัญญัติราชทัณฑ์
พุทธศักราช ๒๔๗๙
(๕) กฎกระทรวง ฉบับที่ ๙ (พ.ศ.๒๕๒๑) ออกตามความในพระราชบัญญัติราชทัณฑ์
พุทธศักราช ๒๔๗๙
(๖) ข้อ ๗ แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๐ (พ.ศ. ๒๕๒๓) ออกตามความในพระราชบัญญัติ
ราชทัณฑ์ พุทธศักราช ๒๔๗๙
(๗) ข้อ ๒ แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๖ (พ.ศ. ๒๕๕๘) ออกตามความในพระราชบัญญัติ
ราชทัณฑ์ พุทธศักราช ๒๔๗๙
ข้อ ๒ ในกฎกระทรวงนี้
“ทุน” หมายความว่า บรรดาเงิน ทรัพย์สิน และแรงงานที่ใช้ในการทางานนั้น
“ค่าใช้จ่าย” หมายความว่า บรรดาเงินที่จ่ายเพื่อให้งานนั้นบรรลุวัตถุประสงค์
“กาไร” หมายความว่า รายได้ซึ่งเกิดจากผลของการงานเมื่อได้ หักทุนและค่าใช้จ่ายที่
เกี่ยวข้อง ทั้งหมดออกแล้ว

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


116 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ข้อ ๓ ในกรณีทกี่ ารงานที่ได้จัดให้ผู้ต้องขังทานั้นก่อให้เกิดรายได้ซึ่งคานวณเป็นราคาเงิน


ได้ ผู้ต้องขังอาจได้รับเงินรางวัลตอบแทนจากการงานนั้น
การค านวณรายได้ เ ป็ น ราคาเงิ น ตามวรรคหนึ่ ง ให้ ค านวณราคาของงานเป็ น ทุ น
ค่าใช้จ่าย และกาไร
ข้อ ๔ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาจ่ายเงินรางวัลให้แก่ผู้ต้องขังร้อยละเจ็ดสิบของกาไรทั้งหมด
โดยผู้ต้องขังจะได้รับส่วนแบ่งต่อวันคนละเท่า ๆ กัน ส่วนที่เหลือให้นาส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน
ข้อ ๕ ในการคานวณจ่ายเงินรางวัลให้แก่ผู้ต้องขัง หากมีเศษเหลืออยู่ไม่สามารถเฉลี่ย
จ่าย ให้แก่ผู้รับได้ ให้นาส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน
ให้ไว้ ณ วันที่ 25 กันยายน พ.ศ. ๒๕๖3
สมศักดิ์ เทพสุทิน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
หมายเหตุ :- เหตุผ ลในการประกาศใช้ กฎกระทรวงฉบับ นี้ คือ โดยที่มาตรา ๕๐วรรคสอง แห่ ง
พระราชบัญญัติ ราชทัณฑ์ พ.ศ.๒๕๖๐ บัญญัติให้การคานวณรายได้เป็นราคาเงินและการจ่ายเงินรางวัล
ให้แก่ผู้ต้องขัง ซึ่งการงานที่ได้ทานั้น ก่อให้เกิดรายได้ซึ่งคานวณเป็นราคาเงินได้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์
วิธีการ และเงื่อนไข ที่กาหนดในกฎกระทรวง จึงจาเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

มาตรา 51 ผู้ต้องขังซึ่งได้รับบาดเจ็บ เจ็บป่วย หรือตาย เนื่องจากการงานตามมาตรา 48 หรือ


มาตรา 49 มีสิทธิได้รับเงินทาขวัญตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง
ในกรณีที่ผู้ต้องขังซึ่งมีสิทธิได้รับเงินทาขวัญตามวรรคหนึ่งตาย ให้จ่ายเงินทาขวัญนั้นแก่ทายาท

กฎกระทรวง
การรับเงินทาขวัญของผู้ต้องขังซึ่งได้รับบาดเจ็บเจ็บป่วย หรือตาย
เนื่องจากการทางาน พ.ศ. ๒๕๖๓
(ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๗ ตอนที่ ๘๔ ก ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๖๓)
-------------------
อาศั ย อ านาจตามความในมาตรา ๗ วรรคหนึ่ ง และมาตรา ๕๑ วรรคหนึ่ ง แห่ ง
พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 117

ข้อ ๑ ในกฎกระทรวงนี้
“เงินทาขวัญ” หมายความว่า เงินที่จ่ายให้แก่ผู้ต้องขังหรือทายาทของผู้ต้องขัง ซึ่งได้รับ
บาดเจ็บ เจ็บป่วย หรือตาย เนื่องจากการทางานตามมาตรา ๔๘ หรือมาตรา ๔๙ แล้วแต่กรณี
ข้อ ๒ ในกรณีที่เจ้าพนักงานเรือนจาซึ่งสั่งให้ผู้ต้องขังทางานตามมาตรา ๔๘ หรือมาตรา
๔๙ แล้ ว แต่ ก รณี พบว่ า ผู้ ต้ อ งขั ง ได้ รั บ บาดเจ็ บ เจ็ บ ป่ ว ย หรื อ ตาย เนื่ อ งจากการท างานดั ง กล่ า ว
ให้รายงานผู้บัญชาการเรือนจาทราบโดยเร็ว
ข้อ ๓ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาแต่งตั้งคณะทางานเพื่อตรวจสอบสิทธิการได้รับเงินทาขวัญ
ประกอบด้วย
(๑) เจ้าพนักงานเรือนจาซึ่งดารงตาแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชานาญการขึ้นไป
หรือ ประเภททั่วไป ระดับอาวุโสขึ้นไป จานวนหนึ่งคน เป็นประธานคณะทางาน
(๒) เจ้าพนักงานเรือนจาซึ่งดารงตาแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการขึ้นไป หรือ
ประเภททัว่ ไป ระดับปฏิบัติงานขึ้นไป จานวนไม่น้อยกว่าสองคน เป็นคณะทางาน
ข้อ ๔ ให้คณะทางานตามข้อ ๓ ดาเนินการตรวจสอบสิทธิของผู้ต้องขังซึ่งสมควรได้รับ
เงินทาขวัญ และรายงานผลการตรวจสอบไปยังผู้บัญชาการเรือนจา
ในการตรวจสอบสิทธิตามวรรคหนึ่ง ให้ตรวจสอบจากรายงานของเจ้าพนักงานเรือนจา
ตามข้อ ๒ และเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้อง
ข้อ ๕ เมื่อผู้บัญชาการเรือนจาได้รับรายงานผลการตรวจสอบจากคณะทางานตามข้อ ๔
แล้ว ให้พิจารณาและเสนออธิบดีเพื่อพิจารณาอนุมัติการจ่ายเงินทาขวัญ
ข้อ ๖ การจ่ายเงินทาขวัญ ให้จ่ายตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้
(๑) บาดเจ็บหรือเจ็บป่วยจนเป็นอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ให้ จ่ายเงินทาขวัญไม่เกิน
หนึ่งหมื่นบาท
(๒) บาดเจ็บหรือเจ็บป่วยจนประกอบกรณียกิจตามปกติไม่ได้เกินกว่ายี่สิบวัน ให้จ่าย
เงินทาขวัญไม่เกินสองหมื่นบาท
(๓) บาดเจ็บจนพิการหรือทุพพลภาพ หรือเจ็บป่วยเรื้อรังซึ่ง อาจถึงตลอดชีวิต ให้จ่าย
เงินทาขวัญไม่เกินสี่หมื่นบาท
(๔) ตาย ให้จ่ายเงินทาขวัญไม่เกินหนึ่งแสนสองหมื่นบาท
ข้ อ ๗ เมื่ อ อธิ บ ดี อ นุ มั ติ ใ ห้ จ่ า ยเงิ น ท าขวั ญ ตามข้ อ ๖ (๑) (๒) หรื อ (๓) แล้ ว
ให้ผู้บัญชาการเรือนจา นาเงินเข้าบัญชีเงินฝากของผู้ต้องขังและออกใบส าคัญให้แก่ผู้ ต้องขัง ไว้เป็น
หลักฐาน

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


118 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ข้อ ๘ การจ่ายเงินทาขวัญตามข้อ ๖ (๔) ให้ผู้บัญชาการเรือนจาจ่ายให้แก่ทายาท ของ


ผู้ต้องขังคนนั้ น หากไม่มีทายาทมาขอรับเงินดังกล่าวภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่ได้รับแจ้ง หรือติดต่อ
ทายาทไม่ได้ภายในหนึ่งปี นับแต่วันที่ผู้ต้องขังคนนั้นถึงแก่ ความตาย ให้ผู้บัญชาการเรือนจารายงาน
อธิบดีเพื่อยุติเรื่อง ให้ทายาทของผู้ต้องขังซึ่งได้รับแจ้งจากผู้บัญชาการเรือนจาตามวรรคหนึ่ง นาหลักฐาน
มาแสดงต่อเจ้าพนักงานเรือนจาเพื่อขอรับเงินทาขวัญ
ข้อ ๙ เมื่อผู้บัญชาการเรือนจาดาเนินการตามข้อ ๗ หรือข้อ ๘ แล้ว ให้รายงานอธิบดี
เพื่อทราบ
ให้ไว้ ณ วันที่ 25 กันยายน พ.ศ. ๒๕๖3
สมศักดิ์ เทพสุทิน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๕๑ วรรคหนึ่ง แห่ง
พระราชบั ญ ญั ติ ร าชทั ณ ฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ บั ญ ญั ติ ว่ า ผู้ ต้ อ งขั ง ซึ่ ง ได้ รั บ บาดเจ็ บ เจ็ บ ป่ ว ย หรื อ ตาย
เนื่องจากการงาน ตามมาตรา ๔๘ หรือมาตรา ๔๙ มีสิทธิได้รับเงินทาขวัญตามหลักเกณฑ์ วิธีการ
และเงื่อนไขที่กาหนด ในกฎกระทรวง จึงจาเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

ส่วนที่ 3
ประโยชน์ของผู้ต้องขัง
--------------------------
มาตรา 52 นั ก โทษเด็ ด ขาดคนใดแสดงให้ เ ห็ น ว่ า มี ค วามประพฤติ ดี มี ค วามอุ ต สาหะ
ความก้าวหน้าในการศึกษา และทาการงานเกิดผลดี หรือทาความชอบแก่ทางราชการเป็นพิเศษ อาจ
ได้รับประโยชน์อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้
(1) ได้รับความสะดวกในเรือนจาตามระเบียบกรมราชทัณฑ์
(2) เลื่อนชั้น
(3) ได้รับแต่งตั้งให้มีตาแหน่งหน้าที่ช่วยเหลือเจ้าพนักงานเรือนจา
(4) ลาไม่เกินเจ็ดวันในคราวหนึ่ง โดยไม่นับรวมเวลาที่ต้องใช้ในการเดินทางเข้าด้วย เมื่อมีความ
จาเป็นเห็นประจักษ์เกี่ยวด้วยกิจธุระสาคัญหรือกิจการในครอบครัว แต่ห้ามมิให้ออกไปนอกราชอาณาจักร
และต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้ในระเบียบกรมราชทัณฑ์ ระยะเวลาที่อนุญาตให้ลานี้ มิให้หักออก
จากการคานวณกาหนดโทษ ถ้านักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับอนุญาตให้ลาออกไปไม่กลับเข้าเรือนจาภายใน
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 119

เวลาที่กาหนดเกินกว่ายี่สิบสี่ชั่วโมง ให้ถือว่านักโทษเด็ดขาดผู้นั้นหลบหนีที่คุมขังตามประมวลกฎหมาย
อาญา
(5) ลดวันต้องโทษจาคุกให้เดือนละไม่เกินห้าวัน แต่การลดวันต้องโทษจาคุกจะพึงกระทาได้
ต่อเมื่อนักโทษเด็ดขาดได้รับโทษจาคุกตามคาพิพากษาถึงที่สุดมาแล้ว ไม่น้อยกว่าหกเดือนหรือหนึ่งใน
สามของกาหนดโทษตามหมายศาลในขณะนั้นแล้วแต่อย่างใดจะมากกว่า หรือไม่น้อยกว่าสิบปีในกรณีที่
ต้ อ งโทษจ าคุ ก ตลอดชี วิ ต ที่ มี ก ารเปลี่ ย นโทษจ าคุ ก ตลอดชีวิ ต เป็ นโทษจ าคุ ก มี ก าหนดเวลา ทั้ ง นี้ ให้
คณะกรรมการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาวินิจฉัยลดวันต้องโทษจาคุก
(6) ลดวันต้องโทษจาคุกลงอีกไม่เกินจานวนวันที่ทางานสาธารณะหรือทางานอื่นใดเพื่อประโยชน์ของทาง
ราชการนอกเรือนจาตามมาตรา 49 และอาจได้รับเงินรางวัลด้วยก็ได้
(7) พักการลงโทษเมื่อนักโทษเด็ดขาดได้รับโทษมาแล้ว ไม่น้อยกว่าหกเดือนหรือหนึ่งในสามของกาหนด
โทษตามหมายศาลในขณะนั้น แล้วแต่อย่างใดจะมากกว่า หรือไม่น้อยกว่าสิบปีในกรณีที่ต้องโทษจาคุก
ตลอดชีวิตที่มีการเปลี่ยนโทษจาคุกตลอดชีวิตเป็นโทษจาคุกมีกาหนดเวลา และกาหนดระยะเวลาที่จะต้อง
ปฏิบัติตามเงื่อนไขให้กาหนดเท่ากับกาหนดโทษที่ยังเหลืออยู่ ทั้งนี้ ในการคานวณระยะเวลาการพักการ
ลงโทษ ถ้ามีวันลดวันต้องโทษจาคุกตาม(6) ให้นามารวมกับระยะเวลาในการพักการลงโทษด้วยโดยในการ
พักการลงโทษ ให้คณะกรรมการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาวินิจฉัยการพักการลงโทษ
(8) ได้รับการพิจารณาอนุญาตให้ออกไปฝึกวิชาชีพในสถานประกอบการหรือรับการศึกษาอบรมนอก
เรือนจาโดยมีหรือไม่มีผู้ควบคุมก็ได้ แต่การอนุญาตให้ออกไปฝึกวิชาชีพหรือรับการศึกษาอบรมนอก
เรือนจาจะพึงกระทาได้ต่อเมื่อนักโทษเด็ดขาดได้รับโทษจาคุกตามคาพิพากษาถึงที่สุดมาแล้วไม่น้อยกว่า
หนึ่งในสามของกาหนดโทษตามหมายจาคุกเมื่อคดีถึงที่สุดในขณะนั้น และเหลือโทษจาคุกไม่เกินสามปี
หกเดือน ทั้งนี้ ให้คานึงถึงประโยชน์ในการศึกษาอบรมและแก้ไขพัฒนาพฤตินิสัยของนักโทษเด็ดขาด
และความปลอดภัยของสังคมประกอบกัน แต่ถ้านักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับอนุญาตให้ออกไปฝึกวิชาชีพใน
สถานประกอบการหรือรับการศึกษาอบรมนอกเรือนจาโดยไม่มีผู้ควบคุมไม่กลับเข้าเรือนจาภายในเวลาที่
กาหนดเกินกว่ายี่สิบสี่ชั่วโมง ให้ถือว่านักโทษเด็ดขาดผู้นั้นหลบหนีที่คุมขังตามประมวลกฎหมายอาญา
การดาเนินการตาม (2) (3) (5) (6) (7) และ(8) ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่
ก าหนดในกฎกระทรวงโดยได้ รั บ ความเห็ นชอบจากคณะกรรมการ และต้ อ งน าพฤติ ก ารณ์ ก ระทา
ความผิด ลักษณะ ความผิด และความรุนแรงของคดี รวมตลอดทั้งการกระทาความผิดที่ได้กระทามา
ก่อนแล้วตามที่กาหนดไว้ในมาตรา 40 มาประกอบการพิจารณาด้วย

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


120 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

(1) ได้รับความสะดวกในเรือนจาตามระเบียบกรมราชทัณฑ์
ระเบียบกรมราชทัณฑ์
ว่าด้วยการกาหนดความสะดวกในเรือนจาสาหรับนักโทษเด็ดขาด
พ.ศ.2561
-----------------------
เพื่อให้การกาหนดแนวทางปฏิบัติเรื่องความสะดวกที่นักโทษเด็ดขาดจะได้รับเป็นไปด้วยความ
เหมาะสมเพื่อเป็นแรงจูงใจในการพัฒนาพฤตินิสัยและเป็นประโยชน์ในด้านการควบคุม อาศัยอานาจตาม
ความในมาตรา 52(1) แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 อธิบดีกรมราชทัณฑ์จึงออกระเบียบไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกรมราชทัณฑ์ ว่าด้วยการกาหนดความสะดวกในเรื อ นจา
สาหรับนักโทษเด็ดขาด”
ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป
ข้อ 3 บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ คาสั่ง ประกาศ หรือหนังสือสั่งการอื่นใด ซึ่งขัดหรือแย้งกับ
ระเบียบนี้ให้ใช้ระเบียบนี้แทน
ข้อ 4 นักโทษเด็ดขาดได้รับความสะดวกในเรือนจาตามลาดับดังนี้
(1) นักโทษเด็ดขาดชั้นเยี่ยม และนักโทษเด็ดขาดที่ได้รับการแต่งตั้งให้มีตาแหน่งหน้าที่ช่วยเหลือ
เจ้าพนักงานเรือนจา ให้ได้รับความสะดวกมากกว่านักโทษเด็ดขาดชั้นดีมาก
(2) นักโทษเด็ดขาดชั้นดีมาก ให้ได้รับความสะดวกมากกว่านักโทษเด็ดขาดชั้นดี
(3) นักโทษเด็ดขาดชั้นดี ให้ได้รับความสะดวกมากกว่านักโทษเด็ดขาดชั้นกลาง
(4) นักโทษเด็ดขาดชั้นเลวและชั้นเลวมาก อาจได้รับการพิจารณาให้ได้รับความสะดวกในเรือนจา
ได้ไม่เกินกว่านักโทษเด็ดขาดชั้นกลาง ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กรมราชทัณฑ์กาหนด
(5) คนต้องขังและคนฝากให้ได้รับความสะดวกในเรือนจาเช่นเดียวกับนักโทษเด็ดขาดชั้นกลาง
โดยอนุโลม
ข้อ 5 การให้ความสะดวกในเรือนจาตามข้อ 4 ให้เป็นไปตามที่กรมราชทัณฑ์กาหนด
ข้อ 6 ให้อธิบดีกรมราชทัณฑ์รักษาการตามระเบียบนี้ และมีอานาจวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการ
ปฏิบัติตามระเบียบนี้
ประกาศ ณ วันที่ 30 เมษายน พ.ศ.2561
พันตารวจเอก ณรัชต์ เศวตนันทน์
อธิบดีกรมราชทัณฑ์
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 121

ชั้นของนักโทษเด็ดขาด
(2) เลื่อนชั้น *กฎกระทรวง กาหนดประโยชน์ของนักโทษเด็ดขาดฯ พ.ศ. 2562
ออกโดย รมว.สมศักดิ์ เทพสุทิน (ให้ไว้ ณ วันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖2)

*อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๗ วรรคหนึ่ง มาตรา ๕๒ วรรคสอง และมาตรา ๕๓ วรรคหนึ่ง


แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมโดยได้รับความเห็นชอบจาก
คณะกรรมการราชทัณฑ์ออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
หมวด ๑
บททั่วไป
ข้อ ๑ นักโทษเด็ดขาดซึ่งแสดงให้เห็นว่ามีความประพฤติดี มีความอุตสาหะ มีความก้าวหน้าใน
การศึกษา และทาการงานเกิดผลดี หรือทาความชอบแก่ทางราชการเป็นพิเศษ อาจได้รับการพิจารณา
เลื่อนชั้น การแต่งตั้งให้มีตาแหน่งหน้าที่ผู้ช่วยเหลือเจ้าพนักงานเรือนจา การลดวันต้องโทษจาคุก การลด
วัน ต้องโทษจ าคุกลงอีกไม่เกิน จ านวนวันที่ทางานสาธารณะ หรือทางานอื่นใดเพื่อประโยชน์ ของทาง
ราชการนอกเรือนจา การพักการลงโทษ การฝึกวิชาชีพในสถานประกอบการนอกเรือนจา หรือการรับ
การศึกษาอบรมนอกเรือนจา โดยให้นาพฤติการณ์การกระทาความผิด ลักษณะความผิดความรุนแรงของ
คดี และการกระทาความผิดที่ได้กระทามาก่อนแล้ว มาประกอบการพิจารณาให้ประโยชน์ในแต่ละกรณี
ด้วย

ข้อ ๒ การแบ่งชั้นนักโทษเด็ดขาดมีดังต่อไปนี้
(๑) ชั้นเยี่ยม
(๒) ชั้นดีมาก
(๓) ชั้นดี
(๔) ชั้นกลาง
(๕) ชั้นต้องปรับปรุง
(๖) ชั้นต้องปรับปรุงมาก
ข้อ ๓ นักโทษเด็ดขาดเข้าใหม่ ให้จัดอยู่ในชั้นกลาง เว้นแต่กรณีดังต่อไปนี้
(๑) นักโทษเด็ดขาดสัญชาติไทยซึ่งถูกคุมขังนอกราชอาณาจักรมาแล้วไม่เกินสามปี เมื่อรับโอนตัว
มาคุมขังในราชอาณาจักร ให้จัดอยู่ในชั้นกลาง หากถูกคุมขังมาแล้วมากกว่าสามปี ให้จัดอยู่ในชั้นดี โดยให้
จัดชั้นนักโทษเด็ดขาดตั้งแต่วันที่รับตัวเข้ามาคุมขังในเรือนจา

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


122 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

(๒) ศาลมีคาพิพากษาถึงที่สุดให้เพิ่มโทษฐานกระทาความผิดซ้าตามมาตรา ๙๒ หรือมาตรา ๙๓


แห่งประมวลกฎหมายอาญา หรือตามกฎหมายอื่น ให้จัดอยู่ในชั้นต้องปรับปรุง
(๓) กรณีปรากฏข้อเท็จจริงว่านักโทษเด็ดขาดซึ่งเคยต้องโทษจาคุกและพ้นโทษแล้ ว กลับมา
กระทาความผิดอีกภายในห้า ปีนั บแต่วันที่พ้นโทษจาคุก คราวก่อน โดยความผิดทั้งสองคราวนั้น ไม่ใช่
ความผิดที่กระทาโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ ให้จัดอยู่ในชั้นต้องปรับปรุง
(๔) กรณีปรากฏข้อเท็จจริงว่านักโทษเด็ดขาดซึ่งเคยต้องโทษจาคุกและพ้นโทษแล้ ว กลับมา
กระทาความผิดและต้องโทษจาคุกในคราวนี้อีกเป็นครั้งที่ส ามหรือมากกว่า โดยความผิดนั้นไม่ใช่ความผิด
ที่กระทาโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ ให้จัดอยู่ในชั้นต้องปรับปรุงมาก
(๕) นักโทษเด็ดขาดซึ่งกระทาความผิดในคดีอุกฉกรรจ์ คดีสะเทือนขวัญ หรือคดีที่เป็นที่สนใจของ
ประชาชน ตามที่รัฐมนตรีประกาศกาหนด ให้จัดอยู่ในชั้นต้องปรับปรุงมาก
ข้อ ๔ นักโทษเด็ดขาดซึ่งกระทาความผิดหลายคดี ให้จัดชั้นดังต่อไปนี้
(๑) เมื่อคดีใดคดีหนึ่งมีคาพิพากษาถึงที่สุด ให้ผู้บัญชาการเรือนจาพิจารณาจัดชั้นตามข้อ ๓ และ
อาจได้รับการพิจารณาเลื่อนชั้น แม้คดีอื่นยังไม่ถึงที่สุด
(๒) คดีที่นักโทษเด็ดขาดได้รับการพิจารณาจัดชั้นและอาจได้รับการพิจารณาเลื่อนชั้นตาม (๑)
แม้จะครบกาหนดโทษแล้ว แต่ถ้านักโทษเด็ดขาดผู้นั้นยังถูกคุมขังอยู่ในเรือนจาในคดีอื่นที่ยังไม่ถึงที่สุด ให้
คงชั้นนักโทษเด็ดขาดผู้นั้นไว้จนกว่าคดีอื่นถึงที่สุด และให้จัดชั้นตามชั้นเดิมที่คงไว้
ข้อ ๕ คดีตามข้อ ๔ เมื่อศาลได้มีคาพิพากษาถึงที่สุดในภายหลังและเป็นกรณีที่จะต้องมี การจัด
ชั้นตามข้อ ๓ (๒) หรือ (๕) ให้ดาเนินการจัดชั้นนักโทษเด็ดขาดผู้นั้น โดยถือเสมือนเป็นนักโทษเด็ดขาดเข้า
ใหม่ตามข้อ ๓ (๒) หรือ (๕) แล้วแต่กรณี เว้นแต่เป็นนักโทษเด็ดขาดซึ่งอยู่ในชั้นต้องปรับปรุงมาก ให้คง
ชั้นต้องปรับปรุงมากไว้ตามเดิม
หมวด ๒
การเลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาด
ส่วนที่ ๑
การเลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาดกรณีปกติ
ข้อ ๖ การเลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาดกรณีปกติ ให้เลื่อนตามลาดับชั้น ครั้งละหนึ่งชั้น
ข้อ ๗ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาดาเนินการเลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาดกรณีปกติตามกาหนดเวลาและ
เงื่อนไข ดังต่อไปนี้
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 123

(๑) นักโทษเด็ดขาดซึ่งมีกาหนดโทษจาคุกไม่เกินสามปีและต้องโทษจาคุกเพียงคดีเดียวให้เลื่อน
ชั้นได้ปีละสามครั้ง คือ ในวันสิ้นเดือนเมษายนครั้งหนึ่ง ในวันสิ้นเดือนสิงหาคมครั้งหนึ่งและในวันสิ้นเดือน
ธันวาคมอีกครั้งหนึ่ง
(๒) นักโทษเด็ดขาดซึ่งมีกาหนดโทษจาคุกเกินกว่ าสามปีหรือต้องโทษจาคุกหลายคดีให้เลื่อนชั้น
ได้ปีละสองครั้ง คือ ในวันสิ้นเดือนมิถุนายนครั้งหนึ่งและในวันสิ้นเดือนธันวาคมอีกครั้งหนึ่ง
ข้อ ๘ การพิจารณาเลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาดตามข้อ ๗ (๑) ให้ดาเนินการ ดังต่อไปนี้
(๑) นักโทษเด็ดขาดเข้าใหม่ซึ่งถูกจัดอยู่ในชั้น ดังต่อไปนี้
(ก) ชั้นกลาง จะเลื่อนชั้นได้ต้องเป็นนักโทษเด็ดขาดซึ่งถูกคุมขังอยู่ในเรือนจามาแล้วไม่น้อยกว่าสี่
เดือนนับแต่วันที่คดีถึงที่สุด หรือเป็นนักโทษเด็ดขาดมาแล้วน้อยกว่าสี่เดือนนับแต่วันที่คดีถึงที่สุด แต่ถูก
คุมขังอยู่ในเรือนจามาแล้วไม่น้อยกว่าแปดเดือน
(ข) ชั้นต่ากว่าชั้นกลาง จะเลื่อนชั้นได้ต้องเป็นนักโทษเด็ดขาดซึ่งถูกคุมขังอยู่ในเรือนจามาแล้วไม่
น้อยกว่าแปดเดือนนับแต่วันที่คดีถึงที่สุด หรือเป็นนักโทษเด็ดขาดมาแล้วน้อยกว่าแปดเดือนนับแต่วันที่คดี
ถึงที่สุด แต่ถูกคุมขังอยู่ในเรือนจามาแล้วไม่น้อยกว่าหนึ่งปีสี่เดือน
(๒) นักโทษเด็ดขาดกรณีอื่นนอกจาก (๑) ซึ่งถูกจัดอยู่ในชั้น ดังต่อไปนี้
(ก) ชั้นกลางขึ้นไป จะเลื่อนชั้นได้ต้องเป็นนักโทษเด็ดขาดในชั้นเดิมมาแล้วไม่น้อยกว่าสี่เดือน
(ข) ชั้นต่ากว่าชั้นกลาง จะเลื่อนชั้นได้ต้องเป็นนักโทษเด็ดขาดในชั้นเดิมมาแล้วไม่น้อยกว่าแปด
เดือน
ข้อ ๙ การพิจารณาเลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาดตามข้อ ๗ (๒) ให้ดาเนินการ ดังต่อไปนี้
(๑) นักโทษเด็ดขาดเข้าใหม่ซึ่งถูกจัดอยู่ในชั้น ดังต่อไปนี้
(ก) ชั้นกลาง จะเลื่อนชั้นได้ต้องเป็นนักโทษเด็ดขาดซึ่งถูกคุมขังอยู่ในเรือนจามาแล้วไม่น้อยกว่า
หกเดือนนับแต่วันที่คดีถึงที่สุด หรือเป็นนักโทษเด็ดขาดน้อยกว่าหกเดือนนับแต่วันที่คดีถึงที่สุด แต่ถูกคุม
ขังอยู่ในเรือนจามาแล้วไม่น้อยกว่าหนึ่งปี
(ข) ชั้นต้องปรับปรุง จะเลื่อนชั้นได้ต้องเป็นนักโทษเด็ดขาดซึ่งถูกคุมขังอยู่ในเรือนจามาแล้ว ไม่
น้อยกว่าหนึ่งปีนับแต่วันที่คดีถึงที่สุด หรือเป็นนักโทษเด็ดขาดน้อยกว่าหนึ่งปีนับแต่วันที่คดีถึงที่สุด แต่ถูก
คุมขังอยู่ในเรือนจามาแล้วไม่น้อยกว่าสองปี
(ค) ชั้นต้องปรับปรุงมากตามข้อ ๓ (๔) จะเลื่อนชั้นได้ต้องเป็นนักโทษเด็ดขาดซึ่งถูกคุมขังอยู่ใน
เรือนจามาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีนับแต่วันที่คดีถึงที่สุด หรือเป็นนักโทษเด็ดขาดน้อยกว่าสองปีนับแต่วันที่
คดีถึงที่สุด แต่ถูกคุมขังอยู่ในเรือนจามาแล้วไม่น้อยกว่าสามปี

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


124 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

(ง) ชั้นต้องปรับปรุงมากตามข้อ ๓ (๕) จะเลื่อนชั้นได้ต้องเป็นนักโทษเด็ดขาดซึ่งถูกคุมขังอยู่ใน


เรือนจามาแล้วไม่น้อยกว่าสามปีนับแต่วันที่คดีถึงที่สุด หรือเป็นนักโทษเด็ดขาดน้อยกว่าสามปีนับแต่วันที่
คดีถึงที่สุด แต่ถูกคุมขังอยู่ในเรือนจามาแล้วไม่น้อยกว่าสี่ปี
(๒) นักโทษเด็ดขาดกรณีอื่นนอกจาก (๑) ซึ่งถูกจัดอยู่ในชั้น ดังต่อไปนี้
(ก) ชั้นกลางขึ้นไป จะเลื่อนชั้นได้ต้องเป็นนักโทษเด็ดขาดในชั้นเดิมมาแล้วไม่น้อยกว่าหกเดือน
(ข) ชั้นต้องปรับปรุง จะเลื่อนชั้นได้ต้องเป็นนักโทษเด็ดขาดในชั้นเดิมมาแล้วไม่น้อยกว่าหนึ่งปี
(ค) ชั้นต้องปรับปรุงมาก จะเลื่อนชั้นได้ต้องเป็นนักโทษเด็ดขาดในชั้นเดิมมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปี
ข้อ ๑๐ การพิจารณาเลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาด ให้คานึงถึงผลดีต่อการปกครองบังคับบัญชาและ
การรักษาวินัยของเรือนจา ประโยชน์ต่อการพัฒนาพฤตินิสัยของนักโทษเด็ดขาดผู้นั้นให้กลับตนเป็นคนดี
การเสียสละทางานเพื่อส่วนรวม มีความวิริยะอุตสาหะ มีความขยันหมัน่ เพียร มีความมานะอดทน หรือทา
การงานให้เกิดผลดีแก่ท างราชการและส่วนรวมในการพิจารณาเลื่ อนชั้นนักโทษเด็ดขาดนอกจากจะ
คานึงถึงเหตุตามวรรคหนึ่งแล้ว ต้องพิจารณาปัจจัยดังต่อไปนี้ด้วย
(๑) ผ่านการจาแนกลักษณะของผู้ต้องขังตามที่กรมราชทัณฑ์กาหนด
(๒) ผ่านการประเมินพฤติกรรม การพัฒนาพฤตินิสัย หรือหลักสูตรการศึกษาอบรมและการฝึก
วิชาชีพ การฝึกทักษะการทางาน การทางานสาธารณะ หรือการทางานอื่นใดตามที่ได้รับมอบหมาย ทั้งนี้
ตามเกณฑ์การประเมินที่อธิบดีกาหนด
(๓) ไม่อยู่ในระหว่างถูกดาเนินการทางวินัยหรือถูกลงโทษทางวินัยในระหว่างการพิจารณาเลื่อน
ชั้น
ข้อ ๑๑ นั กโทษเด็ดขาดซึ่งเจ็ บป่วยหรือพิก าร หรือโดยสภาพแห่ งร่ างกายไม่ส ามารถเข้ ารับ
การศึกษาอบรม การฝึกวิชาชีพ หรือการฝึกทักษะการทางาน หรือได้รับการพัฒนาพฤตินิสัย อาจได้รับ
การพิจารณาเลื่อนชั้นกรณีปกติได้ โดยให้เสนอใบรับรองแพทย์ของทางราชการเพื่อประกอบการพิจารณา
ของคณะทางานเพื่อตรวจสอบการเลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาดประจาเรือนจา
ข้อ ๑๒ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาแต่งตั้งคณะทางานเพื่อตรวจสอบการเลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาด
ประจาเรือนจา ประกอบด้วยผู้บัญชาการเรือนจาเป็นประธาน และเจ้าพนักงานเรือนจาจานวนไม่น้อยกว่า
ห้าคนเป็นคณะทางาน และให้เจ้าพนักงานเรือนจาคนหนึ่งเป็นเลขานุการการแต่งตั้งคณะทางานตามวรรค
หนึ่ง อาจมีผู้แทนจากหน่วยงานหรือบุคคลภายนอกร่วมเป็นคณะทางานด้วยก็ได้
ข้อ ๑๓ ให้คณะทางานตามข้อ ๑๒ ดาเนินการตรวจสอบบัญชีร ายชื่อนักโทษเด็ดขาดซึ่งสมควร
ได้รับการเลื่อนชั้นและเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้อง แล้วเสนอความเห็นต่อผู้บัญชาการเรือนจา
ข้อ ๑๔ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาเสนอบัญชีการเลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาด พร้อมทั้งเอกสารหลักฐาน
ที่เกี่ยวข้อง และรายงานขอความเห็นชอบต่ออธิบดีตามกาหนดเวลา ดังต่อไปนี้
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 125

(๑) การเลื่อนชั้นในวันสิ้นเดือนเมษายน ให้รายงานขอความเห็นชอบภายในเดือนพฤษภาคม


(๒) การเลื่อนชั้นในวันสิ้นเดือนมิถุนายน ให้รายงานขอความเห็นชอบภายในเดือนกรกฎาคม
(๓) การเลื่อนชั้นในวันสิ้นเดือนสิงหาคม ให้รายงานขอความเห็นชอบภายในเดือนกันยายน
(๔) การเลื่อนชั้นในวันสิ้นเดือนธันวาคม ให้รายงานขอความเห็นชอบภายในเดือนมกราคมของปี
ถัดไป
ข้อ ๑๕ เมื่ออธิบดีให้ความเห็นชอบในการเลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาดแล้ว ให้ผู้บัญชาการเรือนจา
ออกคาสั่งและแจ้งให้นักโทษเด็ดขาดทราบผลการเลื่อนชั้น และปิดประกาศรายชื่อนักโทษเด็ดขาดซึ่ง
ได้รับการเลื่อนชั้นในที่เปิดเผยตามที่ผู้บัญชาการเรือนจาเห็นสมควร ในกรณีที่นักโทษเด็ดขาดไม่ได้รับการ
เลื่อนชั้น ให้ผู้บัญชาการเรือนจาแจ้งให้นักโทษเด็ดขาดผู้นั้นทราบ พร้อมทั้งเหตุผลที่ไม่ได้รับการเลื่อนชั้น
ผลของคาสั่งเห็นชอบตามวรรคหนึ่ง ให้ถือว่านักโทษเด็ดขาดผู้นั้นได้รับการเลื่อนชั้น ดังต่อไปนี้
(๑) ตั้งแต่วันที่ ๑ พฤษภาคม สาหรับการเลื่อนชั้นในวันสิ้นเดือนเมษายน
(๒) ตั้งแต่วันที่ ๑ กรกฎาคม สาหรับการเลื่อนชั้นในวันสิ้นเดือนมิถุนายน
(๓) ตั้งแต่วันที่ ๑ กันยายน สาหรับการเลื่อนชั้นในวันสิ้นเดือนสิงหาคม
(๔) ตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคมของปีถัดไป สาหรับการเลื่อนชั้นในวันสิ้นเดือนธันวาคม
ข้อ ๑๖ การนับระยะเวลาการเลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาดกรณีศาลมีคาพิพากษาถึงที่สุดแล้วแต่ยัง
ไม่ได้ตัวมาคุมขังในเรือนจา ให้เริ่มนับแต่วันที่รับตัวนักโทษเด็ดขาดผู้นั้นเข้ามาคุมขังในเรือนจา

ส่วนที่ ๒
การเลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาดกรณีมีเหตุพิเศษ
ข้ อ ๑๗ การพิ จ ารณาเลื่ อ นชั้ น นั ก โทษเด็ ด ขาดกรณี มี เ หตุ พิ เ ศษ นอกจากจะเป็ น ผู้ มี ค วาม
ประพฤติดีมีความอุตสาหะ มีความก้าวหน้าในการศึกษา และทาการงานเกิดผลดี หรือทาความชอบแก่
ทางราชการเป็ น พิเศษแล้ว จะต้องปรากฏข้อเท็จจริงว่ านักโทษเด็ดขาดผู้นั้นมีความเสียสละอุทิศตน
ช่ว ยเหลื อทางราชการ โดยการเข้ าต่อสู้ ขัดขวาง หรือป้องกันการหลบหนี ของผู้ ต้ องขังจากเรื อ นจ า
ช่วยเหลือเจ้าพนักงานเรือนจาหรือผู้อื่นในขณะที่ตกอยู่ในภาวะอันตราย หรือเสี่ยงอันตราย เข้าทาการ
ป้องกันจับกุมผู้ต้องขังที่ก่อการจลาจลหรือก่อเหตุร้ายขึ้นภายในเรือนจา หรือทาการดับเพลิงในกรณีที่เกิด
เพลิงไหม้อาคารสถานที่ของเรือนจา

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


126 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

นอกจากข้อเท็จจริงตามวรรคหนึ่ง ปลัดกระทรวงยุติธรรมอาจพิจารณาอนุมัติให้นักโทษเด็ดขาด
เลื่อนชั้นเป็นกรณีพิเศษ เพื่อประโยชน์ด้ านความมั่นคงปลอดภัยของรัฐหรือความสัมพันธ์อันดีระหว่ าง
ประเทศก็ได้
ข้อ ๑๘ การเลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาดกรณีมีเหตุพิเศษ อาจเลื่อนชั้นก่อนเวลาหรือเลื่อนข้ามชั้น
ก็ได้
การพิจารณาเลื่อนชั้นตามวรรคหนึ่ง ให้คณะทางานตามข้อ ๑๒ ดาเนินการตามข้อ ๑๓ และให้
เลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาดเมื่อได้รับอนุมัติจากปลัดกระทรวงยุติธรรม
ผลการเลื่ อนชั้น ตามวรรคหนึ่ ง ให้ ถือว่ านักโทษเด็ ด ขาดผู้ นั้ น ได้ รับ การเลื่ อ นชั้น นับแต่วั น ที่
ปลัดกระทรวงยุติธรรมอนุมัติ และให้นาความในข้อ ๑๕ วรรคหนึ่ง มาใช้บังคับกับการแจ้งผลการเลื่อนชั้น
โดยอนุโลม

(3) ได้รับแต่งตั้งให้มีตาแหน่งหน้าที่ช่วยเหลือเจ้าพนักงานเรือนจา
*หมวด ๓
การแต่งตั้งนักโทษเด็ดขาดให้มีตาแหน่งหน้าที่ผู้ช่วยเหลือเจ้าพนักงานเรือนจา
*กฎกระทรวง กาหนดประโยชน์ของนักโทษเด็ดขาดฯ พ.ศ. 2562 โดย รมว.สมศักดิ์ เทพสุทิน
(ให้ไว้ ณ วันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖2)
ข้อ ๑๙ กรณีมีความจาเป็นต้องแต่งตั้งนักโทษเด็ดขาดให้มีตาแหน่งหน้าที่ผู้ช่วยเหลือเจ้าพนักงาน
เรือนจาในกิจการเรือนจา ให้ผู้บัญชาการเรือนจาแต่งตั้งคณะทางานเพื่อคัดเลือกนักโทษเด็ดขาดให้มี
ตาแหน่งหน้ าที่ผู้ช่วยเหลือเจ้ าพนักงานเรือนจาประจาเรือนจาประกอบด้วย ผู้บัญชาการเรือนจาเป็น
ประธาน และเจ้าพนักงานเรือนจาจานวนไม่น้อยกว่าห้าคนเป็นคณะทางาน และให้เจ้าพนักงานเรือนจา
คนหนึ่งเป็นเลขานุการ
ข้อ ๒๐ การคัดเลือกนักโทษเด็ดขาดซึ่งจะได้รับการแต่งตั้งให้มีตาแหน่งหน้ าที่ผู้ช่วยเหลือเจ้า
พนักงานเรือนจา ต้องดาเนินการตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้
(๑) อัตราส่วนของนักโทษเด็ดขาดซึ่งผู้บัญชาการเรือนจาจะแต่งตั้งให้มีตาแหน่งหน้าที่ผู้ช่วยเหลือ
เจ้าพนักงานเรือนจาต้องไม่เกินร้อยละสามของจานวนผู้ต้องขังในเรือนจา
(๒) มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้
(ก) เป็นนักโทษเด็ดขาดชั้นเยี่ยม เว้นแต่มีนักโทษเด็ดขาดชั้นเยี่ยมไม่เพียงพอ ให้แต่งตั้ง
จากนักโทษเด็ดขาดชั้นดีมากหรือชั้นดีตามลาดับ
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 127

(ข) เป็นผู้ได้รับมอบหมายให้ทาหน้าที่ผู้ช่วยงานเจ้าพนักงานเรือนจาเป็นระยะเวลาไม่
น้อยกว่าหนึ่งปี ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดีกาหนด
(ค) ไม่อยู่ในระหว่างถูกดาเนินการทางวินัยหรือมีประวัติถูกลงโทษทางวินัย หรือเคยถูก
ถอดถอนจากตาแหน่งหน้าที่ผู้ช่วยเหลือเจ้าพนักงานเรือนจาหรือผู้ช่วยงานเจ้าพนักงานเรือนจา
(ง) ไม่เป็นนักโทษเด็ดขาดซึ่งกระทาความผิดในคดีอุกฉกรรจ์ หรือเป็นอาชญากรโดย
อาชีพ หรือเป็นผู้กระทาความผิดในคดียาเสพติดให้โทษที่เข้ าข่ายรายสาคัญและมีอิทธิพลตามที่อธิบดี
ประกาศกาหนด
ข้อ ๒๑ ให้คณะทางานตามข้อ ๑๙ ดาเนินการคัดเลือกนักโทษเด็ดขาดซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มี
ลักษณะต้องห้ ามตามข้อ ๒๐ และจัดทาแบบรายงานการแต่งตั้งนักโทษเด็ดขาดให้ มีตาแหน่งหน้ าที่ผู้
ช่วยเหลือเจ้าพนักงานเรือนจา และเสนอขออนุมัติต่ออธิบดี
ข้อ ๒๒ เมื่ออธิบดีอนุมัติแล้ว ให้ผู้บัญชาการเรือนจาออกคาสั่งแต่งตั้งนักโทษเด็ดขาดผู้นั้นให้มี
ตาแหน่งหน้าที่ผู้ช่วยเหลือเจ้าพนักงานเรือนจา และให้คาสั่งดังกล่าวมีผลนับแต่วันที่อธิบดีอนุมัติ
ข้อ ๒๓ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาจัดฝึกอบรมนักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับการแต่งตั้งให้มีตาแหน่งหน้าที่
ผู้ช่วยเหลือเจ้าพนักงานเรือนจาก่อนทาหน้าที่ โดยให้ความรู้ความเข้าใจในหน้าที่และความรับผิ ดชอบ
ระเบียบวินัย และข้อบังคับของเรือนจา
ข้อ ๒๔ นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับการแต่งตั้งให้มีตาแหน่งหน้ าที่ผู้ช่วยเหลือเจ้าพนักงานเรือนจา
ผู้ใดประพฤติตนเสียหายหรือมีพฤติการณ์ไม่เหมาะสม ให้ผู้บัญชาการเรือนจาสั่งระงับการปฏิบัติหน้าที่
แล้วสอบสวนและรายงานไปยังอธิบดีเพื่อพิจารณาอนุมัติถอดถอนโดยทันที
เมื่ออธิบดีอนุมัติแล้ว ให้ผู้บัญชาการเรือนจาออกคาสั่งถอดถอน และให้คาสั่งดังกล่าวมีผลนับแต่
วันที่ผู้บัญชาการเรือนจาสั่งระงับการปฏิบัติหน้าที่
ข้อ ๒๕ เครื่องแต่งกายผู้มีตาแหน่งหน้าที่ผู้ช่วยเหลือเจ้าพนักงานเรือนจา ให้เป็นไปตามระเบียบ
ที่อธิบดีกาหนด

(4) ลาไม่เกินเจ็ดวันในคราวหนึ่ง
(4) ลาไม่เกินเจ็ดวันในคราวหนึ่ง โดยไม่นับรวมเวลาที่ต้องใช้ในการเดินทางเข้าด้วย เมื่อมีความ
จาเป็นเห็นประจักษ์เกี่ยวด้วยกิจธุระสาคัญหรือกิจการในครอบครัว แต่ห้ามมิให้ออกไปนอกราชอาณาจักร
และต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้ในระเบียบกรมราชทัณฑ์ ระยะเวลาที่อนุญาตให้ลานี้ มิให้หักออก
จากการคานวณกาหนดโทษ ถ้านักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับอนุญาตให้ลาออกไปไม่กลับเข้าเรือนจาภายใน
เวลาที่กาหนดเกินกว่ายี่สิบสี่ชั่วโมง ให้ถือว่านักโทษเด็ดขาดผู้นั้นหลบหนีที่คุมขังตามประมวลกฎหมาย
อาญา

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


128 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ระเบียบกรมราชทัณฑ์
ว่าด้วยการลาของนักโทษเด็ดขาด พ.ศ.2561
--------------------
เพื่อที่จะให้การลาของนักโทษเด็ดขาดเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและเหมาะสมและมีแนวปฏิบัติที่
ชัดเจน อาศัยอานาจตามความในมาตรา 52(4) แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 อธิบดีกรม
ราชทัณฑ์จึงออกระเบียบไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ระเบียบเรียกว่า “ระเบียบกรมราชทัณฑ์ ว่าด้วยการลาของนักโทษเด็ดขาด พ.ศ.2561”
ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป
ข้อ 3 บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ คาสั่ง ประกาศ หรือหนังสือสั่งการอื่นใด ซึ่งขัดหรือแย้งกับ
ระเบียบนี้ ให้ใช้ระเบียบนี้แทน
ข้อ 4 ในระเบียบนี้
“ผู้ลา” หมายความว่า นักโทษเด็ดขาดที่ได้รับอนุญาตให้ลา
“อธิบดี” หมายความว่า อธิบดีกรมราชทัณฑ์
ข้อ 5 ให้ อธิบ ดีรั กษาการตามระเบียบนี้ และมีอานาจวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตาม
ระเบียบนี้

หมวดที่ 1
การยื่นคาขอและการพิจารณาคาขอ
ข้อ 6 นักโทษเด็ดขาดที่จะขออนุญาตลาตามระเบียบนี้ต้องเป็นนักโทษเด็ดขาดตั้งแต่ชั้นดีขึ้นไป
ข้อ 7 การขออนุญาตลาให้ทาเป็นหนังสือยื่นต่อเจ้าพนักงานเรือนจาที่ได้รับมอบหมาย โดยต้อง
ชี้แจงถึงเหตุผลและความจาเป็นที่เกี่ยวด้วยกิจธุระสาคัญหรือกิจการในครอบครัว ถ้านักโทษเด็ดขาดไม่
สามารถเขียนหนังสือได้ให้เจ้าพนักงานเรือนจาเป็นผู้บันทึกถ้อยคาแล้วให้ลงลายมือชื่อต่อหน้าพยานหนึ่ง
คนนอกจากตัวผู้จดบันทึกซึ่งต้องลงนามไว้ด้วย
ข้อ 8 เมื่อเจ้าพนักงานเรือนจาตามข้อ 7 ได้รับหนังสือขออนุญาตลาแล้วให้ดาเนินการดังนี้
(1) ตรวจสอบรายละเอีย ดของนักโทษเด็ ดขาดผู้ ข ออนุญาต ได้แก่ ข้อหาหรือฐานความผิ ด
ก าหนดโทษต้ อ งจ ามาแล้ ว และเหลื อ จ าต่ อ ไป ชั้ น ความประพฤติ ข ณะต้ อ งโทษ รวมถึ ง ตรวจสอบ
ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุผลและความจาเป็นที่ขอลา
(2) รายงานเสนอความเห็นต่อผู้บัญชาการเรือนจาว่าสมควรจะอนุญาตให้ลาหรือไม่ ระยะเวลา
เท่าใด และมีเงื่อนไขให้ปฏิบัติระหว่างลาอย่างไร
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 129

ข้อ 9 นักโทษเด็ดขาดในคดีความผิดดังต่อไปนี้ เมื่อผู้บัญชาการเรือนจาได้รับรายงานตามข้อ 8


แล้ว ให้เสนออธิบดีพิจารณาเห็นชอบก่อนจะมีคาสั่งอย่างใดอย่างหนึ่ง
(1) ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญาตามที่กาหนดในบัญชีแนบท้ายระเบียบนี้
(2) ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ กฎหมายว่าด้วยมาตรการในการปราบปราม
ผู้กระทาผิดเกี่ยวกับยาเสพติด หรือกฎหมายว่าด้วยวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทที่ศาลมีคาพิพากษา
ถึงที่สุดให้จาคุกตั้งแต่ 30 ปีขึ้นไป ถึงจาคุกตลอดชีวิตหรือประหารชีวิต
(3) ความผิดซึ่งเป็นที่สะเทือนขวัญหรืออยู่ในความสนใจของประชาชน ซึ่งหากได้รับอนุญาตให้
ออกไปทากิจธุระแล้ว อาจก่อให้เกิดความเข้าใจผิดหรือสร้างความสับสนแก่ประชาชนได้
(4) ความผิดอื่นที่อธิบดีกาหนด
ในกรณีที่อธิบดีเห็นชอบ ให้ผู้บัญชาการเรือนจามีคาสั่งอนุญาตและกาหนดเงื่อนไข ตามข้อ 12
สาหรับกรณีที่อธิบดีไม่เห็นชอบ ให้มีคาสั่งไม่อนุญาต
ข้อ 10 นอกจากกรณีที่กล่าวไว้ในข้อ 9 เมื่อผู้บัญชาการเรือนจาได้รับรายงานแล้ว ให้พิจารณา
และมีคาสั่งตามที่เห็นสมควร หรือจะให้สอบสวนข้อเท็จจริงเพิ่มเติมในกรณีที่เห็นว่ารายงานที่เสนอมายัง
ขาดข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสาคัญในการพิจารณาก็ได้
ข้อ 11 ให้ผู้บัญชาการเรือนจามีอานาจอนุญาตให้นักโทษเด็ดขาดลาได้ตามระเบียบนี้ไม่เกิน 4
วัน หากนักโทษเด็ดขาดขออนุญาตลาเกิน 4 วัน ให้เสนออธิบดีพิจารณาเห็นชอบ และให้นาความในข้อ 9
วรรคสองมาใช้โดยอนุโลม
ข้อ 12 เมื่อได้มีคาสั่งอนุญาตแล้ว ให้ผู้บัญชาการเรือนจากาหนดเงื่อนไขให้ผู้ลาปฏิบัติระหว่างที่
ลาข้อหนึ่งหรือหลายข้อ ดังต่อไปนี้
(1) ออกค่าใช้จ่ายในการเดินทางในส่วนของตนเอง
(2) ให้ไปในสถานที่ที่กาหนดหรือห้ามไปในสถานที่ที่กาหนด
(3) ห้ามออกนอกเคหสถานหรือที่พักในช่วงเวลาที่กาหนด
(4) ห้ามออกนอกเส้นทางที่กาหนด
(5) ห้ามติดต่อหรือเข้าใกล้ผู้เสียหาย
(6) ห้ามเดินทางออกนอกราชอาณาจักร
(7) เงื่อนไขอื่นๆ ซึ่งพิจารณาแล้วเห็นว่ามีความจาเป็น
ให้ผู้บัญชาการเรือนจาแต่งตั้งเจ้าพนักงานเรือนจาเป็นผู้ควบคุมระหว่างลาและให้จ่ายค่าเบี้ยเลี้ยง
ค่าพาหนะ และค่าที่พักแก่เจ้าพนักงานผู้ควบคุมตามอัตราของกระทรวงการคลัง

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


130 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

หมวดที่ 2
การแจ้งคาสั่งและการปฏิบัติตามคาสั่ง
ข้อ 13 คาสั่งไม่อนุญาตให้แจ้งให้นักโทษเด็ดขาดผู้ขออนุญาตลาทราบ
ข้อ 14 ในกรณีที่มีคาสั่งอนุญาต ให้ผู้บัญชาการเรือนจาออกหนังสือสาคัญให้ผู้ลา โดยให้ผู้ลานา
หนังสือสาคัญนี้ไปแสดงต่อพนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจท้องที่ที่ จะไปทากิจธุระภายในกาหนดเวลา
24 ชั่วโมง นับแต่เวลาไปถึงในการนี้ให้เรือนจามีหนังสือแจ้งพนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจท้องที่ทราบ
อีกทางหนึ่งด้วย
ข้อ 15 ในกรณีผู้ลาไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้ ให้เจ้าพนักงานเรือนจาผู้ควบคุมตัวนาตัวผู้
ลานั้นกลับเรือนจาโดยทันที
ในกรณีผู้ลาไม่มีผู้ควบคุม หากมีการตรวจพบหรือได้รับรายงานว่าผู้ลาไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่
กาหนดให้เจ้าพนักงานเรือนจาไปนาตัวผู้ลานั้นกลับเรือนจาโดยทันที
ข้อ 16 เมื่อผู้ ล ากลั บ ถึงเรือนจา ให้ คืนหนังสื อส าคัญตามข้อ 14 และยื่นคาชี้แจงถึงกิจการ
ประจาวันที่ได้กระทาไปในระหว่างลา ถ้าผู้ลาไม่สามารถเขียนหนังสือได้ ให้เจ้าพนักงานเรือนจาจดบันทึก
ไว้
ถ้ามีเจ้าพนักงานควบคุมไปในระหว่างลา ให้เจ้าพนักงานผู้ควบคุมไปนั้นตรวจคาชี้แจงของผู้ลา
และบันทึกไว้ว่าเป็นคาชี้แจงที่ถูกต้องเพียงใด
หมวดที่ 3
เบ็ดเตล็ด
ข้อ 17 หนังสือขออนุญาตลาตามข้อ 7 และหนังสือสาคัญตามข้อ 14 ให้ทาตามแบบที่กาหนด
ไว้ในระเบียบนี้
ประกาศ ณ วันที่ 30 เมษายน พ.ศ.2561
พันตารวจเอก ณรัชต์ เศวตนันทน์
อธิบดีกรมราชทัณฑ์

บัญชีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญาแนบท้ายระเบียบ
(1) ความผิดในภาค 2 ความผิดแห่งประมวลกฎหมายอาญา
ลักษณะ1/1 ความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย
มาตรา 135/1 ถึงมาตรา 135/4
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 131

ลักษณะ 6 ความผิดเกี่ยวกับการก่อให้เกิดภยันตรายต่อประชาชน
มาตรา 218
มาตรา 222
และมาตรา 224
ลักษณะ 9 ความผิดเกี่ยวกับเพศ
มาตรา 276 วรรคสาม
มาตรา 277 วรรคหนึ่ง วรรคสาม วรรคสี่
มาตรา 277 ทวิ
มาตรา 277 ตรี
มาตรา 280
มาตรา 282 วรรคสาม
มาตรา 283 วรรคสาม
และมาตรา 285
ลักษณะ 10 ความผิดเกี่ยวกับชีวิตร่างกาย
มาตรา 288
มาตรา 289
ลักษณะ 11 ความผิดเกี่ยวกับเสรีภาพและชื่อเสียง
มาตรา 313
ลักษณะ 12 ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์
มาตรา 339 วรรคสี่ วรรคห้า
มาตรา339 ทวิ วรรคสี่ วรรคห้า
มาตรา340 วรรคสาม วรรคสี่ วรรคห้า
มาตรา 340 ทวิ วรรคสี่ วรรคห้า วรรคหก
และมาตรา 340 ตรี
(2) ผลิต นาเข้าหรือส่งออก หรือผลิต นาเข้าหรือส่งออกเพื่อจาหน่าย หรือจาหน่าย หรือมีไว้
ครอบครองเพื่ อ จ าหน่ า ย ตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยยาเสพติ ด ให้ โ ทษ กฎหมายว่ า ด้ ว ยมาตรการในการ
ปราบปรามผู้กระทาผิดเกี่ยวยาเสพติด หรือกฎหมายว่าด้วยวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท และศาลมี
คาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุกตั้งแต่ 30 ปีขึ้นไป ถึงตลอดชีวิตหรือประหารชีวิต

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


132 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

หลักเกณฑ์ในการลากิจของนักโทษเด็ดขาด(เฉพาะการลาไปประกอบพิธีเกี่ยวกับงานศพ)
1. คุณสมบัติของนักโทษเด็ดขาดที่จะขออนุญาตลากิจ
1.1 เป็นนักโทษเด็ดขาดชั้นดีขึ้นไป
1.2 เป็นผู้มีความประพฤติเรียบร้อย มีความอุตสาหะ ความก้าวหน้าในการศึกษา ทา
การงานบังเกิดผลดีหรือความชอบแก่ทางราชการเป็นพิเศษ
1.3 ไม่เป็นผู้กระทาผิดวินัยในเรือนจา หากกระทาผิดวินัย ระยะเวลาที่ถูกลงโทษต้อง
ผ่านไปแล้ว 5 ปี ขึ้นไป นับจากวันที่นักโทษเด็ดขาดรับทราบคาสั่งลงโทษทางวินัย
1.4 ไม่มีคดีอายัด
1.5 กาหนดโทษเหลือจาต่อไป ควรอยู่ในข่ายที่จะได้รับการพักการลงโทษ
2. แนวทางการพิจารณาอนุญาตให้นักโทษเด็ดขาดลากิจ
2.1 ให้เฉพาะการลงไปร่วมพิธีฌาปนกิจศพ(ฝังศพหรือเผาศพฯลฯ)เท่านั้น
2.2 ให้เฉพาะผู้ตายที่เป็นบิดา มารดา สามี ภรรยา และบุตรของนักโทษเด็ดขาด
2.3 ให้ตรวจสอบเอกสาร หลักฐานและคุณสมบัติของนักโทษเด็ดขาดที่จะขอลา ดังนี้
2.3.1 บัตรประจาตัวประชาชนของผู้ยื่นคาร้อง(กรณีญาตินักโทษเด็ดขาดยื่นคา
ร้อง)
2.3.2 เอกสารที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างนักโทษเด็ดขาดกับผู้ตาย
2.3.3 ใบมรณบัตร หรือหนังสือรับรองการตาย
2.3.4 เอกสารเกี่ยวกับการประกอบพิธี ที่ระบุสถานที่ทาการฌาปนกิจ(ถ้ามี)
2.4ให้ คานึ ง ถึง ความปลอดภั ย ของนั กโทษเด็ ดขาดและเจ้า หน้ า ที่ผู้ ควบคุ ม ซึ่งควร
พิจารณารายละเอียดอื่นๆ ประกอบด้วย เช่น สถานที่ประกอบพิธีฌาปนกิจ ระยะทาง การเดินทาง อยู่ใน
จุดอันตรายหรือเสี่ยงต่อการควบคุมหรือไม่
3.ผลการพิจารณา
3.1ในกรณีผู้ได้รับมอบอานาจ พิจารณาอนุมัติ
-ให้ ผู้ บั ญ ชาการเรื อ นจา ผู้ อ านวยการทั ณ ฑสถาน สถานกั ก กั น สถานกั ก ขั ง ก าชั บ
เจ้าหน้าที่ให้ควบคุมนักโทษเด็ดขาดอย่างใกล้ชิดและถือปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับ ของทางราชการโดย
เคร่งครัด อย่าให้เกิดการเสียหายแก่ทางราชการ และเมื่อเสร็จภารกิจแล้ว ให้เจ้าหน้าที่ผู้ควบคุมนาตัว
นักโทษเด็ดขาดกลับเข้าคุมขังในเรือนจา/ทัณฑสถานโดยทันที
3.2ในกรณีผู้ได้รับมอบอานาจ พิจารณาไม่อนุมัติ
-ให้ผู้บัญชาการเรือนจา ผู้อานวยการทัณฑสถาน สถานกักกัน สถานกักขัง มอบหมาย
เจ้าหน้าที่ชี้แจงให้นักโทษเด็ดขาดหรือญาติ ผู้ยื่นคาร้องทราบ
---------------------------
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 133

(5) ลดวันต้องโทษ
(5) ลดวันต้องโทษจาคุก ให้เดือนละไม่เกินห้าวัน แต่การลดวันต้องโทษจาคุกจะพึงกระทาได้
ต่อเมื่อนักโทษเด็ดขาดได้รับโทษจาคุกตามคาพิพากษาถึงที่สุดมาแล้วไม่น้อยกว่าหกเดือนหรือหนึ่งในสาม
ของกาหนดโทษตามหมายศาลในขณะนั้นแล้วแต่อย่างใดจะมากกว่า หรือไม่น้อยกว่าสิบปีในกรณีที่
ต้ อ งโทษจ าคุ ก ตลอดชี วิต ที่ มี ก ารเปลี่ ย นโทษจาคุ ก ตลอดชีวิต เป็น โทษจ าคุ ก มี ก าหนดเวลา ทั้ ง นี้ ให้
คณะกรรมการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาวินิจฉัยลดวันต้องโทษจาคุก

*หมวด ๔
การลดวันต้องโทษจาคุกและการปล่อยตัว
*กฎกระทรวง กาหนดประโยชน์ของนักโทษเด็ดขาดฯ พ.ศ. 2562 โดย รมว.สมศักดิ์ เทพสุทิน
(ให้ไว้ ณ วันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖2)

ข้อ ๒๖ นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับโทษจาคุกตามคาพิพากษาถึงที่สุดมาแล้วไม่น้อยกว่าหกเดือน
หรือหนึ่งในสามของกาหนดโทษตามหมายศาลในขณะนั้นแล้วแต่อย่างใดจะมากกว่า หรือไม่น้อยกว่าสิบปี
ในกรณีที่ต้องโทษจาคุกตลอดชีวิตที่มีก ารเปลี่ยนโทษจาคุกตลอดชีวิตเป็นโทษจาคุกมีกาหนดเวลา อาจ
ได้รับการลดวันต้องโทษจาคุกตามชั้นและตามจานวนวัน ดังต่อไปนี้
(๑) ชั้นเยี่ยม เดือนละห้าวัน
(๒) ชั้นดีมาก เดือนละสี่วัน
(๓) ชั้นดี เดือนละสามวัน
นักโทษเด็ดขาดซึ่งกระทาผิดวินัยจะไม่ได้รับประโยชน์จ ากการสะสมวันลดวันต้องโทษจาคุกตาม
ชั้นเฉพาะเดือนที่กระทาผิดวินัย
ข้อ ๒๗ นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับการลดวันต้องโทษจาคุกตามข้อ ๒๖ จะได้รับการพิจารณาปล่อย
ตัว ต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้
(๑) เป็นนักโทษเด็ดขาดตั้งแต่ชั้นดีขึ้นไป
(๒) เหลือโทษจาคุกเท่ากับจานวนวันที่ได้รับการสะสมลดวันต้องโทษจาคุกตามข้อ ๒๖และหากมี
วันลดวันต้องโทษจาคุกตามมาตรา ๕๒ (๖) ให้นามารวมด้วย
(๓) ได้รับการแก้ไข บาบัด ฟื้นฟู และพัฒนาพฤตินิสัยตามที่อธิบดีกาหนด
(๔) มีผู้อุปการะ
(๕) ผ่านการคัดเลือกจากคณะทางานเพื่อพิจารณาวินิจฉัยลดวันต้องโทษจาคุกประจาเรือนจา

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


134 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ข้อ ๒๘ การพิจารณาปล่ อยตัว นักโทษเด็ดขาดจากการลดวันต้องโทษจาคุก ให้นาเหตุปัจจัย


ดังต่อไปนี้มาพิจารณาด้วย
(๑) ระยะเวลาการคุมประพฤติ
(๒) ความน่ าเชื่อถือและความเหมาะสมของผู้อุปการะในการควบคุมดูแลนักโทษเด็ดขาดให้
ปฏิบัติตามเงื่อนไขจนกว่าจะพ้นโทษ
(๓) ผลกระทบด้านความปลอดภัยของสังคม
(๔) มีพฤติการณ์ในระหว่างถูกคุมขังจนน่าเชื่อว่าได้กลับตนเป็นคนดี
ข้อ ๒๙ ให้มีคณะทางานเพื่อพิจารณาวินิจฉัยลดวันต้องโทษจาคุกประจาเรือนจาประกอบด้วยผู้
บั ญ ชาการเรื อ นจ าเป็ น ประธาน ผู้ แ ทนกรมการปกครอง ผู้ แ ทนกรมคุ ม ประพฤติ ผู้ แ ทนส านั ก งาน
คณะกรรมการป้ องกัน และปราบปรามยาเสพติด ผู้ แทนส านักงานตารวจแห่ งชาติ และเจ้ าพนักงาน
เรือนจาซึ่งผู้บัญชาการเรือนจาแต่งตั้งจานวนสองคน เป็นคณะทางาน และให้เจ้าพนักงานเรือนจาคนหนึ่ง
เป็นเลขานุการ
ข้อ ๓๐ การประชุมของคณะทางานตามข้อ ๒๙ ต้องมีคณะทางานมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง
ของจานวนคณะทางานทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม
ในการประชุมของคณะทางานตามวรรคหนึ่ง ห้ามมิให้ผู้บัญชาการเรือนจามอบหมายให้ผู้อื่นทา
หน้าที่เป็นประธานแทน หากผู้บัญชาการเรือนจาไม่สามารถทาหน้าที่เป็นประธานได้ ให้เลื่อนการประชุม
คราวนั้นออกไป โดยให้คานึงถึงประโยชน์ของนักโทษเด็ดขาดผู้นั้นเป็นสาคัญ
การวินิ จ ฉัย ชี้ข าดของที่ป ระชุมให้ ถือเสี ยงข้ างมาก คณะทางานคนหนึ่งให้ มีเสี ยงหนึ่งในการ
ลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด
ข้อ ๓๑ ให้คณะทางานตามข้อ ๒๙ ดาเนินการตรวจสอบบัญชีรายชื่อนักโทษเด็ดขาดซึ่งสมควร
ได้รับการลดวันต้องโทษจาคุกตามมาตรา ๕๒ (๕) และเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องแล้วเสนอความเห็นต่อ
อธิบดี
ข้อ ๓๒ เมื่ออธิบดีได้รับความเห็นของคณะทางานแล้ว ให้เสนอคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณา
วินิจฉัยลดวันต้องโทษจาคุกพิจารณาอนุมัติให้ปล่อยตัว
อธิบดีอาจตั้งคณะทางานเพื่อพิจารณากลั่นกรองก่อนเสนอความเห็นตามวรรคหนึ่งก็ได้
การพิจารณาของคณะอนุกรรมการตามวรรคหนึ่ง ให้นาเหตุปัจจัยตามข้อ ๒๘ มาพิจารณาด้วย
ความเห็นของคณะอนุกรรมการตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นที่สุด
ข้อ ๓๓ เมื่อคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาวินิจฉัยลดวันต้องโทษจาคุกอนุมัติให้ปล่อยตัวนักโทษ
เด็ดขาดซึ่งได้รับการลดวันต้องโทษจาคุกแล้ว ให้อธิบดีแจ้งผลการอนุมัติให้ผู้บัญชาการเรือนจาทราบใน
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 135

การนี้ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาออกหนังสือสาคัญให้แก่ นักโทษเด็ดขาดผู้นั้นและมีหนังสือแจ้งพนักงานคุม


ประพฤติในท้องที่ที่นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับการปล่อยตัวเข้าไปพักอาศัยทราบภายในเวลาอันสมควร โดย
นักโทษเด็ดขาดผู้นั้นต้องไปรายงานตัวต่อพนักงานคุมประพฤติในท้องที่ที่ไปพักอาศัยภายในสามวันนับแต่
วันที่ได้รับการปล่อยตัว
หนังสือสาคัญตามวรรคหนึ่ง ต้องระบุเงื่อนไขตามหมวด ๙ เงื่อนไขที่นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับการ
ปล่ อยตัว ก่อนครบกาหนดโทษต้องปฏิบัติ ในกรณีที่ห นังสื อส าคัญสู ญ หาย ให้ รีบแจ้งต่อพนัก งานคุ ม
ประพฤติและขอรับใบแทนหนังสือสาคัญ
เมื่อเจ้าพนักงานเรือนจาหรือพนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจเรียกให้ นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับ
การปล่อยตัวแสดงหนังสือสาคัญ ให้นักโทษเด็ดขาดผู้นั้นแสดงหนังสือสาคัญต่อบุคคลดังกล่าวถ้าไม่แสดง
หนังสือสาคัญ พนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจจะจับนักโทษเด็ดขาดผู้นั้นส่งเรือนจาก็ได้
ข้อ ๓๔ กรณีที่นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับการลดวันต้องโทษจาคุกและปล่อยตัวไป ฝ่าฝืนหรือไม่
ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กาหนดในหมวด ๙ เงื่อนไขที่นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับการปล่อยตัวก่อนครบกาหนด
โทษต้องปฏิบัติ ให้พนักงานคุมประพฤติ รายงานให้ อธิบดี ทราบโดยเร็ว เพื่อให้คณะอนุกรรมการเพื่ อ
พิจารณาวินิจฉัยลดวันต้องโทษจาคุกพิจารณาสั่งเพิกถอนการลดวันต้องโทษจาคุก

(6)ลดวันต้องโทษ (จากการทางานสาธารณะ)
(6) ลดวันต้องโทษจาคุกลงอีกไม่เกินจานวนวันที่ทางานสาธารณะหรือทางานอื่นใดเพื่อประโยชน์
ของทางราชการนอกเรือนจาตามมาตรา 49 และอาจได้รับเงินรางวัลด้วยก็ได้

*หมวด ๕
การลดวันต้องโทษจาคุกลงอีกไม่เกินจานวนวันที่ทางานสาธารณะหรือทางานอื่นใด
เพื่อประโยชน์ของทางราชการนอกเรือนจา
*กฎกระทรวง กาหนดประโยชน์ของนักโทษเด็ดขาดฯ พ.ศ. 2562 โดย รมว.สมศักดิ์ เทพสุทิน
(ให้ไว้ ณ วันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖2)

ข้อ ๓๕ นักโทษเด็ดขาดซึ่งถูกส่งออกไปทางานสาธารณะหรือทางานอื่นใดเพื่อประโยชน์ของทาง
ราชการนอกเรือนจา ให้ได้รับการลดวันต้องโทษจาคุกลงเท่ าจานวนวันที่ทางานนั้นวันทางานตามวรรค
หนึ่ง ต้องไม่น้อยกว่าแปดชั่วโมง โดยให้นับรวมเวลาเดินทางทั้งไปและกลับด้วย
ข้อ ๓๖ งานสาธารณะตามหมวดนี้ ได้แก่
(๑) งานที่ต้องใช้งบประมาณแผ่นดิน เงินของราชการบริหารส่วนท้องถิ่น เงินของรัฐวิสาหกิจหรือ
เงินของหน่วยงานอื่นของรัฐ

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


136 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

(๒) งานนอกเหนือจาก (๑) ซึ่งมีลักษณะเป็นการก่อให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชนทั่วไปการจัดทา


บริการสาธารณะ การช่วยเหลือบรรเทาสาธารณภัย หรือการอื่นใดที่มีลักษณะเป็น การบริการสังคมทั้งนี้
ไม่ว่างานนั้นจะมีผลประโยชน์ตอบแทนหรือไม่
งานสาธารณะที่จะจัดให้นักโทษเด็ดขาดออกไปทานอกเรือนจาตามวรรคหนึ่ง ต้องเสนอให้อธิบดี
พิจารณาให้ความเห็นชอบก่อน
ข้อ ๓๗ งานอื่นใดเพื่อประโยชน์ของทางราชการตามหมวดนี้ ได้แก่
(๑) งานรักษาความสะอาด งานสุขาภิบาล หรืองานบารุงรักษาสถานที่หรือหน่วยงานของราชการ
นอกเรือนจา
(๒) งานอื่นใดตามที่กาหนดในระเบียบกรมราชทัณฑ์
ข้อ ๓๘ นักโทษเด็ดขาดผู้ใดมีวันลดวันต้องโทษจาคุกสะสมจากการออกไปทางานสาธารณะหรือ
ทางานอื่น ใดเพื่อประโยชน์ ของทางราชการนอกเรือนจาเท่ ากับโทษจาคุกที่เหลื ออยู่ ให้ ผู้ บัญชาการ
เรือนจาเสนออธิบดีเพื่อพิจารณาสั่งปล่อยตัวจากการลดวันต้องโทษจาคุกสะสมนั้นให้นาความในข้อ ๓๓
ข้อ ๓๔ ข้อ ๗๒ ข้อ ๗๓ และข้อ ๗๔ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
ข้อ ๓๙ การส่งนักโทษเด็ดขาดผู้ใดออกไปทางานสาธารณะหรือทางานอื่นใดเพื่อประโยชน์ของ
ทางราชการนอกเรือนจา คณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาคัดเลือกนักโทษเด็ดขาดที่จะสั่งให้ออกไปทางาน
สาธารณะหรื อ ท างานอื่ น ใดเพื่ อ ประโยชน์ ข องทางราชการนอกเรื อ นจ า อาจก าหนดให้ ใ ช้ อุ ป กรณ์
อิเล็กทรอนิกส์หรืออุปกรณ์อื่นใดเพื่อสนับสนุนการควบคุมตัวนักโทษเด็ดขาดผู้นั้นก็ได้

(7)พักการลงโทษ
(7) พักการลงโทษเมื่อนักโทษเด็ดขาดได้รับโทษมาแล้ว ไม่น้อยกว่าหกเดือนหรือหนึ่งในสาม
ของกาหนดโทษตามหมายศาลในขณะนั้นแล้วแต่อย่างใดจะมากกว่า หรือไม่น้อยกว่าสิ บปีในกรณีที่
ต้องโทษจาคุกตลอดชีวิตที่มีการเปลี่ยนโทษจาคุกตลอดชีวิตเป็นโทษจาคุกมีกาหนดเวลา และกาหนด
ระยะเวลาที่จะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขให้กาหนดเท่ากับกาหนดโทษที่ยังเหลืออยู่ ทั้งนี้ ในการคานวณ
ระยะเวลาการพักการลงโทษ ถ้ามีวันลดวันต้องโทษจาคุกตาม (6) ให้นามารวมกับระยะเวลาในการพัก
การลงโทษด้วยโดยในการพักการลงโทษ ให้คณะกรรมการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาวินิจฉัย
การพักการลงโทษ
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 137

*ส่วนที่ 2
คณะกรรมการ
............................................................
ข้อ 62 ให้มีคณะกรรมการพักการลงโทษ ประกอบด้วยปลัดกระทรวงยุติธรรมเป็นประธาน รอง
ปลัดกระทรวงยุติธรรมซึ่งปลัดกระทรวงยุติธรรมมอบหมาย อธิบดีกรมคุมประพฤติ อธิบดีกรมคุ้มครอง
สิทธิและเสรีภาพ อธิบดีกรมราชทัณฑ์ อธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ เลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและ
ปราบปรามยาเสพติ ด ผู้ แ ทนกรมการปกครอง ผู้ แ ทนกรมพั ฒ นาสั ง คมและสวั ส ดิ ก าร ผู้ แ ทนกรม
สุขภาพจิต ผู้แทนสานักงานตารวจแห่งชาติ ผู้แทนสานักงานศาลยุติธรรม และผู้แทนสานักงานอัยการ
สูงสุดเป็นกรรมการ มีอานาจหน้าที่พิจารณาให้ความเห็นชอบหลักเกณฑ์การพักการลงโทษ สั่งพักการ
ลงโทษและสั่งถอนการพักการลงโทษ
ให้ผู้อานวยการสานักทัณฑปฏิบัติเป็นกรรมการและเลขานุการ และผู้อานวยการส่วนพักการ
ลงโทษเป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
*ระเบียบกระทรวงยุติธรรมว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการจาแนกลักษณะผู้ต้องขังและการแยกคุมขัง การเลื่อนหรือ
ลดชั้นนักโทษเด็ดขาด การลดวันต้องโทษจาคุกและการพักการลงโทษ พ.ศ. 2559

*หมวด ๖
การพักการลงโทษ
*กฎกระทรวง กาหนดประโยชน์ของนักโทษเด็ดขาดฯ พ.ศ. 2562 โดย รมว.สมศักดิ์ เทพสุทิน
(ให้ไว้ ณ วันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖2)

ข้อ ๔๐ นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับโทษจาคุกตามคาพิพากษาถึงที่สุดมาแล้วไม่น้อยกว่าหกเดือน
หรือหนึ่งในสามของกาหนดโทษตามหมายศาลในขณะนั้นแล้วแต่อย่างใดจะมากกว่า หรือไม่น้อยกว่าสิบปี
ในกรณีที่ต้องโทษจาคุกตลอดชีวิตที่มี การเปลี่ยนโทษจาคุกตลอดชีวิตเป็นโทษจาคุกมีกาหนดเวลาอาจ
ได้รับการพักการลงโทษ
ข้อ ๔๑ นักโทษเด็ดขาดซึ่งจะได้รับ พิจารณาการพักการลงโทษกรณีปกติ จะต้องเป็นนักโทษ
เด็ดขาดซึ่งต้องโทษจาคุกเป็นครั้งแรก เว้นแต่โทษจาคุกในครั้งก่อนนั้นเป็น ความผิดที่กระทาโดยประมาท
หรือความผิดลหุโทษ
นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับการล้างมลทินตามกฎหมายล้างมลทิน ไม่ถือเป็นการต้องโทษจาคุกครั้ง
แรก
ข้อ ๔๒ ในกรณีปกติ นักโทษเด็ดขาดอาจได้รับการพักการลงโทษ ดังต่อไปนี้
(๑) ชั้นเยี่ยม ไม่เกินหนึ่งในสามของกาหนดโทษที่ระบุไว้ในหมายแจ้งโทษเด็ดขาด
(๒) ชั้นดีมาก ไม่เกินหนึ่งในสี่ของกาหนดโทษที่ระบุไว้ในหมายแจ้งโทษเด็ดขาด
(๓) ชั้นดี ไม่เกินหนึ่งในห้าของกาหนดโทษที่ระบุไว้ในหมายแจ้งโทษเด็ดขาด

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


138 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

กรณีตาม (๑) (๒) หรือ (๓) หากมีการพระราชทานอภัยโทษ ให้ถือกาหนดโทษตามหมายแจ้งโทษ


เด็ดขาดฉบับหลังสุด
ในกรณีที่นักโทษเด็ดขาดมีวันลดวันต้องโทษจาคุกตามมาตรา ๕๒ (๖) ให้นามารวมกับระยะเวลา
พักการลงโทษตามวรรคหนึ่งด้วย
ข้อ ๔๓ ในกรณีที่อธิบ ดี พิจ ารณาแล้ ว เห็ นว่ ามี เหตุ พิเ ศษที่จ ะพัก การลงโทษนั กโทษเด็ ด ขาด
มากกว่าที่กาหนดในข้อ ๔๒ ให้เสนอคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาวินิจฉัยการพักการลงโทษพิจารณาให้
ความเห็นชอบและเสนอรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติ
ข้อ ๔๔ การพิจ ารณาการพักการลงโทษให้กับ นักโทษเด็ดขาด ให้ นาเหตุปัจจัยดังต่อไปนี้ มา
พิจารณาด้วย
(๑) พฤติการณ์แห่งคดีที่ได้กระทาและการกระทาความผิดที่ได้กระทามาก่อนแล้ว
(๒) ระยะเวลาการคุมประพฤติ
(๓) ความน่ าเชื่อถือและความเหมาะสมของผู้อุป การะในการควบคุมดูแลนักโทษเด็ดขาดให้
ปฏิบัติตามเงื่อนไขจนกว่าจะพ้นโทษ
(๔) ผลกระทบด้านความปลอดภัยของสังคม
(๕) มีพฤติการณ์ในระหว่างถูกคุมขังจนน่าเชื่อว่าได้กลับตนเป็นคนดี
(๖) ผ่านการแก้ไข บาบัด ฟื้นฟู และพัฒนาพฤตินิสัย
ข้อ ๔๕ ให้มีคณะทางานเพื่อพิจารณาวินิจฉัยการพักการลงโทษประจาเรือนจา ประกอบด้วย
ผู้บัญชาการเรือนจาเป็นประธาน ผู้แทนกรมการปกครอง ผู้แทนกรมคุมประพฤติ ผู้แทนสานักงาน
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ผู้แทนสานักงานตารวจแห่งชาติ และเจ้าพนักงาน
เรือนจาซึ่งผู้บัญชาการเรือนจาแต่งตั้ง จานวนสองคน เป็นคณะทางาน และให้เจ้าพนักงานเรือนจาคนหนึ่ง
เป็นเลขานุการ
ให้นาความในข้อ ๓๐ มาใช้บังคับกับการประชุมของคณะทางานตามวรรคหนึ่ง โดยอนุโลม
ข้อ ๔๖ ให้คณะทางานตามข้อ ๔๕ ดาเนินการตรวจสอบบัญชีรายชื่อนักโทษเด็ดขาดซึ่งสมควร
ได้รับการพักการลงโทษและเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้อง แล้วเสนอความเห็นต่อผู้บัญชาการเรือนจา
ข้อ ๔๗ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาเสนอรายชื่อนักโทษเด็ดขาดซึ่งสมควรได้รับ การพักการลงโทษ
พร้อมความเห็นต่ออธิบดีเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ
อธิบดีอาจตั้งคณะทางานเพื่อพิจารณากลั่นกรองก่อนเสนอความเห็นตามวรรคหนึ่งก็ได้
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 139

ในกรณีที่อธิบดีไม่เห็นด้วยกับ ความเห็นของคณะทางานตามข้อ ๔๕ ให้ทาความเห็นแย้งแล้วส่ง


เรื่องกลับไปให้คณะทางานพิจารณาให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ผู้ บัญชาการเรือนจาได้รับ
เรื่องหากไม่สามารถดาเนินการภายในกาหนดเวลาดังกล่าวได้ ให้ขยายระยะเวลาได้อีกไม่เกินสิบห้าวัน
เมื่อคณะท างานตามข้ อ ๔๕ พิจารณาเสร็จแล้ ว ให้ ทาความเห็ นแจ้ ง อธิบ ดี ท ราบ เพื่อเสนอ
ความเห็นต่อคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาวินิจฉัยการพักการลงโทษพิจารณา
ข้อ ๔๘ ให้อธิบดีกากับดูแลการคัดเลือกนักโทษเด็ดขาดซึ่งจะได้รับการพักการลงโทษ ทั้งนี้ตาม
หลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวงนี้ โดยนักโทษเด็ดขาดซึ่งจะได้รับ การพักการลงโทษ
จะต้องเป็นผู้ที่สามารถปรับเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมไปในทางที่ดีขึ้นได้
ข้อ ๔๙ เมื่ออธิบดี พิจารณาความเห็นของคณะทางานตามข้อ ๔๕ และเห็นชอบด้วยให้เสนอ
ความเห็นต่อคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาวินิจฉัยการพักการลงโทษพิจารณาอนุมัติพักการลงโทษ
การพิจารณาของคณะอนุกรรมการตามวรรคหนึ่ง ให้นาเหตุปัจจัยตามข้อ ๔๔ มาพิจารณาด้วย
ความเห็นของคณะอนุกรรมการตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นที่สุด
ข้อ ๕๐ เมื่อคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาวินิจฉัยการพักการลงโทษหรือรัฐมนตรีอนุมัติพักการ
ลงโทษและให้ปล่อยตัว นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับการพักการลงโทษแล้ว ให้อธิบดีแจ้งผลการอนุมัติให้ผู้
บัญชาการเรือนจาทราบ ในการนี้ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาออกหนังสือสาคัญให้แก่นักโทษเด็ดขาดผู้นั้นและ
มีหนังสือแจ้งพนัก งานคุมประพฤติและพนัก งานฝ่ายปกครองหรือตารวจในท้องที่ที่นักโทษเด็ดขาดซึ่ง
ได้รับการปล่อยตัวเข้าไปพักอาศัยทราบภายในเวลาอันสมควร โดยนักโทษเด็ดขาดผู้นั้นต้องไปรายงานตัว
ต่อพนักงานคุมประพฤติในท้องที่ที่ไปพักอาศัยภายในสามวันนับแต่วันที่ได้รับการปล่อยตัว
ถ้านักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับการพักการลงโทษและปล่อยตัว ตามวรรคหนึ่ง ย้ายที่อยู่หรือเข้าไป
ทางานในท้องที่อื่นที่มิใช่สถานที่หรือท้องที่ตามข้อ ๗๓ (๒) หรือ (๕) ให้พนักงานคุมประพฤติแห่งท้องที่ที่
มีการย้ายเข้าไปมีหนังสือแจ้งพนักงานฝ่ายปกครอง หรือตารวจในท้องที่ที่นักโทษเด็ดขาดผู้นั้นได้ย้ายที่อยู่
หรือเข้าไปทางานในท้องที่นั้นทราบภายในเวลาอันสมควร
ข้อ ๕๑ หนังสือสาคัญ ตามข้อ ๕๐ ต้องระบุเงื่อนไขตามหมวด ๙ เงื่อนไขที่นักโทษเด็ดขาดซึ่ง
ได้รับการปล่อยตัวก่อนครบกาหนดโทษต้องปฏิบัติ ในกรณีที่หนังสือสาคัญสูญหาย ให้รีบแจ้งต่อพนักงาน
คุมประพฤติและขอรับใบแทนหนังสือสาคัญ
เมื่อเจ้าพนักงานเรือนจาหรือพนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจเรียกให้ นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับ
การปล่อยตัวแสดงหนังสือสาคัญ ให้นักโทษเด็ดขาดผู้นั้นแสดงหนังสือสาคัญต่อบุคคลดังกล่าวถ้าไม่แสดง
หนังสือสาคัญ พนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจจะจับนักโทษเด็ดขาดผู้นั้นส่งเรือนจาก็ได้
ข้อ ๕๒ กรณีที่นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับการพักการลงโทษและปล่อยตัวไปฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม
เงื่อนไขที่กาหนดในหมวด ๙ เงื่อนไขที่นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับการปล่อยตัวก่อนครบกาหนดโทษต้อง

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


140 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ปฏิบัติ ให้พนักงานคุมประพฤติรายงานให้ อธิบดีทราบโดยเร็ว เพื่อให้คณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณา


วินิจฉัยการพักการลงโทษพิจารณาสั่งเพิกถอนการพักการลงโทษ

ประกาศกรมราชทัณฑ์
เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาพักการลงโทษ พ.ศ. 2562
......................................................................................
โดยที่ระเบียบกระทรวงยุติธรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการจาแนกลักษณะผู้ต้องขังและแยก
คุมขัง การเลื่อนหรือลดชั้นนักโทษเด็ดขาด การลดวันต้องโทษจาคุกและการพักการลงโทษ พ.ศ.2559
ข้อ 65 กาหนดให้การพิจารณาของคณะกรรมการการพักการลงโทษ หรือคณะกรรมการการคัดเลือก
นักโทษเด็ดขาดเพื่อพิจารณาพักการลงโทษเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่อธิบดีกรมราชทัณฑ์กาหนดโดยความ
เห็นชอบของคณะกรรมการพักการลงโทษ
อาศัยอานาจตามความในข้อ 65 แห่งระเบียบกระทรวงยุติธรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
จาแนกลักษณะผู้ต้องขังและแยกคุมขัง การเลื่อนหรือลดชั้นนักโทษเด็ดขาด การลดวันต้องโทษจาคุกและ
การพักการลงโทษ พ.ศ.2559 อธิบดีกรมราชทัณฑ์โดยความเห็นชองคณะกรรมการพักการลงโทษ จึง
ออกประกาศกาหนดหลักเกณฑ์การพิจารณาพักการลงโทษ และการคัดเลือกนักโทษเด็ดขาดเพื่อพิจารณา
พักการลงโทษ ดังนี้
ข้อ 1 นักโทษเด็ดขาดที่จะได้รับการพิจารณาพักการลงโทษต้องมีคุณสมบัติภายใต้หลัก เกณฑ์
ดังนี้
(1) มีคุณสมบัติควบถ้วนตามมาตรา 52 (7) แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. 2560
และข้อ 92 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 14 (พ.ศ.2553) ออกตามความในมาตรา 58 แห่งพระราชบัญญัติ
ราชทัณฑ์ พุทธศักราช 2479
(2) เป็นนักโทษเด็ดขาดชั้นดีขึ้นไป
(3) ต้องโทษจาคุกครั้งแรก เว้นแต่โทษจาคุกที่ต้องจามาในครั้งก่อนนั้น เป็นความผิดที่ได้
กระทาโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ กรณีที่นักโทษเด็ดขาดที่ได้รับการล้างมลทินตามพระราชบัญญัติ
ล้างมลทิน พ.ศ. 2550 ไม่ถือเป็นการต้องโทษจาคุกครั้งแรก
(4) ผ่านการกลั่นกรองจากคณะกรรมการกลั่นกรองการพักการลงโทษ ตามข้อ 64 แห่ง
ระเบียบกระทรวงยุติธรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการจาแนกลักษณะผู้ต้องขังและแยกคุมขัง การเลื่อน
หรือการลดชั้นนักโทษเด็ดขาด การลดวันต้องโทษจาคุกและการพักการลงโทษ พ.ศ.2559
(5) มีผู้ดูแลอุปการะซึ่งมีความพร้อมในระหว่างพักการลงโทษ
(6) มีระยะเวลาการคุมประพฤติ ไม่เกิน 5 ปี
(7) ไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยเกี่ยวกับยาเสพติด เครื่องคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ เครื่องมือ
สื่อสารอื่น รวมทั้งอุปกรณ์สาหรับสิ่งของดังกล่าว
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 141

(8) ไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยกรณีอื่นภายในระยะเวลา 6 เดือน ก่อนเสนอขอพักการ


ลงโทษ
(9) ไม่อยู่ระหว่างดาเนินการทางวินัยทุกกรณี
(10) ไม่มีโทษกักขัง หรือไม่ถูกคุมขังตามหมายขังในคดีอื่น
ข้อ 2 ให้คณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาวินิจฉัยการพักการลงโทษหรือคณะกรรมการคัดเลือก
นักโทษเด็ดขาดในชั้นเรือนจา ตรวจพิจารณาคุณสมบัติของนักโทษเด็ดขาดก่อนให้ความเห็นชอบพักการ
ลงโทษ โดยคานึงถึงพฤติการณ์ ลักษณะความผิด และองค์ประกอบอื่นด้วย ดังนี้

(ก) พฤติการณ์
(1) พฤติการณ์ในระหว่างถูกคุมขัง โดยเฉพาะความอุตสาหะ ความก้าวหน้าในการศึกษา
การทางาน การฝึกอบรมวิชาชีพ หรือทาความชอบแก่ทางราชการเป็นพิเศษ
(2) ความประพฤติที่แสดงให้เห็นว่าสามารถปรับเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมให้ดีขึ้น
เป็นที่ไว้วางใจ
(3) ไม่มีพฤติการณ์ที่อาจส่งผลกระทบด้านความปลอดภัยทางสังคม
(4) พฤติการณ์ก่อนมาต้องโทษ เช่น การศึกษา การประกอบอาชีพ ประวัติการต้องโทษ
เป็นต้น
(5) พฤติการณ์กระทาผิดในคดีที่ต้องโทษอยู่ทุกคดี สาเหตุการกระทาผิด และผลกระทบ
ของการกระทาผิดต่อผู้เสียหายและสังคม
(ข) ลักษณะความผิด
(1) ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท และผู้สาเร็จราชการแทน
พระองค์
(2) ความผิดต่อความมั่นคงของรัฐ (ภายในและภายนอกราชอาณาจักร)
(3) ความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย
(4) ความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ราชการ
(5) ความผิดเกี่ยวกับเพศที่กระทาชาเราเด็กอายุไม่เกิน 15 ปี หรือมีพฤติการณ์อันมี
ลักษณะเป็นการโทรมหญิง หรือความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี
หรือกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์
(6) ความผิดต่อชีวิตที่เป็นมือปืนรับจ้าง หรือมีลักษณะเป็นมือปืนรับจ้าง หรือพฤติการณ์
ฆ่าผู้อื่นโดยทรมานหรือกระทาทารุณโหดร้าย
(7) ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ที่เป็นภัยต่อสังคมอย่างร้ายแรง หรือฉ้อโกงประชาชน หรือชิง
ทรัพย์ ปล้นทรัพย์เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตายหรือได้รับอันตรายสาหัส หรือการกระทาผิดที่มีลักษณะ
เป็นแก๊งอาชญากรอาชีพ
(8) ความผิดที่มีผลกระทบต่อสัมพันธไมตรีกับต่างประเทศ

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


142 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

(9) คดีความผิดที่เป็นที่สนใจของสังคมหรือรายสาคัญ
(10) ความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ซึ่งปรากกฏผลการตรวจสอบจากสานักงาน ป.ป.ส. ว่า
เข้าข่ายเป็นผู้กระทาผิดรายสาคัญ
(11) ความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ซึ่งมีปริมาณหรือจานวนของกลาง ดังนี้
- เฮโรอีน น้าหนักตั้งแต่ 1 กิโลกรัมขึ้นไป
- ยาบ้า ตั้งแต่ 10,000 เม็ด หรือน้าหนักตั้งแต่ 1 กิโลกรัมขึ้นไป
- ไอซ์ น้าหนักตั้งแต่ 200 กรัมขึ้นไป
- เอ็กซ์ตาซี่ (ยาอี) ตั้งแต่ 1,000 เม็ด หรือมีน้าหนักตั้งแต่ 250 กรัมขึ้นไป
- โคเคน น้าหนักตั้งแต่ 1 กิโลกรัมขึ้นไป
- ฝิ่น น้าหนักตั้งแต่ 100 กรัมขึ้นไป
- กัญชา น้าหนักตั้งแต่ 100 กิโลกรัมขึ้นไป
- คีตามีน น้าหนักตั้งแต่ 1 กิโลกรัมขึ้นไป
- มิดาโซแลม ตั้งแต่ 500 เม็ดขึ้นไป
(12) ยาเสพติ ด ชนิ ด อื่ น นอกเหนื อ จากที่ ก าหนดไว้ใ น (11) ให้ อ ยู่ ใ นดุ ล ยพิ นิ จของ
คณะกรรมการพักการลงโทษและคณะกรรมการการคัดเลือกที่จะพิจารณาตามความร้ายแรงแห่งกรณี
(ค) องค์ประกอบอื่น
(1) ความน่าเชื่อถือของผู้อุปการะ
(2) ฐานะความเป็นอยู่ของครอบครัวนักโทษเด็ดขาด
(3) การประกอบอาชีพของนักโทษเด็ดขาดภายหลังได้รับการปล่อยตัวพักการลงโทษ
(4) การเยียวยาความเสียหายให้กับผู้เสียหาย
ข้อ 3 กรณีความผิดตามข้อ 2 (ข) ต้องมีเหตุผลพิเศษสนับสนุนการใช้ดุลยพินิจของคณะกรรมการ
พักการลงโทษและคณะกรรมการคัดเลือก ทั้งนี้ คณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาวินิจฉัยการพักการลงโทษ
และคณะกรรมการคัดเลือกนักโทษเด็ดขาดในชั้นเรือนจา มีอานาจใช้ดุลยพินิจพิจารณาผ่อนปรนให้ได้รับ
การลงพักการลงโทษ ด้วยเหตุผลอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้
(1) ขณะกระทาความผิดมีอายุไม่เกิน 20 ปี
(2) มีอายุตั้งแต่ 70 ขึ้นไป
(3) ต้องโทษมาพอสมควร เช่น โทษประหารชีวิต ต้องมีระยะเวลาต้ องโทษมาแล้วไม่
น้อยกว่า 16 ปี หรือต้องโทษตลอดชีวิต ต้องมีระยะต้องโทษมาแล้วไม่น้อยกว่า 14 ปี เป็นต้น
(4) เหลือโทษจาต่อไปไม่เกิน 1 ปี
(5) เจ็บป่วยด้วยโรคร้ายแรงระยะอันตรายอาจถึงแก่ชีวิต หรือพิการที่ช่วยเหลือตัวเอง
ไม่ได้ หรือช่วยเหลือตัวเองได้น้อย
(6) มีภาระรับผิดชอบบุตรซึ่งเป็นผู้เยาว์ หรือบิดามารดาที่ชราภาพ พิการ ช่วยเหลือ
ตัวเองไม่ได้และไม่มีผู้ดูแล
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 143

(7) ได้รับการแก้ไขฟื้นฟูตามโปรแกรมต่างๆ ตามประเภทคดีหรือพฤติการณ์ของการ


กระทาความผิด หรือได้รับการพัฒนาพฤตินิสัยอย่างต่อเนื่องจนน่าเชื่อว่าสามารถปรับเปลี่ ยนทัศนคติ
และพฤติกรรมไปในทางที่ดีขึ้น หรือผ่านการประเมินผลตามแบบทดสอบความเป็นอาชญากร (แบบก่อน
ปล่อย) แล้วแต่กรณี
(4) กรณีมีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติ ให้อธิบดีกรมราชทัณฑ์ เป็นผู้พิจารณาและวินิจฉัย
ชี้ขาด
(5) ประกาศฉบับนี้ ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2562
(พันตารวจเอก ณรัชต์ เศวตนันทน์)
อธิบดีกรมราชทัณฑ์

(8) ฝึกวิชาชีพในสถานประกอบการ
(8) ได้รับการพิจารณาอนุญาตให้ออกไป*ฝึกวิชาชีพในสถานประกอบการหรือ*รับการศึกษา
อบรมนอกเรือนจาโดยมีหรือไม่มีผู้ควบคุมก็ได้ แต่การอนุญาตให้ออกไปฝึกวิชาชีพหรือรับการศึกษา
อบรมนอกเรือนจาจะพึงกระทาได้ต่อเมื่อนักโทษเด็ดขาดได้รับโทษจาคุกตามคาพิพากษาถึงที่สุดมาแล้วไม่
น้อยกว่าหนึ่งในสามของกาหนดโทษตามหมายจาคุกเมื่อคดีถึงที่สุดในขณะนั้น และเหลือโทษจาคุกไม่เกิน
สามปีหกเดื อน ทั้งนี้ ให้ คานึ งถึงประโยชน์ในการศึกษาอบรมและแก้ไขพัฒ นาพฤตินิสั ยของนักโทษ
เด็ดขาดและความปลอดภัยของสังคมประกอบกัน แต่ถ้านักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับอนุญาตให้ออกไปฝึ ก
วิชาชีพในสถานประกอบการหรือรับการศึกษาอบรมนอกเรือนจาโดยไม่มีผู้ควบคุม ไม่กลับเข้าเรือนจา
ภายในเวลาที่กาหนดเกินกว่า ยี่สิบสี่ชั่วโมง ให้ถือว่านักโทษเด็ดขาดผู้นั้นหลบหนีที่คุมขังตามประมวล
กฎหมายอาญา
การดาเนินการตาม (2) (3) (5) (6) (7) และ(8) ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่
กาหนดในกฎกระทรวงโดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ และต้องนาพฤติการณ์กระทาความผิด
ลักษณะความผิด และความรุนแรงของคดี รวมตลอดทั้งการกระทาความผิดที่ได้กระทามาก่อนแล้วตามที่
กาหนดไว้ในมาตรา 40 มาประกอบการพิจารณาด้วย

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


144 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

*หมวด ๗
การฝึกวิชาชีพในสถานประกอบการนอกเรือนจา
*กฎกระทรวง กาหนดประโยชน์ของนักโทษเด็ดขาดฯ พ.ศ. 2562 โดย รมว.สมศักดิ์ เทพสุทิน
(ให้ไว้ ณ วันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖2)

ข้อ ๕๓ นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับโทษจาคุกตามคาพิพากษาถึงที่สุดมาแล้วไม่น้อยกว่าหนึ่งในสาม
ของกาหนดโทษตามหมายจาคุกเมื่อคดีถึงที่สุดในขณะนั้น และเหลือโทษจาคุกไม่เกินสามปีหกเดือน อาจ
ได้รับอนุญาตให้ออกไปฝึกวิชาชีพในสถานประกอบการนอกเรือนจา
คาว่า “สถานประกอบการ” ให้หมายความรวมถึงสถานที่ของทางราชการ รัฐวิสาหกิจ วิสาหกิจ
ชุมชน หรือหน่วยงานอื่นของรัฐด้วย
ข้อ ๕๔ นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับอนุญาตให้ออกไปฝึกวิช าชีพในสถานประกอบการนอกเรือนจา
ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้
(๑) เป็นนักโทษเด็ดขาดตั้งแต่ชั้นดีขึ้นไป
(๒) ได้รับการฝึกอบรมและผ่านการทดสอบความรู้จากผู้ให้การฝึกอบรมแล้ว
(๓) ไม่อยู่ในระหว่างถูกดาเนินการทางวินัยหรือถูกลงโทษทางวินัยในรอบหกเดือนก่อนออกไปฝึก
วิชาชีพ
(๔) ไม่อยู่ในระหว่างถูกดาเนินคดีอาญาในคดีอื่นหรือถูกอายัดตัวเพื่อดาเนินคดีอาญาอื่น
(๕) ไม่มีพฤติการณ์ที่แสดงให้เห็นว่าเมื่อได้รับอนุญาตให้ออกไปแล้วอาจจะหลบหนีหรือก่อให้เกิด
ความเสียหายแก่ทางราชการ
ข้อ ๕๕ นักโทษเด็ดขาดซึ่งกระทาความผิดดังต่อไปนี้ไม่ได้รับ การพิจารณาคัดเลือกให้ออกไปฝึก
วิชาชีพในสถานประกอบการนอกเรือนจา
(๑) ความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งราชอาณาจักรตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๐๗ถึง
มาตรา ๑๓๕
(๒) ความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้ ายตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๓๕/๑ ถึงมาตรา
๑๓๕/๔
(๓) ความผิดเกี่ยวกับเพศตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๗๖ วรรคสาม มาตรา ๒๗๗
มาตรา ๒๗๗ ทวิ มาตรา ๒๗๗ ตรี มาตรา ๒๘๐ มาตรา ๒๘๒ หรือมาตรา ๒๘๓
(๔) ความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่ างกายตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๘๙ มาตรา ๒๙๗
หรือมาตรา ๒๙๘
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 145

ข้อ ๕๖ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาแต่งตั้งคณะทางานเพื่อพิจารณาคัดเลือกนักโทษเด็ดขาดให้ออกไป
ฝึกวิชาชีพในสถานประกอบการนอกเรือนจา ประกอบด้วยผู้ บัญชาการเรือนจาเป็นประธานและเจ้ า
พนักงานเรือนจาจานวนไม่น้ อยกว่ าสามคนเป็นคณะทางาน และให้เจ้ าพนักงานเรือนจาคนหนึ่งเป็น
เลขานุการ
ข้อ ๕๗ ให้คณะทางานตามข้อ ๕๖ ดาเนินการคัดเลือกนักโทษเด็ดขาดซึ่งสมควรให้ออกไปฝึก
วิชาชีพในสถานประกอบการนอกเรือนจา แล้วเสนอผู้บัญชาการเรือนจาให้ความเห็นชอบ
ข้อ ๕๘ การฝึกวิชาชีพในสถานประกอบการนอกเรือนจาตามลักษณะงานดังต่อไปนี้ต้องได้รับ
ความเห็นชอบจากอธิบดีก่อน โดยให้คานึงถึงความปลอดภัยของนักโทษเด็ดขาดประกอบด้วย
(๑) งานที่ต้องทาใต้ดิน ใต้น้า ในถ้า ในอุโมงค์ หรือในที่อับอากาศ
(๒) งานที่ทาบนที่สูง
(๓) งานเกี่ยวกับกัมมันตภาพรังสี
(๔) งานเชื่อมโลหะ
(๕) งานขนส่งวัตถุอันตราย
(๖) งานผลิตสารเคมีอันตราย
(๗) งานที่ต้องทาด้วยเครื่องมือหรือเครื่องจักรซึ่งผู้ทาได้รับ ความสั่นสะเทือนอันอาจเป็นอันตราย
และงานที่มีเสียงดังเกินเกณฑ์ที่จะส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้ต้องขัง
(๘) งานที่ต้องห้ามเกี่ยวกับความร้อนจัดหรือเย็นจัดอันอาจเป็นอันตราย
(๙) งานอื่นตามที่อธิบดีกาหนด
ข้อ ๕๙ การให้ นั กโทษเด็ดขาดหญิงออกไปฝึ กวิช าชีพในสถานประกอบการนอกเรือนจ าให้
ผู้บัญชาการเรือนจาพิจารณาลักษณะงานและสถานประกอบการด้วยความรอบคอบ และเสนออธิบดี
พิจารณาให้ความเห็นชอบก่อนอนุญาตให้ออกไปฝึกวิชาชีพ
ข้อ ๖๐ ในกรณีที่ปรากฏในภายหลังว่านักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับอนุญาตให้ออกไปฝึกวิช าชีพใน
สถานประกอบการนอกเรื อนจ าขาดคุ ณสมบัติห รื อ มีลั ก ษณะต้ องห้ า ม หรือฝ่ าฝื นหรือไม่ปฏิบั ติ ต าม
ระเบี ย บของสถานประกอบการหรื อ กรมราชทั ณ ฑ์ ตลอดจนข้ อ ตกลงที่ ก รมราชทั ณ ฑ์ ท ากั บ สถาน
ประกอบการ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาเพิกถอนการอนุญาตและนาตัวนักโทษเด็ดขาดผู้นั้นกลับเข้าเรือนจา
พร้อมทั้งรายงานให้อธิบดีทราบเพื่อดาเนินการต่อไป
ข้อ ๖๑ ให้ผู้บัญชาการเรือนจารายงานผลการอนุญาตให้นักโทษเด็ดขาดออกไปฝึกวิชาชีพใน
สถานประกอบการนอกเรือนจาต่ออธิบดี ตามระยะเวลาและรูปแบบที่อธิบดีกาหนด และผู้บัญชาการ

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


146 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

เรือนจาอาจกาหนดให้ใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรืออุปกรณ์อื่นใดเพื่อสนับสนุน การควบคุมตัวนักโทษ
เด็ดขาดผู้นั้นก็ได้

รับการศึกษาอบรมนอกเรือนจา
*หมวด ๘
การรับการศึกษาอบรมนอกเรือนจา
กฎกระทรวง กาหนดประโยชน์ของนักโทษเด็ดขาดฯ พ.ศ. 2562 โดยรมว.สมศักดิ์ เทพสุทิน (ให้ไว้ ณวันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖2)

ข้อ ๖๒ นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับโทษจาคุกตามคาพิพากษาถึงที่สุดมาแล้วไม่น้อยกว่าหนึ่งในสาม
ของกาหนดโทษตามหมายจาคุกเมื่อคดีถึงที่สุดในขณะนั้น และเหลือโทษจาคุกไม่เกินสามปีหกเดือน อาจ
ได้รับอนุญาตให้ออกไปศึกษาอบรมนอกเรือนจา
ข้อ ๖๓ นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับอนุญาตให้ออกไปศึกษาอบรมนอกเรือนจาในหลักสูตรการศึกษา
อบรมที่กรมราชทัณฑ์หรือเรือนจาทาความตกลงกับสถานศึกษา ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม
ดังต่อไปนี้
(๑) ต้องโทษจาคุกเป็นครั้งแรก
(๒) เป็นนักโทษเด็ดขาดตั้งแต่ชั้นดีขึ้นไป
(๓) อยู่ ร ะหว่ างการศึกษาอบรมก่อนต้องโทษ และยังสามารถศึกษาอบรมต่อเนื่องเพื่อให้จบ
หลักสูตรได้
(๔) ได้รับการศึกษาอบรมในเรือนจาและจาเป็นต้องได้รับการศึกษาอบรมต่อเนื่องนอกเรือนจา
(๕) ไม่อยู่ในระหว่างถูกดาเนินการทางวินัยหรือถูกลงโทษทางวินัยในรอบหกเดือนก่อนออกไป
ศึกษาอบรมนอกเรือนจา
(๖) ไม่อยู่ในระหว่างถูกดาเนินคดีอาญาในคดีอื่นหรือถูกอายัดตัวเพื่อดาเนินคดีอาญาอื่น
(๗) ไม่มีพฤติการณ์ที่แสดงให้เห็นว่าเมื่อได้รับอนุญาตให้ออกไปแล้วอาจจะหลบหนีหรือก่อให้เกิด
ความเสียหายแก่ทางราชการ
หลักสูตรการศึกษาอบรมที่อนุญาตให้นักโทษเด็ดขาดออกไปศึกษาอบรมนอกเรือนจาตามวรรค
หนึ่งให้เป็นไปตามที่อธิบดีประกาศกาหนด
ข้อ ๖๔ นักโทษเด็ดขาดซึ่งกระทาความผิดดังต่อไปนี้ไม่ได้รับ การพิจารณาคัดเลือกให้ออกไป
ศึกษาอบรมนอกเรือนจา
(๑) ความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งราชอาณาจักรตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๐๗ถึง
มาตรา ๑๓๕
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 147

(๒) ความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้ ายตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๓๕/๑ ถึงมาตรา


๑๓๕/๔
(๓) ความผิดเกี่ยวกับเพศตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๗๖ วรรคสาม มาตรา ๒๗๗
มาตรา ๒๗๗ ทวิ มาตรา ๒๗๗ ตรี มาตรา ๒๘๐ มาตรา ๒๘๒ หรือมาตรา ๒๘๓
(๔) ความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่ างกายตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๘๙ มาตรา ๒๙๗
หรือมาตรา ๒๙๘
ข้อ ๖๕ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาแต่งตั้งคณะทางานเพื่อพิจารณาคัดเลือกนักโทษเด็ดขาดให้ออกไป
รับการศึกษาอบรมนอกเรือนจา ประกอบด้วยผู้บัญชาการเรือนจาเป็นประธาน และเจ้าพนักงานเรือนจา
จานวนไม่น้อยกว่าสามคนเป็นคณะทางาน และให้เจ้าพนักงานเรือนจาคนหนึ่งเป็นเลขานุการ
ข้อ ๖๖ ให้คณะทางานตามข้อ ๖๕ ดาเนินการคัดเลือกนักโทษเด็ดขาดซึ่งสมควรให้ออกไปรับ
การศึกษาอบรมนอกเรือนจา แล้วเสนอผู้บัญชาการเรือนจาให้ความเห็นชอบก่อนเสนออธิบดี พิจารณา
อนุมัติ
ข้อ ๖๗ ให้นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับอนุญาตให้ออกไปศึกษาอบรมนอกเรือนจาปฏิบัติ ดังต่อไปนี้
(๑) แต่งกายตามที่สถานศึกษาหรือผู้บัญชาการเรือนจากาหนด
(๒) กลับเข้าเรือนจาไม่เกินเวลา ๑๗.๐๐ นาฬิกาในวันเดียวกัน
ข้ อ ๖๘ ในกรณีที่ นั กโทษเด็ด ขาดซึ่ ง ได้รั บ อนุญ าตให้ อ อกไปศึ ก ษาอบรมนอกเรื อนจาไม่ มี ผู้
ควบคุมในเวลาที่ออกไปศึก ษาอบรม ให้ นักโทษเด็ดขาดผู้ นั้นปฏิบัติ ต ามเงื่อนไขที่ส ถานศึ กษาหรื อ ผู้
บัญชาการเรือนจากาหนด
ข้อ ๖๙ กรณีที่มีค่าใช้จ่ายอื่นนอกจากที่สถานศึกษาหรือผู้บัญชาการเรือนจาจัดให้ ให้นักโทษ
เด็ดขาดซึ่งได้รับอนุญาตให้ออกไปศึกษาอบรมนอกเรือนจารับผิดชอบค่าใช้จ่ายดังกล่าว
ข้อ ๗๐ ในกรณีที่ปรากฏในภายหลังว่านักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับอนุญ าตให้ออกไปศึกษาอบรม
นอกเรือนจาขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ าม หรือฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามระเบียบของสถานศึกษา
หรือกรมราชทัณฑ์ ตลอดจนข้อตกลงที่กรมราชทัณฑ์ทากับสถานศึกษา ให้ผู้บัญชาการเรือนจาเพิกถอน
การอนุ ญ าตและน าตั ว นั ก โทษเด็ ด ขาดผู้ นั้ น กลั บ เข้ า เรื อ นจ า พร้ อ มทั้ ง รายงานให้ อ ธิ บ ดี ท ราบเพื่ อ
ดาเนินการต่อไป
ข้อ ๗๑ ให้ผู้บัญชาการเรือนจารายงานผลการอนุญาตให้นักโทษเด็ดขาดออกไปศึกษาอบรมนอก
เรือนจาต่ออธิบดีตามระยะเวลาและรูปแบบที่อธิบดีกาหนด และผู้บัญชาการเรือนจาอาจกาหนดให้ใช้
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรืออุปกรณ์อื่นใด เพื่อสนับสนุนการควบคุมตัวนักโทษเด็ดขาดผู้นั้นก็ได้

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


148 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

มาตรา 53 นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับการลดวันต้องโทษจาคุกตามมาตรา 52(5)หรือ(6) หรือ


ได้รับการพักการลงโทษตามมาตรา 52(7) และได้รับการปล่อยตัว ไปก่อนครบกาหนดโทษตามหมายศาล
ในขณะนั้น ห้ามมิให้เดินทางออกนอกราชอาณาจักรก่อนครบกาหนดโทษตามหมายศาลในขณะนั้นและ
ต้องปฏิบัติตนโดยเคร่งครัดตามเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง
ในกรณีที่นักโทษเด็ดขาดผู้ใดพยายามหรือได้เดินทางออกนอกราชอาณาจักรหรือไม่ปฏิบัติตาม
เงื่อนไขที่กาหนดไว้ในวรรคหนึ่ ง ให้เจ้าพนักงานเรือนจาหรือพนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจซึ่ง เจ้า
พนักงานเรือนจาร้องขอในกรณีจาเป็น มีอานาจจับนักโทษเด็ดขาดผู้นั้นได้โดยมิต้องมีหมายจับ และ
นากลับเข้าจาคุกต่อไปตามกาหนดโทษที่ยังเหลืออยู่โดยไม่ต้องมีหมายจาคุกอีก โดยให้คณะอนุกรรมการ
ตามมาตรา 52(5)หรือ(7) พิจารณาตรวจสอบว่านักโทษเด็ดขาดได้พยายามหรือได้เดินทางออกนอก
ราชอาณาจักรหรือได้ปฏิบัติถูกต้องตามเงื่อนไขหรือไม่ หากปรากฏว่านักโทษเด็ดขาดไม่ได้ กระทาการ
ดังกล่าว ให้มีคาสั่งให้มีการลดวันต้องโทษจาคุกหรือพักการลงโทษต่อไป แต่หากได้กระทาการนั้น ให้มี
อานาจสั่งเพิกถอนการลดวันต้องโทษจาคุกหรือการพักการลงโทษ แล้วแต่กรณี และอาจถูกพิจารณา
ลงโทษทางวินัยอีกด้วยก็ได้

เงื่อนไขของการปล่อยก่อนครบกาหนดโทษ
*หมวด ๙
เงื่อนไขที่นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับการปล่อยตัวก่อนครบกาหนดโทษต้องปฏิบัติ
*กฎกระทรวง กาหนดประโยชน์ของนักโทษเด็ดขาดฯ พ.ศ. 2562 โดย รมว.สมศักดิ์ เทพสุทิน
(ให้ไว้ ณ วันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖2)

ข้อ ๗๒ เงื่อนไขที่เป็นข้อห้ ามมิให้ นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับ การปล่ อยตัวก่อนครบกาหนดโทษ


กระทาการ มีดังต่อไปนี้
(๑) ห้ามเข้าไปในเขตท้องที่ สถานที่ หรือตามเวลาที่กาหนด
(๒) ห้ามคบหาสมาคมกับบุคคลทีอ่ าจนาไปสู่การกระทาความผิดอีก
(๓) ห้ ามเกี่ย วข้องกับ สารระเหย วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท หรือยาเสพติดให้ โ ทษทุก
ประเภท รวมทั้งอาวุธปืน เครื่องกระสุนปืน หรือวัตถุระเบิดทุกชนิด
(๔) ห้ามประพฤติตนในทางเสื่อมเสีย โดยการเสพสุราหรือเล่นการพนันที่อาจนาไปสู่การกระทา
ผิดกฎหมายอีก
(๕) ห้ามเยี่ยมหรือติดต่อกับผู้ต้องขัง ผู้ต้องกักขัง หรือผู้ต้องกักกันอื่นที่ไม่ใช่ญาติ ซึ่งถูกคุมขังอยู่
ในเรือนจา สถานกักขัง สถานกักกัน หรือสถานคุมขังอื่นใด
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 149

(๖) ห้ ามเดิน ทางออกนอกเขตท้องที่จังหวัด เว้นแต่มีธุระส าคัญเป็นครั้งคราว ให้ ขออนุญ าต


พนักงานคุมประพฤติ หากจะย้ายที่อยู่หรือเปลี่ยนแปลงผู้อุป การะ ให้ยื่นคาร้องต่อพนักงานคุมประพฤติ
ในท้องที่เดิมและต้องได้รับอนุญาตก่อน
(๗) เงื่ อ นไขอื่ น ตามที่ ค ณะอนุ ก รรมการเพื่ อ พิ จ ารณาวิ นิ จ ฉั ย ลดวั น ต้ อ งโทษจ าคุ ก หรื อ
คณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาวินิจฉัยการพักการลงโทษกาหนด
ข้ อ ๗๓ เงื่ อ นไขให้ นั ก โทษเด็ ด ขาดซึ่ ง ได้ รั บ การปล่ อ ยตั ว ก่ อ นครบก าหนดโทษกระท าการ
มีดังต่อไปนี้
(๑) รายงานตัวต่อพนักงานคุมประพฤติ
(๒) พักอาศัยอยู่กับผู้อุปการะตามสถานที่ที่แจ้ง เว้นแต่มีเหตุจาเป็นให้ยื่นคาร้องต่อพนัก งานคุม
ประพฤติในท้องที่เดิมและต้องได้รับอนุญาตก่อน
(๓) ปฏิบัติตามคาแนะนาและคาตักเตือนของพนักงานคุมประพฤติและเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อ การ
แก้ไขฟื้นฟูตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดีกรมคุมประพฤติกาหนด
(๔) ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับ หากมีการฝ่าฝืนและถูกลงโทษโดยเจ้าพนักงานผู้
มีหน้าที่และอานาจตามกฎหมาย ระเบียบ หรือข้อบังคับนั้น ไม่ว่าจะเป็นโทษสถานใดนักโทษเด็ดขาดหรือ
ผู้อุปการะนักโทษเด็ดขาดผู้นั้นต้องแจ้งให้พนักงานคุมประพฤติทราบทุกครั้ง
(๕) ประกอบอาชีพสุจริต หากจะเปลี่ยนสถานที่ทางานหรือย้ายงานใหม่ ต้องแจ้งให้พนักงานคุม
ประพฤติทราบทุกครั้ง เว้นแต่มีเหตุจาเป็น ให้แจ้งพนักงานคุมประพฤติทราบภายในกาหนดระยะเวลาการ
รายงานตัวครั้งต่อไป
(๖) เงื่ อ นไขอื่ น ตามที่ ค ณะอนุ ก รรมการเพื่ อ พิ จ ารณาวิ นิ จ ฉั ย ลดวั น ต้ อ งโทษจ าคุ ก หรื อ
คณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาวินิจฉัยการพักการลงโทษกาหนด
ข้อ ๗๔ การกาหนดเงื่อนไขตามข้อ ๗๒ หรือข้อ ๗๓ จะกาหนดข้อเดียว หรือหลายข้อก็ได้แล้วแต่
ความเหมาะสมแก่ลักษณะของนักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับการปล่อยตัวก่อนครบกาหนดโทษและพฤติ การณ์
ของนักโทษเด็ดขาดผู้นั้น
การดาเนินการตามเงื่อนไขตามวรรคหนึ่ง คณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาวินิจฉัยลดวันต้องโทษ
จ าคุ ก หรื อ คณะอนุ ก รรมการเพื่ อ พิ จ ารณาวิ นิ จ ฉั ย การพั ก การลงโทษอาจก าหนดให้ ใ ช้ อุ ป กรณ์
อิเล็กทรอนิกส์หรืออุปกรณ์อื่นใดในการติดตามตัวนักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับการปล่อยตัวก่อนครบกาหนด
โทษก็ได้

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


150 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ส่วนที่ 4
สุขอนามัยของผู้ต้องขัง
-------------------------
มาตรา 54 ให้เรือนจาทุกแห่งจัดให้มีสถานพยาบาล เพื่อเป็นที่ทาการรักษาพยาบาลผู้ต้องขังที่
ป่วย จัดให้มีแพทย์ พยาบาล หรือเจ้าพนักงานเรือนจาที่ผ่านการอบรมด้านการพยาบาล ซึ่งอยู่ปฏิบัติ
หน้าที่เป็นประจาที่สถานพยาบาลนั้นด้วย อย่างน้อยหนึ่งคน และให้ดาเนินการอื่นใดเกี่ยวกับการตรวจ
ร่างกายตามมาตรา 37 การดูแลสุขอนามัย การสุขาภิบาล และการตรวจสุขภาพตามความจาเป็น รวมทั้ง
สนับสนุนให้ผู้ต้องขังได้รับโอกาสในการออกกาลังกายตามสมควร และจัดให้ผู้ต้องขังได้รับอุปกรณ์ช่วย
เกี่ยวกับสายตาและการได้ยิน การบริการทันตกรรม รวมถึงอุปกรณ์สาหรับผู้มีกายพิการตามความจาเป็น
และเหมาะสม ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามระเบียบกรมราชทัณฑ์

ระเบียบกรมราชทัณฑ์
ว่าด้วยการดาเนินการเกี่ยวกับการอนามัยและการสุขาภิบาลของผู้ต้องขัง
พ.ศ.2561
--------------------------------------
เพื่อให้การดาเนินการเกี่ยวกับการอนามัยและการสุขาภิบาลของผู้ต้องขังดาเนินไปด้วยความ
เรียบร้อยตามที่กฎหมายกาหนด และสอดคล้องกับมาตรฐานและกฎเกณฑ์สากล อาศัยอานาจตามความ
ในมาตรา 54 แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 อธิบดีกรมราชทัณฑ์จึงวางระเบียบไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการดาเนินการเกี่ยวกับการอนามัยและ
การสุขาภิบาลของผู้ต้องขัง พ.ศ.2561”
ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป
ข้อ 3 บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ คาสั่ง ประกาศ หรือหนังสือสั่งการอื่นใด ซึ่งขัดแย้งกับระเบียบนี้
ให้ใช้ระเบียบนี้แทน
ข้อ 4 ในระเบียบนี้
“การอนามัย” หมายความว่า การดูแล ตรวจรักษา ป้องกัน สร้างเสริม และการดาเนินการอื่น
ต่อผู้ต้องขัง เพื่อให้เกิดภาวะแห่งความสมบูรณ์ของร่างกาย จิตใจ และการดารงชีวิตอยู่ในเรือนจาด้วยดี
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 151

“การสุขาภิบาล” หมายความว่า การควบคุมปัจจัยทางกายภาพทั้งหมดของเรือนจาที่อาจเป็น


อัน ตราย หรื อก่อให้ เกิดอัน ตรายต่อการเจริญเติบโต ต่อสุ ขภาพและการดารงชีวิตของผู้ ต้องขั ง และ
เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานของเรือนจา
ข้อ 5 ให้อธิบดีกรมราชทัณฑ์รักษาการตามระเบียบนี้ และให้มีอานาจวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการ
ปฏิบัติตามระเบียบนี้
หมวดที่ 1
ข้อความทั่วไป
ข้อ 6 ให้เรือนจาทุกแห่งจัดให้มีสถานพยาบาล และจัดให้มีแพทย์ พยาบาล หรือเจ้าพนักงานที่
ผ่ านการอบรมด้านการพยาบาลของแต่ล ะเรือนจา เพื่อปฏิบัติห น้าที่ด้านการรักษาพยาบาลส่ งเสริม
ป้องกัน และฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ต้องขังที่เจ็บป่วย รวมทั้งการประเมินผล การตรวจรักษา การดูแล
สุขอนามัย และการดูแลสุขาภิบาลต่างๆในเรือนจา
ข้อ 7 การตรวจของแพทย์ พยาบาล หรือพนักงานเรือนจาที่ผ่านการอบรมด้านการพยาบาลใน
ส่วนที่เกี่ยวข้องกับการอนามัยของผู้ต้องขังและการสุขาภิบาลของเรือนจา ให้ดาเนินการตามแนวทางการ
พัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้ต้องขังในเรือนจาของกระทรวงสาธารณสุขหรือตามที่กรมราชทัณฑ์กาหนด
ในการตรวจของแพทย์ พยาบาล หรือเจ้าพนักงานเรือนจาที่ผ่านการอบรมด้านการพยาบาลตาม
วรรคหนึ่ง เมื่อเห็นสมควรจะจัดการอย่างใด ให้ชี้แจงแนะนาเจ้าพนักงานเรือนจาและบันทึกผลการตรวจ
ไว้เป็นหลักฐาน เพื่อเจ้าพนักงานเรือนจารายงานความเห็นนั้นให้ผู้บัญชาการเรือนจาทราบหรือพิจารณา
สั่งการต่อไป
ข้อ 8 เรื อนจ าจะต้องปฏิบั ติตามคาแนะนาของแพทย์หรือหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ที่มี
อานาจหน้าที่รับผิดชอบเรือนจา ในเรื่องต่อไปนี้
(1) ปริมาณและคุณภาพของการปรุงและจัดเลี้ยงอาหารผู้ต้องขัง
(2) การสุขาภิบาลและความสะอาดภายในเรือนจา
(3) อนามัยผู้ต้องขัง อุณหภูมิ แสงสว่าง และการระบายอากาศในเรือนจา
(4) ความสะอาดของเครื่องนุ่งห่มและที่หลับนอน
(5) เรื่องอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการอนามัยผู้ต้องขังและการสุขาภิบาลเรือนจา
ข้อ 9 ผู้ต้องขังทุกคนมีหน้าที่ต้องรักษาความสะอาดในส่วนร่างกาย เครื่องนุ่งห่มหลับนอนและ
เครื่องใช้ต่างๆที่เกี่ยวกับตน รวมตลอดถึงห้องขังและส่วนหนึ่งส่วนใดของเรือนจาด้วย
หมวดที่ 2
สุขอนามัยของผู้ต้องขัง

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


152 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ข้อ 10 ให้เรือนจาจัดให้ผู้ต้องขังทุกคนดูแลสุขอนามัยในเรื่องดังต่อไปนี้
(1) การตัดผมหรือโกนผมตามที่ราชทัณฑ์กาหนด
(2) การโกนหนวดและเครา
(3) การตัดเล็บ
(4) การอาบน้าและชาระร่างกาย
(5) การดูแลสุขอนามัยอื่นๆที่จาเป็นต่อตัวผู้ต้องขัง
ความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บังคับ ถ้าเป็นการขัดต่อลัทธิศาสนาหรือประเพณีนิยมของผู้ต้องขั งนั้น
อย่างร้ายแรง หรือเป็นกรณีที่ผู้ต้องขังมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่ไม่อาจปฏิบัติตามได้
ข้อ ๑๑ โดยปกติในปีหนึ่งๆให้จ่ายเครื่องแต่งกาย เครื่องนุ่งห่ม เครื่องนอน และเครื่องใช้
ส่วนตัวแก่ผู้ต้องขังดังนี้
(ก) ผู้ต้องขังชาย ให้จ่าย
(1) เครื่องแต่งกาย ๓ ชุด
(2) เครื่องนุ่งห่มประกอบด้วย กางเกงชั้นใน ๓ ตัว และผ้าเช็ดตัว ๑ ผืน
(3) เครื่องนอนตามที่กรมราชทัณฑ์กาหนด ๑ ชุด
(4) เครื่องใช้ส่วนตัว เช่นสบู่ ยาสีฟัน แปรงสีฟัน ขันอาบน้าพลาสติก ผงซักฟอก แชมพูสระผม
และรองเท้าฟองน้า
(ข) ผู้ต้องขังหญิงให้จ่าย
(1) เครื่องแต่งกาย ๓ ชุด
(2) เครื่องนุ่งห่มประกอบด้วย เสื้อชั้นใน ๔ ตัว กางเกงชั้นใน ๔ ตัว และผ้าเช็ดตัว ๑ ผืน
(3) เครื่องนอนตามที่กรมราชทัณฑ์กาหนด ๑ ชุด
(4) เครื่องใช้ส่วนตัว เช่นสบู่ ยาสีฟัน แปรงสีฟัน ขันอาบน้าพลาสติก ผงซักฟอก แชมพูสระผม
ผ้าอนามัย และรองเท้าฟองน้า
(5) สิ่งของจาเป็นสาหรับผู้ต้องขังหญิงที่ตั้งครรภ์ หรือให้นมบุตร หรือมีประจาเดือน
กรณีสิ่งของที่จัดให้ตามวรรคหนึ่ง(ก) และ(ข) มีไม่เพียงพอให้เรือนจาบริหารจัดการตามความ
เหมาะสม
กรณีต้องใช้สิ่งของจาเป็นอื่นนอกเหนือจากที่กาหนดในวรรคหนึ่งให้เป็นไปตามที่กรมราชทัณฑ์
กาหนด
ข้อ 12 ให้เรือนจาสนับสนุนให้ผู้ต้องขังได้รับโอกาสในการออกกาลังกายและพักผ่อนโดยสมควร
แก่วัยและสภาพร่างกาย ตามกาหนดเวลาและสถานที่ที่เรือนจากาหนด
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 153

หมวดที่ 3
การดูแลสุขภาพ
ข้อ 13 ให้เรือนจาจัดให้ผู้ต้องขังได้รับการตรวจร่างกายแรกรับ และการคัดกรองเพื่อค้นหาภาวะ
เสี่ยงทั้งโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อ สุขภาพในช่องปาก สุขภาพจิต รวมทั้งส่งเสริมป้องกันและรักษาพยาบาล
ตามความจาเป็นเหมาะสมของโรค อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
ข้อ 14 ให้เรือนจาจัดให้ผู้ต้องขังได้รับอุปกรณ์ช่วยเกี่ยวกับสายตา การได้ยิน การทันตกรรม
อุปกรณ์สาหรับผู้มีกายพิการตามความจาเป็นและเหมาะสม
ข้ อ 15 เพื่อเป็ น การป้ อ งกัน ควบคุม และเฝ้ าระวังโรคที่จ ะเกิด ขึ้น แก่ผู้ ต้ องขั ง ให้ เรือ นจ า
ดาเนินการดังนี้
(1) ให้เฝ้าระวังป้องกันโรคไม่ติดต่อ โรคติดต่อ และโรคระบาดที่สาคัญ รวมทั้งภัยสุขภาพซึ่งอาจ
เกิดแก่ผู้ต้องขังในเรือนจา เช่น เบาหวาน ความดัน โลหิตสูง โรคติดต่อในระบบทางเดิ นหายใจ วัณโรค
ไข้หวัดใหญ่ โรคผิวหนัง การติดเชื้อเอชไอวีหรือป่วยเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
(2) ให้เฝ้าระวังป้องกันโรคที่อาจจะเกิดแก่ผู้ ต้องขังหญิง รวมถึงหญิงที่ตั้งครรภ์และหลังคลอด
หญิงให้นมบุตร หรือเด็กในความดูแลของผู้ต้องขัง เช่น มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูกมะเร็งระบบสืบพันธุ์
และโรคติดต่อทางเลือด เพื่อป้องกันการถ่ายทอดจากแม่สู่ลูก
(3) เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคในกรณีที่สงสัยว่าผู้ต้ องขังป่วยเป็นโรคติดต่อ ให้แยกตัว
ผู้ป่วยรายนั้นไปรับการรักษาพยาบาลตามความจาเป็นแห่งโรค
(4) เมื่อเกิดสถานการณ์โรคระบาดในเรือนจา ให้ประสานกับหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่เพื่อ
เข้าควบคุมการแพร่ร ะบาดของโรคโดยทันที และให้เรือนจาถือปฏิบัติตามคาแนะนาหรือมาตรการที่
หน่วยงานดังกล่าวนั้นกาหนดเพื่อการควบคุมสถานการณ์โดยเคร่งครัด พร้อมรายงานให้กรมราชทัณฑ์
ทราบโดยด่วน
ข้อ 16 ให้เรือนจาจัดกิจกรรมเพื่อให้ผู้ต้องขังได้รับการสร้างเสริมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การให้
คาปรึกษาแนะนา การให้ความรู้เพื่อสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค รวมถึงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ตามที่กรมราชทัณฑ์กาหนด
ข้อ 17 ให้เรือนจาจัดทาข้อมูลเวชระเบียนของผู้ต้องขังให้ถูกต้องครบถ้วน เพื่อประโยชน์ในการ
ตรวจรักษาพยาบาล และเมื่อมีการย้ายผู้ต้องขัง ต้องส่งมอบข้อมูลเวชระเบียนดังกล่าว พร้อมกับทะเบียน
ประวัติผู้ต้องขัง ทั้งนี้ ข้อมูลเวชระเบียนให้เป็นความลับ
ข้อ 18 กรณีผู้ต้องขังป่วยด้วยโรควัณโรค โรคภูมิกันกันบกพร่อง โรคทางจิตเวช หากได้รับการ
พิจารณาปล่อยตัว ให้เรือนจาทาสาเนาประวัติการเจ็บป่วย พร้อมเอกสารสาคัญสาหรับการไปรับบริการ
รักษาต่อที่โรงพยาบาลมอบให้ผู้ต้องขัง

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


154 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

หมวดที่ 4
การจัดเลี้ยงอาหารผู้ต้องขัง
ข้อ 19 ห้ามมิให้ผู้ต้องขังประกอบอาหารเป็นการส่วนตัว หรือนาอาหารไปรับประทานนอกเขตที่
เรือนจากาหนดโดยมิได้รับอนุญาตจากผู้บัญชาการเรือนจา
ข้อ 20 ผู้ต้องขังจะต้องรับประทานอาหารซึ่งทางเรือนจาจัดให้ จะรับประทานอาหารส่วนตัวได้
ในกรณีดังต่อไปนี้
(1) เจ็บป่วยและต้องรับประทานอาหารตามคาแนะนาของแพทย์
(2) ในเทศกาลปีใหม่หรือเทศกาลทางศาสนา และได้รับอนุญาตจากผู้บัญชาการเรือนจาแล้ว
(3) ผู้ต้องขังชาวต่างประเทศที่ได้รับการร้องขอจากสถานทูตเป็นครั้งคราว
(4) กรณีอื่นตามที่ผู้บัญชาการเรือนจาอนุญาต
ข้อ 21 ให้เรือนจาจัดให้ผู้ต้องขังรับประทานอาหารอย่างน้อ ย ๒ มื้อ คือ เช้าและเย็น อาหารมื้อ
หนึ่งๆ ให้ประกอบด้วยข้าวหรือสิ่งอื่นแทนข้าว และกับข้าวหรือสิ่งอื่นแทนกับข้าว
ในการจัดเลี้ยงอาหาร ให้เรือนจาจัดเลี้ยงอาหารอย่างเดียวกันสาหรับผู้ต้องขังทุกคนแห่งเรือนจานั้น เว้น
แต่
(1) อาหารที่จัดเลี้ยงขัดต่อลัทธิศาสนาของผู้ต้องขัง
(2) เมื่อมีคนป่วยซึ่งแพทย์แนะนาให้จัดอาหารอย่างอื่นเลี้ยง
(3) กรณีอื่นตามที่ผู้บัญชาการเรือนจาอนุญาต
ข้อ ๒๒ ให้เรือนจาจัดให้มีน้าดื่มน้าใช้ที่สะอาด จานวนเพียงพอ และจัดหาภาชนะน้าดื่มที่ถูก
สุขลักษณะ รวมทั้งมีการเฝ้าระวังและปรับปรุงคุณภาพน้าตามแนวทางที่กรมราชทัณฑ์กาหนด
ข้อ ๒๓ ผู้ต้องขังที่ทางานหนักหรือตรากตรา ผู้บัญชาการเรือนจาจะสั่งให้จัดอาหารเพิ่มให้ตาม
ความเหมาะสมก็ได้
ข้อ ๒๔ เพื่อประโยชน์ด้านสุขอนามัย อาหารที่เรือนจาจัดให้ ต้องให้แพทย์ พยาบาล หรือเจ้า
พนักงานเรือนจาที่ผ่านการอบรมด้านการพยาบาลหรือโภชนาการตรวจก่อน หากบุ คคลดังกล่าวมาตรวจ
ไม่ได้ ให้เจ้าพนักงานเรือนจาเป็นผู้ตรวจ
อาหารซึ่งตรวจพบว่าเน่าเสียไม่เป็นสิ่งที่พึงจะรับประทานนั้น ห้ามจัดให้ผู้ต้องขังรับประทาน
ข้อ ๒๕ โดยปกติอาหารที่เรือนจาจะจัดให้ผู้ต้องขังรับประทานนั้นให้ปรุงขึ้นในเรือนจา
ให้เจ้าพนักงานเรือนจาและผู้ต้องขังดาเนินการปรุงอาหารเป็นการเฉพาะ ผู้ปรุงอาหารต้องผ่าน
การตรวจโรคและความเห็นชอบของแพทย์ และต้องได้รับการตรวจสุขภาพอย่างสม่าเสมอ
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 155

หมวดที่ ๕
การสุขาภิบาล
ข้อ ๒๖ ให้เรือนจาดูแลการสุขาภิบาลที่เกี่ยวข้องกับผู้ต้องขังในเรื่องดังต่อไปนี้
(1) เรื อนนอนให้ มีส ภาพมั่น คงแข็งแรง สะอาด ห้ องนอนมีการระบายอากาศที่ดี แสงสว่าง
เพียงพอ เครื่องนอนสะอาด จัดเป็นระเบียบจานวนเพียงพอ มีน้าดื่มสะอาดถูกสุขลักษณะให้ผู้ต้องขังบน
เรือนนอนและส้วมบนเรือนนอนสะอาด ไม่มีกลิ่นรบกวน
(2) สูทกรรม หรือบริเวณที่ให้เตรียม ปรุง ประกอบอาหารต้องสะอาดเป็นระเบียบ โต๊ะที่ใช้
สาหรับเตรียมปรุงหรือประกอบอาหารต้องสู งจากพื้นอย่างน้อย ๖0 เซนติเมตร ภาชนะอุปกรณ์ที่ใช้
เตรียม ปรุง ประกอบอาหาร ต้องสะอาด ได้รับการล้างและเก็บอย่างถูกสุ ขลักษณะ อาหารสด แห้ง
เครื่องปรุงและอาหารปรุงเสร็จต้องจัดเก็บถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลอาหาร และผู้ต้องขังที่ปฏิบัติงานสูท
กรรมต้องมีสุขอนามัยบุคคลที่ดี ได้รับการตรวจสุขภาพประจาปีอย่างสม่าเสมอ
(3) การจัดเลี้ยงอาหารผู้ต้องขัง ต้องมีสถานที่จัดเลี้ยงเป็นสั ดส่วน สะอาด อุปกรณ์จัดเพียงพอ
และบริเวณจัดเลี้ยงมีน้าดื่มสะอาดสาหรับผู้ต้องขัง หากมีการล้างภาชนะต้องมีที่ล้าง บ่อดักไขมัน และชั้น
คว่าภาชนะที่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล
(4) เฝ้าระวังและป้องกันโรคทางสุขาภิบาลอาหาร โดยติดตามเรื่องความสะอาด ความปลอดภัย
และการปนเปื้อนของอาหารจัดเลี้ยงผู้ต้องขังตามแนวทางที่กรมราชทัณฑ์กาหนด เพื่อป้องกันไม่ให้เกิด
การติ ด ต่ อ ของโรคที่ มี อ าหารและน้ าเป็น สื่ อ รวมทั้ ง ประสานหน่ ว ยงานภายนอกที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ งาน
สุขาภิบาลอาหารในพื้นที่เพื่อประเมินและรับรองคุณภาพในเรื่องดังกล่าวด้วย
(5) จั ดสภาพแวดล้ อมภายในเรือนจาให้ มีการสุ ข าภิบาลที่ดี ไม่ให้ มีแหล่ งอาหารหรือ แหล่ ง
เพาะพันธุ์สัตว์แมลงนาโรคในเรือนจา ตลอดจนมีการควบคุมสัตว์และแมลงนาโรคต่างๆ เพื่อป้องกันไม่ให้
เกิดโรคและเกิดความเดือดร้อนราคาญ
(6) การกาจัดขยะต้องถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล มีที่รองรับขยะ (ถังขยะ) เพี ยงพอ มีการแยก
ประเภทขยะ และมีการกาจัดขยะที่ถูกวิธี โดยนาไปกาจัดอย่างสม่าเสมอไม่ให้เป็นแหล่งอาหารหรือแหล่ง
เพาะพันธุ์สัตว์แมลงนาโรค
(7) มูลฝอยติดเชื้อในเรือนจา เช่น มูลฝอยจากสถานพยาบาล ห้องแยกโรค ห้องพักผู้ป่วย หรือ
มูลฝอยที่เกิดขึ้นหรือใช้ในกระบวนการตรวจวินิ จฉัยทางการแพทย์ การรักษาพยาบาล การให้ภูมิคุ้มกัน
โรค การทดลองเกี่ยวกับโรค และการตรวจชันสูตรศพหรือซากสัตว์ ต้องได้รับการจัดเก็บ ขนย้าย และส่ง
กาจัดอย่างถูกวิธีด้วยการประสานงานกับสถานบริการสาธารณสุขในพื้นที่ หรือหน่ วยงานส่วนท้องถิ่นหรือ
เอกชนผู้ได้รับอนุญาตรับไปดาเนินการกาจัด

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


156 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

(8) การกาจัดปฏิกูล ต้องมีส้วมที่สะอาด จานวนเพียงพอ มีการระบายอากาศที่ดี ระบบเก็บกัก


อุจจาระไม่ชารุด ไม่มีการปล่อยหรือตักอุจจาระหรือปล่อยน้าจากบ่อเกรอะแล้วเข้าสู่ภายนอกโดยตรง
ต้องมีการกาจัดสิ่งปฏิ กูลด้วยวิธีที่เหมาะสม ได้แก่ ใช้รถสูบออกไปกาจัดหรือมีกระบวนการบาบัดให้มี
คุณภาพที่ดีขึ้นก่อนปล่อยออกสู่ภายนอก
(9) มีวิธีการบ าบั ดและกาจั ดน้าเสี ยที่ถูกต้องเหมาะสม โดยน้าจากครัวหรือสูทกรรมให้ผ่าน
ตะแกรงเพื่อดักเศษอาหารออกแล้วต้องผ่านบ่อดักไขมัน น้าจากส้วมให้ผ่านบ่อเกรอะแล้วเข้าสู่ระบบ
บาบัด นอกจากนี้ท่อและทางระบายระน้าต้องอยู่ในสภาพดี ไม่อุดตัน รวมทั้งมีการบารุงรักษาระบบบาบัด
น้าเสียอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ใช้งานได้

ประกาศ ณ วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๖๑


พันตารวจเอก ณรัชต์ เศวตนันทน์
อธิบดีกรมราชทัณฑ์

มาตรา 55 ในกรณีที่ ผู้ต้ องขังป่วย มีปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพจิต หรื อเป็น โรคติดต่อ ให้ผู้


บัญชาการเรือนจาดาเนินการให้ผู้ต้องขังได้รับการตรวจจากแพทย์โดยเร็ว
หากผู้ต้องขังนั้นต้องได้รับการบาบัดรักษาเฉพาะด้านหรือถ้าคงรักษาพยาบาลอยู่ในเรือนจาจะไม่
ทุเลาดีขึ้น ให้ส่งตัวผู้ต้องขังดังกล่าวไปยังสถานบาบัดรักษาสาหรับโรคชนิดนั้นโดยเฉพาะ โรงพยาบาลหรือ
สถานบาบัดรักษาทางสุขภาพจิตนอกเรือนจาต่อไป ทั้งนี้หลักเกณฑ์และวิธีการส่งตัวผู้ต้องขังไปรักษาตัว
นอกเรือนจา ระยะเวลาการรักษาตัว รวมทั้งผู้มีอานาจอนุญาต ให้เป็นไปตามกฎกระทรวงโดยได้รับความ
เห็นชอบจากคณะกรรมการ
ในกรณีที่ส่งตัวผู้ต้องขังไปรักษาตัวนอกเรือนจาตามวรรคสอง มิให้ถือว่าผู้ต้องขังนั้นพ้นจาก
การคุมขัง และถ้าผู้ต้องขังไปเสียจากสถานที่ที่รับผู้ต้องขังไว้รักษาตัว ให้ถือว่ามีความผิดฐานหลบหนีที่
คุมขังตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 56 ในกรณีที่ผู้ต้องขัง ตาย ป่วยหนัก บาดเจ็บสาหัส วิกลจริต หรือจิตไม่ปกติ ให้ผู้
บัญชาการเรือนจาแจ้งเรื่องดังกล่าวให้คู่สมรสของผู้ต้องขังนั้น ญาติ หรือบุคคลที่ผู้ต้องขังระบุไว้ทราบโดย
ไม่ชักช้า
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 157

กฎกระทรวง
การส่งตัวผู้ต้องขังไปรักษาตัวนอกเรือนจา พ.ศ. ๒๕๖๓
(ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๗ ตอนที่ ๘๔ ก ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๖๓)
--------------------
อาศั ย อ านาจตามความในมาตรา ๗ วรรคหนึ่ ง และมาตรา ๕๕ วรรคสอง แห่ ง
พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ ๒๕๖๐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมโดยได้รับความเห็นชอบจาก
คณะกรรมการราชทัณฑ์ ออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้ยกเลิกข้อ ๓๘ ข้อ ๓๙ และข้อ ๗๓ แห่งกฎกระทรวงมหาดไทยออกตาม
ความในมาตรา ๕๘ แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พุทธศักราช ๒๔๗๙
ข้อ ๒ เมื่อผู้บัญชาการเรือนจาได้รับรายงานจากเจ้าพนักงานเรือนจาว่า ผู้ต้องขังคนใด
ป่ ว ย มี ปั ญ หาเกี่ ย วกั บ สุ ข ภาพจิ ต หรื อ เป็ น โรคติ ด ต่ อ ให้ ส่ ง ตั ว ผู้ ต้ อ งขั ง คนนั้ น ไปรั บ การตรวจใน
สถานพยาบาล ของเรือนจาโดยเร็ว ถ้าผู้ต้องขังคนนั้นต้องได้ รับการบาบัดรักษาเฉพาะด้านหรื อถ้าคง
รักษาพยาบาล อยู่ในเรือนจาจะไม่ทุเลาดีขึ้น ให้ดาเนินการ ดังต่อไปนี้
(๑) กรณีผู้บัญชาการเรือนจาอนุญาตให้ส่งตัวผู้ต้องขังคนนั้นไปรับการรักษาในสถาน
บาบัดรักษาสาหรับโรคชนิดนั้นโดยเฉพาะ โรงพยาบาล หรือสถานบาบัดรักษาทางสุขภาพจิตของรัฐ
นอกเรือนจา ตามที่แพทย์ พยาบาล หรือเจ้าพนักงานเรือนจาซึ่งผ่านการอบรมด้านการพยาบาลเสนอ
ให้เจ้าพนักงานเรือนจาพาผู้ต้องขังคนนั้นไปและกลับในวันเดียวกัน
(๒) เมื่อผู้บัญชาการเรือนจาอนุญาตให้ส่งตัวผู้ต้องขังไปรับการรักษานอกเรือนจาตาม
(๑) หากแพทย์ ผู้ ท าการตรวจรั ก ษามี ค วามเห็ น ว่ า สมควรรั บ ตั ว ผู้ ต้ อ งขั ง คนนั้ น ไว้ รั ก ษาในสถาน
บาบัดรักษา สาหรับโรคชนิดนั้นโดยเฉพาะ โรงพยาบาล หรื อสถานบาบัดรักษาทางสุขภาพจิ ตของรัฐ
ให้เจ้าพนักงาน เรือนจาซึ่งพาผู้ต้องขังคนนั้นไปตรวจรักษาขอหลักฐานและความเห็นของแพทย์ผู้ทาการ
ตรวจรักษา ประกอบการจัดทารายงานเสนอผู้บัญชาการเรือนจาพิจารณา ถ้าผู้บัญชาการเรือนจาเห็น
ด้วยกับ ความเห็นของแพทย์ผู้ทาการตรวจรักษา ให้มีคาสั่งอนุญาตให้รับตัวไว้รักษา
(๓) กรณีผู้บัญชาการเรือนจาไม่เห็นด้วยกับความเห็นของแพทย์ผู้ทาการตรวจรักษาตาม
(๒) หรือมีเหตุฉุกเฉินอื่นอันอาจเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตหรือความปลอดภัยของผู้ต้องขัง ให้เจ้าพนักงาน
เรือนจา นาตัวผู้ต้องขังคนนั้น กลับเข้ารักษาพยาบาลภายในเรือนจา และจัดการช่วยเหลือประการอื่น
เท่าที่จาเป็นแล้ว รายงานอธิบดีโดยเร็ว พร้อมกับสาเนาความเห็นของแพทย์และสาเนาหลักฐานอื่นที่
เกี่ยวข้อง
(๔) กรณีที่ผู้บัญชาการเรือนจามีข้อสงสัยเกี่ยวกับรายงานของเจ้าพนักงานเรือนจาตาม
(๒) อาจสั่งให้เจ้าพนักงานเรือนจาทารายงานเพิ่มเติม หรือสั่งให้เจ้าพนักงานเรือนจาคนอื่น หรือ ตั้ง
คณะทางานเพื่อตรวจสอบและทารายงานก็ได้

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


158 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ข้อ ๓ การส่งตัวผู้ต้องขังไปรักษาตัวนอกเรือนจา ให้ผู้บัญชาการเรือนจาพิจารณา สถาน


บาบัดรักษาสาหรับโรคชนิดนั้นโดยเฉพาะ โรงพยาบาล หรือสถานบาบัดรักษาทางสุขภาพจิตของรัฐ
ตามสิทธิการรักษาของผู้ต้องขังและอยู่ในพื้นที่ที่สามารถส่ งตัวผู้ต้องขังไปรักษาได้เป็นลาดับแรก เว้นแต่
แพทย์ผู้ทาการตรวจรักษามีความเห็นให้ส่งตัวผู้ต้องขังไปรักษาในโรงพยาบาลเอกชน เพราะสถานที่รักษา
ของรัฐดังกล่าวขาดเครื่องมือหรืออุปกรณ์ในการรักษาผู้ต้องขัง
ในกรณีที่สถานที่รักษาของรัฐตามวรรคหนึ่งอยู่ห่างไกล และหากผู้ต้องขังไม่ได้รับการ
รั กษา อย่ างทัน ท่ว งทีอาจเป็ น อัน ตรายถึงแก่ชีวิตหรือทุพพลภาพ ให้ ส่ งตัว ผู้ ต้องขังคนนั้นไปรักษาใน
โรงพยาบาลเอกชน เมื่อผู้ต้องขังพ้นขีดอันตรายแล้ว ให้รี บส่งตัวผู้ต้องขังไปรักษาในสถานที่รักษาของรัฐ
ตามวรรคหนึ่งโดยเร็ว
ข้ อ ๔ เมื่ อ ผู้ บั ญ ชาการเรื อ นจ าอนุ ญ าตให้ ส่ ง ตั ว ผู้ ต้ อ งขั ง ไปรั ก ษาตั ว นอกเรื อ นจ า
ให้ดาเนินการดังต่อไปนี้
(๑) จัดเจ้าพนักงานเรือนจาอย่างน้อยจานวนสองคนควบคุมผู้ต้องขังป่วยหนึ่งคนให้อยู่
ภายในเขตที่กาหนด เว้นแต่การออกนอกเขตนั้นเป็นกรณีจาเป็นเร่งด่วนตามคาสั่งแพทย์ หรือกรณีมีเหตุ
ฉุกเฉินอื่น อันอาจเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตหรือความปลอดภัยของผู้ต้องขัง ในกรณีที่มีผู้ต้องขั งป่ว ย
มากกว่าหนึ่งคน ให้จัดเจ้าพนักงานเรือนจาควบคุมในอัตราส่วนตามความเหมาะสม โดยให้คานึงถึงความ
เสี่ยงในการหลบหนี หรือความปลอดภัยของบุคคลภายนอกประกอบด้วย กรณีผู้ต้องขังหญิงป่วย ให้เจ้า
พนักงานเรือนจาหญิงเป็นผู้ควบคุม เว้นแต่ในกรณีฉุกเฉินหรือจาเป็นไม่อาจจัดเจ้าพนักงานเรือนจาหญิง
ไปควบคุมได้ ให้เจ้าพนักงานเรือนจาชายเป็นผู้ควบคุมในระยะที่ห่างแต่สามารถมองเห็นพฤติกรรมของ
ผู้ ต้ อ งขั ง หญิ ง ซึ่ ง ป่ ว ยได้ และแจ้ ง ให้ เ จ้ า หน้ า ที่ ข องสถานที่ รั ก ษาผู้ ต้ อ งขั ง ตามข้ อ ๓ ทราบ ทั้ ง นี้
ให้ผู้บัญชาการเรือนจา จัดเจ้าพนักงานเรือนจาหญิงไปควบคุมแทนโดยเร็ว
(๒) ตรวจสอบสิทธิการรักษาของผู้ต้องขังให้เป็นไปตามที่ทางราชการจัดให้ และห้าม
ผู้ต้องขัง เข้าอยู่ในห้องพักพิเศษแยกจากผู้ป่วยทั่วไป เว้นแต่ต้องพักรักษาตั วในห้องควบคุมพิเศษตามที่
สถานทีร่ ักษาผู้ต้องขังตามข้อ ๓ จัดให้
(๓) ให้ เ จ้ า พนั ก งานเรื อ นจ าซึ่ ง มี ห น้ า ที่ ค วบคุ ม ผู้ ต้ อ งขั ง ตรวจสอบและควบคุ ม การ
รับประทาน อาหารให้เป็นไปตามที่ สถานที่รักษาผู้ต้องขังตามข้อ ๓ จัดให้ การรับประทานอาหารส่วนตัว
นอกจากที่จัดให้ ต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานเรือนจาซึ่งมีหน้าที่ควบคุมผู้ต้ องขัง และผ่านการ
ตรวจของแพทย์ หรือพยาบาลแล้ว และให้บันทึกรายละเอียดของอาหารและผู้ทาอาหารให้ครบถ้วนและ
สามารถตรวจสอบได้
(๔) ให้เจ้าพนักงานเรือนจาซึ่งมีหน้าที่ควบคุมผู้ต้องขังจดบันทึกข้อมูลผู้เข้าเยี่ยม และ
เวลา เข้าเยี่ยมโดยละเอียด และดูแลให้ผู้เข้าเยี่ยมปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการเยี่ยมผู้ต้องขังในเรือนจา
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 159

ในการควบคุ ม ตั ว ผู้ ต้ อ งขั ง ตามวรรคหนึ่ ง ผู้ บั ญ ชาการเรื อ นจ าอาจใช้ อุ ป กรณ์


อิเล็กทรอนิกส์ หรืออุปกรณ์อื่นใดตามความเหมาะสมก็ได้
ข้ อ ๕ ผู้ ต้ อ งขั ง ซึ่ ง ได้ รั บ อนุ ญ าตให้ อ อกไปรั ก ษาตั ว นอกเรื อ นจ า ต้ อ งปฏิ บั ติ ตั ว
ดังต่อไปนี้
(๑) อยู่ภายในเขตที่กาหนด เว้นแต่การออกนอกเขตเป็นกรณีจาเป็นเร่งด่วนตามคาสั่ง
แพทย์ หรือกรณีมีเหตุฉุกเฉินอื่นอันอาจเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตหรือความปลอดภัยของผู้ต้องขัง
(๒) ใช้สิทธิของผู้ต้องขังตามที่ทางราชการจัดให้และห้ามเข้าอยู่ในห้องพักพิเศษแยกจาก
ผู้ป่วยทั่วไป เว้นแต่ต้องพักรักษาตัวในห้องควบคุมพิเศษตามที่สถานที่รักษาผู้ต้องขังตามข้อ ๓ จัดให้
(๓) รับประทานอาหารตามที่ สถานที่รักษาผู้ต้องขังตามข้อ ๓ จัดให้ การรับประทาน
อาหารส่วนตัวนอกจากที่จัดให้ต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานเรือนจา ซึ่งมีหน้าที่ควบคุมผู้ต้องขังและ
ผ่านการตรวจของแพทย์หรือพยาบาลแล้ว
ข้อ ๖ ในกรณีที่ผู้ต้องขังเจ็บป่วยร้ายแรงหรือประสบอุบัติเหตุขณะอยู่นอกเรือนจา และ
หากผู้ ต้องขังไม่ได้รั บ การรั กษาอย่ างทันท่ว งทีอาจเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตหรือทุพพลภาพได้ ให้ เจ้า
พนั กงาน เรื อนจ าซึ่งมีห น้ าที่ควบคุมผู้ ต้องขั งรายงานผู้ บัญชาการเรือนจาเพื่ อพิจารณา โดยให้ ระบุ
รายละเอียดเกี่ยวกับผู้ต้องขัง อาการป่วยเจ็บ และโรงพยาบาลที่จะทาการตรวจรักษา เมื่อผู้บัญชาการ
เรือนจาอนุญาต ให้จัดเจ้าพนักงานเรือนจาดูแลและควบคุมผู้ต้องขังในโรงพยาบาล หากเป็นกรณีที่
ผู้ต้องขังไปศาล ให้รายงานศาลเพื่อทราบด้วย
ในกรณีเร่งด่วนอันอาจเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตหรือความปลอดภั ยของผู้ต้องขัง ให้เจ้า
พนักงานเรือนจาซึ่งมีหน้าที่ควบคุมผู้ต้องขังนาตัวผู้ต้องขังคนนั้นส่งโรงพยาบาลเพื่อทาการตรวจรักษา
ก่อน และรายงานผู้บัญชาการเรือนจาโดยทันที
ข้อ ๗ กรณีผู้ต้องขังต้องพักรักษาตัวที่ สถานที่รักษาผู้ต้องขังตามข้อ ๓ เป็นเวลานาน
ให้ผู้บัญชาการเรือนจาดาเนินการ ดังต่อไปนี้
(๑) พักรักษาตัวเกินกว่าสามสิบวัน ให้มีหนังสือขอความเห็นชอบจากอธิบดี พร้อมกับ
ความเห็นของแพทย์ผู้ทาการรักษาและหลักฐานอื่นที่เกี่ยวข้อง
(๒) พักรักษาตัวเกินกว่าหกสิบวัน ให้มีหนังสือขอความเห็นชอบจากอธิบดี พร้อมกับ
ความเห็นของแพทย์ผู้ทาการรักษาและหลักฐานอื่นที่เกี่ยวข้อง และรายงานให้ปลัดกระทรวงทราบ
(๓) พักรั กษาตัว เกิน กว่าหนึ่งร้อยยี่สิ บวัน ให้ มีห นังสื อขอความเห็ นชอบจากอธิบดี
พร้อมกับความเห็นของแพทย์ผู้ทาการรักษาและหลักฐานอื่นที่เกี่ยวข้อง และรายงานให้รัฐมนตรีทราบ

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


160 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ในกรณี ที่ ผู้ บั ญ ชาการเรื อ นจ าเห็ น เป็ น การสมควรเพื่ อ ความปลอดภั ย ของผู้ ต้ อ งขั ง
มาตรการควบคุม หรือเหตุผลในการรักษา ให้รายงานอธิบดีเพื่อขอย้ายผู้ต้องขังเข้ ารับการรัก ษาใน
โรงพยาบาลสังกัด กรมราชทัณฑ์หรือสถานพยาบาลอื่นที่เหมาะสม
ข้อ ๘ ในกรณีที่ผู้ ต้องขังฝ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิบัติ ตามเงื่ อนไขที่ กาหนดหรื อขัด คาสั่ ง เจ้ า
พนักงาน เรือนจาซึ่งมีหน้าที่ควบคุมผู้ต้องขัง ให้เจ้าพนักงานเรือนจาตักเตือนให้ปฏิบัติตามเงื่อนไขหรือ
คาสั่งนั้นก่อน หากผู้ต้องขังยังคงฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติต าม ให้รายงานผู้บัญชาการเรือนจา และรายงาน
ให้แพทย์ ผู้ทาการตรวจรักษาพิจารณาสั่งการตามที่เห็นสมควร
ให้ไว้ ณ วันที่ 25 กันยายน พ.ศ. ๒๕๖3
สมศักดิ์ เทพสุทิน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
หมายเหตุ :- เหตุผ ลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๕๕ วรรคสอง แห่ ง
พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ บัญญัติให้ผู้ต้องขังซึ่งป่วย มีปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพจิต หรือเป็น
โรคติดต่อ ต้องได้รับการบาบัดรักษาเฉพาะด้านหรือถ้าคงรักษาพยาบาลอยู่ในเรือนจาจะไม่ทุเลาดีขึ้น ให้
ส่งตัวผู้ต้องขังดังกล่าวไปยังสถานบาบัดรักษาสาหรับโรคชนิดนั้นโดยเฉพาะ โรงพยาบาล หรือสถาน
บาบัดรักษาทางสุขภาพจิตนอกเรือนจาต่อไป ทั้งนี้ หลักเกณฑ์และวิธีการส่งตั วผู้ต้องขังไปรักษาตัวนอก
เรือนจา ระยะเวลาการรักษาตัว รวมทั้งผู้มี อานาจอนุญาต ให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวงโดย
ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการราชทัณฑ์ จึงจาเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

ให้ผู้ต้องขังหญิงที่ตั้งครรภ์หรือให้นมบุตร ได้รับคาแนะนาทางด้านสุขภาพ
มาตรา 57 ให้เรือนจาจัดให้ผู้ต้องขังหญิงที่ตั้งครรภ์หรือให้นมบุตรได้รับคาแนะนาทางด้าน
สุขภาพและโภชนาการจากแพทย์ พยาบาล หรือเจ้าพนักงานเรือนจาที่ผ่านการอบรมด้านการพยาบาล
และต้องจัดอาหารที่เพียงพอและในเวลาที่เหมาะสมให้แก่ผู้ต้องขังหญิงที่ตั้งครรภ์ ทารก เด็กและมารดา
ที่ให้นมบุตร และต้องไม่ขัดขวางผู้ต้องขังหญิงในการให้นมบุตรและการดูแลบุตร เว้นแต่มีปัญหาด้าน
สุขภาพ ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามระเบียบกรมราชทัณฑ์
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 161

ผู้ต้องขังหญิงที่ตั้งครรภ์คลอดบุตรในโรงพยาบาล
มาตรา 58 ให้เรือนจาจัดเตรียมให้ผู้ต้องขังหญิงที่ตั้งครรภ์ได้คลอดบุตรในโรงพยาบาลหรื อ
สถานพยาบาลนอกเรือนจา ณ ท้องที่ที่เรือนจานั้นตั้งอยู่ หากเด็กคลอดในเรือนจา ห้ามมิให้บันทึกว่าเด็ก
เกิดในเรือนจา โดยให้ระบุเฉพาะท้องที่ที่เรือนจานั้นตั้งอยู่
เมื่อผู้ต้องขังหญิงคลอดบุตรแล้ว ให้ผู้ต้องขังหญิงนั้นอยู่พักรักษาตัวต่อไปภายหลังการคลอดได้ไม่
เกินเจ็ดวันนับแต่วันคลอด ในกรณีที่จาเป็นต้องพักรักษาตัวนานกว่านี้ ให้เสนอความเห็นของแพทย์ผู้ทา
การคลอดเพื่อขออนุญาตต่อผู้บัญชาการเรือนจา
ให้เด็กที่อยู่ร่วมกับมารดาในเรือนจาได้รับการตรวจสุข ภาพร่างกายโดยผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพ
เด็ก เพื่อวินิจฉัยและให้การรั กษาตามความจาเป็น รวมทั้งการตรวจป้องกันโรค และการบริการด้าน
สุขอนามัย
การดาเนินการตามวรรคสองและวรรคสามให้เป็นไปตามระเบียบกรมราชทัณฑ์

ระเบียบกรมราชทัณฑ์
ว่าด้วยการดูแลผู้ต้องขังหญิงที่ตั้งครรภ์หรือให้นมบุตร พ.ศ.2561
------------------------
เพื่อให้การดาเนินการเกี่ยวกับผู้ต้องขังหญิงที่ตั้งครรภ์หรือให้นมบุตรเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
และสอดคล้องกับเจตนารมณ์ของกฎหมาย อาศัยอานาจตามความในมาตรา 57 และมาตรา 58 แห่ ง
พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 อธิบดีกรมราชทัณฑ์ จึงออกระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการดูแลผู้ต้องขังหญิงที่ตั้งครรภ์หรือให้
นมบุตร พ.ศ.2561”
ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป
ข้อ 3 บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ คาสั่ง ประกาศ หรือหนังสือสั่งการอื่นใด ซึ่งขัดหรือแย้งกับ
ระเบียบนี้ ให้ใช้ระเบียบนี้แทน
ข้อ 4 ในระเบียบนี้
“ผู้ต้องขังหญิงที่ตั้งครรภ์” หมายความว่า นักโทษเด็ดขาด คนต้องขัง และคนฝากที่ตั้งครรภ์
“ผู้ต้องขังหญิงที่ให้นมบุตร” หมายความว่า นักโทษเด็ดขาด คนต้องขัง และคนฝากที่อยู่ระหว่าง
ให้นมบุตรหรือเด็กในความดูแลของตนที่ได้รับอนุญาตให้อยู่ในเรือนจา

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


162 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ข้อ 5 ให้อธิบดีกรมราชทัณฑ์รักษาการตามระเบียบนี้ และมีอานาจวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการ


ปฏิบัติตามระเบียบนี้

หมวด 1
บททั่วไป
ข้อ 6 เมื่อเรือนจาได้รับตัวผู้ต้องขังหญิงที่ตั้งครรภ์หรือผู้ต้องขังหญิงที่ให้นมบุตร ให้ดาเนินการ
ดังนี้
(1) จัดให้นอนและสถานที่อาบน้าแยกเฉพาะจากผู้ต้องขังอื่น โดยให้มีความสะอาดถูกสุขลักษณะ
ปลอดภัย อากาศถ่ายเทสะดวก ตามความเหมาะสม ทั้งนี้ หากเรือนจาใดไม่สามารถจัด แยกห้องนอนได้
ให้จัดที่นอนให้เหมาะสมแก่ผู้ต้องขังหญิงที่ตั้งครรภ์หรือผู้ต้องขังหญิงที่ให้นมบุตร โดยให้คานึงถึงสุขภาพ
ของผู้ต้องขังและบุตรเป็นสาคัญ หากไม่สามารถจัดแยกสถานที่อาบน้าได้ ให้ผู้ต้องขังหญิงที่ตั้งครรภ์หรือ
ผู้ต้องขังหญิงที่ให้นมบุตรอาบก่อนผู้ต้องขังอื่น
(2) จัดทาประวัติของผู้ต้องขังหญิงที่ตั้งครรภ์หรือผู้ต้องขังหญิงที่ให้นมบุตร รายละเอียดเกี่ยวกับ
คดี กาหนดโทษ ประวัติการต้องโทษ ประวัติการรักษาพยาบาล ภูมิลาเนา จานวนบุตร ความสัมพันธ์
ระหว่างผู้ต้องขังกับบุตรทั้งหมด ญาติที่สามารถติดต่อได้ พร้อมทั้งเก็บรวบรวมหลักฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ของผู้ต้องขัง
(3) จัดเตรียมเอกสารของผู้ต้องขังหญิงที่ตั้งครรภ์หรือผู้ต้องขังหญิงที่ให้นมบุตร ได้แก่ สาเนาบัตร
ประชาชน และสาเนาทะเบียนบ้าน เพื่อใช้ในการจัดทาบั ตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า การแจ้งเกิดบุตร
และการเตรียมการคลอดบุตร และถ่ายภาพไว้เพื่อให้เจ้าพนักงานเรือนจาตรวจสอบก่อนและหลังกลับจาก
โรงพยาบาล
หมวด 2
การดูแลผู้ต้องขังหญิงที่ตั้งครรภ์
ข้อ 7 ให้เรือนจาจัดหาสิ่งของที่จาเป็นส าหรับผู้ต้องขังหญิงที่ตั้งครรภ์ เช่น นม อาหารเสริม
เครื่องอุปโภคบริโภค เป็นสวัสดิการแก่ผู้ต้องขังหญิงที่ตั้งครรภ์
ข้อ 8 ให้เรือนจาจัดให้มีกิจกรรมกลุ่มให้คาปรึกษาแนะนาผู้ต้องขังหญิงที่ตั้งครรภ์
ข้อ 9 ให้เรือนจาจัดให้มีพยาบาลหรือสูตินรีแพทย์เข้ามาตรวจครรภ์ ตรวจสุขภาพ รวมทั้งฉีด
วัคซีนแก่ผู้ต้องขังหญิงที่ตั้งครรภ์ตามกาหนดหรือนาผู้ต้องขังหญิงที่ตั้งครรภ์ออกไปรับ การบริการทาง
การแพทย์ดังกล่าว และให้มีการออกกาลังกายและกิจกรรมนันทนาการสาหรับผู้ต้องขังหญิงที่ตั้งครรภ์
ด้วย
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 163

ข้อ 10 เรื อนจ าจะจั ดให้ ผู้ ต้องขังหญิงที่ตั้งครรภ์ทางานก็ได้ แต่ต้องเป็นงานที่ไม่ก่อให้ เกิด


อันตรายต่อสุขภาพของผู้ต้องขังหญิงที่ตั้งครรภ์
ข้อ 11 การส่งผู้ต้องขังหญิงที่ตั้งครรภ์ไปตรวจครรภ์ คลอดบุตร หรือรักษาตัวภายหลังคลอดบุตร
ที่โรงพยาบาลภายนอกเรือนจา รวมถึงการจัดให้มีเจ้าพนักงานเรือนจาผู้ทาหน้าที่ควบคุม ให้เป็นอานาจ
ของผู้บัญชาการเรือนจา ภายใต้หลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในกฎกระทรวง
หมวด 3
ผู้ต้องขังหญิงที่ให้นมบุตร
ข้อ 12 ให้เรือนจาส่งเสริมให้ผู้ต้องขังเลี้ยงเด็กด้วยน้านมมารดา เว้ นแต่มีเหตุผลความจาเป็น
ทางด้านสุขภาพอนามัยของมารดาหรือเด็กแล้วแต่กรณี ให้เรือนจาจัดนมหรืออาหารเสริมอื่นๆ สาหรับ
เด็กนั้นได้ตามความเหมาะสม
ข้อ 13 ในการดูแลผู้ต้องขังหญิงที่ให้นมบุตร ให้เรือนจานาวิธีการในหมวด 2 มาใช้บังคับโดย
อนุโลม
หมวด 4
เบ็ดเตล็ด
ข้อ 14 ให้เรือนจาประสานกับหน่วยงานภายนอก เช่น สานักงานสาธารณสุขจังหวัด สานักงาน
พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ศูนย์ส่งเสริมอนามัยแม่และเด็ก สานั กงานกาชาดจังหวัด
หรือโรงพยาบาลของรัฐหรือเอกชน เพื่อขอความอนุเคราะห์สนับสนุนเครื่องอุปโภคบริโภคสาหรับผู้ต้องขัง
หญิงที่ตั้งครรภ์หรือผู้ต้องขังหญิงที่ให้นมบุตร
*ข้อ 15 ให้กองพัฒนาพฤตินิสัยกากับดูแลการปฏิบัติหน้าที่ของนักสังคมสงเคราะห์ และให้กอง
บริการทางการแพทย์กากับดูแลการปฏิบัติหน้าที่ของแพทย์ พยาบาล หรือเจ้าหน้าที่ในส่วนที่เกี่ยวกับการ
ปฏิบัติต่อผู้ต้องขังหญิงที่ตั้งครรภ์หรือผู้ต้องขังหญิงที่ให้นมบุตร เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพและ
เพื่อประโยชน์ในการเก็บข้อมูลหรือสถิติที่จาเป็น
ประกาศ ณ วันที่ 30 เมษายน พ.ศ.2561
พันตารวจเอก ณรัชต์ เศวตนันทน์
อธิบดีกรมราชทัณฑ์
*แก้ไขโดยระเบียบ ฉ.ที่ 2 ลงวันที่ 21 กันยายน 2561

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


164 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ต้องขังซึ่งถูกล่วงละเมิดทางเพศ
มาตรา 59 ผู้ต้องขังหญิงซึ่งถูกล่วงละเมิดทางเพศโดยเฉพาะผู้ที่ตั้งครรภ์จากการถูกล่วงละเมิด
ดังกล่าว ต้องได้รับคาแนะนาหรือคาปรึกษาทางการแพทย์ที่เหมาะสม และต้องได้รับการสนับสนุนการ
ดูแลสุขภาพทางกายและทางจิตตามความจาเป็น รวมทั้งการให้ความช่วยเหลือด้านกฎหมายด้วย ทั้งนี้
ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง
*** ย้อนดูกฎกระทรวง อาศัยมาตรา 47 แห่ง พ.ร.บ.นี้***

ส่วนที่ 5
การติดต่อผู้ต้องขัง
---------------------------
มาตรา 60 ผู้ต้องขังพึงได้รับการอนุญาตให้ติดต่อกับบุคคลภายนอกตามระเบียบกรมราชทัณฑ์
บุคคลภายนอกซึ่งได้รับอนุญาตให้เข้าไปในเรือนจาเพื่อกิจธุระ เยี่ยมผู้ต้องขังหรือเพื่อประโยชน์
อย่างอื่น จะต้องปฏิบัติตามระเบียบกรมราชทัณฑ์ที่ประกาศไว้โดยเปิดเผย
มาตรา 61 ให้เรือนจาจัดสถานที่ให้ผู้ต้องขังได้พบและปรึกษากับทนายความหรือผู้ซึ่งจะเป็น
ทนายความเป็นการเฉพาะตัวได้ตามที่กาหนดในระเบียบกรมราชทัณฑ์

ระเบียบกรมราชทัณฑ์
ว่าด้วยการเยี่ยม การติดต่อของบุคคลภายนอกกับผู้ต้องขัง
และการเข้าดูแลกิจการหรือติดต่อการงานกับเรือนจา
พ.ศ. 2561
---------------------------
โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงหลักเกณฑ์และวิธีการเยี่ยมการติดต่อผู้ต้องขังและการเข้าดูกิจการ
หรือติดต่อการงานกับเรือนจาให้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป และเพื่อให้เอื้ออานวยต่อการ
เสริมสร้างประสิทธิภาพในการบริหารงานของเรือนจา
อาศัยอานาจตามความในมาตรา 34 มาตรา 60 และมาตรา 61 แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์
พ.ศ. 2560 อธิบดีกรมราชทัณฑ์จึงออกระเบียบไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการเยี่ยม การติดต่อของบุคคลภายนอก
กับผู้ต้องขัง และการเข้าดูกิจการหรือติดต่อการงานกับเรือนจา พ.ศ. 2561”
ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 165

ข้อ 3 ให้ยกเลิกข้อบังคับกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการเยี่ยมการติดต่อของบุคคลภายนอกต่อผู้ต้องขัง
และการเข้าดูกิจการหรือติดต่อการงานกับเรือนจา พ.ศ. 2555
ข้อ 4 บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ คาสั่ง ประกาศ หรือหนังสื อสั่งการอื่นใด ซึ่งขัดหรือแย้งกับ
ระเบียบนี้ ให้ใช้ระเบียบนี้แทน
ข้อ 5 ให้อธิบดีกรมราชทัณฑ์รักษาการตามระเบียบนี้ และมีอานาจวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการ
ปฏิบัติ รวมตลอดถึงการออกหลักเกณฑ์ เงื่อนไขเพิ่มเติม เพื่อให้เป็นไปตามระเบียบนี้

หมวด 1
บุคคลภายนอกเข้าเยี่ยมหรือติดต่อผู้ต้องขัง
ข้อ 6 บุคคลภายนอกจะเข้าเยี่ยมหรือติดต่อกับผู้ต้องขังได้ ดังนี้
(1) เมื่อได้รับอนุญาตจากผู้บัญชาการเรือนจาหรือผู้ได้รับมอบหมายจากผู้บัญชาการเรือนจา
ในการเข้าเยี่ยมหรือติดต่อกับผู้ต้องขังต้องนาบัตรประจาตัวประชาชน หรื อบัตรที่ออกโดยทาง
ราชการที่ปรากฏภาพถ่ายไปแสดงต่อเจ้าพนักงานเรือนจา และให้เจ้าพนักงานเรือนจาจดบันทึกข้อมูล
บุคคลภายนอกผู้เข้าเยี่ยมหรือติดต่อไว้เป็นหลักฐาน โดยเฉพาะความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับผู้ต้องขัง กิจธุระ
หรือประโยชน์ในการเข้าเยี่ยมหรือติดต่อกับผู้ต้องขังนั้น
(2) เฉพาะผู้ต้องขังที่ได้รับโอกาสให้ได้รับการเยี่ยมหรือติดต่อจากบุคคลภายนอก
(3) ต้องเข้าเยี่ยมหรือติดต่อในวันและเวลาตามที่เรือนจาได้กาหนดไว้
หากมีเหตุพิเศษจาเป็นต้องพบผู้ต้องขังนอกวันและเวลาที่กาหนด ให้ขออนุญาตต่อผู้บัญชาการ
เรือนจา แต่ต้องไม่ใช่ระหว่ างเวลาที่เรือนจาได้นาผู้ต้องขังเข้าห้องขังแล้ว และยังมิได้นาออกจากห้องขัง
เว้นแต่ผู้บัญชาการเรือนจาเห็นเป็นการจาเป็นที่สมควรจะอนุญาต
ข้ อ 7 เพื่ อ ประโยชน์ ด้ า นการควบคุ ม หรื อ ความมั่ น คงของเรื อ นจ า ให้ ผู้ บั ญ ชาการเรื อ นจา
กาหนดให้ผู้ต้องขังแจ้งรายชื่อบุคคลภายนอกที่จะให้เข้ามาพบหรือติดต่อกับตนภายในเรือนจาไว้ล่วงหน้า
รายชื่ อ บุ ค คลภายนอกนั้ น ให้ มี จ านวนไม่ เ กิ น 10 คน และหากจะแก้ ไ ขเปลี่ ย นแปลงก็ ใ ห้ ส ามารถ
ดาเนินการได้โดยต้องแจ้งล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 30 วัน
ในกรณีมีเหตุพิเศษ ผู้บัญชาการเรือนจาอาจพิจารณาอนุญาตให้บุคคลภายนอกนอกเหนือจากที่
ได้แจ้งไว้ตามวรรคก่อน เข้าเยี่ยมหรือติดต่อกับผู้ต้องขังก็ได้
ข้อ 8 ห้ามมิให้บุคคลภายนอกที่มีลักษณะต้องห้ามดังต่อไปนี้ เยี่ยมหรือติดต่อกับผู้ต้องขัง
(1) มีอาการมึนเมาหรือเมาสุราน่าจะก่อความเดือดร้อนราคาญหรือความไม่เรียบร้อย

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


166 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

(2) มีเหตุอันควรเชื่อว่ าอนุญาตให้เยี่ยมหรือติดต่อกับผู้ต้องขังแล้วจะก่อการร้ายหรือกระทาผิด


กฎหมายขึ้น
(3) มีพฤติการณ์ที่อาจกระทบต่อความมั่นคงของเรือนจา
(4) แต่งกายผิดปกตินิยมในท้องถิ่น หรือไม่สุภาพ หรือสกปรกอย่างร้ายแรง
(5) มีกิริยาวาจาไม่สุภาพ
(6) เป็นโรคติดต่อร้ายแรง
(7) ไม่ปฏิบัติตามคาสั่งของเจ้าพนักงานเรือนจาซึ่งปฏิบัติการโดยชอบด้วยหน้าที่
ข้อ 9 บุคคลภายนอกที่ได้รับอนุญาตให้เยี่ยมหรือติดต่อกับผู้ต้องขังจะต้องปฏิบัติตน ดังนี้
(1) อยู่ในเขตที่เรือนจากาหนดให้เป็นที่เยี่ยมหรือติดต่อกับผู้ต้องขัง
(2) ไม่กระทาด้วยประการใด ๆ ให้สิ่งของเข้ามาหรือให้ออกไปจากเรือนจา หรือรับจาก หรือส่ง
มอบแก่ผู้ต้องขัง โดยมิได้รบอนุญาตจากเจ้าพนักงานเรือนจา กรณีที่ประสงค์จะมอบเงินตราให้กับผู้ต้องขัง
ให้นาฝากไว้ กับเจ้าพนักงานเรื อนจาที่ทางเรือนจาจัดไว้ให้เพื่อการนั้น หรือวิธีการอื่นที่กรมราชทัณ ฑ์
กาหนด
(3) ไม่แนะนาชักชวนแสดงกิริยาหรือให้อาณัติสัญญาณอย่างใด ๆ แก่ผู้ต้องขังเพื่อกระทาผิด
กฎหมายหรือวินัยผู้ต้องขัง และไม่เป็นสื่อกลางในการติดต่อกับผู้ต้องขังเกี่ยวกับสิ่ งของต้องห้า มตาม
กฎหมายว่าด้วยการราชทัณฑ์
(4) พูดภาษาไทยและออกเสียงให้ดังพอที่เจ้าพนักงานเรือนจาผู้ควบคุมอยู่ ณ ที่นั้นได้ยินจะพูด
ภาษาอื่นได้ต่อเมื่อได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานเรือนจา
(5) ยินยอมให้เจ้าพนักงานเรือนจาฟังการสนทนา บันทึกภาพหรือเสียงและตัดการสื่ อสารหาก
เห็นว่าข้อความที่สนทนาเป็นไปโดยไม่เหมาะสมในกรณีที่เรือนจาจัดให้เยี่ยมหรือติดต่อกับผู้ต้องขังโดย
การพูดคุยผ่านเครื่องมือสื่อสาร
(6) ไม่ถ่ายภาพหรือเขียนภาพเกี่ยวกับผู้ ต้องขังหรือเรือนจาหรือเขียนแบบแปลนหรือแผนที่
เรือนจา เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากกรมราชทัณฑ์และแจ้งให้ผู้บัญชาการเรือนจาทราบก่อนแล้ว
(7) ไม่ใช้โทรศัพท์ หรือเครื่องมือสื่อสารอื่นใด ในขณะเยี่ยมหรือติดต่อกับผู้ต้องขัง
(8) ปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับเรือนจา และคาสั่งของเจ้าพนักงานเรือนจาซึ่งปฏิบัติการโดย
ชอบด้วยหน้าที่
ข้อ 10 ในกรณีที่มีเหตุอันควรสงสัยว่าบุคคลภายนอกที่จะมาขออนุญาต หรือได้รับอนุญาตให้
เยี่ยมหรือติดต่อแล้วมีสิ่งของที่ยังไม่ได้รับอนุญาตตามข้อ 9(2) หรือสิ่ งของต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วย
การราชทัณฑ์ เจ้าพนักงานเรือนจามีอานาจขอดู หรือขอตรวจค้นได้ หากบุคคลภายนอกนั้นเป็นชายให้
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 167

เจ้าพนักงานเรือนจาชายเป็นผู้ทาการตรวจค้น หากเป็นผู้หญิงให้เจ้าพนักงานเรือนจาหญิงเป็นผู้ทาการ
ตรวจค้น หรือให้ผู้นั้นแสดงเองหรือจัดให้ชายหรือหญิงอื่นที่ควรเชื่อถือทาการตรวจค้นแทนก็ได้
ข้อ 11 บุคคลภายนอกที่ไม่ได้รับอนุญาตหรือที่ได้รับอนุญาตให้เยี่ยมหรือติดต่อกับผู้ต้องขังได้
กระทาผิดระเบียบนี้ เจ้าพนักงานเรือนจามีอานาจดาเนินการให้ออกไปจากบริเวณเรือนจา ทั้งนี้ หากมี
การขัดขืนเจ้าพนักงานเรือนจามีอานาจใช้กาลังพอสมควรที่จะให้ออกไปพ้นจากเรือนจาได้
หมวด 2
ทนายความเข้าพบผู้ต้องขังเกี่ยวกับคดี
ข้อ 12 ทนายความหรือผู้ซึ่งเป็นทนายความที่จะขอเข้าพบผู้ต้องขังเกี่ยวกับคดี จะต้องเป็น
ทนายความที่ได้รับใบอนุญาตให้เป็นทนายความตามกฎหมายว่าด้วยทนายความ และจะพบกับผู้ต้องขังได้
เฉพาะทนายความที่ผู้ต้องขังต้องการเข้าพบเท่านั้น
ผู้ต้องขังที่ทนายความหรือผู้ซึ่งเป็นทนายความจะขอเข้าพบตามวรรคหนึ่งต้องเป็นผู้ต้องขังซึ่งเป็น
ผู้ต้องหาหรือจาเลยในคดีอาญา เว้นแต่เป็นกรณีตามข้อ 16
ข้อ 13 ทนายความหรือผู้ซึ่งจะเป็นทนายความ จะต้องยื่นคาร้องขอพบผู้ต้องตามแบบคาร้องที่
กรมราชทัณฑ์กาหนด
ในกรณีที่ทนายความยื่นคาร้องขอพบผู้ต้องขัง ประสงค์จะนาล่ามเข้าพบผู้ต้องขังด้วยเนื่องจาก
ผู้ต้องขังเป็นชาวต่างประเทศ หรือเป็นชาวไทยใช้ภาษาท้องถิ่น ไม่สามารถพูดหรือเข้าใจภาษาไทยได้หรือ
ผู้ต้องขังไม่สามารถพูดหรือได้ยิน หรือสื่อความหมายได้ ให้แสดงบัตรประจาตัวประชาชนหรือบั ตรที่ออก
โดยทางราชการที่ปรากฏภาพถ่ายหรือหนังสือเดินทางของล่ามประกอบคาร้องขอเข้าพบผู้ต้องขัง และให้
ผู้บัญชาการเรือนจาหรือผู้ได้รับมอบหมายจากผู้บัญชาการเรือนจาพิจารณาอนุญาตตามสมควร
หากปรากฏข้อเท็จ จริ งต่อเจ้ าพนักงานเรือนจาว่าล่ ามที่ได้รับอนุญาตตามวรรคก่อนได้ แสดง
หลักฐานหรือข้อความอันเป็นเท็จหรือกระทาผิดระเบียบนี้ ให้เจ้าพนักงานเรือนจาจดบันทึกข้อมูลในการ
กระทาความผิดไว้เป็นหลักฐาน และมีอานาจดาเนินการให้ออกจากบริเวณเรือนจาได้ และไม่อนุญาตให้
เข้าเรือนจาในฐานะล่ามอีกต่อไป
เรือนจาที่ได้รับคาร้องให้แจ้งผู้ต้องขังได้ ทราบข้อความตามคาร้อง เพื่อแจ้งความประสงค์และ
เหตุผลว่าจะพบทนายความนั้นหรือไม่
เมื่อผู้บัญชาการเรือนจาหรือผู้ได้รับมอบหมายจากผู้บัญชาการเรือนจามีความเห็นในคาร้องเป็น
ประการใดแล้ว ให้เจ้าพนักงานเรือนจาแจ้งความเห็นหรือคาสั่งนั้น ให้ทนายความลงลายมือชื่อรับทราบ
ด้วย

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


168 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ข้อ 14 ทนายความหรือผู้จะเป็นทนายความรายใดที่จะขอเข้าพบผู้ต้ องขังที่อยู่ระหว่างสอบสวน


หรือไต่สวนมูลฟ้องให้ทนายความรายนั้นยื่นส าเนาใบอนุญาตให้เป็นทนายความตามกฎหมายว่าด้ว ย
ทนายความเพื่อเป็นหลักฐานประกอบคาร้องขอพบผู้ต้องขังภายในเรือนจา
สาหรับทนายความรายใดที่ ผู้ต้องขังได้แต่งตั้งและคดีเข้าสู่กระบวนการพิจารณาของศาลแล้ว
ทนายความรายนั้นต้องยื่นสาเนาใบแต่งทนายความที่ศาลประทับรับไว้ในสานวนคดีให้เป็นทนายความ
ของผู้ต้องขัง ประกอบคาร้องขอพบผู้ต้องขังภายในเรือนจาด้วย เว้นแต่เป็นกรณีที่ผู้ต้องขังยังไม่ได้แต่งตั้ง
ทนายความ
ในกรณีมีเหตุพิเศษอันเกี่ยวข้องกับการแต่งตั้งทนายความ เช่น การถอนตัวของทนายความ การ
เสียชีวิตของทนายความ หรือการรื้อฟื้นคดีอาญาขึ้นใหม่ ผู้บัญชาการเรือนจาอาจพิจารณาอนุญาตให้
ทนายความเข้าพบผู้ต้องขังโดยไม่ต้องมีใบแต่งตั้งทนายความหรือใบแต่งทนายความที่ศาลประทั บรับไว้ใน
สานวนคดีให้เป็นทนายความของผู้ต้องขังนั้นมาแสดงก็ได้
ข้อ 15 ทนายความที่ได้รับอนุญาตให้เข้าพบผู้ต้องขัง ต้องพบหรือติดต่อผู้ต้องขังคราวล่ะหนึ่งคน
เว้น แต่การพบผู้ ต้องขังซึ่งเป็ น ผู้ ต้องหาร่ว มหรือจาเลยร่ว มในคดีเดียวกัน และการพบนั้นเป็นไปเพื่อ
ประโยชน์ในกระบวนการพิจารณาคดี จะให้พบผู้ต้องขังมากกว่าหนึ่งคนก็ได้
ข้อ 16 ทนายความที่มีความประสงค์จะขอเข้าพบผู้ต้องขังซึ่งเป็นผู้เสียหายในคดีอาญา คดีแพ่ง
หรือคดีปกครอง ให้ทนายดาเนินการตามข้อ 12 ข้อ 13 ข้อ 14 และข้อ 15 โดยอนุโลม
ข้อ 17 ทนายความสามารถเข้าพบผู้ต้องขั งได้ตั้งแต่เวลา 09.00 นาฬิกา ถึง 15.30 นาฬิกา
ของวันราชการ
หากมีเหตุพิเศษจ าเป็ น ต้ องพบผู้ ต้ องขัง นอกเวลาในวรรคก่ อนให้ ข ออนุ ญาตต่ อผู้ บั ญชาการ
เรือนจาแต่ต้องไม่ใช่ระหว่างเวลาที่เรือนจาได้นาผู้ต้องขังเข้าห้องขังแล้วและยังมิได้นาออกจากห้องขัง เว้น
แต่ผู้บัญชาการเรือนจาเห็นเป็นการจาเป็นที่สมควรจะอนุญาต
ข้อ 18 ทนายความที่ได้รับอนุญาตให้เข้าพบผู้ต้องขังหากต้องการจะสงวนข้อความที่ พูด กับ
ผู้ต้องขังเป็นความลับให้แจ้งเจ้าพนักงานเรือนจาทราบ และให้เจ้าพนักงานเรือนจาผู้ควบคุมอยู่ในระยะที่
ไม่สามารถได้ยินข้อความการสนทนา
ข้อ 19 ให้นาความในหมวด 1 มาใช้บังคับกับกรณีทนายความที่เข้าพบผู้ต้องขังเท่าที่ พอจะ
บังคับได้โดยอนุโลม
หมวด 3
เจ้าหน้าที่สถานทูตและพนักงานกงสุลเข้าเยี่ยมผู้ต้องขัง
ข้อ 20 เจ้ าหน้ าที่ส ถานทูตและพนักงานกงสุ ล จะเข้าเยี่ย มผู้ ต้องขังในสั ง กัดได้ต่อเมื่อ ได้ รั บ
อนุญาตจากผู้บัญชาการเรือนจาหรือผู้ได้รับมอบหมายจากผู้บัญชาการเรือนจา
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 169

ข้อ 21 เจ้าหน้าที่สถานทูตและพนักงานกงสุลได้รับอนุญาต จะต้องแต่งกายและมีกิริยาอันสุภาพ


ทั้งไม่ออกไปนอกเขตที่ทางเรือนจากาหนดให้
ข้อ 22 ให้นาความในหมวด 1 มาใช้บังคับกับกรณีเจ้าหน้าที่สถานทูตหรือพนักงานกงสุลเข้า
เยี่ยมผู้ต้องขังเท่าที่พอจะบังคับได้โดยอนุโลม
หมวด 4
การเยี่ยมผู้ต้องขังป่วย
ข้อ 23 ผู้ต้องขังคนใดที่เจ็บป่วยอาการหนักและได้รับการรักษาตัวอยู่ในทัณฑสถานโรงพยาบาล
ราชทัณฑ์ห รื อสถานพยาบาลของเรื อนจา หากผู้ อานวยการทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์ห รือผู้
บัญชาการเรือนจาหรือผู้ได้รับมอบหมายจากผู้บัญชาการเรือนจาจะอนุญาตให้ผู้ต้องขังนั้นได้รับการเยี่ยม
ญาติภ ายในทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทั ณฑ์ ห รื อสถานพยาบาลของเรื อ นจาก็ ได้ แล้ ว แต่ กรณี โดย
พิจารณาจากรายงานของแพทย์หรือเจ้าหน้าที่พยาบาลประจาสถานพยาบาลนั้น
ข้อ 24 ให้ มีการเยี่ ย มผู้ ต้องขังป่ว ยในระหว่างวันและเวลาราชการตามปกติโ ดยให้ จัดเยี่ยม
ในทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์หรือสถานพยาบาลของเรือนจาหรือสถานที่อื่นใดอันสมควร แต่ต้อง
เป็นสถานที่ที่ญาติและผู้ต้องขังได้สนทนากันอย่างใกล้ชิดและเยี่ยมได้ครั้งละไม่เกิน 30 นาที
ข้อ 25 บุคคลต่อไปนี้เท่านั้นที่จะได้รับอนุญาตให้เยี่ยมผู้ต้องขังป่วย
(1) บิดามารดาปู่ย่าตายาย
(2) สามีหรือภริยา
(3) บุตรหรือหลาน
(4) พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันหรือพี่น้องร่วมบิดาหรือร่วมมารดาเดียวกัน
(5) ลุง ป้า น้า อา
(6) บุคคลอื่นที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดหรือผู้ที่ผู้ต้องขังป่วยร้องขอ
ข้อ 26 ให้นาความในหมวด 1 มาใช้บังคับกับกรณีการเยี่ยมผู้ต้องขังป่วยเท่าที่พอจะบังคับได้
โดยอนุโลม
หมวด 5
บุคคลภายนอกเข้าดูกิจการหรือติดต่อการงานกับเรือนจา
ข้อ 27 บุคคลภายนอกที่จะเข้าดูกิจการหรือติดต่องานกับเรือนจาได้ต่อเมื่อได้รับอนุญาตจากผู้
บัญชาการเรือนจาหรือผู้ได้รับมอบหมายจากผู้บัญชาการเรือนจา
ข้อ 28 บุคคลภายนอกที่จะเข้าดูกิจการหรือติดต่อการงานกับเรือนจาจะต้องปฏิบัติตน ดังนี้

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


170 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

(1) แต่งกายและมีกิริยาอันสุภาพ
(2) ไม่พูดจากับผู้ต้องขัง เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานเรือนจา
(3) ต้องเข้าดูแต่ภายในอาณาเขตและกาหนดเวลาที่ทางเรือนจากาหนดไว้ให้
ข้อ 29 บุคคลภายนอกที่จะได้รับอนุญาตให้เข้าดูกิจการหรือติดต่อการงานกับเรือนจาในคราว
หนึ่งจะมีจานวนเท่าใดให้ผู้บัญชาการเรือนจาหรือผู้ได้รับมอบหมายจากผู้บัญชาการเรือนจาพิจารณาตาม
ความจาเป็นและเหมาะสมแก่สภาพการณ์ของเรือนจา
ข้อ 30 ให้นาความในหมวด 1 มาใช้บังคับกับกรณีบุคคลภายนอกเข้าดูกิจการหรือติดต่อการ
งานกับเรือนจาเท่าที่พอจะบังคับได้โดยอนุโลม
หมวด 6
การเยี่ยมโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ข้อ 31 เรือนจาอาจนาเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมทั้งระบบและเครื่องมืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
ที่ เ กี่ ย วข้ อ งมาใช้ เ พื่ อ สนั บ สนุ น และเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการด าเนิ น การ การเยี่ ย ม การติ ด ต่ อ ของ
บุคคลภายนอกต่อผู้ต้องขัง และการเข้าดูกิจการหรือติดต่อการงานกับเรือนจาตามทะเบียนนี้ก็ได้ ทั้งนี้
หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการ ตามที่กรมราชทัณฑ์กาหนด
หมวด 7
การรับฝากสิ่งของจากบุคคลภายนอกให้แก่ผู้ต้องขัง
ข้อ 32 การจะให้ มีการรั บ หรืองดรับฝากสิ่ งของจากบุคคลภายนอกให้ แก่ผู้ ต้อ งขังในแต่ ล ะ
เรือนจาให้เป็นไปตามประกาศกรมราชทัณฑ์
ข้อ 33 การรับฝากสิ่งของจากบุคคลภายนอกให้แก่ผู้ต้องขัง ต้องให้เจ้าพนักงานเรือนจาตรวจ
ก่อนและดาเนินการ ดังนี้
(1) ถ้าเป็น “สิ่งของอนุญาต” ให้เจ้าพนักงานเรือนจาส่งมอบแก่ผู้ต้องขัง เว้นแต่มีปริมาณมาก
เกินความจาเป็น เจ้าพนักงานเรือนจาจะส่งมอบแก่ผู้ต้องขังพอประมาณตามความจาเป็นก็ได้ นอกนั้ นให้
ส่งมอบแก่บุคคลภายนอกผู้ฝากรับคืนไป
(2) ถ้าเป็นสิ่งของซึ่งมิใช่ “สิ่งของต้องห้าม” หรือมิใช่เป็น “สิ่งของอนุญาต” แต่เป็นสิ่งของที่ทาง
เรือนจาผ่อนผันยอมเก็บรักษาไว้ให้แก่ผู้ต้องขังเจ้าพนักงานเรือนจาจะรับเก็บรักษาไว้ให้แก่ผู้ต้องขังก็ได้ถ้า
ไม่สามารถจะเก็บรักษาไว้ให้แก่ผู้ต้องขังได้ให้ส่งมอบสิ่งของนั้นคืนแก่บุคคลภายนอกผู้ฝาก หากไม่รับคืน
ให้เจ้าพนักงานเรือนจานาเอาออกไปไว้นอกเรือนจา และในกรณีนี้เจ้าพนักงานเรือนจาและเรือนจาจะไม่
รับผิดชอบในสิ่งของนั้นแต่อย่างใด
สิ่งของที่ไม่ผ่านการตรวจค้นของเจ้าพนักงานเรือนจาห้ามส่งมอบให้แก่ผู้ต้องขังโดยเด็ดขาด
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 171

ข้อ 34 กรณีการส่งมอบสิ่งของหรือการให้นาเอาสิ่งของออกไปจากเรือนจาหรือการงดรับฝาก
สิ่งของตามข้อก่อนเจ้าพนักงานเรือนจาจะต้องชี้แจงเหตุผลให้บุคคลภายนอกผู้ฝากทราบด้วย
หมวด 8
อานาจของอธิบดีกรมราชทัณฑ์
ข้อ 35 ในกรณีมีผู้มาติดต่อขอเยี่ยมผู้ต้องขัง หรือติดต่อการงานของเรือนจา และอธิบดีกรม
ราชทัณฑ์เห็นเป็นการสมควรจะอนุญาตให้ผู้นั้นเข้าเยี่ยมผู้ต้องขังหรือติดต่อการงานของเรือนจาใดก็ได้

ประกาศ ณ วันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2561


พันตารวจเอก ณรัชต์ เศวตนันทน์
อธิบดีกรมราชทัณฑ์

ส่วนที่ 6
ทรัพย์สินของผู้ต้องขัง
----------------------------
มาตรา 62 ทรัพย์สินชนิดใดจะเป็นสิ่งของที่อนุญาตหรือไม่อนุญาตให้เก็บรักษาไว้ในเรือนจา ให้
เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
ทรัพย์สินที่เป็นสิ่งของอนุญาตให้เก็บรักษาไว้ในเรือนจา แต่มีปริมาณหรือจานวนเกินกว่าที่
อธิบดีอนุญาต หรือเป็นสิ่งของที่ ไม่อนุญาตให้เก็บรักษาไว้ในเรือนจา ให้แจ้งญาติมารับคืนจากเจ้า
พนักงานเรื อนจ า แต่ถ้าไม่มีผู้ มารั บ ภายในเวลาที่เรือนจากาหนด อาจจาหน่า ยแล้วมอบเงิน ให้ แ ก่
ผู้ต้องขังภายหลังหักค่าใช้จ่ายในการจาหน่าย แต่ถ้าของนั้นมีสภาพเป็นของสดเสียง่าย ของอันตราย
หรือโสโครกให้เจ้าพนักงานเรือนจาทาลายเสีย
การจาหน่ายและการทาลายสิ่งของตามวรรคสอง ให้เป็นไปตามระเบียบกรมราชทัณฑ์

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


172 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

กฎกระทรวง
กาหนดทรัพย์สินของผู้ต้องขังเป็นสิ่งของที่อนุญาตหรือไม่อนุญาต
ให้เก็บรักษาไว้ในเรือนจา พ.ศ. ๒๕๖๓
(ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๗ ตอนที่ ๘๔ ก ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๖๓)
----------------------
อาศั ย อ านาจตามความในมาตรา ๗ วรรคหนึ่ ง และมาตรา ๖๒ วรรคหนึ่ ง แห่ ง
พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้ยกเลิก
(๑) หมวด ๑ สิ่งของต้องห้าม หมวด ๒ สิ่งของที่อนุญาต และหมวด ๓ สิ่งของอย่าง
อื่น ของส่วนที่ ๘ ทรัพย์สินของผู้ต้องขัง ข้อ ๑๒๗ ข้อ ๑๒๘ ข้อ ๑๒๙ ข้อ ๑๓๐ และข้อ ๑๓๑ แห่ง
กฎกระทรวงมหาดไทยออกตามความในมาตรา ๕๘ แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พุทธศักราช ๒๔๗๙
(๒) ข้อ ๓ แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ.๒๕๔๗) ออกตามความในพระราชบัญญัติ
ราชทัณฑ์ พุทธศักราช ๒๔๗๙
ข้อ ๒ ทรัพย์สินดังต่อไปนี้เป็นสิ่งของที่อนุญาตให้ผู้ต้องขังเก็บรักษาไว้ในเรือนจา แต่ต้อง
มีปริมาณหรือจานวนไม่เกินกว่าที่อธิบดีอนุญาต
(๑) สิ่งของเกี่ยวกับการรักษาอนามัย เช่น แปรงสีฟัน ยาสีฟัน สบู่ หวี ผ้าเช็ดตัว
(๒) อาหารที่ปรุงแล้วเสร็จซึ่งอนุญาตให้ผู้ต้องขังรับประทานได้
(๓) สิ่งของอื่นที่ได้รับอนุญาตจากผู้บัญชาการเรือนจาและผู้ต้องขังได้ปฏิบัติตามเงื่อนไข
ทีผ่ ู้บัญชาการเรือนจากาหนด
ข้อ ๓ ทรัพย์สินดังต่อไปนี้เป็นสิ่งของที่ไม่อนุญาตให้ผู้ต้องขังเก็บรักษาไว้ในเรือนจา
(๑) สิ่งของที่มีสภาพเป็นของสด เสียง่ายหรือของอันตรายหรือโสโครก
(๒) ผลิตภัณฑ์ยาสูบตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ
(๓) สิ่งของที่มีขนาด น้าหนัก ปริมาณ จานวน หรือสภาพ อันจะเก็บรักษาไว้ในเรือนจา
ไม่ได้
(๔) วัตถุ เอกสาร สิ่ งพิมพ์ หรือสิ่ งอื่นใดที่สื่ อ ไปในทางลามกอนาจาร หรืออาจ
ก่อให้เกิด ความไม่สงบเรียบร้อยหรือเสื่อมเสียต่อศีลธรรมอัน ดี (๕) สิ่งของอื่นที่มีลักษณะทานองเดียวกับ
(๑) (๒) (๓) หรือ (๔) ตามที่อธิบดีกาหนด
ให้ไว้ ณ วันที่ 25 กันยายน พ.ศ. ๒๕๖3
สมศักดิ์ เทพสุทิน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 173

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่ม าตรา ๖๒ วรรคหนึ่ง แห่ง


พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ บัญญัติให้ทรัพย์สินของผู้ต้องขังชนิดใดจะเป็นสิ่งของที่อนุญ าต
หรือไม่อนุญาตให้เก็บรักษาไว้ในเรือนจา ให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง จึงจาเป็นต้องออก
กฎกระทรวงนี้

ระเบียบกรมราชทัณฑ์
ว่าด้วยการจาหน่ายและทาลายสิ่งของที่ไม่อนุญาตให้เก็บรักษาไว้ในเรือนจา
และสิ่งของที่ได้ยึดไว้ตามอานาจหน้าที่ พ.ศ.2561
----------------------
เพื่อให้การดาเนินการจาหน่ายสิ่งของที่ไม่อนุญาตให้เก็บรักษาไว้ในเรือนจา และการทาลายของ
สดเสียง่าย ของอันตรายหรือโสโครกเป็นไปด้วยความเรียบร้อย อาศัยอานาจตามความในมาตรา 27
วรรคสามและมาตรา 62 วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 อธิบดีกรมราชทัณฑ์จึง
วางระเบียบไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการจาหน่ายและทาลายสิ่ งของที่ ไม่
อนุญาตให้เก็บรักษาไว้ในเรือนจาและสิ่งของที่ได้ยึดไว้ตามอานาจหน้าที่ พ.ศ.2561”
ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป
ข้อ 3 บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ คาสั่ง ประกาศ หรือหนังสือสั่งการอื่นใด ซึ่งขัดหรือแย้งกับ
ระเบียบนี้ให้ใช้ระเบียบนี้แทน
ข้อ 4 ทรัพย์สินที่เป็นสิ่งของอนุญาตให้เก็บรักษาไว้ในเรือนจา ได้แก่
(1) สิ่งของเกี่ยวกับการรักษาอนามัย เช่น แปรงสีฟัน ยาสีฟัน หวี สบู่ ผ้าเช็ดตัว
(2) อาหารที่ปรุงแล้วเสร็จโดยเรือนจาหรือร้านของเรือนจา และเครื่องบริโภคที่จัดซื้อมาเพื่อ
จาหน่ายในร้านค้าของเรือนจา ซึ่งยอมให้ผู้ต้องขังรับประทานได้
(3) ทรัพย์สินอื่น ๆ ตามที่กรมราชทัณฑ์กาหนด
ปริมาณหรือจานวนทรัพย์สินใน (1)(2)และ(3)ให้เป็นไปตามที่กรมราชทัณฑ์กาหนด
สิ่งของอนุญาตตามวรรคหนึ่ง ให้เก็บไว้ในที่ที่เรือนจาจัดให้
ข้อ 5 ทรัพย์สินหรือสิ่งของที่ผู้ต้องขังนาติดตัวมาดังต่อไปนี้
(1) สิ่งของที่อนุญาตให้เก็บรักษาไว้ในเรือนจาแต่มีปริมาณหรือจานวนเกินกว่าที่กรมราชทัณฑ์
กาหนด
(2) สิ่งของที่เมื่อนาเข้าไปแล้วเป็นความผิดเกี่ยวกับเรือนจา
(3) สิ่งของอื่นนอกจาก (1)และ(2)

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


174 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ให้เจ้าพนักงานเรือนจาแจ้งญาติมารับคืน แต่หากญาติไม่ประสงค์จะรับคืนหรือไม่มารับคืนภายใน
เวลาที่เรือนจากาหนด ให้เรือนจาจัดจาหน่ายตามวิธีการที่เหมาะสมและราคาที่เป็นธรรมที่ผู้ต้องขังพึง
ได้รั บ ส าหรั บ เงิน ที่ได้จ ากการจาหน่ายทรัพย์สิ นดังกล่ าวภายหลังหั กค่าใช้จ่ายในการดาเนินการ ให้
เรือนจารับฝากไว้แก่ผู้ต้องขัง
ในกรณีผู้ต้องขังไม่มีญาติหรือไม่สามารถติดต่อญาติได้ให้ดาเนินการตามวิธีการในวรรคหนึ่งโดย
อนุโลม
กรณี ผู้ ต้ อ งขั ง ต่ า งชาติ ไ ม่ มี ญ าติ ห รื อ ไม่ ส ามารถติ ด ต่ อ ญาติ ไ ด้ ให้ เ รื อ นจ าติ ด ต่ อ สถาน
เอกอัครราชทูตหรือสถานกงสุล แต่หากติดต่ อแล้วไม่มีผู้มารับภายในเวลาที่เรือนจากาหนดให้ดาเนินการ
ตามวิธีการในวรรคหนึ่งโดยอนุโลม
ข้อ 6 ในกรณีที่ผู้ต้องขังมีเงินติดตัวมาและไม่สามารถมอบไว้กับญาติได้ ให้เรือนจารับฝากไว้ตาม
หลักเกณฑ์และวิธีการที่กรมราชทัณฑ์กาหนด
ข้ อ 7 ทรั พ ย์ สิ น หรื อ สิ่ ง ของที่ มี ส ภาพเป็น ของสดเสี ย ง่า ย ของอั น ตรายหรื อ โสโครก ให้ เ จ้ า
พนักงานเรือนจาทาบันทึกไว้เป็นหลักฐานแล้วทาลายเสีย
ข้อ 8 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับกับการจาหน่ายทรัพย์สินตามมาตรา 27 วรรคสอง วรรคสาม แห่ง
พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 กรณีตามหาเจ้าของไม่ได้หรือเป็นของสดเสียง่ายด้วยโดยอนุโลม
ข้อ 9 ให้อธิบดีกรมราชทัณฑ์รักษาการตามระเบียบนี้ และมีอานาจวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการ
ปฏิบัติตามระเบียบนี้
ประกาศ ณ วันที่ 30 เมษายน พ.ศ.2561
พันตารวจเอก ณรัชต์ เศวตนันทน์
อธิบดีกรมราชทัณฑ์

ระเบียบกรมราชทัณฑ์
ว่าด้วยการรับจ่ายเงินฝากของผู้ต้องขังในเรือนจา(ฉบับที่3) พ.ศ.2561
--------------
โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงแก้ไขวิธีการเกี่ยวกับการรับ จ่ายเงินฝากของผู้ต้องขังในเรือนจาให้
สอดคล้องกับนโยบายของรัฐในการนาระบบการรับและจ่ายเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์( e-Payment) เพื่อ
ประโยชน์ในการบริหารงานของเรือนจา และสถานที่คุมขังที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมราชทัณฑ์
ประกอบกับกรมบัญชีกลางได้มีความเห็นว่า กรมราชทัณฑ์ สามารถให้ธนาคารพาณิชย์เข้ามาดาเนินการ
เพื่อรับฝากเงินของผู้ต้องขังหรือญาติแทน โดยไม่ต้องนาฝากกระทรวงการคลังได้
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 175

อาศัย อานาจตามพระราชบั ญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 ในมาตรา 62 ประกอบข้อ 6 ของ


ระเบียบกรมราชทัณฑ์ ว่าด้วยการจาหน่ายและทาลายสิ่ งของต้องห้ ามที่ไม่อนุญาตให้ เก็บรักษาไว้ ใน
เรื อนจ าและสิ่ งของที่ได้ยึ ดไว้ตามอานาจหน้าที่ พ.ศ.2561 พระราชบัญญัติเกี่ยวกับการกักขัง ตาม
ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2506 มาตรา5(8)และพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการกักกัน ตาม
ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2510 มาตรา 5(9) อธิบดีกรมราชทัณฑ์จึงออกระเบียบไว้ดังนี้
ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกรมราชทัณฑ์ ว่าด้วยการรับ จ่ายเงินฝากของผู้ต้องขังใน
เรือนจา(ฉบับที่3) พ.ศ.2561”
ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป
ข้อ 3 ให้ยกเลิกความในข้อ 5/1 ของระเบียบกรมราชทัณฑ์ ว่าด้วยการรับ จ่ายเงินฝากของ
ผู้ต้องขังในเรือนจา พ.ศ.2553 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบกรมราชทัณฑ์ ว่าด้วยการรับ จ่ายเงินฝาก
ของผู้ต้องขังในเรือนจา (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2559 และใช้ความต่อไปนี้แทน
“ข้อ5/1 ให้ผู้ต้องขังมีเงินฝากในบัญชีได้ไม่เกิน คนละ 9,000 บาทแต่เงินค่าจ้างเงินรางวัลจาก
การทางานหรือเงินที่ได้รับจากทางราชการ ให้รับฝากไว้ได้แม้จะทาให้ยอดเงินฝากเกินกว่า 9,000 บาท
โดยให้เจ้าหน้าที่จัดให้มีหมายเหตุให้ชัดเจนเกี่ยวกับวัน เดือน ปีที่รับฝาก ประเภทของเงินและจานวนเงิน
ที่ได้รับเพื่อความสะดวกแก่การตรวจสอบ
ในกรณีกรมราชทัณฑ์เห็นชอบให้เรือนจาใดดาเนินการตามข้อ 22/1 ผู้ต้องขังในเรือนจานั้น อาจ
มีเงินฝากในบัญชีเกินคนละ 9,000 บาท ได้”
ข้อ 4 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 22/1 ของระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการรับ จ่ายเงินฝาก
ของผู้ต้องขังในเรือนจา พ.ศ.2553”
“ข้ อ 22/1 ในการรั บ เงิ น ฝากของผู้ ต้ อ งขั ง เรื อ นจ าสามารถจั ด ให้ ธ นาคารพาณิ ช ย์ เ ข้ า มา
ดาเนินการแทนได้ โดยได้รับความเห็นชอบจากกรมราชทัณฑ์
เพื่อให้ การบริ ห ารจั ด การเงิน ฝากของผู้ ต้อ งขั งตามวรรคหนึ่ง เป็นไปด้ว ยความเรียบร้ อ ยใน
แนวทางเดียวกัน กรมราชทัณฑ์มีอานาจกาหนดหลักเกณฑ์ วิธี การ และเงื่อนไขที่เกี่ยวข้องให้เรือนจาถือ
ปฏิบัติเพิ่มเติมได้”
ประกาศ ณ วันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ.2561
พันตารวจเอก ณรัชต์ เศวตนันทน์
อธิบดีกรมราชทัณฑ์

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


176 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับเงินฝากผู้ต้องขัง
(หนังสือกรมราชทัณฑ์ที่ ยธ 0711.5/24714 ลงวันที่ 28 กันยายน 2559)
1. ให้ผู้ต้องขังมีเงินฝากในบัญชีได้ไม่เกินคนละ 9,000 บาท
2. กรณีผู้ต้องขังมีเงินฝากในบัญชีเกิน กว่าที่กาหนด ให้ผู้ต้องขั งติดต่อญาติให้มารับเงินที่ส่วนที่
เกิน นั้ น หากไม่มีญาติห รื อผู้ ต้องขังมีความประสงค์จะให้ บุคคลภายนอกที่ไว้ว างใจรับไป ให้ เรือนจา
ดาเนิ น การคืน เงินส่ วนเกิน ให้แก่ผู้ ที่ผู้ต้องขังประสงค์ที่จะให้รับเงินส่ วนเกินนั้นไป โดยจัดทาเอกสาร
หลักฐานการคืนเงินระบุจานวนเงิน เก็บไว้เป็นหลักฐาน
3. การฝากเงินของญาติให้ผู้ต้องขังให้เป็นไปตามปกติ แต่ญาติจะฝากเงินเข้าบัญชีผู้ต้องขังได้ใน
จานวนที่เมื่อรวมกับเงินคงเหลือที่มีอยู่ในบัญชีผู้ต้องขังรายนั้นๆ แล้วต้องไม่เกิน 9,000 บาท
4. ผู้ต้องขังที่ไม่สามารถติดต่อญาติหรือไม่ประสงค์ที่จะมอบเงินส่วนเกินให้แก่ญาติ ให้เรือนจา
ดาเนินการดังนี้
(1)จัดทาบัญชีเงินฝากผู้ต้องขังรายนั้น ๆ แยกเป็น 2 ส่วน ได้แก่
-ส่วนที่ 1 เป็นเงินฝากผู้ต้องขัง จานวนไม่เกิน 9,000 บาท
-ส่วนที่ 2 เป็นเงินส่วนที่เกินจากส่วนที่ 1 ให้ดาเนินการฝากคลัง ผู้ต้องขังไม่สามารถนา
ออกมาใช้ได้ จนกว่าจะมีการเบิกถอนเพื่อมาฝากไว้ในบัญชีเงินฝากส่วนที่ 1
(2)การถอนเงินส่วนเกินจากบัญชีส่วนที่ 2 มาเข้าในบัญชีส่วนที่ 1 นั้น จะกระทาได้ต้อง
เป็นไปตามเงื่อนไขต่อไปนี้
-เมื่อเงินฝากในบัญชีส่วนที่ 1 มีน้อยกว่ากึ่งหนึ่ง (4,500 บาท)
-จานวนเงินที่ถอนจากบัญชีส่วนที่ 2 เพื่อมาเข้าในบัญชีส่วนที่ 1 เมื่อรวมกับจานวนเงิน
คงเหลือในบัญชีส่วนที่ 1 แล้วต้องไม่เกิน 9,000 บาท
-ผู้ต้องขังต้องเป็นผู้ยื่นคาร้องขอถอนเงิน จากบัญชีส่วนที่ 2 มาเข้าบัญชีส่วนที่ 1 โดย
ต้องระบุจานวนเงินและให้เรือนจาดาเนินการถอนเงินจากบัญชีส่วนที่ 2 มาเข้าบัญชีส่วนที่ 1 ตามคาร้อง
ของผู้ต้องขัง ทุกวันจันทร์ในสัปดาห์ที่ 2 และสัปดาห์ที่ 4 ของเดือน หากวันดังกล่าวเป็นวันหยุดราชการ
ให้ดาเนินการในวันที่เปิดทาการถัดไป
5. การรับฝากเงินจากญาติเพื่อเข้าบัญชีเงินฝากผู้ต้องขัง จะรับฝากเงินได้เฉพาะที่เข้าบัญชีส่วนที่
1 เท่านั้น และจะกระทาได้เมื่อเงินฝากผู้ต้องขังทั้งบัญชีส่วนที่ 1 และส่วนที่ 2 มีจานวนรวมกันน้อยกว่า
9,000 บาทเท่านั้น โดยจานวนเงินที่ญาติฝาก เมื่อรวมกับจานวนเงินของบัญชีทั้ง 2 ส่วนแล้ว ต้องไม่เกิน
9,000 บาท
-------------------
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 177

มาตรา 63 ทรั พย์ สิ น ของผู้ ต้องขังที่ตกค้ างอยู่ ในเรื อนจาในกรณีดั งต่ อไปนี้ ให้ตกเป็น ของ
แผ่นดิน
(1) ผู้ต้องขังหลบหนี พ้นกาหนดสามเดือนนับแต่วันที่หลบหนี
(2) ผู้ต้องขังถูกปล่อยตัวไปแล้วและไม่มารับทรัพย์สิน เงินรางวัล หรือเงินทาขวัญของตน ไป
ภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่ได้รับการปล่อยตัว

หมวด 6
การเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยและการพ้นจากเรือนจา
--------------------------
การเตรียมความพร้อมก่อนปล่อย
มาตรา 64 ให้ เรื อนจ าเตรี ยมความพร้ อ มก่ อนปล่ อย โดยริ เ ริ่ มเตรี ยมการตั้ง แต่ไ ด้ รั บ ตั ว
ผู้ต้องขังไว้ในเรื อนจา เพื่อให้มีกระบวนการในการส่ งเสริมและช่วยเหลื อผู้ต้องขังได้อย่างถูกวิธีและ
เหมาะสม เพื่อให้ผู้ต้องขังแต่ละคนกลับไปใช้ชีวิตในสังคมได้ รวมทั้งต้องให้คาแนะนาเกี่ยวกับการจัดการ
เรื่องส่วนตัว เศรษฐกิจ สังคม ตลอดจนมีความสัมพันธ์ที่ดีกับครอบครัวและชุมชน ทั้งนี้ ให้เ ป็นไปตาม
ระเบียบกรมราชทัณฑ์
มาตรา 65 ผู้ต้องขังที่จาคุกมาแล้วจนเหลือโทษที่ต้องจาคุกตามระเบียบที่กรมราชทัณฑ์กาหนด
ให้เรือนจาจัดให้พักการทางาน และในกรณีที่เห็นสมควรให้จัดแยกคุมขังไว้ต่างหากจากผู้ต้องขังอื่นแล้วจัด
ให้ได้รับการอบรมเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนปล่อย

ระเบียบกรมราชทัณฑ์
ว่าด้วยการเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยตัวผู้ต้องขัง พ.ศ.2561
---------------------------
เพื่อให้มีกระบวนการส่งเสริมและช่วยเหลือผู้ต้องขังได้อย่างถูกวิธีและเหมาะสม เพื่อให้ผู้ต้องขัง
แต่ละคนสามารถกลับไปใช้ชีวิตในสังคมภายหลังพ้นโทษได้อย่างเหมาะสม อาศัยอานาจตามความใน
มาตรา 64 และมาตรา 65 แห่ งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 อธิบดีกรมราชทัณฑ์จึงออก
ระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยตัว
ผู้ต้องขัง พ.ศ.2561”
ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป
ข้อ 3 บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ คาสั่ง ประกาศ หรือหนังสือสั่งการอื่นใด ซึ่งขัดหรือแย้งกับ
ระเบียบนี้ ให้ใช้ระเบียบนี้แทน

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


178 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ข้อ 4 เมื่อเรือนจาได้รับตัวผู้ต้องขังที่คดีถึงที่สุดแล้ว ให้จัดเตรียมความพร้อมสาหรับผู้ต้องขังนั้น


เพื่อการปล่อยตัวกลับไปใช้ชีวิตในสังคมภายหลังพ้นโทษตามความเหมาะสม เช่น การจัดให้มีกิจกรรมหรือ
การอบรม เพื่อให้คาแนะนาแก่ผู้ต้องขังและครอบครัว เพื่อให้ความช่วยเหลือในขั้นการปรับตัวสู่สังคมหรือ
ให้มีความช่วยเหลือด้านสังคมสงเคราะห์แก่ผู้ต้องขังตามสภาพปัญหาและความจาเป็น
ข้อ 5 เรือนจาพึงจัดให้นักโทษเด็ดขาดที่เหลือโทษจาคุกตั้งแต่หกเดือนถึงหนึ่งปี หรือกาหนด
ระยะเวลาตามที่กรมราชทัณฑ์กาหนด เข้าโครงการเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยตัว
ความในวรรคหนึ่ง ให้ใช้กับผู้ที่จะได้รับการปล่อยตัวจากการลดวันต้องโทษหรือพักการลงโทษ
ด้วย
ข้อ 6 ผู้ต้องขังที่เข้าร่วมโครงการเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยตัวจะได้รับการยกเว้นการทางาน
ตามหน้าที่ปกติ เว้นแต่งานสุขาภิบาลเรือนจาหรือที่เกี่ยวกับอนามัยของตนเอง
ข้อ 7 การจัดโครงการเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยตัว ต้องมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ต้องขังได้เป็น
ทรัพยากรบุคคลที่ดี มีคุณค่าต่อสังคม และเตรียมตัวเพื่อออกไปใช้ชีวิตร่วมกับครอบครัวและสังคมได้อย่าง
ปกติ โดยอย่างน้อยต้องประกอบด้วยกิจกรรม 4 ด้าน ดังต่อไปนี้
(1) การพัฒนาด้านร่างกาย การฝึกและเสริมสร้างระเบียบวินัย
(2) การพัฒนาด้านจิตใจ ความคิด และทักษะการใช้ชีวิต
(3) การส่งเสริมความสัมพันธ์ในครอบครัวและการเตรียมตัวกลับเข้าสู่สังคม
(4) การเตรียมความพร้อมด้านการประกอบอาชีพ
ข้อ 8 การจัดอบรมเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนปล่อย ให้ดาเนินกิจกรรมในเรือนจาเตรียมความ
พร้อมก่อนปล่อย หรือศูนย์เตรียมความพร้อมก่อนปล่อย หรือเรือนจาหรือสถานที่อื่นใดที่กรมราชทัณฑ์
กาหนด
ให้เรือนจากาหนดสถานที่แห่งใดแห่งหนึ่งภายในเรือนจาสาหรับการจัดกิจกรรมเตรียมความ
พร้อมก่อนปล่อยตัว
ข้อ 9 ให้นักโทษเด็ดขาดมีโอกาสพบนักสังคมสงเคราะห์ นักจิตวิทยา หรือเจ้าพนักงานเรือนจาที่
มีความรู้หรือผ่านการอบรมด้านสุขภาพจิต เพื่อตรวจสอบหรือสอบถามเกี่ยวกับสุขภาพจิต ทัศนคติ ความ
คิดเห็นรวมถึงความประสงค์ที่จะได้รับการช่วยเหลือ
ให้เรือนจารวบรวมข้อมูลที่ได้รับจากการดาเนินการตามความในวรรคหนึ่งไว้ในทะเบียนประวัติ
ของผู้ต้องขังรายนั้น
ข้อ 10 นักสังคมสงเคราะห์ นักจิตวิทยา หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากส่วนราชการหรือหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องกับการช่วยเหลือผู้ต้องขังที่พ้นโทษ รวมถึงเจ้าพนักงานเรือนจา พึงให้คาปรึกษาแนะนาแก่
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 179

ผู้ต้องขังถึงการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่น การสร้างความเข้มแข็งทางจิตใจ การควบคุมตนเอง ความตระหนักใน


คุณค่าของตัว เองและคุณ ค่าของผู้ อื่น ความมีจิตสาธารณะ การแก้ไขปัญหา ทักษะการปฏิเสธ การ
วางแผนอนาคตภายหลังการพ้นโทษและอื่นๆ ที่เห็นสมควร
ข้อ 11 เพื่อประโยชน์ในการเตรียมความพร้อมก่อนปล่ อยให้แก่ผู้ต้องขัง ให้เรือนจาจัดให้ มี
อาสาสมั ค รหรื อ วิ ท ยากรด้ า นต่ า ง ๆ เช่ น นั ก จิ ต วิ ท ยา ผู้ มี ค วามรู้ ท างกฎหมาย ผู้ ท างานด้ า นสั ง คม
สงเคราะห์ หรือผู้ที่มีความรู้เฉพาะทางอื่นๆ เพื่อการแนะนาให้ความช่วยเหลือผู้ต้องขัง โดยอาสาสมัคร
หรือวิทยากรดังกล่าวให้ขึ้นทะเบียนไว้กับเรือนจา
การด าเนิ น การตามวรรคหนึ่ ง ให้ พิ จ ารณาถึ ง ประโยชน์ ที่ ผู้ ต้ อ งขั ง จะได้ รั บและความมั่ นคง
ปลอดภัยหรือความสงบเรียบร้อยของเรือนจาประกอบกัน
การดาเนิ น การตามข้ อ นี้ สามารถทาได้ กั บผู้ ต้ องขั งเฉพาะรายหรื อเป็น กลุ่ ม ก็ ไ ด้ ตามความ
เหมาะสมของเวลา สถานที่และจานวนผู้เข้าร่วม โดยให้ผู้บัญชาการเรือนจาเป็นผู้พิจารณาอนุญาต
ข้อ 12 เมื่อผู้ต้องขังร้องขอหรือเรือนจาเห็นสมควร เรือนจาอาจให้ผู้ต้องขังได้พบกับบุคคลใน
ครอบครัว พระภิกษุ ผู้นาทางศาสนาที่ผู้ต้องขังเคารพนับถือ บุคคลอื่นใดในชุมชนที่ผู้ต้องขังเคยอาศัยหรือ
ใช้ชีวิตอยู่ หรือบุคคลหรือองค์การอื่นใดที่มีความน่าเชื่ อถือเป็นที่ประจักษ์ในสังคม เพื่อให้ผู้ต้องขังได้รับ
การแก้ไข พัฒนาพฤตินิสัย การบาบัดฟื้นฟูทางร่างกายหรือจิตใจที่ดีขึ้น หรือมีผลต่อการเข้าไปใช้ชีวิต
ร่วมกับชุมชนอย่างปกติสุขภายหลังพ้นโทษ
ข้อ 13 เพื่อประโยชน์ ในการให้ ผู้ ต้ องขัง ได้ป ระกอบอาชี พที่สุ จริตภายหลั ง พ้น โทษแล้ ว ให้
เรือนจาจัดให้ผู้ต้องขังได้รับความรู้เกี่ ยวกับสภาพเศรษฐกิจของประเทศ อาทิ ความเปลี่ยนแปลงทาง
เศรษฐกิจและสังคม การใช้ชีวิตให้เหมาะสมกับสถานภาพทางเศรษฐกิจและพัฒนาการของสังคมตาม
โอกาสและความเหมาะสม
ข้อ 14 เพื่อให้ผู้ต้องขังออกไปใช้ชีวิตร่วมกับครอบครัว และสังคมได้อย่างปกติสุข ให้เรือนจา
ประสานงานร่วมกับส่วนราชการหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการช่วยเหลือผู้ต้องขังที่พ้นโทษ เพื่อให้
ผู้ต้องขังสามารถดูแลตนเองและกลับถึงภูมิลาเนาของตนได้ทันทีภายหลังได้รับการปล่อยตัว
ข้อ 15 ในการดาเนินการตามระเบียบนี้ อาจให้ชุมชนหรือเอกชนหรือหน่วยงานอื่นใดเข้ามามี
ส่วนร่วมหรือดาเนินกิจกรรมอย่างหนึ่งอย่างใดในโครงการเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยตัวผู้ต้องขังก็ได้
ข้อ 16 ให้อธิบดีกรมราชทัณฑ์รักษาการตามระเบียบนี้ และมีอานาจวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับ
ปฏิบัติตามระเบียบนี้
ประกาศ ณ วันที่ 30 เมษายน พ.ศ.2561
พันตารวจเอก ณรัชต์ เศวตนันทน์
อธิบดีกรมราชทัณฑ์

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


180 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

มาตรา 66 ในกรณีที่ผู้ต้องขังซึ่งถึงกาหนดปล่อยป่วยหนัก ไม่สามารถไปจากเรือนจาได้ และขอ


อนุญาตอยู่รักษาตัวในเรือนจาต่อไป ให้ผู้บัญชาการเรือนจาพิจารณาอนุญาตตามที่เห็นสมควร แต่ต้อง
รายงานให้อธิบดีทราบ
มาตรา 67 เมื่อจะปล่อยตัวผู้ต้องขัง ให้ปฏิบัติดังต่อไปนี้
(1) เรียกคืนทรัพย์สินที่เป็นของทางราชการ
(2) จ่ายเครื่องแต่งกายให้ตามที่กรมราชทัณฑ์กาหนด สาหรับผู้ต้องขังที่ไม่มีเครื่องแต่งกาย จะ
แต่งออกไปจากเรือนจา
(3) ทาหลักฐานการปล่อยตัว
(4) คืนทรัพย์สินของผู้ต้องขังให้แก่ผู้ต้องขัง รวมทั้งเงินรางวัลและเงินทาขวัญ
(5) ออกใบสาคัญการปล่อยนักโทษเด็ดขาดที่พ้นโทษ

หมวด 7
วินัยและบทลงโทษ
---------------------------
มาตรา 68 ผู้ต้องขังผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติ ตามคาสั่งของเจ้าพนักงานเรื อนจา ข้อบังคับ
เรือนจาหรือระเบียบกรมราชทัณฑ์ ให้ถือว่าผู้ต้องขังผู้นั้นกระทาผิดวินัย

โทษทางวินัย
มาตรา 69 เมื่อผู้ต้องขังกระทาผิดวินัย จะถูกลงโทษสถานหนึ่งสถานใด ดังต่อไปนี้
(1) ภาคทัณฑ์
(2) งดการเลื่อนชั้นโดยมีกาหนดเวลา
(3) ลดชั้น
(4) ตัดการอนุญาตให้ได้รับการเยี่ยมเยียนหรือติดต่อไม่เกินสามเดือน เว้นแต่เป็นกรณีการ
ติดต่อกับทนายความตามที่กฎหมายกาหนด หรือเป็นการติดต่อของผู้ต้องขังหญิงกับบุตรผู้เยาว์
(5) ลดหรืองดประโยชน์และรางวัลทั้งหมดหรือแต่บางส่วนหรือบางอย่าง
(6) ขังเดี่ยวไม่เกินหนึ่งเดือน
(7) ตัดจานวนวันที่ได้รับการลดวันต้องโทษ
ในกรณีและเงื่อนไขอย่างใดจะลงโทษดังระบุไว้ในวรรคหนึ่ง การดาเนินการพิจารณาลงโทษ การ
ลงโทษ การเพิกถอน เปลี่ยนแปลง งด หรือรอการลงโทษ และการอุทธรณ์ รวมทั้งผู้มีอานาจในการ
ดาเนินการดังกล่าว ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 181

กฎกระทรวง
การดาเนินการทางวินัยผู้ต้องขัง พ.ศ. ๒๕๖๓
(ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๗ ตอนที่ ๘๔ ก ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๖๓)
---------------------
อาศั ย อ านาจตามความในมาตรา ๗ วรรคหนึ่ ง และมาตรา ๖๙ วรรคสอง แห่ ง
พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้ยกเลิก
(๑) หมวด ๕ การลงโทษฐานผิดวินัย ของส่วนที่ ๗ วินัยของผู้ต้องขัง ข้อ ๙๙ ถึงข้อ
๑๑๙ แห่ ง กฎกระทรวงมหาดไทยออกตามความในมาตรา ๕๘ แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ ร าชทั ณ ฑ์
พุทธศักราช ๒๔๗๙
(๒) ข้อ ๔ แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ ๘ (พ.ศ. ๒๕๒๑) ออกตามความในพระราชบัญญัติ
ราชทัณฑ์ พุทธศักราช ๒๔๗๙
(๓) ข้อ ๔ และข้อ ๕ แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๔ (พ.ศ. ๒๕๕๓) ออกตามความใน
พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พุทธศักราช ๒๔๗๙
ข้อ ๒ เมื่อเจ้าพนักงานเรือนจาพบเห็นหรือทราบว่าผู้ต้องขังกระทาผิดวินัย ให้ทาบันทึก
รายงานพฤติการณ์แห่งการกระทาที่กล่าวหา หรือเป็นที่สงสัยว่ากระทาผิด ชื่อตัว และชื่อสกุล ของ
ผู้กระทาผิด วัน เวลา และสถานที่เกิ ดเหตุ และพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้องเท่าที่มี หรือรวบรวมได้ เสนอ
ผู้บังคับบัญชาเหนือตนขึ้นไปทราบ และเสนอผู้บัญชาการเรือนจาพิจารณา
ข้อ ๓ เมื่อผู้บัญชาการเรือนจาได้รับบันทึกรายงานพฤติการณ์ตามข้อ ๒ แล้ว ให้แต่งตั้ง
เจ้าพนักงานเรือนจาจานวนไม่น้อยกว่าสามคนแต่ไม่เกินห้าคน เพื่อสอบสวนการกระทาผิดวินัย เว้นแต่
การกระทาผิดนั้นมีกระบวนการในการพิจารณาลงโทษเป็นการเฉพาะ
ข้อ ๔ ให้เจ้าพนักงานเรือนจาซึ่งได้รับการแต่งตั้งตามข้อ ๓ แจ้งข้อกล่าวหาให้ผู้ต้องขัง
ซึ่งถูกกล่าวหาทราบ พร้อมทั้งสอบถามว่าจะให้การรับสารภาพหรือปฏิเสธ และให้จัดทาบันทึกคาให้การ
ดังกล่ าวไว้ รวมทั้งเปิ ดโอกาสให้ ผู้ต้ องขังชี้แจงแก้ข้อกล่าวหา และนาพยานหลักฐานมาแสดง เพื่อ
ประกอบคาให้การต่อสู้ได้อย่างเต็มที่
ข้อ ๕ เจ้าพนักงานเรือนจาซึ่งได้รับการแต่งตั้งตามข้อ ๓ ต้องดาเนินการสอบสวน และ
รวบรวมพยานหลักฐานที่เกี่ ยวข้องให้แล้วเสร็จโดยไม่ชักช้า แล้วเสนอความเห็นต่อผู้บัญชาการเรือนจา
ถึงพฤติการณ์แห่งการกระทาผิดวินัย รวมทั้งโทษที่จะลงแก่ผู้ต้องขัง
การดาเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้เจ้าพนักงานเรือนจาดาเนินการให้แล้ วเสร็จภายใน
ระยะเวลา ที่อธิบดีกาหนด

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


182 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ข้อ ๖ ผู้บัญชาการเรื อนจามีอานาจลงโทษทางวินัยผู้ต้องขังซึ่งกระทาผิ ดวินัยตามที่


บัญญัติ ไว้ในมาตรา ๖๙
คาสั่งลงโทษทางวินัยให้มีผลนับแต่วันที่ผู้ต้องขังได้รับแจ้งคาสั่ง
ข้อ ๗ ในกรณีที่เจ้าพนักงานเรือนจาเห็นว่า ผู้ต้องขังซึ่งจะได้รับโทษหรืออยู่ระหว่าง
การลงโทษทางวินัยตามมาตรา ๖๙ เจ็บป่วยหรือมีเหตุจาเป็นอื่นใดที่สมควรเพิกถอน เปลี่ยนแปลง งด
หรือรอการลงโทษ ให้รายงานไปยังผู้บัญชาการเรือนจา
เมื่อผู้บัญชาการเรือนจาได้รับรายงานตามวรรคหนึ่ ง อาจเรียกเจ้าพนักงานเรือนจา
หรือผู้ต้องขังมาชี้แจงเพื่อประกอบการพิจารณาเพิกถอน เปลี่ยนแปลง งด หรือรอการลงโทษก็ได้ และ
เมื่อผู้บัญชาการเรือนจาได้พิจารณาและมีคาสั่งประการใดแล้ว ให้เจ้าพนักงานเรือนจาปฏิบัติตามคาสั่ง
และบันทึกเหตุแห่งการเพิกถอน เปลี่ยนแปลง งด หรือรอการลงโทษ
คาสั่งของผู้บัญชาการเรือนจาตามวรรคสอง ให้เป็นที่สุด
ข้อ ๘ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาภาคทัณฑ์ผู้ต้องขังซึ่งกระทาผิดวินั ยไม่ร้ายแรง และได้
สานึกถึงความผิดที่ได้กระทาไปแล้ว
การภาคทัณฑ์ตามวรรคหนึ่ง ให้กระทาโดยวิธีเรียกตัวผู้ต้องขังมาว่ากล่าวสั่งสอน ให้
ประพฤติตัวอยู่ในวินัย
ข้อ ๙ ให้ผู้บัญชาการเรือนจางดการเลื่อนชั้นผู้ต้องขังซึ่งกระทาผิด ดังต่อไปนี้
(๑) ประพฤติผิ ดระเบี ยบหรื อข้ อ บัง คั บ อัน มีไว้ ส าหรับ การเยี่ย มเยี ยนหรื อติ ด ต่ อ กั บ
บุคคลภายนอก
(๒) นาสิ่งของซึ่งมิใช่ของตนเข้าหรือออกจากเรือนจาโดยไม่ได้รับอนุญาต
(๓) ทาให้เกิดเหตุติดขัดในการงานของผู้ต้องขังคนอื่นโดยประมาท
(๔) ทาให้ทรัพย์สินของทางราชการหรือของผู้อื่นเสียหาย
(๕) กระทาผิดเกี่ยวกับสิ่งของต้องห้ามตามมาตรา ๗๒ หรือมาตรา ๗๓
ข้อ ๑๐ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาลดชั้นผู้ต้องขังซึง่ กระทาผิด ดังต่อไปนี้
(๑) จงใจทาให้เกิดเหตุติดขัดในการงานของผู้ต้องขังคนอื่น
(๒) จงใจทาให้ทรัพย์สินของทางราชการหรือของผู้อื่นเสียหาย
(๓) กระด้างกระเดื่องต่อเจ้าพนักงานเรือนจา
(๔) พยายามหลบหนี
(๕) ทาร้ายหรือพยายามทาร้ายร่างกายผู้อื่น
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 183

(๖) ก่อการทะเลาะวิวาท
(๗) เล่นการพนัน
(๘) เสพของมึนเมา
(๙) กระทาผิดเกี่ยวกับสิ่งของต้องห้ามตามมาตรา ๗๒ หรือมาตรา ๗๓
ข้อ ๑๑ การลดชั้นผู้ต้องขังตามข้อ ๑๐ ให้ลดตามลาดับครั้งละหนึ่งชั้น เว้นแต่กรณี
ดังต่อไปนี้
(๑) ประพฤติผิดเงื่อนไขการคุมประพฤติและได้ตัวกลับคืนมา ไม่ว่าขณะที่ปล่อยตัว
นักโทษ เด็ดขาดคนนั้นเพื่อคุมประพฤติจะเป็นนักโทษเด็ดขาดชั้นใด ให้ลดชั้นเป็นชั้นต้องปรับปรุง
(๒) เสพยาเสพติด ให้ลดชั้นเป็นชั้นต้องปรับปรุงมาก
(๓) กระทาผิดเกี่ยวกับสิ่งของต้องห้ามตามมาตรา ๗๒ (๑) หรือ(๖) หรือร่วมกันกระทา
ผิด ทั้งในฐานะตัวการ ผู้ใช้ ผู้สนับสนุน หรือผู้ได้รับประโยชน์จากสิ่งของดังกล่าว ให้ลดชั้นเป็น ชั้นต้อง
ปรับปรุงมาก
(๔) หลบหนีไปและได้ตัวกลับคืนมา ไม่ว่าก่อนหลบหนีนักโทษเด็ดขาดคนนั้นจะเป็น
นักโทษเด็ดขาดชั้นใด ให้ลดชั้นเป็นชั้นต้องปรับปรุงมาก
(๕) ทาร้ายร่างกายเจ้าพนักงานเรือนจา เจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งเข้าไปปฏิบัติหน้าที่ หรือผู้
ปฏิบัติหน้าที่อยู่ในเรือนจา ให้ลดชั้นเป็นชั้นต้องปรับปรุงมาก
(๖) ฆ่าผู้อื่น ก่อการทะเลาะวิวาท หรือทาร้ายร่างกายผู้อื่น ให้ลดชั้นนักโทษเด็ดขาด
ดังต่อไปนี้
(ก) ฆ่าผู้อื่น ก่อการทะเลาะวิวาท หรือทาร้ายร่างกายผู้อื่นจนเป็นเหตุให้ถึงแก่ความ
ตาย ให้ลดชั้นเป็นชั้นต้องปรับปรุงมาก
(ข) ก่อการทะเลาะวิวาทหรือทาร้ายร่างกายผู้อื่นจนเป็นเหตุให้ได้รับอันตรายสาหัส
ให้ลดชั้นสองชั้น เว้นแต่นักโทษเด็ดขาดคนนั้นเป็นนักโทษเด็ดขาดชั้นต้องปรับปรุง ให้ลดชั้นเป็นชั้นต้อง
ปรับปรุงมาก
(๗) กรณีอื่นตามที่รัฐมนตรีประกาศกาหนด
ข้อ ๑๒ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาตัดการอนุญาตให้ไ ด้รับการเยี่ยมเยียนหรือติดต่อ กับ
บุคคลภายนอกแก่ผู้ต้องขังซึ่งกระทาผิด ดังต่อไปนี้
(๑) ประพฤติผิ ดระเบียบหรือข้อบังคับอันมีไว้ส าหรับการเยี่ยมเยียนหรือติด ต่อ กับ
บุคคลภายนอก
(๒) นาสิ่งของซึ่งมิใช่ของตนเข้าหรือออกจากเรือนจาโดยไม่ได้รับอนุญาต

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


184 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

(๓) กระทาผิดเกีย่ วกับสิ่งของต้องห้ามตามมาตรา ๗๒ หรือมาตรา ๗๓


(๔) พยายามหลบหนีหรือหลบหนีไปแล้วแต่ได้ตัวกลับคืนมา
ข้ อ ๑๓ ให้ ผู้ บั ญ ชาการเรื อ นจ าลดประโยชน์ แ ละรางวั ล แก่ ผู้ ต้ อ งขั ง ซึ่ ง กระท าผิ ด
ดังต่อไปนี้
(๑) ละทิ้งหรือเพิกเฉยต่อการงานอันเป็นหน้าที่
(๒) ทาให้ทรัพย์สินของผู้อื่นเสียหาย
(๓) ก่อการทะเลาะวิวาทในขณะทาการงาน
การลดประโยชน์และรางวัลตามวรรคหนึ่ง ให้พึงลดเพียงอย่างเดียวตามที่เห็นสมควร
ข้อ ๑๔ ให้ผู้บัญชาการเรือนจางดประโยชน์และรางวัลแก่ผู้ต้องขังซึ่งกระทาผิดตามข้อ
๑๓ โดยเจตนาและมีความเสียหายเกิดขึ้น และจะงดเพียงอย่างเดียวก็ได้
ข้อ ๑๕ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาขังเดี่ยวผู้ต้องขังซึ่งกระทาผิด ดังต่อไปนี้
(๑) เล่นการพนันโดยเป็นเจ้ามือหรือสมคบกับผู้อื่นเล่นการพนันตั้งแต่สองครั้งขึ้นไป
(๒) ทะเลาะวิวาทตั้งแต่สองครั้งขึ้นไป
(๓) เสพยาเสพติด
(๔) กระทาผิดเกีย่ วกับสิ่งของต้องห้ามตามมาตรา ๗๒(๑)หรือ (๖)หรือร่วมกันกระทาผิด
ทั้งในฐานะตัวการ ผู้ใช้ ผู้สนับสนุน หรือผู้ได้รับประโยชน์จากสิ่งของดังกล่าว
(๕) พยายามหลบหนีหรือหลบหนีไปแล้วแต่ได้ตัวกลับคืนมา
(๖) ทาร้ายร่างกายผู้อื่นจนเป็นเหตุให้ได้รับอันตรายสาหัสหรือถึงแก่ความตาย
(๗) กระด้างกระเดื่องต่อเจ้าพนักงานเรือนจาซึ่งมีตาแหน่งตั้งแต่ชั้นพัศดีขึ้นไป
การขังเดี่ยวตามวรรคหนึ่ง ให้กระทาโดยวิธีแยกผู้ต้องขั งซึ่งกระทาผิดจากผู้ต้องขั งอื่น
และคุมขัง ไว้ในที่ที่จัดขึ้นเป็นพิเศษ และห้ามการติดต่อหรือพูดจากับผู้อื่น เว้นแต่เป็นสิทธิตามที่กฎหมาย
กาหนด
ให้ พัศดีจั ดให้ มีผู้ คอยตรวจการขังเดี่ยวให้เป็นไปตามวรรคสอง ในกรณีที่ผู้ ต้องขังมี
อาการ เจ็บป่วย ให้มีการรักษาพยาบาล
หากการกระท าผิ ดตามวรรคหนึ่ ง เป็นความผิ ดที่จ ะต้ อ งถู กลงโทษตามข้ อ อื่ น ด้ ว ย
ให้ลงโทษตามข้อนั้นก่อน แล้วจึงลงโทษขังเดี่ยวอีกสถานหนึ่ง
การลงโทษขังเดี่ยวให้กระทาได้ไม่เกินหนึ่งเดือน ถ้าขังเดี่ยวเกินกว่าสิบห้าวัน ให้กระทา
ต่อเนื่องได้ครั้งละไม่เกินสิบห้าวัน โดยมีระยะเวลาเว้นช่วงในแต่ละครั้งไม่น้อยกว่าห้าวัน
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 185

ข้อ ๑๖ นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับการลดวันต้องโทษจาคุกแล้ว ให้ผู้บัญชาการเรือนจา


ตัดจานวนวันที่ได้รับการลดวันต้องโทษจาคุกในกรณีที่กระทาผิด ดังต่อไปนี้
(๑) ไม่เกินสิบห้าวัน
(ก) ฝ่าฝืนระเบียบหรือข้อบังคับของเรือนจา
(ข) เล่นการพนัน
(ค) ก่อการทะเลาะวิวาทกับผู้ต้องขัง
(ง) กระด้างกระเดื่องต่อเจ้าพนักงานเรือนจา
(๒) ตั้งแต่สิบห้าวันแต่ไม่เกินสามสิบวัน
(ก) ละทิ้งหรือเพิกเฉยต่อการงานอันเป็นหน้าที่
(ข) พยายามทาให้ผู้อื่นหรือกิจการของเรือนจาเสียหาย
(ค) ทะเลาะวิวาทตั้งแต่สองครั้งขึ้นไป
(ง) ทาร้ายหรือพยายามทาร้ายผู้อื่น
(๓) ตั้งแต่สามสิบวันแต่ไม่เกินหกสิบวัน
(ก) ไม่ปฏิบัติตามคาสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายของเจ้าพนักงานเรือนจา
(ข) กระทาผิดเกี่ยวกับสิ่งของต้องห้ามตามมาตรา ๗๒ หรือมาตรา ๗๓
(ค) สมคบกับผู้อื่นก่อความไม่สงบเรียบร้อยขึ้น
(ง) จงใจทาให้ผู้อื่นหรือกิจการของเรือนจาเสียหาย
(จ) พยายามหลบหนีหรือหลบหนีไปแล้วแต่ได้ตัวกลับคืนมา
(ฉ) ทาร้ายหรือพยายามทาร้ายเจ้าพนักงานเรือนจา เจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งเข้าไป
ปฏิบัติหน้าที่ หรือผู้ปฏิบัติหน้าที่อยู่ในเรือนจา
ในกรณีที่นักโทษเด็ดขาดซึ่งกระทาผิดวินัยมีวันที่ได้รับการลดวันต้องโทษจาคุกน้อยกว่า
ที่จะถูกตัด ให้ตัดจานวนวันที่ได้รับการลดวันต้องโทษจาคุกที่มีอยู่ทั้งหมด
การตัดจานวนวันที่ได้รับการลดวันต้องโทษจาคุกตามข้อนี้ ไม่ให้ใช้บังคับแก่กรณีการ
ได้รับการลดวันต้องโทษจาคุกตามมาตรา ๕๒ (๖)
ข้อ ๑๗ ถ้ามีการกระทาผิดอย่างอื่นนอกจากที่กาหนดในกฎกระทรวงนี้ ให้ผู้บัญชาการ
เรือนจาพิจารณาลงโทษทางวินัยตามที่เห็นสมควร

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


186 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ข้อ ๑๘ กรณีผู้ต้องขังครอบครองหรือใช้สิ่งของต้องห้ามตามมาตรา ๗๒ หรือมาตรา


๗๓ ในขณะที่อยู่น อกเรื อนจา ให้ผู้บัญชาการเรือนจาลงโทษทางวินัยเช่นเดียวกับการกระทาผิ ดวินัย
ในเรือนจา
ข้อ ๑๙ กรณีที่ผู้ต้องขังกระทาผิดวินัยและความผิดนั้นมี โทษหลายสถาน ห้ามลงโทษ
เกินกว่าสามสถาน
ข้อ ๒๐ กรณีที่ผู้ต้องขังกระทาผิดวินัยและไม่อยู่ในสถานะที่จะลงโทษตามที่กฎหมาย
กาหนดได้ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาลงโทษทางวินัยสถานอื่นตามความเหมาะสม
ข้อ ๒๑ เมื่อผู้ต้องขังได้รับคาสั่งลงโทษทางวินัยแล้ว ไม่พอใจคาสั่งนั้น ให้มีสิทธิอุทธรณ์
คาสั่ง โดยยื่นหนังสือต่อผู้ออกคาสั่งภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ผู้ต้องขังได้รับแจ้งคาสั่ง
การอุ ท ธรณ์ ต ามวรรคหนึ่ ง ไม่ เ ป็ น เหตุ ใ ห้ ทุ เ ลาการปฏิ บั ติ ต ามค าสั่ ง ลงโทษของ
ผู้บัญชาการเรือนจา
ข้อ ๒๒ การออกคาสั่งลงโทษทางวินัย การเพิกถอน การอุทธรณ์ การพิจารณาอุทธรณ์
และการแจ้งคาวินิจฉัยอุทธรณ์คาสั่งลงโทษทางวินัย ให้นาความในกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทาง
ปกครองมาใช้บังคับโดยอนุโลม
ข้อ ๒๓ กรณีที่มีการเพิกถอนคาสั่งลงโทษผู้ต้ องขังซึ่งกระทาผิดวินัย ให้ผู้บัญชาการ
เรือนจา ดาเนินการเยียวยาผู้ต้องขังซึ่งถูกลงโทษ ดังต่อไปนี้
(๑) โทษงดการเลื่อนชั้น ให้เลื่อนชั้นย้อนหลังไปถึงงวดการเลื่อนชั้นที่ถูกงด
(๒) โทษลดชั้น ให้คืนชั้นกลับสู่ชั้นเดิมก่อนถูกลงโทษและให้ย้อนหลังไปถึงวันที่คาสั่ง
ลงโทษมีผลใช้บังคับ
(๓) โทษตัดการอนุญาตให้ได้รับการเยี่ยมเยียนหรือติดต่อกับบุคคลภายนอก ให้จัดวัน
เยี่ยม ทดแทนนอกจากวันเยี่ยมปกติเท่ากับจานวนวันที่ถูกตัด
(๔) โทษขังเดี่ยว ให้จัดให้ได้รับการเยี่ยมเยียนเพิ่มขึ้นนอกจากวันเยี่ยมปกติเป็นจานวน
สองเท่าของวันที่ถูกขังเดี่ยว หรือเพิ่มระยะเวลาการเยี่ยมเยียนเป็นสองเท่าของระยะเวลาตามปกติ
(๕) โทษตัดจานวนวันที่ได้รับการลดวันต้องโทษจาคุก ให้คืนจานวนวันที่ได้รับการลดวัน
ต้องโทษจาคุกเท่ากับจานวนวันที่ถูกตัด
เมื่อเพิกถอนคาสั่งลงโทษทางวินัยแล้ว ให้บันทึกการเพิกถอนคาสั่งในทะเบียนประวัติ
ผู้ต้องขังคนนั้น และให้ได้รับสิทธิประโยชน์ที่เป็นผลจากการถูกลงโทษนั้นคืนด้วย
ให้ไว้ ณ วันที่ 25 กันยายน พ.ศ. ๒๕๖3
สมศักดิ์ เทพสุทิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 187

หมายเหตุ :- เหตุ ผ ลในการประกาศใช้ ก ฎกระทรวงฉบั บ นี้ คื อ โดยที่ ม าตรา ๖๙ วรรคสอง แห่ ง


พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ บัญญัติให้การดาเนินการพิจารณาลงโทษทางวินัย การลงโทษ
การเพิกถอน การเปลี่ยนแปลง การงด หรือการรอการลงโทษ และการอุทธรณ์คาสั่งลงโทษทางวินัย
ของผู้ต้องขัง รวมทั้งผู้มีอานาจในการดาเนินการดังกล่าว ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข
ที่กาหนดในกฎกระทรวง จึงจาเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

การลงโทษทางวินัยผู้ต้องขัง
ตาม ม.69 พ.ร.บ.ราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 ประกอบกฎกระทรวง 2563

(1) ภาคทัณฑ์
กฎกระทรวงยุตธิ รรม
ข้อ ๘ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาภาคทัณฑ์ผู้ต้องขังซึ่งกระทาผิดวินั ยไม่ร้ายแรง และได้
สานึกถึงความผิดที่ได้กระทาไปแล้ว
การภาคทัณฑ์ตามวรรคหนึ่ง ให้กระทาโดยวิธีเรียกตัวผู้ต้องขังมาว่ากล่าวสั่งสอน ให้
ประพฤติตัวอยู่ในวินัย

(2) งดการเลื่อนชั้นโดยมีกาหนดเวลา
กฎกระทรวงยุติธรรม
ข้อ ๙ ให้ผู้บัญชาการเรือนจางดการเลื่อนชั้นผู้ต้องขังซึ่งกระทาผิด ดังต่อไปนี้
(๑) ประพฤติผิ ดระเบี ยบหรื อข้ อ บัง คั บ อัน มีไว้ ส าหรับ การเยี่ย มเยี ยนหรื อติ ด ต่ อ กั บ
บุคคลภายนอก
(๒) นาสิ่งของซึ่งมิใช่ของตนเข้าหรือออกจากเรือนจาโดยไม่ได้รับอนุญาต
(๓) ทาให้เกิดเหตุติดขัดในการงานของผู้ต้องขังคนอื่นโดยประมาท
(๔) ทาให้ทรัพย์สินของทางราชการหรือของผู้อื่นเสียหาย
(๕) กระทาผิดเกี่ยวกับสิ่งของต้องห้ามตามมาตรา ๗๒ หรือมาตรา ๗๓

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


188 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

(3) ลดชั้น
กฎกระทรวงยุติธรรม
ข้อ ๑๐ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาลดชั้นผู้ต้องขังซึง่ กระทาผิด ดังต่อไปนี้
(๑) จงใจทาให้เกิดเหตุติดขัดในการงานของผู้ต้องขังคนอื่น
(๒) จงใจทาให้ทรัพย์สินของทางราชการหรือของผู้อื่นเสียหาย
(๓) กระด้างกระเดื่องต่อเจ้าพนักงานเรือนจา
(๔) พยายามหลบหนี
(๕) ทาร้ายหรือพยายามทาร้ายร่างกายผู้อื่น
(๖) ก่อการทะเลาะวิวาท
(๗) เล่นการพนัน
(๘) เสพของมึนเมา
(๙) กระทาผิดเกี่ยวกับสิ่งของต้องห้ามตามมาตรา ๗๒ หรือมาตรา ๗๓
ข้อ ๑๑ การลดชั้น ผู้ต้องขังตามข้อ ๑๐ ให้ลดตามลาดับ ครั้งละหนึ่งชั้น เว้นแต่กรณี
ดังต่อไปนี้
(๑) ประพฤติผิดเงื่อนไขการคุมประพฤติและได้ตัวกลับคืนมา ไม่ว่าขณะที่ปล่อยตัว
นักโทษ เด็ดขาดคนนั้นเพื่อคุมประพฤติจะเป็นนักโทษเด็ดขาดชั้นใด ให้ลดชั้นเป็นชั้นต้องปรับปรุง
(๒) เสพยาเสพติด ให้ลดชั้นเป็นชั้นต้องปรับปรุงมาก
(๓) กระทาผิดเกี่ยวกับสิ่งของต้องห้ามตามมาตรา ๗๒ (๑) หรือ(๖) หรือร่วมกันกระทา
ผิด ทั้งในฐานะตัวการ ผู้ใช้ ผู้สนับสนุน หรือผู้ได้รับประโยชน์จากสิ่งของดังกล่าว ให้ลดชั้นเป็นชั้นต้อง
ปรับปรุงมาก
(๔) หลบหนีไปและได้ตัวกลับคืนมา ไม่ว่าก่อนหลบหนีนักโทษเด็ดขาดคนนั้นจะเป็น
นักโทษเด็ดขาดชั้นใด ให้ลดชั้นเป็นชั้นต้องปรับปรุงมาก
(๕) ทาร้ายร่างกายเจ้าพนักงานเรือนจา เจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งเข้าไปปฏิบัติหน้าที่ หรือ ผู้
ปฏิบัติหน้าที่อยู่ในเรือนจา ให้ลดชั้นเป็นชั้นต้องปรับปรุงมาก
(๖) ฆ่าผู้อื่น ก่อการทะเลาะวิวาท หรือทาร้ายร่างกายผู้อื่น ให้ลดชั้นนักโทษเด็ด ขาด
ดังต่อไปนี้
(ก) ฆ่าผู้อื่น ก่อการทะเลาะวิวาท หรือทาร้ายร่างกายผู้อื่นจนเป็นเหตุให้ถึงแก่ความ
ตาย ให้ลดชั้นเป็นชั้นต้องปรับปรุงมาก
(ข) ก่อการทะเลาะวิวาทหรือทาร้ายร่างกายผู้อื่นจนเป็นเหตุให้ได้รับอันตรายสาหัส
ให้ลดชั้นสองชั้น เว้นแต่นักโทษเด็ดขาดคนนั้นเป็นนักโทษเด็ดขาดชั้นต้องปรับปรุง ให้ลดชั้นเป็นชั้นต้อง
ปรับปรุงมาก
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 189

(๗) กรณีอื่นตามที่รัฐมนตรีประกาศกาหนด

(4) ตัดการอนุญาตให้ได้รับการเยี่ยมเยียนหรือติดต่อ ไม่เกินสามเดือน เว้นแต่เป็นกรณี


การติดต่อกับทนายความตามที่กฎหมายกาหนด หรือเป็นการติดต่อของผู้ต้องขังหญิงกับบุตรผู้เยาว์
กฎกระทรวงยุติธรรม
ข้อ ๑๒ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาตัดการอนุญาตให้ไ ด้รับการเยี่ยมเยียนหรือติดต่อ กับ
บุคคลภายนอกแก่ผู้ต้องขังซึ่งกระทาผิด ดังต่อไปนี้
(๑) ประพฤติผิ ดระเบียบหรือข้อบังคับอันมีไว้ส าหรับการเยี่ยมเยียนหรือติดต่อ กับ
บุคคลภายนอก
(๒) นาสิ่งของซึ่งมิใช่ของตนเข้าหรือออกจากเรือนจาโดยไม่ได้รับอนุญาต
(๓) กระทาผิดเกีย่ วกับสิ่งของต้องห้ามตามมาตรา ๗๒ หรือมาตรา ๗๓
(๔) พยายามหลบหนีหรือหลบหนีไปแล้วแต่ได้ตัวกลับคืนมา

(5) ลดหรืองดประโยชน์และรางวัลทั้งหมดหรือแต่บางส่วนหรือบางอย่าง
กฎกระทรวงยุติธรรม
ข้ อ ๑๓ ให้ ผู้ บั ญ ชาการเรื อ นจ าลดประโยชน์ แ ละรางวั ล แก่ ผู้ ต้ อ งขั ง ซึ่ ง กระท าผิ ด
ดังต่อไปนี้
(๑) ละทิ้งหรือเพิกเฉยต่อการงานอันเป็นหน้าที่
(๒) ทาให้ทรัพย์สินของผู้อื่นเสียหาย
(๓) ก่อการทะเลาะวิวาทในขณะทาการงาน
การลดประโยชน์และรางวัลตามวรรคหนึ่ง ให้พึงลดเพียงอย่างเดียวตามที่เห็นสมควร
ข้อ ๑๔ ให้ผู้บัญชาการเรือนจางดประโยชน์และรางวัลแก่ผู้ต้องขังซึ่งกระทาผิดตามข้อ
๑๓ โดยเจตนาและมีความเสียหายเกิดขึ้น และจะงดเพียงอย่างเดียวก็ได้

(6) ขังเดี่ยวไม่เกินหนึ่งเดือน
กฎกระทรวงยุติธรรม
ข้อ ๑๕ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาขังเดี่ยวผู้ต้องขังซึ่งกระทาผิด ดังต่อไปนี้
(๑) เล่นการพนันโดยเป็นเจ้ามือหรือสมคบกับผู้อื่นเล่นการพนันตั้งแต่สองครั้งขึ้นไป
(๒) ทะเลาะวิวาทตั้งแต่สองครั้งขึ้นไป
(๓) เสพยาเสพติด

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


190 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

(๔) กระทาผิดเกีย่ วกับสิ่งของต้องห้ามตามมาตรา ๗๒(๑)หรือ (๖)หรือร่วมกันกระทาผิด


ทั้งในฐานะตัวการ ผู้ใช้ ผู้สนับสนุน หรือผู้ได้รับประโยชน์จากสิ่งของดังกล่าว
(๕) พยายามหลบหนีหรือหลบหนีไปแล้วแต่ได้ตัวกลับคืนมา
(๖) ทาร้ายร่างกายผู้อื่นจนเป็นเหตุให้ได้รับอันตรายสาหัสหรือถึงแก่ความตาย
(๗) กระด้างกระเดื่องต่อเจ้าพนักงานเรือนจาซึ่งมีตาแหน่งตั้งแต่ชั้นพัศดีขึ้นไป
การขังเดี่ยวตามวรรคหนึ่ง ให้กระทาโดยวิธีแยกผู้ต้องขั งซึ่งกระทาผิดจากผู้ต้องขั งอื่น
และคุ มขัง ไว้ในที่ที่จั ดขึ้น เป็ น พิ เศษ และห้ ามการติดต่อหรื อ พูดจากับผู้ อื่น เว้นแต่เป็นสิ ทธิต ามที่
กฎหมายกาหนด
ให้ พั ศ ดี จั ด ให้ มี ผู้ ค อยตรวจการขั ง เดี่ ยวให้ เ ป็น ไปตามวรรคสอง ในกรณี ที่ ผู้ ต้ องขัง
มีอาการเจ็บป่วย ให้มีการรักษาพยาบาล
หากการกระท าผิ ดตามวรรคหนึ่ ง เป็นความผิ ดที่จ ะต้ อ งถู กลงโทษตามข้ อ อื่ น ด้ ว ย
ให้ลงโทษตามข้อนั้นก่อน แล้วจึงลงโทษขังเดี่ยวอีกสถานหนึ่ง
การลงโทษขังเดี่ยวให้กระทาได้ไม่เกินหนึ่งเดือน ถ้าขังเดี่ยวเกินกว่าสิบห้าวัน ให้กระทา
ต่อเนื่องได้ครั้งละไม่เกินสิบห้าวัน โดยมีระยะเวลาเว้นช่วงในแต่ละครั้งไม่น้อยกว่าห้าวัน

(7) ตัดจานวนวันที่ได้รับการลดวันต้องโทษ
กฎกระทรวงยุตธิ รรม
ข้อ ๑๖ นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับการลดวันต้องโทษจาคุกแล้ว ให้ผู้บัญชาการเรือนจา
ตัดจานวนวันที่ได้รับการลดวันต้องโทษจาคุกในกรณีที่กระทาผิด ดังต่อไปนี้
(๑) ไม่เกินสิบห้าวัน
(ก) ฝ่าฝืนระเบียบหรือข้อบังคับของเรือนจา
(ข) เล่นการพนัน
(ค) ก่อการทะเลาะวิวาทกับผู้ต้องขัง
(ง) กระด้างกระเดื่องต่อเจ้าพนักงานเรือนจา
(๒) ตั้งแต่สิบห้าวันแต่ไม่เกินสามสิบวัน
(ก) ละทิ้งหรือเพิกเฉยต่อการงานอันเป็นหน้าที่
(ข) พยายามทาให้ผู้อื่นหรือกิจการของเรือนจาเสียหาย
(ค) ทะเลาะวิวาทตั้งแต่สองครั้งขึ้นไป
(ง) ทาร้ายหรือพยายามทาร้ายผู้อื่น
(๓) ตั้งแต่สามสิบวันแต่ไม่เกินหกสิบวัน
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 191

(ก) ไม่ปฏิบัติตามคาสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายของเจ้าพนักงานเรือนจา
(ข) กระทาผิดเกี่ยวกับสิ่งของต้องห้ามตามมาตรา ๗๒ หรือมาตรา ๗๓
(ค) สมคบกับผู้อื่นก่อความไม่สงบเรียบร้อยขึ้น
(ง) จงใจทาให้ผู้อื่นหรือกิจการของเรือนจาเสียหาย
(จ) พยายามหลบหนีหรือหลบหนีไปแล้วแต่ได้ตัวกลับคืนมา
(ฉ) ทาร้ายหรือพยายามทาร้ายเจ้าพนักงานเรือนจา เจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งเข้าไป
ปฏิบัติหน้าที่ หรือผู้ปฏิบัติหน้าที่อยู่ในเรือนจา
ในกรณีที่นักโทษเด็ดขาดซึ่งกระทาผิดวินัยมีวันที่ได้รับการลดวันต้องโทษจาคุกน้อยกว่า
ที่จะถูกตัด ให้ตัดจานวนวันที่ได้รับการลดวันต้องโทษจาคุกที่มีอยู่ทั้งหมด
การตัดจานวนวันที่ได้รับการลดวันต้องโทษจาคุกตามข้อนี้ ไม่ให้ใช้บังคับแก่กรณีการ
ได้รับการลดวันต้องโทษจาคุกตามมาตรา ๕๒ (๖)

มาตรา 70 ในกรณีที่ผู้ต้องขังได้กระทาความผิดอาญาขึ้นภายในเรือนจาและความผิดนั้นเป็น
ความผิดลหุโทษ ความผิดฐานทาให้เสียทรัพย์ของเรือนจา ความผิดตามมาตรา 73 หรือความผิดฐาน
พยายามหลบหนีที่คุมขัง ให้ผู้บัญชาการเรือนจามีอานาจวินิจฉัยลงโทษฐานผิดวินัยตามพระราชบัญญัตินี้
และจะนาเรื่องขึ้นเสนอต่อพนักงานสอบสวนเพื่อดาเนินการสอบสวนหรือฟ้องร้องตามกฎหมายด้วยก็ได้
ความผิดตามวรรคหนึ่ง ที่ผู้บัญชาการเรือนจาจะใช้อานาจวินิจฉัยลงโทษทางวินัย ให้เป็นไป
ตามระเบียบกรมราชทัณฑ์โดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
ความในมาตรานี้ไม่ตัดสิทธิของเอกชนที่จะเป็นโจทก์ยื่นฟ้องคดีอาญาหรือคดีแพ่งตามกฎหมาย

ระเบียบกรมราชทัณฑ์
ว่าด้วยการกาหนดความผิดอาญาที่ผู้บัญชาการเรือนจามีอานาจวินิจฉัยลงโทษฐานผิดวินัย
พ.ศ.2561
--------------------
โดยที่เป็นการสมควรกาหนดความผิดที่ผู้บัญชาการเรือนจาจะใช้อานาจวินิจฉัยลงโทษทางวินัย
แก่ผู้ต้องขังแทนการส่งเรื่องเสนอให้พนักงานสอบสวนดาเนินการสอบสวน หรือฟ้องร้องตามกฎหมาย
ตามที่มาตรา 70 แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 ให้อานาจ
อาศัยอานาจตามความในมาตรา 70 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 อธิบดี
โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการราชทัณฑ์ จึงวางระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกรมราชทัณฑ์ว่าด้วยการกาหนดความผิดอาญาที่ผู้บัญชาการ
เรือนจามีอานาจวินิจฉัยลงโทษฐานผิดวินัย พ.ศ.2561”

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


192 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ข้อ 2 ระเบียบให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป
ข้อ 3 ในระเบียบนี้
“อธิบดี” หมายความว่า อธิบดีกรมราชทัณฑ์
ข้อ 4 ความผิดอาญาที่ผู้บัญชาการเรือนจามีอานาจวินิจฉัยลงโทษฐานผิ ดวินัยโดยไม่จ าต้ อง
ดาเนินคดีอาญาต่อผู้ต้องขัง ได้แก่ความผิดดังต่อไปนี้
(1) ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา ดังนี้
(ก) มาตรา 367 ฐานไม่ยอมบอกชื่อหรือที่อยู่หรือแกล้งบอกชื่อหรือที่อยู่อันเป็นเท็จเมื่อ
เจ้าพนักงานถาม
(ข) มาตรา 368 ฐานไม่ปฏิบัติตามคาสั่งของเจ้าพนักงานตามอานาจที่กฎหมายให้ไว้
โดยไม่มีเหตุหรือข้อแก้ตัวอันสมควร
(ค) มาตรา 369 ฐานกระทาให้ ประกาศหรือเอกสารที่เจ้าพนักงานปิ ดไว้ฉีกหรือไร้
ประโยชน์
(ง) มาตรา 370 ฐานส่งเสียงหรือทาให้เกิดเสียงอื้ออึงโดยไม่มีเหตุอันสมควร
(จ) มาตรา 379 ฐานแสดงอาวุธในการวิวาทต่อสู้
(ฉ) มาตรา 383 ฐานไม่ช่วยระงับเพลิงไหม้เมื่อเจ้าพนักงานเรียกให้ช่วย
(ช) มาตรา 384 ฐานแกล้งบอกเล่าความเท็จให้เลื่องลือจนเป็นเหตุให้ผู้อื่นตกใจ
(ซ) มาตรา 388 ฐานเปลือยหรือเปิดเผยร่างกายหรือกระทาการลามกอันควรขายหน้า
ต่อหน้าธารกานัล
(ฌ) มาตรา 390 ฐานประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ
(ญ) มาตรา 391 ฐานใช้กาลังทาร้ายผู้อื่นโดยไม่ถึงกับเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันรายแก่
กาย
(ฎ) มาตรา 392 ฐานทาให้ผู้อื่นกลัวหรือตกใจโดยการขู่เข็ญ
(ฏ) มาตรา 393 ฐานดูหมิ่นผู้อื่นซึ่งหน้าหรือด้วยการโฆษณา
(ฐ) มาตรา 397 ฐานรังแกข่มเหงคุกคามหรือทาให้ผู้อื่นอับอายหรือเดือดร้อนราคาญ
(2) ความผิดตามพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.2560 มาตรา 73(2)(3)และ(4)
ข้อ 5 กรณีความผิดฐานทาให้เสียทรัพย์ของเรือนจา ให้ผู้บัญชาการเรือจามีอานาจวินิจฉัยลงโทษ
ฐานผิดวินัยโดยไม่จาต้องดาเนินคดีอาญา เฉพาะในกรณีที่ผู้ต้องขังที่กระทาผิดได้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 193

เต็มจานวนตามความเสียหายแล้วเท่านั้น เว้นแต่กรณีการทาให้เสียหาย ทาลาย ทาให้เสื่อมค่า หรือทาให้


ไร้ประโยชน์ ด้วยวิธีการเผา ทุบ ทาลาย ให้เรือนจาดาเนินคดีอาญาแก่ผู้ต้องขังนั้นด้วย
หากความเสียหายของทรัพย์สินของเรือนจาเกิดจากความประมาทของผู้ต้องขัง นอกจากจะ
ดาเนินการทางวินั ยแก่ผู้ต้องขังตามที่กาหนดในกฎกระทรวงแล้ว ให้เจ้าพนักงานเรือนจาดาเนิ นการ
เรียกร้องให้ผู้ต้องขังนั้นชดใช้ค่าสินไหมทดแทนความเสียหายนั้นด้วย
ข้อ 6 ให้ อธิบ ดีรั กษาการตามระเบียบนี้ และมีอานาจวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตาม
ระเบียบนี้
ประกาศ ณ วันที่ 5 เมษายน พ.ศ.2561
พันตารวจเอก ณรัชต์ เศวตนันทน์
อธิบดีกรมราชทัณฑ์

หมวด 8
ความผิดเกี่ยวกับเรือนจา
มาตรา 71 ผู้ใดเข้าไปในเรือนจาโดยมิได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานเรือนจา ต้องระวางโทษ
จาคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
มาตรา 72 ผู้ใดกระทาด้วยประการใดให้เข้ามาหรือให้ออกไปจากเรือนจา หรือครอบครองหรือ
ใช้ในเรือนจา หรือรับจากหรือส่งมอบแก่ผู้ต้องขัง ซึ่งสิ่งของต้องห้าม ดังต่อไปนี้ ต้องระวางโทษจาคุกไม่
เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
(1) ยาเสพติดให้โทษ วัตถุออกฤทธิ์ และสารระเหย รวมถึงอุปกรณ์ที่ใช้ในการเสพ
(2) สุราหรือของมึนเมาอย่างอื่น
(3) เครื่องมืออันเป็นอุปกรณ์ในการหลบหนี
(4) อาวุธ เครื่องกระสุนปืน วัตถุระเบิด ดอกไม้เพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปืน
(5) น้ามันเชื้อเพลิงหรือวัตถุอื่นใดที่ก่อให้เกิดเพลิงได้
(6) เครื่องคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ หรือเครื่องมือสื่อสารอื่น รวมทั้งอุปกรณ์สาหรับสิ่งของดังกล่าว
(7) สิ่งของอื่นที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อเรือนจาหรือความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี
ของประชาชน ทั้งนี้ ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


194 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

มาตรา 73 ผู้ใดกระทาด้วยประการใดให้เข้ามาหรือให้ออกไปจากเรือนจา หรือครอบครองหรือ


ใช้ในเรือนจา หรือรับจากหรือส่งมอบแก่ผู้ต้องขัง ซึ่งสิ่งของต้องห้าม ดังต่อไปนี้ ต้องระวางโทษจาคุกไม่
เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
(1) อุปกรณ์สาหรับเล่นการพนัน
(2) ของเน่าเสียหรือของมีพิษต่อร่างกาย
(3) เงินตรา
(4) เครื่องมือและอุปกรณ์สาหรับสักร่างกาย
(5) สิ่งของอื่นที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อเรือนจาหรือความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี
ของประชาชน ทั้งนี้ ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 74 สิ่งของต้องห้ามตามความในมาตรา 72 และมาตรา 73 ไม่หมายความรวมถึงสิ่งของ
ซึ่งมีไว้เพื่อใช้ในราชการ
สิ่งของต้องห้ามที่มีการฝ่าฝืนมาตรา 72 หรือมาตรา 73 ให้ริบเสียทั้งสิ้น
ในกรณีสิ่งของต้องห้ามตามมาตรา 73 หากไม่มีการดาเนินการฟ้องร้องตามกฎหมาย ให้ผู้
บัญชาการเรือนจามีอานาจดาเนินการกับสิ่งของต้องห้ามดังกล่าว ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่
กาหนดในกฎกระทรวง

กฎกระทรวง
การดาเนินการกับสิ่งของต้องห้ามตามมาตรา ๗๓ ในกรณีที่ไม่มีการดาเนินการฟ้องร้องตามกฎหมาย
พ.ศ. ๒๕๖๓
(ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๗ ตอนที่ ๘๔ ก ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๖๓)
---------------------
อาศั ย อ านาจตามความในมาตรา ๗ วรรคหนึ่ ง และมาตรา ๗๔ วรรคสามแห่ ง
พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ในกรณีที่เจ้าพนักงานเรือนจาตรวจพบสิ่งของต้องห้ามตามมาตรา ๗๓ และไม่
ดาเนินการฟ้องร้องผู้ต้องขังซึ่งเป็นเจ้าของหรือผู้ครอบครองสิ่งของต้องห้ามดั งกล่าว ให้ผู้บัญชาการ
เรือนจาดาเนินการทางวินัยแก่ผู้ต้องขังนั้น และจัดทาบัญชีจัดเก็บ สิ่งของต้องห้ามดังกล่าวเพื่อใช้เป็น
หลักฐานในการดาเนินการทางวินัย
ในกรณีที่มีความจาเป็นต้องแยกเก็บรักษาสิ่งของต้ องห้ามตามมาตรา ๗๓ ให้เรือนจา
จัดสถานที่เก็บรักษาสิ่งของต้องห้ามนั้นแยกต่างหากเพื่อประโยชน์ในการดูแลรักษาหลักฐาน
ข้อ ๒ เมื่อผู้บัญชาการเรือนจาได้ดาเนินการทางวินัยแก่ผู้ ต้องขังซึ่งเป็นเจ้าของ หรือ
ผู้ครอบครองสิ่งของต้องห้ามตามมาตรา ๗๓ แล้ว ให้ดาเนินการกับสิ่งของต้องห้าม ดังต่อไปนี้
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 195

(๑) เงินตรา ให้นาส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน ในกรณีที่เป็นเงิ นตราสกุลอื่นที่ไม่ใช่เงิน


บาท ให้แลกเปลี่ยนเป็นเงินบาทแล้วนาส่งคลังเป็นรายได้ แผ่นดิน หากไม่สามารถแลกเปลี่ยนได้ ให้
ดาเนินการตามที่เห็นสมควร
(๒) สิ่งของอื่น ให้ทาลาย ทาให้เสื่อมสภาพ หรือทาให้ใช้การไม่ได้
ให้ไว้ ณ วันที่ 25 กันยายน พ.ศ. ๒๕๖3
สมศักดิ์ เทพสุทิน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๗๔ วรรคสาม แห่ง
พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ บัญญัติว่าในกรณีสิ่งของต้องห้ามตามมาตรา ๗๓ หากไม่มี การดา
เนินการฟ้องร้องตามกฎหมาย ให้ผู้บัญชาการเรือนจามีอานาจดาเนินการกับสิ่งของต้องห้ามดังกล่าว ตาม
หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง จึงจาเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

มาตรา 75 ถ้าผู้กระทาความผิดตามมาตรา 72 หรือมาตรา 73 เป็นเจ้าพนักงานเรือนจาหรือ


เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้เข้าไปปฏิบัติหน้าที่หรือผู้ปฏิบัติหน้าที่อยู่ในเรือนจา ต้องระวางโทษเป็นสามเท่า ของ
โทษที่กาหนดไว้สาหรับความผิดนั้น

บทเฉพาะกาล
------------------------
มาตรา 76 บรรดากฎกระทรวง ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คาสั่งและมติคณะรัฐมนตรีที่ได้ออก
ตามพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พุทธศักราช 2479 ที่ใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
ให้ยังคงใช้บังคับได้ต่อไปเพียงเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัตินี้ จนกว่าจะมีกฎกระทรวงระเบียบ
ข้อบังคับ ประกาศหรือคาสั่งที่ออกตามพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
การดาเนิ น การออกกฎกระทรวง ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หรือคาสั่ ง ตามวรรคหนึ่ง ให้
ดาเนิ น การให้ แ ล้ ว เสร็ จ ภายในเก้ าสิ บ วัน นับ แต่วั น ที่ พระราชบั ญญั ตินี้ มีผ ลใช้ บั งคั บ หากไม่ส ามารถ
ดาเนินการได้ให้รัฐมนตรีรายงานเหตุผลที่ไม่อาจดาเนินการได้ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบ
มาตรา 77 ให้เจ้าพนักงานเรือนจาตามพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พุทธศักราช 2479 และยังคง
ปฏิบัติหน้าที่อยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ เป็นเจ้าพนักงานเรือนจาตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา 78 ในวาระเริ่มแรกที่ยังไม่มีการแต่งตั้งกรรมการผู้ ทรงคุณวุฒิตามมาตรา 8(4) ให้
คณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการโดยตาแหน่ง เพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ แต่ต้องไม่เกิน
เก้าสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


196 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้
1.พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พุทธศักราช ๒๔๗๙ ได้ใช้บังคับมาเป็นเวลานานและมีบทบัญญัติ
บางประการไม่สอดคล้องกับนโยบายทางอาญาของประเทศ
2.พระราชบัญญัติฉบับเดิม มิได้มีการบัญญัติกฎหมายและกฎเกณฑ์ในระดับสากลที่เกี่ยวข้อง
กับการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังประเภทต่าง ๆ และการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ซึ่งส่งผลให้การดาเนินงานต่าง
ๆ ที่เกี่ยวข้องไม่สอดคล้องตามมาตรฐานสากล อาทิ
-ข้อกาหนดมาตรฐานขั้นต่าสาหรับปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง (Standard MinimumRules for the
Treatment of Prisoners / SMR) หรือ
-ข้อกาหนดของสหประชาชาติ สาหรับการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังหญิงในเรือนจา และมาตรการที่มิใช่
การควบคุมขังสาหรับผู้ กระทาผิดหญิง (United Nations Rules forthe Treatment of Women
Prisoners and Non-Custodial Measures for Women Offenders) หรื อ ข้ อ ก าหนดกรุ ง เทพ
(Bangkok Rules)
3.พระราชบัญญัติฉบับเดิม ยังไม่สามารถจัดการหรือบริหารโทษของผู้ต้องขังเฉพาะรายหรือ
เฉพาะคดีได้อย่างเหมาะสม เนื่องจากไม่มีบทบัญญัติให้อานาจในการดาเนินการ
4.พระราชบัญญัติฉบับเดิม ไม่ได้บัญญัติเกี่ยวกับการดาเนินการให้มีสถานที่ควบคุมหรือคุมขัง
ผู้ ต้ อ งขั ง ประเภทอื่ น นอกจากการคุ ม ขั ง ไว้ ใ นเรื อ นจ า ซึ่ ง ท าให้ ร ะบบการพั ฒ นาพฤติ นิ สั ย และการ
บริหารงานเรือนจาไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่กาหนดไว้
5.กาหนดให้มีค ณะกรรมการราชทัณ ฑ์ เ พื่ อ กาหนดนโยบายและทิ ศทางในการบริ ห ารงาน
ราชทัณฑ์และปรับปรุงกฎหมายให้สามารถแก้ไข บาบัด ฟื้นฟูและพัฒนาพฤตินิสัยของผู้ต้องขัง กับทั้งเป็น
เครื่ อ งมื อ ในการแก้ ไ ขปั ญ หาอื่ น ในการบริ ห ารจั ด การกระบวนงานของกรมราชทั ณ ฑ์ เพื่ อ ให้ เ กิ ด
ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น จึงจาเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้

*******************
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 197

ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่ม ๕๖ ตอนที่ ๕๒๓ ลงวันที่ ๒๖ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๘๒


พระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์ พุทธศักราช ๒๔๘๒
ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล
คณะผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์
(ตามประกาศประธานสภาผู้แทนราษฎร
ลงวันที่ ๔ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๘๐)
อาทิตย์ทิพอาภา
พล.อ. เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน
ตราไว้ณวันที่ ๑๗ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๘๒
เป็นปีที่ ๖ ในรัชกาลปัจจุบัน
โดยที่ส ภาผู้ แทนราษฎรลงมติว่ า สมควรตราบทบัญ ญัติว่ า ด้ว ยวิ นัย ข้า ราชการกรม
ราชทัณฑ์
จึงมีพระบรมราชโองการให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของสภา
ผู้แทนราษฎร ดังต่อไปนี้
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้ให้เรียกว่า“พระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์
พุทธศักราช ๒๔๘๒”
มาตรา ๒ ให้ใช้พระราชบัญญัตินี้ตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา ๓ ให้ยกเลิกบรรดาบทกฎหมาย กฎ และข้อบังคับอื่น ๆ ในส่วนที่มีบัญญัติไว้
แล้วในพระราชบัญญัตินี้ หรือซึ่งขัดแย้งกับบทแห่งพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้
“ข้าราชการกรมราชทัณฑ์ ”หมายความว่า ข้าราชการกรมราชทัณฑ์ที่ได้รับแต่งตั้งให้
ปฏิบัติราชการใน
(๑) เรือนจา ทัณฑนิคม นิคมฝึกอาชีพ หรือทัณฑสถานอื่นที่ตั้งขึ้นตามกฎหมาย
(๒) สถานฝึกและอบรม
มาตรา ๕ ให้ รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงยุ ติ ธ รรม*มี ห น้ า ที่ รั ก ษาการให้ เ ป็ น ไปตาม
พระราชบัญญัตินี้
หมวด ๑
วินัย

มาตรา ๖ ข้าราชการกรมราชทัณฑ์ต้องปฏิบัติตามวินัยดังที่บัญญัติไว้ในกฎหมายว่า
ด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนและตามบทมาตรา ๗ , ๘ และมาตรา ๙ แห่งหมวดนี้
มาตรา ๗ เพื่อปฏิบัติหน้าที่เฉพาะของตนให้เป็นไปด้วยดี ข้าราชการกรมราชทัณฑ์ต้อง

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


198 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ไม่ปิดบังความผิดของเจ้าพนักงานหรือผู้ต้องขัง ผู้ต้องกักกัน หรือเด็กในสถานฝึกและ


อบรม
ไม่เสพสุราหรือยาเสพติดในที่ทาการ ในเวลาปฏิบัติหน้าที่ราชการหรือในเวลาใกล้ชิด
ก่อนเข้าในที่ทาการ หรือก่อนปฏิบัติหน้าที่ราชการ
ไม่ใช้กิริยาวาจาหยาบคายแก่ผู้อยู่ในบังคับบัญชา และผู้อยู่ในความควบคุม
รักษาระเบียบการเคารพระหว่างผู้ใหญ่และผู้น้อยโดยเคร่งครัด
แต่งเครื่องแบบที่กาหนดไว้โดยเคร่งครัดและให้สะอาดเรียบร้อย
ต้องสอบสวนและลงโทษหรือรายงานต่อผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปโดยมิชักช้า เมื่อเจ้า
พนักงานหรือผู้ต้องขัง ผู้ต้องกักกัน หรือเด็กในสถานฝึกและอบรมกระทาหรือจะกระทาผิด แล้วแต่กรณี
และโดยทั่ว ไปต้องปฏิบั ติง านในหน้า ที่ให้ เคร่ งครัดตามกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ และ
ระเบียบแบบแผนของเรือนจา ทัณฑนิคม นิคมฝึกอาชีพ ทัณฑสถานอื่นที่ตั้งขึ้นตามกฎหมาย หรือสถาน
ฝึกและอบรม แล้วแต่กรณี
มาตรา ๘ ในการเกี่ยวข้องกับผู้ ต้องขัง ผู้ต้องกักกัน หรือเด็กในสถานฝึกและอบรม
ข้าราชการกรมราชทัณฑ์ต้อง
ไม่รับทรัพย์สินจากญาติมิตรของผู้ต้องขัง ผู้ต้องกักกัน หรือเด็กในสถานฝึกและอบรมไว้
ให้บุคคลดังกล่าวแล้ว เว้นแต่ที่กาหนดไว้ในกฎข้อบังคับ
ไม่เป็นสื่อติดต่อโดยทางตรงหรือทางอ้อมระหว่างผู้ต้องขัง ผู้ต้องกักกัน หรือเด็กในสถาน
ฝึกและอบรม กับญาติมิตรของบุคคลดังกล่าวแล้ว เว้นแต่ที่กาหนดไว้ในกฎข้อบังคับ
ไม่รับหรือสัญญาว่าจะรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อย่างใด ๆ จากผู้ต้องขัง ผู้ต้องกักกัน
หรือเด็กในสถานฝึกและอบรม หรือญาติมิตรของบุคคลเหล่านี้
ไม่กล่าวเท็จ ยั่วเย้า หรือทะเลาะวิวาทกับผู้ต้องขัง ผู้ต้องกักกัน และเด็กในสถานฝึกและ
อบรม
แสดงความเมตตากรุณาแก่ผู้ต้องขัง ผู้ต้องกักกัน และเด็กในสถานฝึกและอบรม โดย
ชอบด้วยกฎข้อบังคับ
และโดยทั่วไป ต้องประพฤติตนให้เป็นตัวอย่างอันดีงามแก่ผู้ต้องขัง ผู้ต้องกักกัน หรือเด็ก
ในสถานฝึกและอบรม
มาตรา ๙ ข้าราชการกรมราชทัณฑ์มีหน้าที่ตักเตือนแนะนา และสั่งสอนผู้อยู่ในบังคับ
บัญชา และผู้อยู่ในความควบคุมให้มีความประพฤติดี และปฏิบัติโดยเคร่งครัดตามกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ
และระเบียบแบบแผนของเรือนจา ทัณฑนิคม นิคมฝึกอาชีพ ทัณฑสถานอื่นที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายหรือ
สถานฝึกและอบรม
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 199

หมวด ๒
โทษผิดวินัย

มาตรา ๑๐ ผู้ใดประพฤติผิดวินัยตามพระราชบัญญัตินี้อาจต้องโทษตามกฎหมายว่า
ด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนหรืออาจต้องโทษ
(๑) ขัง
(๒) เพิ่มเวรยาม
(๓) กักบริเวณ
โทษขัง คือ ขังในที่ควบคุมที่สมควรแต่เฉพาะคนเดียวหรือรวมกันหลายคน
โทษเพิ่มเวรยาม คือ ให้อยู่เวรยามรักษาการณ์นอกจากหน้าที่ประจาเพิ่มขึ้นอีก
โทษกักบริเวณ คือ กักตัวไว้ในบริเวณใดบริเวณหนึ่งที่สมควร
มาตรา ๑๑ การลงโทษตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนสถานไล่ ออก
หรือปลดนั้น ถ้าผู้กระทาผิดเป็นข้าราชการชั้นจัตวาหรือเทียบเท่าชั้นจัตวา ให้อธิบดีกรมราชทัณฑ์มีอานาจ
ไล่ออกหรือปลดได้ ส่วนการลงโทษสถานอื่น ๆ ให้รายงานไปยังผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปตามลาดับจนถึง
อธิบดีกรมราชทัณฑ์ คาสั่งของอธิบดีกรมราชทัณฑ์ให้เป็นที่สุด
มาตรา ๑๒ ผู้บังคับบัญชาจะลงโทษขัง เพิ่มเวรยามหรือกักบริเวณได้ครั้งหนึ่งไม่เกิน
กาหนดในตารางต่อไปนี้
เพิ่มเวร
ผู้บังคับบัญชา ผู้กระทาผิดวินัย ขัง กักบริเวณ
ยาม
พัศดี - ๒๐ วัน ๓๐ วัน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
ผู้คุม ๒๐ วัน ๓๐ วัน ๔๕ วัน
พัศดี - ๑๕ วัน ๒๐ วัน
ปลัดกระทรวง, อธิบดี
ผู้คุม ๑๕ วัน ๒๐ วัน ๓๐ วัน
พัศดี - ๑๐ วัน ๑๕ วัน
ผู้บัญชาการเรือนจา
ผู้คุม ๑๐ วัน ๑๕ วัน ๒๐ วัน
พัศดี - ๗ วัน ๑๐ วัน
สารวัตรเรือนจา
ผู้คุม ๗ วัน ๑๐ วัน ๑๕ วัน
พัศดี หรือหัวหน้าส่วนราชการที่ต่ากว่า
ผู้คุม ๕ วัน ๗ วัน ๑๐ วัน
พัศดี
ผู้ บั งคับ บั ญชาและผู้ กระทาผิ ดวินัยตามตารางนี้ หมายความตลอดถึงข้าราชการใน
ตาแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่น ซึ่งมีอานาจหน้าที่เทียบกันได้ด้วย

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


200 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

หมวด ๓
การรักษาวินัย

มาตรา ๑๓ ในการรักษาวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้นา


บทบัญญัติว่าด้วยการรักษาวินัยตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนมาใช้บังคับโดยอนุโลม

ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
(ลงชื่อ)ป.พิบูลสงคราม
นายกรัฐมนตรี
* พระราชกฤษฎีกาแก้ไขบทบัญญัติให้สอดคล้องกับการโอนอานาจหน้าที่ของส่วนราชการให้เป็นไปตาม
พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๔๕ ....“มาตรา ๑๐5 ข้อความว่า
ในพระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์ พุทธศักราช ๒๔๘๒ ให้แก้ไขคาว่า “รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงมหาดไทย” เป็น “รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม”
หมายเหตุ :- เหตุผ ลในการประกาศใช้ พระราชกฤษฎี กาฉบับ นี้ คือ โดยที่พระราชบัญญั ติป รั บ ปรุ ง
กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้บัญญัติให้จัดตั้งส่วนราชการขึ้นใหม่โดยมีภารกิจใหม่ ซึ่งได้มีการ
ตราพระราชกฤษฎีกาโอนกิจการบริหารและอานาจหน้าที่ของส่วนราชการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติ
ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม นั้นแล้ว และเนื่องจากพระราชบัญญัติดังกล่าวได้บัญญัติให้โอนอานาจ
หน้าที่ของส่วนราชการ รัฐมนตรีผู้ดารงตาแหน่งหรือผู้ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ในส่วนราชการเดิมมาเป็นของส่วน
ราชการใหม่ โดยให้มีการแก้ไขบทบัญญัติต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับอานาจหน้าที่ที่โอนไปด้วย ฉะนั้น เพื่อ
อนุวัติให้เป็นไปตามหลักการที่ปรากฏในพระราชบัญญัติและพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว จึงสมควรแก้ไข
บทบัญญัติของกฎหมายให้สอดคล้องกับการโอนส่วนราชการ เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องมีความชัดเจนในการใช้
กฎหมายโดยไม่ต้องไปค้นหาในกฎหมายโอนอานาจหน้าที่ว่าตามกฎหมายใดได้มีการโอนภารกิจของส่วน
ราชการหรือผู้รับผิดชอบตามกฎหมายนั้นไปเป็นของหน่วยงานใดหรือผู้ใดแล้ว โดยแก้ไขบทบัญญัติของ
กฎหมายให้มีการเปลี่ยนชื่อส่วนราชการ รัฐมนตรี ผู้ดารงตาแหน่งหรือผู้ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ
ให้ตรงกับการโอนอานาจหน้าที่ และเพิ่มผู้แทนส่วนราชการในคณะกรรมการให้ตรงตามภารกิจที่มีการตัด
โอนจากส่วนราชการเดิมมาเป็นของส่วนราชการใหม่รวมทั้งตัดส่วนราชการเดิมที่มีการยุบเลิกแล้ว ซึ่งเป็น
การแก้ไขให้ตรงตามพระราชบัญญัติและพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวจึงจาเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกานี้
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 201

คาอธิบายเรียงตามมาตรา
พระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๔๘๒
-----------------------------
ข้ า ราชการกรมราชทั ณ ฑ์ ต้ อ งอยู่ ภ ายใต้ บั ง คั บ ของกฎหมายถึ ง ๒ ฉบั บ คื อ
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.๒๕๕๑ และพระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรม
ราชทั ณ ฑ์ พ.ศ. ๒๔๘๒ ซึ่ ง เป็ น กฎหมายเฉพาะ/กฎหมายพิ เ ศษ ที่ ก าหนดขึ้ น เพื่ อ ข้ า ราชการกรม
ราชทัณฑ์ ควบคุมตนเองและผู้ใต้บังคับบัญชาให้ประพฤติปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างถูกต้อง ซึ่งใช้บังคับแก่
ข้าราชการกรมราชทัณฑ์ที่ได้รับการแต่งตั้งให้ปฏิบัติราชการในเรือนจา ทัณฑนิคม นิคมฝึกอาชีพ ทัณฑ
สถานอื่นที่ตั้งขึ้นตามกฎหมาย สถานฝึกอบรมและมีวิธีการดาเนินการลงโทษแตกต่างกับวิธีดาเนินการ
ของกฎหมายระเบี ย บข้าราชการพลเรือน ทั้งนี้โ ดยมีเจตนารมณ์ในการใช้บังคับแก่แบบแผน ความ
ประพฤติของข้าราชการกรมราชทัณฑ์ ในการปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับการควบคุมผู้ต้องขังหรือกิจการใน
เรือนจา/ทัณฑสถาน ซึ่งเป็นงานที่มีลักษณะพิเศษแตกต่างไปจากการบริหารราชการโดยทั่วไป
พระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์ พ.ศ.๒๔๘๒ ได้ตราไว้ ณ วันที่ ๑๗ ตุลาคม
พ.ศ.๒๔๘๒ โดยมีบทบัญญัติไว้ดังต่อไปนี้
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้ ให้เรียกว่า “พระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์
พุทธศักราช ๒๔๘๒”
ความในมาตรานี้ เป็ นการกาหนดชื่อพระราชบัญญัติ เพื่อจะได้ใช้เรียกชื่อให้เป็นที่
ถูกต้องตรงกัน
มาตรา ๒ ให้ใช้พระราชบัญญัตินี้ ตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
พระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๔๘๒ ในประกาศในราชการกิจจา
นุเบกษา เล่มที่ ๕๖ ตอนที่ ๕๒๓ ลงวันที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๔๘๒ ดังนั้น พระราชบัญญัตินี้จึงมีผลบังคับมา
ตั้ ง แต่ วั น ที่ ๒๖ ตุ ล าคม ๒๔๘๒ จนถึ ง ปั จ จุ บั น และยั ง คงใช้ บั ง คั บ อยู่ ต่ อ ไปจนกว่ า จะมี ก ารตรา
พระราชบัญญัติยกเลิกหรือแก้ไข
มาตรา ๓ ให้ยกเลิกบรรดากฎหมาย กฎ และข้อบังคับอื่น ๆ ในส่วนที่มีบัญญัติไว้แล้วใน
พระราชบัญญัติหรือซึ่งขัดหรือแย้งกับบทแห่งพระราชบัญญัตินี้
บทบัญญัตินี้ เป็นธรรมเนียมในการออกกฎหมาย กฎ โดยที่อาจมีกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ
ที่เคยมีมาก่อนการตราพระราชบัญญัตินี้ และมีข้อบัญญัติในลักษณะดังกล่าว แต่ตรวจสอบไม่พบ เป็นของ
เก่าที่ยังมิได้ยกเลิก จึงจาเป็นต้องกาหนดมาตรานี้ไว้เพื่อป้องกันความซ้าซ้อน/ขัดแย้งกันของกฎหมาย
มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้
ข้าราชการกรมราชทัณฑ์ หมายความว่า ข้าราชการกรมราชทัณฑ์ที่ได้รับการแต่งตั้งให้
ปฏิบัติราชการใน

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


202 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

๑. เรือนจา ทัณฑนิคมฝึกอาชีพ หรือทัณฑสถานอื่นที่ตั้งขึ้นตามกฎหมาย


๒. สถานฝึกอบรม

คานิยามตามมาตรานี้ กาหนดขึ้นเพื่อให้เข้าใจเป็นที่ถูกต้องตรงกันในความหมายของคา
ว่า ข้าราชการกรมราชทัณฑ์ โดยในปัจจุบันมีความหมายถึง ข้าราชการกรมราชทัณฑ์ที่ได้รั บแต่งตั้งให้
ปฏิบัติราชการในเรือนจา ทัณฑสถาน สถานกักขังและสถานกักกัน ซึ่งตัวต้องปฏิบัติงานอยู่จริง และต้อง
เป็นข้าราชการเท่านั้น ไม่รวมถึงลูกจ้างทั้งลูกจ้างประจาและลูกจ้างชั่วคราว
มาตรา ๕ ให้ รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงมหาดไทยมี ห น้ า ที่ รั ก ษาการให้ เ ป็ น ไปตาม
พระราชบัญญัตินี้
ความในมาตรานี้ เป็นการกาหนดอานาจหน้าที่ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในการควบคุม
ก ากั บ ดู แ ลให้ เ ป็ น ไปตามวั ต ถุ ป ระสงค์ แ ห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ นี้ โดยมี เ หตุ ผ ลเพื่ อ ให้ ก ารบั ง คั บ ใช้
พระราชบั ญญัตินี้ มีผ ลในการปฏิบั ติ อย่า งเป็นรูปธรรม (ในปัจจุบัน เป็น อานาจของรั ฐ มนตรี ว่ า การ
กระทรวงยุติธรรม เพราะย้ายออกจากกระทรวงมหาดไทยแล้ว ตามพระราชกฤษฎีกาโอนกิจการบริหาร
และอานาจหน้าที่ของส่ว นราชการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.
๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา 110) ประกอบกับ * พระราชกฤษฎีกาแก้ไขบทบัญญัติให้สอดคล้องกับ
การโอนอานาจหน้าที่ของส่วนราชการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.
๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๔๕ ....“มาตรา ๑๐5 ในพระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์ พุทธศักราช
๒๔๘๒ ให้แก้ไขคาว่า “รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย” เป็น “รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม”

มาตรา ๖ ข้าราชการกรมราชทัณฑ์ต้องปฏิบัติตามวินัยดังที่บัญญัติไว้ในกฎหมายว่า
ด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนและตามบทมาตรา ๗ , ๘ และมาตรา ๙ แห่งหมวดนี้
ความในมาตรานี้ กาหนดให้ข้าราชการกรมราชทัณฑ์ต้องปฏิบัติตามข้อกาหนดวินัย ซึ่ง
ได้บัญญัติไว้ในกฎหมาย ๒ ฉบับคือกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนและพระราชบัญญัติวินัย
ข้าราชการกรมราชทัณฑ์ พ.ศ.๒๔๘๒ มาตรา ๗ ,๘ ,๙
ผู้กระทาผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรงตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการ
พลเรือนจะต้องพิจารณาโทษทางวินัยตามพระราชบัญญัติดังกล่าวหรือลงโทษตามพระราชบัญญัติวินัย
ข้าราชการกรมราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๔๘๒ อย่างใดอย่างหนึ่งตามควรแก่กรณีและพฤติการณ์ก็ได้ (มาตรา
๑๐๒ ของพระราชบัญญัติวินัยข้าราชการพลเรือน พ.ศ.๒๕๕๑)
ตามควรแก่กรณีและพฤติการณ์ หมายถึง หากการกระทาผิดมีผลต่อเฉพาะกิจการ
ภายในเรือนจา/ทัณฑสถาน/พฤติการณ์กระทาผิด อาจปรับเข้าองค์ประกอบตามกฎหมายว่าด้วยวินัย
ข้าราชการ และระเบียบข้าราชการพลเรือนแล้ว จะลงโทษหรือลงทัณฑ์ตามกฎหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง
ตามควรแก่กรณีและพฤติ การณ์ก็ได้ แต่ถ้าพฤติการณ์กระทาผิด เป็นเรื่องเกี่ยวกับความประพฤติ/การ
ปฏิบั ติร าชการทั่ว ไปที่อาจเกี่ย วข้อง/กระทบต่อหน่ว ยงานอื่น/ประชาชน และเข้าองค์ประกอบตาม
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 203

กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนเพียงกฎหมายเดียวแล้ว ให้ลงโทษตามกฎหมายพลเรือน จะ
นากฎหมายว่าด้วยวินัยของราชทัณฑ์ ซึ่งเป็นกฎหมายเฉพาะมาลงโทษไม่ได้
ตัวอย่าง นาง ก.เจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ แสดงกิริยาไม่สุภาพโดยตบโต๊ะและส่งเสียงดัง มี
ปากเสียงกับผู้อื่นที่เป็นพยาบาล พฤติการณ์เป็นการกระทาผิดวินัยฐานกระทาการอันได้ชื่อว่าเป็นผู้
ประพฤติชั่วตามพระราชบัญญัติข้าราชการพลเรือน พ.ศ.๒๕๕๑ ซึ่ง อ.ก.พ.มหาดไทยเห็นว่า เป็นเรื่อง
เกี่ยวกับความประพฤติที่อาจเกี่ยวข้อง/กระทบต่อประชาชนและเข้าองค์ประกอบตามกฎหมายว่าด้วย
ระเบียบข้าราชการพลเรือนเพียงกฎหมายเดียว จึงให้ลงโทษภาคทัณฑ์ตามพระราชบัญญัติระเบียบ
ข้าราชการพลเรือน พ.ศ.๒๕๕๑
มาตรา ๗ เพื่อปฏิบัติหน้าที่เฉพาะของตนให้เป็นไปด้วยดี ข้าราชการกรมราชทัณฑ์ต้อง
ไม่ปิดบังความผิดของเจ้าพนักงานหรือผู้ต้องขัง ผู้ต้องกักกัน หรือเด็กในสถานฝึกและ
อบรม
ไม่เสพสุราหรือยาเสพติดในที่ทาการ ในเวลาปฏิบัติหน้าที่ราชการหรือในเวลาใกล้ชิด
ก่อนเข้าในที่ทาการ หรือก่อนปฏิบัติหน้าที่ราชการ
ไม่ใช้กิริยาวาจาหยาบคายแก่ผู้อยู่ในบังคับบัญชา และผู้อยู่ในความควบคุม
รักษาระเบียบการเคารพระหว่างผู้ใหญ่และผู้น้อยโดยเคร่งครัด
แต่งเครื่องแบบที่กาหนดไว้โดยเคร่งครัดและให้สะอาดเรียบร้อย
ต้องสอบสวนและลงโทษหรือรายงานต่อผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปโดยมิชักช้า เมื่อเจ้า
พนักงานหรือผู้ต้องขัง ผู้ต้องกักกัน หรือเด็กในสถานฝึกและอบรมกระทาหรือจะกระทาผิด แล้วแต่กรณี
และโดยทั่วไป ต้องปฏิบัติงานในหน้าที่ให้เคร่งครัดตามกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ และ
ระเบียบแบบแผนของเรือนจา ทัณฑนิคม นิคมฝึกอาชีพ ทัณฑสถานอื่น ที่ตั้งขึ้นตามกฎหมาย หรือสถาน
ฝึกและอบรม แล้วแต่กรณี
ความในมาตรานี้ เป็นข้อกาหนดวินัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานในหน้าที่ของข้าราชการ
กรมราชทัณฑ์ /กล่าวง่ายๆ ก็คือ วินัยต่อตนเองในการปฏิบัติงาน ซึ่งสามารถกล่าวได้ว่าเป็นแนวทางใน
การครองตน
วรรคแรกได้บั ญญัติว่า “....................ข้ า ราชการกรมราชทั ณ ฑ์ ต้ อง” จะเห็ นว่า
กฎหมายใช้คาว่า ต้อง ซึ่งมีลักษณะบังคับให้ปฏิบัติ ถ้าไม่ปฏิบัติตามก็จะถือเป็นการฝ่าฝืน อันมีการ
ลงโทษทางวินัยเป็นบทบังคับ สาหรับการบังคับให้ปฏิบัติอย่างไรบ้างนั้น ได้มีบัญญัติไว้ในวรรคสอง ถึง
วรรคแปด ดังนี้
วรรคสอง “ไม่ปิดบังความผิดของเจ้าพนักงานหรือผู้ต้องขัง ผู้ต้องกักกัน หรือเด็กใน
สถานฝึกและอบรม”
ในการปฏิบัติงานของข้าราชการกรมราชทัณฑ์ เมื่อพบว่าเจ้าพนักงาน ผู้ต้องกักขัง/ผู้
ต้องกักกันกระทาความผิดไม่ว่าจะเป็นความผิดทางอาญา/ผิดต่อข้อบังคับ และระเบียบแบบแผนของ

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


204 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

เรือนจาและทัณฑสถาน จะต้องดาเนินการตามอานาจหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง และรายงานให้ผู้บังคับบัญชา


ทราบตามลาดับขั้นตอน การปิดบังความผิดของบุคคลดังกล่าว ถือเป็นความผิดวินัยตามวรรคนี้
ตัวอย่าง นาย ก.เจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ ได้ตรวจพบผู้ต้องขังลักลอบนาอาหารขึ้นเรือน
นอนขณะปฏิบัติหน้าที่เวรยามรักษาการณ์ ซึ่งเป็นการผิดระเบียบของเรือนจา จึงได้ใช้ตีผู้ต้องขังดังกล่าว
โดยไม่มีอานาจกระทาการเช่นว่านั้น นาย ข.พัศดีเวร ได้ทราบเหตุการณ์ในภายหลัง โดยผู้ต้องขังได้มา
ร้ อ งเรี ย นด้ ว ยวาจา นาย ข.จึ ง ไกล่ เ กลี่ ย ให้ เ ลิ ก รากั นไป โดยมี เ จตนาดี ที่ ป กป้ อ งผู้ ใ ต้บั ง คั บ บัญชา
พฤติการณ์ของนาย ข.เป็นความผิดวินัยฐานปิดบังความผิ ดของเจ้าพนักงานและผู้ต้องขัง เพราะไม่
ดาเนินการตามอานาจหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง และไม่รายงานให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทราบถึงกรณีมีการกระทา
ความผิดเกิดขึ้น
วรรคสาม “ไม่เสพสุราหรือยาเสพติดในที่ทาการ ในเวลาปฏิบัติหน้าที่ราชการหรือใน
เวลาใกล้ชิดก่อนเข้าในที่ทาการ หรือก่อนปฏิบัติหน้าที่ราชการ”
คาว่า สุรา ตามความในวรรคนี้ หมายความรวมถึง เครื่องดองของเมาประเภทต่าง ๆ
เช่น เบียร์ ไวน์ กระแช่ อุ สาโท เป็นต้น ส่วนคาว่า ยาเสพติดนั้น มีความหมายตามกฎหมายว่าด้วยยา
เสพติดซึ่งได้กาหนดประเภทและชนิดไว้
ข้อห้ามเกี่ย วกับการเสพสุราหรือยาเสพติดนี้ มิได้ห้ามเฉพาะขณะอยู่ในที่ทาการ/ใน
เวลาปฏิบัติหน้าที่ราชการเท่านั้น แต่ยังห้ามรวมถึงเวลาใกล้ชิดก่อนเข้าที่ทาการและก่อนปฏิบัติหน้าที่
ราชการด้ ว ยกรณีอาจมีข้อสงสั ย เกี่ย วกั บเวลาใกล้ ชิดก่ อนเข้ าที่ ทาการ/ก่ อนปฏิบัติห น้ าที่ราชการ มี
กาหนดเวลาแน่นอนหรือไม่นั้น ในทางการพิจารณาเป็นเรื่องของการใช้ดุลยพินิจว่าการเสพสุรา/ยาเสพติด
นั้น มีผลกระทบต่อการปฏิบัติหน้าที่เวรยามหรือไม่ เพราะอาจมีปัญหาในทางปฏิบัติว่าในขณะปฏิบัติ
หน้าที่/ ขณะอยู่ในที่ทาการห้ามมิให้ดื่มสุรา/ยาเสพติด แต่ได้เสพมาก่อนเข้าทางานจนไม่สามารถปฏิบัติ
หน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจาเป็นต้องกาหนดวินัยในส่วนนี้ ไว้การใช้ดุลยพินิจในส่วนนี้จึงเป็นหน้าที่
ของคณะกรรมการสอบสวนและผู้บั งคับบัญชา ที่จะพิจารณาโดยคานึงถึงประสิทธิภาพในการปฏิบัติ
หน้าที่ราชการเป็นสาคัญ
ตัวอย่าง นาย ก.เจ้าพนักงานราชทัณฑ์ ได้รับคาสั่งให้ปฏิบัติหน้าที่เวรยามรักษาการณ์
กลางคืน ได้ออกไปพักเวรตั้งแต่เวลา ๑๕.๐๐ น. และไปเสพสุราที่บ้านพักจนถึงเวลา ๑๖.๓๐ น. ได้เข้า
มาปฏิบัติหน้าที่เวรยามรักษาการณ์โดยมีอาการมึนเมาสุรา ซึ่งบุคคลโดยทั่วไปมองเห็นได้ชัดว่าไม่น่าจะ
ปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ พฤติกรรมของนาย ก. เป็นความผิดฐานเสพสุราในเวลาใกล้ชิดก่อน
ปฏิบัติหน้าที่ราชการ (กรณียังไม่ถึงขั้นมึนเมาสุราเสียหายแก่ราชการ/เสื่อมเสียเกียรติศักดิ์ของตาแหน่ง
หน้าที่ราชการ ซึ่งเป็นความผิดวินัยร้ายแรง)
วรรคสี่ “ไม่ใช้กิริยาวาจาหยาบคายแก่ผู้อยู่ในบังคับบัญชา และผู้อยู่ในความควบคุม”
ความในวรรคนี้ ได้มีความหมายชัดเจนในบทบัญญัติแล้ว ย่อมเป็นที่เข้าใจกันดีว่า กิริยา
วาจาใดที่แสดงถึงความหยาบคาย ซึ่งข้าราชการกรมราชทัณฑ์ต้องไม่ประพฤติ ปฏิบัติต่อผู้อยู่ในบังคับ
บัญชา และผู้อยู่ในความควบคุมอันหมายถึงผู้ใต้บังคับบัญชาและผู้ต้องขัง
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 205

วรรคห้า “รักษาระเบียบการเคารพระหว่างผู้ใหญ่และผู้น้อยโดยเคร่งครัด”
การเคารพเป็นการแสดงออกซึ่งความสามัคคีซึ่งกันและกัน รวมถึงเพื่อการกระตุ้นเตือน
ให้มีความระมัดระวังและตื่น ตัวในการปฏิบัติหน้าที่อยู่เสมอ สาหรับคาว่าผู้ใหญ่และผู้น้อยในที่นี้หมายถึง
ผู้ที่มีอาวุโสสูงกว่าและผู้ที่มีอาวุโสต่ากว่า
วรรคหก “แต่งเครื่องแบบที่กาหนดไว้โดยเคร่งครัดและให้สะอาดเรียบร้อย”
การกาหนดให้มีเครื่องแบบสาหรับข้าราชการสวมใส่ นอกจากเป็นการแสดงให้ทราบว่า
บุคคลนั้นกาลังปฏิบัติหน้าที่ราชการแล้ว ยังเป็นเครื่องเตือนให้ผู้สวมใส่ตระหนักเกียรติภูมิและศักดิ์ศรี
ของความเป็นข้าราชการ อันจะต้องประพฤติปฏิบัติตนให้สมกับเกียรติศักดิ์ในตาแหน่งหน้ าที่ สาหรับ
ข้าราชการราชทัณฑ์ ได้มีกฎสานักนายกรัฐมนตรี ฉบับที่ ๘๓พ.ศ.๒๕๓๗ ออกตามความในพระราชบัญญัติ
เครื่องแบบข้าราชการฝ่ายพลเรือน พ.ศ.๒๔๗๘กาหนดเครื่องแบบพิเศษของข้าราชการกรมราชทัณฑ์ไว้
เนื่องจากข้าราชการกรมราชทัณฑ์เป็นผู้ซึ่งปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวข้องกับผู้ต้องขัง อันเป็นงานที่ มีลักษณะจาก
ข้าราชการทั่วไป โดยกรมราชทัณฑ์ได้ สั่งการให้ข้าราชการกรมราชทัณฑ์ โดยเฉพาะผู้ปฏิ บัติหน้าที่ใน
เรือนจา/ทัณฑสถาน แต่งเครื่องแบบพิเศษตามที่กาหนดไว้ในกฎสานักนายกรัฐมนตรี ดังนั้นข้าราชการ
กรมราชทัณฑ์ต้องแต่งเครื่องแบบให้ ถูกต้องตามที่กาหนดและนอกจากนี้ ยังต้องคานึงถึงความสะอาด
เรียบร้อยของเครื่องแบบอีกด้วย คาว่าสะอาดเรียบร้อยไม่ได้หมายความจะต้องเป็นของใหม่อาจจะเป็น
ของเก่าก็ได้ แต่ต้องดูแลรักษาความสะอาดเรียบร้อย มิฉะนั้นจะถือเป็นความผิดวินัยตามวรรคนี้

วรรคเจ็ด “ต้องสอบสวนและลงโทษหรือรายงานต่อผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปโดยมิ
ชักช้า เมื่อเจ้าพนักงานหรือผู้ต้องขัง ผู้ต้องกักกัน หรือเด็กในสถานฝึกและอบรมกระทาหรือจะกระทาผิด
แล้วแต่กรณี”
ความในวรรคนี้ คล้ายวรรคสอง แต่แตกต่างกันในเรื่องของการดาเนินการ กล่าวคือ
ตามวรรคสองเป็นกรณีที่ต้องไม่ปิดบัง เมื่อเจ้าพนักงาน/ผู้ต้ องกระทาความผิดโดยรายงานให้ผู้เกี่ยวข้อง
ทราบ แต่ความในวรรคเจ็ดนี้ นอกจากไม่ปิดบังแล้ว ยังต้องสอบสวนให้ได้ข้อเท็จจริง แล้วพิจารณาตาม
อานาจหน้าที่ของตน /หากเกินอานาจหน้าที่ก็ต้องรายงานผู้บังคับบัญชาทราบโดยเร็ว ซึ่งคาว่าสอบสวน
ในที่นี้หมายถึงการรวบรวมพร้อมหลักฐาน/การดาเนินการใดๆ เพื่อให้ทราบข้อเท็จจริง และพฤติการณ์
เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว นอกจากนี้หากเพียงทราบข่าวเจ้าพนักงานหรือผู้ต้องขังกระทาความผิด ก็จะต้อง
ดาเนินการสอบวนให้ได้ข้อเท็จจริง แล้วรายงานผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปทราบโดยเร็ว
ตัวอย่าง นาย ก. เจ้าพนักงานราชทัณฑ์ ได้ทราบข่าวจากผู้ต้องขังที่เสมียนกองงาน ว่า
นักโทษชายดากับนักโทษชายแดง นัดหมายจะชกต่อยกันบริเวณอ่างอาบน้า เมื่อนาย ก. ทราบเรื่อง กลับ
ไม่สนใจที่สอบสวนข้อเท็จจริง/รายงานผู้บังคับบัญชาให้ทราบ เพราะเห็นว่าความผิดยังไม่เกิดขึ้นโดยคิด
ว่าหากเกิดความผิดขึ้นเมื่อใดจึงจะลงโทษ พฤติการณ์ของ นาย ก.ถือเป็นความผิดวินัยตามมาตราในวรรค
นี้

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


206 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

วรรคแปด “และโดยทั่ ว ไป ต้ อ งปฏิ บั ติ ง านในหน้า ที่ ใ ห้ เ คร่ง ครัด ตามกฎหมาย กฎ


ข้อบั งคับ และระเบี ย บแบบแผนของเรื อนจ า ทัณฑนิคม นิคมฝึ กอาชีพ ทัณฑสถานอื่น ที่ ตั้ง ขึ้ น ตาม
กฎหมาย หรือสถานฝึกและอบรม แล้วแต่กรณี”
ในการปฏิ บัติงานของข้าราชการกรมราชทัณฑ์ จะต้องศึกษากฎหมาย กฎ ข้อบังคับ
ตลอดจนคาสั่งและระเบียบแบบแผนของเรือนจา/ทัณฑสถานให้เข้าใจถูกต้องและปฏิบัติตามโดยเคร่งครัด
การไม่ปฏิบัติโดยอ้างว่าไม่รู้กฎหมาย/ระเบียบต่างไม่เป็นข้อแก้ตัวที่จะให้พ้นจากความผิดทางวินัย
ตัวอย่าง นาย ก. เจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ ปฏิบัติหน้าที่รักษาการณ์ประตูแดนเรือนนอน
อนุญาตให้ นาย ข. เจ้าพนักงานราชทัณฑ์ นานักโทษดาออกไปนอกแดนเรือนนอน โดยไม่ได้รับอนุญาต
จากพัศดีเวร พฤติการณ์ดังกล่าวของนาย ก.และนาย ข.เป็นความผิดวินัยฐานไม่ปฏิบัติงานในหน้าที่ให้
เคร่งครัด ตามระเบียบแบบแผนของเรือนจา

มาตรา ๘ ในการเกี่ยวข้องกับผู้ ต้องขัง ผู้ ต้องกักกัน หรือเด็กในสถานฝึ กและอบรม


ข้าราชการกรมราชทัณฑ์ต้อง
ไม่รับทรัพย์สินจากญาติมิตรของผู้ต้องขัง ผู้ต้องกักกัน หรือเด็กในสถานฝึกและอบรมไว้
ให้บุคคลดังกล่าวแล้ว เว้นแต่ที่กาหนดไว้ในกฎข้อบังคับ
ไม่เป็นสื่อติดต่อโดยทางตรงหรือทางอ้อมระหว่างผู้ต้องขัง ผู้ต้องกักกัน หรือเด็กในสถาน
ฝึกและอบรม กับญาติมิตรของบุคคลดังกล่าวแล้ว เว้นแต่ที่กาหนดไว้ในกฎข้อบังคับ
ไม่รับหรือสัญญาว่าจะรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อย่างใด ๆ จากผู้ต้องขัง ผู้ต้องกักกัน
หรือเด็กในสถานฝึกและอบรม หรือญาติมิตรของบุคคลเหล่านี้
ไม่กล่าวเท็จ ยั่วเย้าหรือทะเลาะวิวาทกับผู้ต้องขัง ผู้ต้องกักกันและเด็กในสถานฝึกและ
อบรม
แสดงความเมตตากรุณาแก่ ผู้ต้องขัง ผู้ต้องกักกัน และเด็กในสถานฝึกและอบรม โดย
ชอบด้วยกฎข้อบังคับ
และโดยทั่วไป ต้องประพฤติตนให้เป็นตัวอย่างอันดีงามแก่ผู้ต้องขัง ผู้ต้องกักกัน หรือเด็ก
ในสถานฝึกและอบรม
ความในมาตรานี้ เป็นบทบัญญัติว่าด้วยการปฏิบัติของข้าราชการกรมราชทัณฑ์ในส่วน
ที่เกี่ยวข้องกับผู้ต้องขังหรืออีกนัยหนึ่งก็คือ การครองคน โดยกฎหมายบัญญัติให้ “ต้อง”ยึดถือตามข้อ
ห้ามและข้อปฏิบัติดังนี้
วรรคสอง “ไม่รับทรัพย์สินจากญาติมิตรของผู้ต้องขัง ผู้ต้องกักกัน หรือเด็กในสถานฝึก
และอบรม ไว้ให้บุคคลดังกล่าวแล้ว เว้นแต่ที่กาหนดไว้ในกฎข้อบังคับ”
องค์ป ระกอบความผิ ดตามวรรคนี้ เป็นเรื่องของการรั บทรั พ ย์สิ นจากญาติมิ ต รของ
ผู้ต้องขังไว้ให้แก่ผู้ต้องขังโดยมีสาระสาคัญอยู่ที่การรับไว้ แม้จะยังมิได้ส่งมอบให้แก่ผู้ต้องขังก็ถือว่าเป็น
ความผิดสมบูรณ์แล้ว แต่ทั้งนี้เว้นแต่เป็นการรับฝากทรัพย์สินตามที่ระเบียบของทางราชการกาหนดไว้
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 207

คาว่า ทรัพย์สินในที่นี้ หมายความรวมถึงเงินสด สิ่งของเครื่องใช้ส่วนตัว เสื้อผ้า อาหาร


และอื่นๆ ที่มีลักษณะเป็นทรัพย์สินตามความหมายทั่วไป
วรรคสาม “ไม่เป็นสื่อติดต่อโดยทางตรงหรือทางอ้อมระหว่างผู้ต้องขัง ผู้ต้องกักกัน หรือ
เด็กในสถานฝึกและอบรม กับญาติมิตรของบุคคลดังกล่าวแล้ว เว้นแต่ที่กาหนดไว้ในกฎข้อบังคับ”
ความวรรคนี้หมายถึง การเป็นสื่อติดต่อโดยตรง เช่นการรับข้อความ/นาจดหมายจาก
ผู้ต้องขังไปแจ้งให้กับญาติ มิตรของผู้ต้องขังทราบด้วยตนเอง/การยินยอมให้ผู้ต้องขังพบปะกับญาติมิตร
โดยตรงเป็ น ต้น ส่ ว นการเป็ น สื่ อติดต่อโดยอ้อม เช่น การนาข้อความ/จดหมายจากผู้ ต้องขัง ฝากให้
บุคคลภายนอกนาไปให้ญาติมิตรของผู้ต้องขัง เป็นต้น
ในยุคปัจจุบันมีระบบการสื่อสารที่ทันสมัย เช่นโทรศัพท์เคลื่อนที่ วิทยุติดตามตัว ฯลฯ
การที่ข้าราชการกรมราชทัณฑ์จัดหา /ยินยอมให้ผู้ต้องขังใช้เครื่องมือสื่อสารติดต่อกับญาติมิตร ก็ถือเป็น
กรณีเป็นสื่อติดต่อผู้ต้องขังเช่นกัน โดยเฉพาะกรณีโทรศัพท์เคลื่อนที่ กรมราชทัณฑ์ได้มีหนังสือสั่งการห้าม
นาเข้าภายในเรือนจา/ทัณฑสถานเป็นอันขาด และเป็นสิ่งของต้องห้ามตาม พ.ร.บ.ราชทัณฑ์ พ.ศ.2560
(กรณีจัดหา/ยินยอมให้ผู้ต้องขังใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยได้รับผลประโยชน์ตอบแทนถือเป็นการกระทาผิด
วินัยอย่างร้ายแรง)
การห้ามเป็นสื่อติดต่ อระหว่างผู้ต้องขังและญาติมิตร ก็เพื่อเป็นการป้องกันข้อครหา
เกี่ยวกับการเรียกร้องผลประโยชน์จากญาติมิตรผู้ต้องขัง อีกทั้งเพื่ อป้องกันการสนิทสนมกับญาติมิตรจน
เกินกว่าเหตุ อันจะมีผลกระทบต่ อการปกครองผู้ ต้องขัง ดังนั้น การยินยอมให้ มีการติดต่อกันระหว่ าง
ผู้ต้องขังกับญาติผู้ต้องขังจะต้องเป็นไปตามระเบียบแบบแผนที่ทางราชการกาหนดไว้ มิฉะนั้นถือเป็นกรณี
กระทาผิดวินัยตามที่กาหนดไว้ในมาตรานี้
วรรคสี่ “ไม่รับหรือสัญญาว่าจะรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อย่างใด ๆ จากผู้ต้องขัง ผู้
ต้องกักกัน หรือเด็กในสถานฝึกและอบรม หรือญาติมิตรของบุคคลเหล่านี้”
กรณี ค วามผิ ด ตามวรรคนี้ เป็ น การรั บ /สั ญญาว่า จะรั บทรั พ ย์ สิ น ประโยชน์ ใ ดๆ จาก
ผู้ต้องขัง/ญาติมิตร ความผิดตามวรรคนี้ไม่จาเป็นจะต้องการรับไว้แล้ว เป็นเพียงตกลงว่ าจะรับก็เป็น
ความผิดสาเร็จแล้ว และสิ่งที่จะรับ/ตกลงจะยอมรับไม่จากัดเพี ยงทรัพย์สินที่เป็นเงิน/สิ่งของ แต่หมาย
รวมถึงประโยชน์อย่างอื่น เช่นการให้ทาความสะอาด/การบริการในด้านต่าง ๆ
ตัวอย่าง นาย ก. เจ้าพนักงานราชทัณฑ์ ปฏิบั ติหน้าที่ควบคุมผู้ต้องขังขณะในโรงงานฝึก
อาชีพได้รับการติดต่อจากบิดาของผู้ต้องขัง ซึ่งมีตาแหน่งหน้าที่ราชการเกี่ยวกับการขออนุญาตมีและใช้
อาวุธปืน โดยขอให้ดูแลผู้ต้องขังซึ่งเป็นบุตรชายเป็นกรณีพิเศษ แล้วจะช่วยเหลืออานวยความสะดวกใน
การที่นาย ก.จะขออนุญาตเกี่ยวกับอาวุธปืน เมื่อนาย ก. ตกลงจะดูแลผู้ต้องขังนั้นให้ เพื่อแลกเปลี่ยนกับ
ประโยชน์ดังกล่าว พฤติการณ์เป็นความผิดสาเร็จ ถึงแม้ นาย ก.จะยังมิได้รับประโยชน์จากบิดาผู้ต้องขังก็
ตาม

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


208 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

วรรคห้า “ไม่กล่าวเท็จ ยั่วเย้า หรือทะเลาะวิวาทกับผู้ต้องขัง ผู้ต้องกักกัน และเด็กใน


สถานฝึกและอบรม”
ความในวรรคนี้ มีความหมายสมบูรณ์อยู่ในตัวอยู่แล้วจึงไม่จาเป็นต้องอธิบายเพิ่มเติมอีก
ส่ ว นวัตถุป ระสงค์ที่ต้องการกระทาเช่นว่าไว้ ก็เพื่อมิให้ เสี ยการปกครอง เพราะหากข้าราชการกรม
ราชทัณฑ์ทาตัวเป็นเพื่อนเล่น/เป็นศัตรูกับผู้ต้องขังแล้ว การปกครองย่อมไม่มีประสิทธิภาพ อีกทั้งอาจเกิด
ความเสียหายในการควบคุมได้ เช่น กล่าวยั่วเย้าผู้ต้องขังว่าภรรยาไปมีชู้/เห็นลูกสาวผู้ต้องขังมาเยี่ยมแล้ว
กล่าวยั่วเย้าว่าลูกสาวสวยดี จะขอเป็นเมียน้อยได้ไหม กรณีเช่นนี้อาจทาให้ผู้ต้องขังมีความรู้สึกที่ไม่ดีต่ อ
เจ้ า หน้ า ที่ และอาจก่ อ เหตุ ร้ า ย/พยายามแหกหั ก หลบหนี ไ ด้ กฎหมายได้ บั ญ ญั ติ ไ ว้ เ ป็ น ข้ อ ห้ า มของ
พฤติการณ์เช่นว่านั้น
วรรคหก “แสดงความเมตตากรุณาแก่ผู้ต้องขัง ผู้ต้องกักกัน และเด็กในสถานฝึกและ
อบรม โดยชอบด้วยกฎข้อบังคับ”
การแสดงความเมตตากรุ ณ าแก่ ผู้ ต้อ งขั ง ตามความในวรรคนี้ หากจะกล่ า วให้ เป็น
ปัจจุบันก็ได้แก่การปฏิบัติต่อผู้ต้องขังตามรัฐธรรมนูญและหลักสิทธิมนุษยชน รวมถึงการดูแลผู้ต้องขังใน
ลักษณะที่มนุษย์พึงมีต่อกัน/ในฐานะผู้ปกครองที่ดีมีต่อผู้ใต้ปกครอง แต่ทั้งนี้จะต้องพึงระมัดระวังให้เป็นไป
ตามกฎระเบี ย บโดยเคร่งครัด อย่ าให้ เป็นกรณีกระทาเพื่อผลประโยชน์อันมิควรได้ เพราะอาจเป็น
ความผิดทางวินัยในส่วนอื่นได้
วรรคเจ็ด “และโดยทั่วไป ต้องประพฤติตนให้เป็นตัวอย่างอันดีงามแก่ผู้ต้องขัง ผู้ต้อง
กักกัน หรือเด็กในสถานฝึกและอบรม”
ในการควบคุมผู้ต้องขัง ข้าราชการกรมราชทัณฑ์ ต้องประพฤติตนให้เป็นตัวอย่า งอันดี
งาม เพื่อผู้ต้องขังจะได้เห็นและยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติตน การประพฤติตนดีงามในที่นี้ เช่น การ
ปฏิบัติตนอย่างมีระเบียบวินัย การแต่งกายที่ถูกต้องและสะอาดเรียบร้อย รวมถึงการประพฤติปฏิบัติ
ตามจรรยาบรรณของข้าราชการกรมราชทัณฑ์ที่กาหนดไว้ หากมีกรณีที่บุคคลทั่วไปมองเห็นได้ว่ามิได้เป็น
การประพฤติตนให้เป็นตัวอย่างอันดีงาม และไม่เข้าองค์ประกอบความผิดเฉพาะตามวรรคอื่น ๆ ก็ถือเป็น
ความผิดวินัยตามวรรคนี้
มาตรา ๙ ข้าราชการกรมราชทัณฑ์มีหน้าที่ตักเตือนแนะนา และสั่งสอนผู้อยู่ในบังคับ
บัญชา และผู้อยู่ในความควบคุมให้มีความประพฤติดี และปฏิบัติโดยเคร่งครัดตามกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ
และระเบียบแบบแผนของเรือนจา ทัณฑนิคม นิคมฝึกอาชีพ ทัณฑสถานอื่นที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายหรือ
สถานฝึกและอบรม
หน้าที่ของข้าราชการกรมราชทัณฑ์ที่กาหนดไว้ในวรรคนี้ เป็นหน้าที่เกี่ยวกับการปฏิบัติ
โดยทั่ ว ไป/กล่ า วโดยรวมคื อ การครองงานนั้ น เอง ในบางครั้ ง การปฏิ บั ติ ง าน/การประพฤติ ต นของ
ผู้ใต้บังคับบัญชา/ผู้ต้องขัง ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย/ระเบียบแบบแผนของทางราชการ ถือเป็นหน้าที่ของ
ข้าราชการกรมราชทัณฑ์ที่จะต้องตักเตือนแนะนาและสั่งสอนให้ปฏิบัติให้ถูกต้องตามระเบียบแบบแผน
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 209

ของทางราชการ นอกจากบุคคลนั้นจะถูกพิจารณาว่ากระทาความผิดและถูกลงโทษในส่วนของตนแล้ว
ผู้บังคับบัญชา/ผู้ควบคุม อาจถูกพิจารณาโทษฐานไม่ตักเตือนแนะนาและสั่งสอนตามความในวรรคนี้
สรุปได้ว่า ที่ว่ามาทั้งหมดเป็นเรื่องของ การครองตน ครองคน และครองงาน ซึ่ง
ข้าราชการกรมราชทัณฑ์จะต้องยึดถือและปฏิบัติโดยเคร่งครัด หากฝ่าฝืนอาจได้รับโทษตามที่บัญญัติไว้
ในมาตรา ๑๐ คือ ขัง เพิ่มเวรยาม กักบริเวณและหากเป็นกรณีเข้าองค์ประกอบกฎหมายอื่น ก็อาจต้อง
รับโทษตามกฎหมายนั้น แล้วแต่พฤติการณ์แห่งกรณีความผิด
มาตรา ๑๐ ผู้ใดประพฤติผิดวินัยตามพระราชบัญญัตินี้อาจต้องโทษตามกฎหมายว่า
ด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนหรืออาจต้องโทษ
(๑) ขัง
(๒) เพิ่มเวรยาม
(๓) กักบริเวณ
โทษขัง คือ ขังในที่ควบคุมที่สมควรแต่เฉพาะคนเดียวหรือรวมกันหลายคน
โทษเพิ่มเวรยาม คือ ให้อยู่เวรยามรักษาการณ์นอกจากหน้าที่ประจาเพิ่มขึ้นอีก
โทษกักบริเวณ คือ กักตัวไว้ในบริเวณใดบริเวณหนึ่งที่สมควร

ตามกฎหมายนี้ นอกจากข้าราชการกรมราชทัณฑ์จะต้องปฏิบัติตามวินัยดังที่บัญญัติไว้
ในกฎหมายระเบียบข้าราชการพลเรือน และบทบัญญัติมาตรา ๗,๘ และ ๙ นี้แล้ว หากมีการประพฤติผิด
วินัยตามที่บัญญัติไว้อาจถูกลงโทษตามพระราชบัญญัติข้าราชการพลเรือน พ.ศ.๒๕๕๑ /อาจถูกลงโทษ ขัง
เพิ่มเวรยาม กักบริเวณ อย่างใดอย่างหนึ่ง
สาหรับการจะใช้ดุลยพินิจว่า สมควรลงโทษตามกฎหมายพลเรือน/กฎหมายราชทัณฑ์
นั้น มีแนวทางตามมติ อ.ก.พ.กระทรวงฯ เกี่ยวกับการใช้ดุลยพินิจให้เหมาะสมแก่กรณีความผิดดังนี้
กรณีพฤติการณ์ในการกระทาความผิดมีลักษณะเป็นเรื่องเกี่ยวกับกิจการภายในของ
เรือนจา/ทัณฑสถาน เข้าองค์ประกอบวินัยราชทัณฑ์ หรือพฤติการณ์กระทาผิดอาจปรับเข้าองค์ประกอบ
ทั้งกฎหมายวินัยราชทัณฑ์และกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนแล้ว จะลงโทษหรือลงทัณฑ์
ตามกฎหมายอย่างใดอย่างหนึ่งตามแก่กรณีและพฤติการณ์ก็ได้ (มาตรา ๑๐๒ พระราชบัญญัติข้าราชการ
พลเรือน พ.ศ.๒๕๕๑)
แต่หากพฤติการณ์กระทาความผิดเป็นเรื่องเกี่ยวกับความประพฤติ/การปฏิบัติราชการ
ทั่วไป ที่อาจเกี่ยวข้องหรือกระทบต่อหน่วยงานอื่น หรือประชาชน เข้าองค์ประกอบตามกฎหมายว่าด้วย
ระเบียบข้าราชการพลเรือนเพียงกฎหมายเดียวแล้ ว ก็ให้ลงโทษตามกฎหมายพลเรือน จะนากฎหมายว่า
ด้วยวินัยราชทัณฑ์ ซึ่งเป็นกฎหมายเฉพาะมาลงโทษหาได้ไม่
ตัวอย่างโทษขัง ได้แก่ เมาสุราจะมาปฏิบัติหน้าที่เวรรักษาการณ์กลางคืน แต่พัศดีเวร
เห็นว่าไม่อยู่ในสภาพที่จะปฏิบัติหน้าที่ได้ จึงจัดผู้อื่นเข้าเวรแทน ถูกลงโทษขัง ๕ วัน

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


210 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

โทษเพิ่มเวรยาม ได้แก่ ไม่แต่งเครื่องแบบขณะปฏิบัติหน้าที่เวรยามรักษาการณ์ผลัดที่


๑ ถูกลงโทษเพิ่มเวรยาม มีกาหนด ๓ วัน
โทษกักบริเวณ ได้แก่ผู้ต้องขังป่วยท้องเสีย แต่ไม่สามารถเข้าห้องน้าได้ เนื่องจากถูก
ล็อคกุญแจตรวนไว้กับเตียงพยาบาล และหาเจ้าหน้ าที่ไม่พบ จึงถ่ายทุกข์บนเตียง เจ้าหน้าที่ผู้ควบคุมถูก
ลงโทษกักบริเวณคนละ ๕ วัน เป็นต้น
มาตรา ๑๑ การลงโทษตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนสถานไล่ออก
หรือปลดนั้น ถ้าผู้กระทาผิดเป็นข้าราชการชั้นจัตวาหรือเทียบเท่าชั้นจัตวา ให้อธิบดีกรมราชทัณฑ์มีอานาจ
ไล่ออกหรือปลดได้ ส่วนการลงโทษสถานอื่น ๆ ให้รายงานไปยังผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปตามลาดับจนถึง
อธิบดีกรมราชทัณฑ์ คาสั่งของอธิบดีกรมราชทัณฑ์ให้เป็นที่สุด
บทบัญญัติมาตรานี้ แยกเป็น ๒ กรณี
(๑) กรณีการลงโทษข้าราชการกรมราชทัณฑ์ซึ่งกระทาผิดตามพระราชบัญญัตินี้ แต่ถูก
พิจารณาโทษตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน สถานไล่ออกหรือปลอดออก โดยปกติแล้ว
อานาจในการปลดออก/ไล่ อ อกเป็ น อานาจของผู้ บัง คับบัญชา ตามมาตรา ๙๗ แห่ งพระราชบัญ ญั ติ
ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.๒๕๕๑ แต่พระราชบัญญัตินี้ให้อานาจอธิบดีกรมราชทัณฑ์ไว้ในกรณี
ผู้กระทาผิดเป็นข้าราชการชั้นจัตวา/เทียบเท่า อธิบดีกรมราชทัณฑ์ มีอานาจไล่ออก/ปลดออก
(๒) กรณีล งโทษสถานอื่นๆ ซึ่งบัญญัติให้ คาสั่ งอธิบดีกรมราชทัณฑ์ให้ เป็นที่สุ ด ตาม
เจตนารมณ์ของบทบั ญญัตินี้ แล้ว หมายถึง โทษขัง เพิ่มเวรยาม กักบริ เ วณ ซึ่งเป็นบทลงโทษของ
กฎหมายพิ เ ศษที่ มี ลั ก ษณะเฉพาะเท่ า นั้ น เพราะหากเป็ น การลงโทษตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยระเบี ย บ
ข้าราชการพลเรือนแล้ว จาต้องใช้บทบัญญัติว่าด้วยรักษาวินัยตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพล
เรือนมาใช้บังคับโดยอนุโลม ทั้งนี้ ตามนัยมาตรา ๑๒ แห่งพระราชบัญญัติข้าราชการกรมราชทัณฑ์ ๒๔๘๒
การที่กฎหมายบัญญัติให้คาสั่งอธิบดีกรมราชทัณฑ์ให้เป็นที่สุดมีความหมายว่า คาสั่ง
ลงโทษดั ง กล่ า วสมบู ร ณ์ โ ดยชอบด้ ว ยกฎหมาย และผู้ ถู ก ลงโทษไม่ มี สิ ท ธิ์ ที่ จ ะ อุ ท ธรณ์ ค าสั่ ง ต่ อ
ผู้ บั งคับ บั ญชาเหนื อขึ้ น ไปอี ก โดยเจตนารมณ์ของกฎหมายมุ่ งเน้ นให้ การลงโทษตามกฎหมายวิ นั ย
ราชทัณฑ์มีความเด็ดขาด และเป็นที่ยุติภายในกรมราชทัณฑ์ อีกทั้งลักษณะโทษตามกฎหมายนี้มิได้
ร้ายแรงถึงขั้นที่จะต้องมีการพิจารณากลั่นกรองในกระบวนการบริหารงานบุคคลระดับสูง
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 211

มาตรา ๑๒ ผู้บังคับบัญชาจะลงโทษขัง เพิ่มเวรยามหรือกักบริเวณได้ครั้งหนึ่งไม่เกิน


กาหนดในตารางต่อไปนี้
ผู้บังคับบัญชา ผู้กระทาผิดวินัย ขัง เพิ่มเวรยาม กักบริเวณ
พัศดี - ๒๐ วัน ๓๐ วัน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
ผู้คุม ๒๐ วัน ๓๐ วัน ๔๕ วัน
พัศดี - ๑๕ วัน ๒๐ วัน
ปลัดกระทรวง, อธิบดี
ผู้คุม ๑๕ วัน ๒๐ วัน ๓๐ วัน
พัศดี - ๑๐ วัน ๑๕ วัน
ผู้บัญชาการเรือนจา
ผู้คุม ๑๐ วัน ๑๕ วัน ๒๐ วัน
พัศดี - ๗ วัน ๑๐ วัน
สารวัตรเรือนจา
ผู้คุม ๗ วัน ๑๐ วัน ๑๕ วัน
พัศดี หรือหัวหน้าส่วนราชการที่ต่ากว่าพัศดี ผู้คุม ๕ วัน ๗ วัน ๑๐ วัน

ผู้ บั งคับ บั ญชาและผู้ กระทาผิ ดวินัยตามตารางนี้ หมายความตลอดถึงข้าราชการใน


ตาแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่น ซึ่งมีอานาจหน้าที่เทียบกันได้ด้วย
มาตรานี้เป็นการกาหนดอานาจในการลงโทษของผู้บังคับบัญชาในระดับต่าง ๆ ซึ่งมี
ข้อสังเกตดังนี้
(๑) ในปัจจุบันกรมราชทัณฑ์กาหนดให้ ข้าราชการพลเรือนสามัญ ดารงตาแหน่งระดับ
ชานาญการพิเศษ, ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ในเรือนจา/ทัณฑสถาน ทาหน้าที่พัศดี (ยกเว้นในกรณีที่ตาแหน่งระดับ
ชานาญการพิเศษ มีไม่เพียงพอ ผู้บัญชาการเรือนจา/ทัณฑสถาน มีอานาจแต่งตั้งเป็นกรณีพิเศษ ให้ ระดับ
ชานาญการ ทาหน้าที่พัศดีได้) และคาว่า ผู้คุม หมายถึง ข้าราชการระดับประเภททั่วไป ระดับอาวุโส
ระดับชานาญงาน ระดับปฏิบัติงาน และประเภทวิชาการ ระดับชานาญการ ระดับปฏิบัติการ ที่ปฏิบัติ
หน้ า ที่ ผู้ คุ ม ตามค าสั่ ง กรมราชทั ณ ฑ์ ที่ ๒๙๗/๒๕๕๓ เรื่ อ ง ก าหนดให้ ข้ า ราชการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต าม
พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.๒๔๗๙ ลงวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๓(ไม่รวมผู้อยู่ในตาแหน่งดังกล่าวที่
ปฏิบัติหน้าที่พัศดี)
(๒) โทษผิ ดวินั ย ของข้ าราชการกรมราชทัณฑ์ ระดับพัศดี ตามพระราชบัญญัติวินัย
ข้าราชการราชทัณฑ์ พ.ศ.๒๔๘๒ มีเพียงโทษเพิ่มเวรยามและกักบริเวณ ส่วนโทษขัง กฎหมายมิได้กาหนด
อานาจการลงโทษไว้
มาตรา ๑๓ ในการรักษาวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้นา
บทบัญญัติว่าด้วยการรักษาวินัยตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนมาใช้บังคับโดยอนุโลม
การรักษาวินัย หรือการดาเนินการทางวินัยตามพระราชบัญญั ตินี้ หากไม่มีการบัญญัติ
ไว้เป็นการเฉพาะก็ให้นาบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.๒๕๕๑ มาใช้
บังคับแทนโดยอนุโลม เช่นมาตรา ๘๘ บัญญัติว่า “ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทาผิดวินัย จะต้อง
ได้รับโทษทางวินัย เว้นแต่มีเหตุอันควรงดโทษตามที่บัญญัติไว้ในหมวด ๗ การดาเนินการทางวินัย..........”

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


212 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

*แนวทางการลงโทษข้าราชการกรมราชทัณฑ์ กรณีกระทาความผิดวินัยไม่ร้ายแรง
ตามพระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์ พุทธศักราช ๒๔๘๒
--------------------
ตารางที่ ๑ แสดงลักษณะความผิดเกี่ยวกับการประพฤติตนไม่เหมาะสม
ปรับความผิด ระดับการลงโทษไม่เกิน หมายเหตุ
ลักษณะการกระทาความผิด พ.ร.บ.๒๔๘๒ กักบริเวณ เพิ่มเวร
ขัง
ยาม
๑.ใช้กิริยาวาจาไม่สุภาพแก่ผู้ที่อยู่ในบังคับบัญชา ม.๗ว.๔ ๑๕ ๑๐ ๗
๒.ใช้กิริยาวาจาไม่สุภาพต่อผู้บังคับบัญชา ม.๗ว.๕ ๑๕ ๑๐ ๗
๓.ใช้กิริยาวาจาไม่สุภาพต่อเจ้าพนักงานด้วยกัน ม.๗ว.๕ ๑๕ ๑๐ ๗
๔.ใช้กิริยาวาจาหยาบคายแก่ผู้ที่อยู่ในความควบคุม ม.๗ว.๔ ๑๕ ๑๐ ๗
๕.ขณะปฏิบตั ิหน้าที่หรืออยู่ในที่ทาการส่งเสียงเอะอะ ม.๗ว.ท้าย ๑๕ ๑๐ ๗
โวยวายหรือแสดงกิรยิ าจาจาไม่สุภาพ
๖.ยั่วเย้าผู้ต้องขัง ม.๘ว.๕ ๗ ๕ ๓
๗.ทะเลาะวิวาทกับผู้ต้องขัง ม.๘ว.๕ ๑๕ ๑๐ ๗
๘.ลงโทษผู้ต้องขังเกินกว่าเหตุหรือโดยไม่มีเหตุอันควร ม.๘ว.๖ ๑๕ ๑๐ ๗
๙.กดขี่ข่มเหง ขาดความเมตตาผูต้ อ้ งขัง ม.๘ว.๖ ๑๕ ๑๐ ๗
๑๐.แต่งเครื่องแบบไม่เรียบร้อยหรือไม่สะอาด ม.๗ว.๖ ๗ ๕ ๓

ตารางที่ ๒แสดงลักษณะความผิดเกี่ยวกับการปิดบังความผิดของเจ้าพนักงานและผูต้ ้องขัง


ปรับความผิด ระดับการลงโทษไม่เกิน หมายเหตุ
ลักษณะการกระทาความผิด พ.ร.บ.๒๔๘๒ กักบริเวณ เพิ่มเวร
ขัง
ยาม
๑.ไม่รายงานต่อผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปเมื่อเจ้า ม.๗ว.๗ ๑๐ ๗ ๕
พนักงานหรือผู้ต้องขังกระทาผิดหรือจะกระทาผิด
๒.ไม่รายงานต่อผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปเมื่อผูต้ ้องขัง ม.๗ว.๗ ๑๐ ๗ ๕
กระทาผิดหรือจะกระทาผิด
๓.ปิดบังความผิดของเจ้าพนักงานในเรื่องที่ยังไม่ ม.๗ว.๒ ๑๐ ๗ ๕
ก่อให้เกิดการเสียหาย
๔.ปิดบังความผิดของผูต้ ้องขังในเรื่องที่ยังไม่ก่อให้เกิด ม.๗ว.๒ ๑๐ ๗ ๕
การเสียหาย
๕.ไม่สอบสวนและลงโทษเมื่อเจ้าพนักงานกระทาหรือจะ ม.๗ว.๗ ๗ ๕ -
กระทาผิด
๖.ไม่สอบสวนและลงโทษเมื่อผู้ต้องขังกระทาหรือจะ ม.๗ว.๗ ๑๐ ๗ ๕
กระทาผิด
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 213

ตารางที่ ๓ แสดงลักษณะความผิดกี่ยวกับการเสพสุรา
ปรับความผิด ระดับการลงโทษไม่เกิน หมายเหตุ
ลักษณะการกระทาความผิด พ.ร.บ.๒๔๘๒ กักบริเวณ เพิ่มเวร
ขัง
ยาม
๑.เสพสุราในที่ทาการ ม.๗ว.๓ ๑๕ ๑๐ ๗ ต้ อ งเป็ น กรณี ที่ ไ ม่ ต้ อ งตามนัย
๒.เสพสุราในเวลาปฏิบัติหน้าทีร่ าชการ ม.๗ว.๓ ๒๐ ๑๕ ๑๐ ห นั ง สื อ ก ร ม เ ล ข า ธิ ก า ร
คณะรั ฐ มนตรี ที่ นว ๒๐๘/
๓.เสพสุราในเวลาใกล้ชดิ ก่อนเข้าในที่ทาการ ม.๗ว.๗ ๑๕ ๑๐ ๗
๒๔๙๖ ลว.๓ก.ย.๒๔๙๖ ซึ่งแจ้ง
๔.เสพสุราก่อนปฏิบัติหน้าที่ราชการ ม.๗ว.๓ ๑๕ ๑๐ ๗ มติคณะรัฐมนตรีว่าข้าราชการที่
เสพสุรามึนเมา กรณีดังกล่าวนี้
อาจถูกลงโทษสถานหนักถึ ง ให้
ลาออก ปลดออกหรื อ ไล่ อ อก
จากราชการกล่าวคือกรณียังไม่
ถึ ง ขึ้ น มึ น เมาสุ ร าเสี ย ราชการ
หรื อ เสื่ อ มเสี ย เกี ย รติ ศั ก ดิ์ ข อง
ตาแหน่งหน้าที่ราชการ
ตารางที่ ๔ แสดงลักษณะความผิดเกี่ยวกับการไม่อุทิศเวลาแก่ราชการ
ปรับความผิด ระดับการลงโทษไม่เกิน หมายเหตุ
ลักษณะการกระทาความผิด พ.ร.บ.๒๔๘๒ กักบริเวณ เพิ่มเวร
ขัง
ยาม
๑.มาทางานสายหรือกลับก่อนเวลา ม.๗ว.ท้าย ๑๐ ๗ ๕
๒.มารับหน้าที่เวรยามช้ากว่ากาหนด ม.๗ว.ท้าย ๑๐ ๗ ๕
๓.ละทิ้งหรือทอดทิ้งหน้าที่ ม.๗ว.ท้าย ๑๕ ๑๐ ๗
๔.การออกเวรโดยไม่รอส่งมอบหน้าที่เสียก่อน ม.๗ว.ท้าย ๑๕ ๑๐ ๗
๕.ไม่ยอมลุกขึ้นรับมอบหน้าทีเ่ วรยาม ม.๗ว.ท้าย ๑๕ ๑๐ ๗
๖.หลับยามหรือหลบไปนอนระหว่างปฏิบัติหน้าที่ ม.๗ว.ท้าย ๑๐ ๗ ๕
๗.มารับเวรป้อมรักษาการณ์แต่ไม่ยอมขึ้นป้อมหรือลง ม.๗ว.ท้าย ๑๕ ๑๐ ๗
ก่อนกาหนด
๘.อยู่เวรแทนผู้อื่นหรือให้ผู้อื่นแทนเวร โดยไม่ได้รับ ม.๗ว.ท้าย ๑๐ ๗ ๕
อนุญาตจากผู้บังคับบัญชาเสียก่อน
๙.ขาดเวรยามโดยไม่มีเหตุผลอันควร ม.๗ว.ท้าย ๑๕ ๑๐ ๗
๑๐.ขาดราชการโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร ม.๗ว.ท้าย ๑๕ ๑๐ ๗ ๑๐-๑๑ ไม่อยู่
๑๑.ลาป่วยเป็นเท็จ ม.๗ว.ท้าย ๑๕ ๑๐ ๗ ในข่ายได้เลื่อน
ขั้นเงินเดือน
๑๒.ยื่นใบลาแล้วไม่รอคาสั่งอนุญาต ม.๗ว.ท้าย ๗ ๕ ๓
๑๓.มีหน้าที่ต้องปฏิบตั ิร่วมกัน กลับแบ่งเวลากัน ม.๗ว.ท้าย ๑๕ ๑๐ ๗
รับผิดชอบโดยพลการ เช่น ควบคุมผู้ต้องขังป่วยที่ รพ.
ตลอดวัน กลับแบ่งเวลากันคุมคนละครึ่งวัน หรือร่วมกัน

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


214 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

รักษาการณ์ประตูเรือนจาเต็มวัน กลับแบ่งเวลากันคนละ
ครึ่งวันเป็นต้น
ตารางที่ ๕ แสดงลักษณะความผิดเกี่ยวกับอาวุธปืน
ปรับความผิด ระดับการลงโทษไม่เกิน หมายเหตุ
ลักษณะการกระทาความผิด พ.ร.บ.๒๔๘๒ กักบริเวณ เพิ่มเวร
ขัง
ยาม
๑. ทาปืนลั่นขณะปฏิบัติหน้าที่ ทากระสุนปืนหายโดยไม่ ม.๗ว.ท้าย ๑๐ ๗ ๕ อาจต้องรับผิด
เจตนา ทางแพ่ง
๒. ทาอาวุธปืนชารุดโดยไม่เจตนา ม.๗ว.ท้าย ๑๕ ๑๐ ๗
๓. ขณะปฏิบัตหิ น้าที่ทิ้งอาวุธปืนและหรือกระสุนปืนไว้ ม.๗ว.ท้าย ๑๕ ๑๐ ๗
ห่างตัว
ตารางที่ ๖ แสดงลักษณะความผิดเกี่ยวกับการติดต่อญาติมิตรของผู้ต้องขัง
ปรับความผิด ระดับการลงโทษไม่เกิน หมายเหตุ
ลักษณะการกระทาความผิด พ.ร.บ.๒๔๘๒ กักบริเวณ เพิ่มเวร
ขัง
ยาม
๑. รับทรัพย์สินจากญาติมติ รของผู้ต้องขังไว้มอบให้ ม.๘ว.สอง ๑๕ ๑๐ ๗
ผู้ต้องขังโดยตนเองไม่มหี น้าที่
๒. นาจดหมายของผู้ต้องขังไปนอกเรือนจา โดยไม่ผ่าน ม.๘ว.สาม ๑๕ ๑๐ ๗
การตรวจตามระเบียบ
๓. เป็นสื่อติดต่อโดยทรงตรงหรือทางอ้อมระหว่าง ม.๘ว.สาม ๑๕ ๑๐ ๗
ผู้ต้องขังกับญาติมติ รของผูต้ ้องขังโดยไม่มีหน้าที่
๔. สัญญาว่าจะรับทรัพย์สินจากผูต้ ้องขัง ม.๘ว.สี่ ๑๐ ๗ ๕
๕.สัญญาว่าจะรับทรัพย์สินจากญาติมิตรของผู้ต้องขัง ม.๘ว.สี่ ๑๐ ๗ ๕
ตารางที่ ๗ แสดงลักษณะความผิดเกี่ยวกับการควบคุมผู้ต้องขัง
ปรับความผิด ระดับการลงโทษไม่เกิน หมายเหตุ
ลักษณะการกระทาความผิด พ.ร.บ.๒๔๘๒ กักบริเวณ เพิ่มเวร
ขัง
ยาม
๑. ละเลยให้ ผู้ ต้ อ งขั ง ออกไปนอกเขตควบคุ ม ซึ่ งอยู่ ม.๗ว.ท้าย ๑๐ ๗ ๕
ภายในกาแพงเรือนจาโดยพลการหรือไม่มีอานาจ
๒.ปล่อยให้ผู้ต้องขังทางานภายนอกเรือนจาตามลาพังไม่ ม.๗ว.ท้าย ๑๕ ๑๐ ๗
ควบคุมโดยใกล้ชิด
๓. มี ห น้ า ที่ ร่ ว มกั น ควบคุ ม ผู้ ต้ อ งขั ง แต่ แ บ่ ง แยกการ ม.๗ว.ท้าย ๑๐ ๗ ๕
ควบคุมโดยพลการ
๔. ให้ผู้ต้องขังถือกุญแจและปิดเปิดกุญแจเรือนขัง ม.๗ว.ท้าย ๑๐ ๗ ๕
๕. บกพร่องต่อหน้าที่เป็นหตุให้ผตู้ อ้ งขังลักลอบนา ม.๗ว.ท้าย ๑๕ ๑๐ ๗
อุปกรณ์เครื่องมือไปจากความรับผิดชอบ เช่น ใบเลื่อย
ตัดเหล็ก มีด ฆ้อน เป็นต้น
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 215

๖. เข้าไปในแดนควบคุมแดนผูต้ ้องขังหญิงโดยไม่ชอบ ม.๗ว.ท้าย ๑๐ ๗ ๕


ด้วยระเบียบ
๗. ผู้ต้องขังในความควบคุมลักลอบดื่มสุราภายนอก ม.๗ว.ท้าย ๑๕ ๑๐ ๗
เรือนจา หรือนาสิ่งของต้องห้ามหรือเงินสดเข้า-ออก
เรือนจา
๘. ละเลยหน้าที่ในการตรวจค้นสิ่งของ สถานที่ บุคคล ม.๗ว.ท้าย ๑๕ ๑๐ ๗
ยานพาหนะและอื่น ๆ
๙. ผู้ต้องขังหลบหนีขณะควบคุมทางานภายนอก ม.๗ว.ท้าย ๑๐ ๗ ๕ กรณีความผิด
เรือนจา/ทัณฑสถาน แต่ไม่สามารถติดตามจับกุมตัวได้ ตามข้อ๙-๑๒
ในเวลาอันควร ต้องไม่ใช่กรณี
๑๐.ผู้ต้องขังหลบหนีขณะควบคุมทางานภายนอก ม.๗ว.ท้าย ๒๐ ๑๕ ๑๐ กระทาโดย
เรือนจา/ทัณฑสถาน แต่ไม่สามารถติดตามจับกุมตัวได้ เจตนาหรือ
หรือได้ตัวคืนมาโดยผู้ต้องขังมอบตัวหรือผู้อื่นจับตัวได้ ประมาท
๑๑. ผู้ต้องขังป่วยหลบหนีการควบคุมที่ ร.พ.แต่ตดิ ตาม ม.๗ว.ท้าย ๑๐ ๗ ๕ เลินเล่อ
จับกุมตัวได้ในเวลาอันสมควร
๑๒. ผู้ต้องขังป่วยหลบหนีการควบคุมที่ ร.พ.แต่ไม่ ม.๗ว.ท้าย ๒๐ ๑๕ ๑๐
สามารถติดตามจับกุมตัวได้หรือได้ตัวคืนมาโดยผูต้ ้องขัง
มอบตัวหรือผู้อื่นจับตัวได้
ตารางที่ ๘ แสดงลักษณะความผิดเกี่ยวกับการปล่อยตัวผู้ต้องขัง
ปรับความผิด ระดับการลงโทษไม่เกิน หมายเหตุ
ลักษณะการกระทาความผิด พ.ร.บ.๒๔๘๒ กักบริเวณ เพิ่มเวร
ขัง
ยาม
๑. มีหน้าที่ปล่อยตัวผู้ต้องขัง แต่ปล่อยตัวผิดพลาดโดย ม.๗ว.ท้าย ๑๐ ๗ ๕
ไม่เจตนา แต่นาตัวกลับคืนมาได้ในเวลาอันสมควร
๒. มีหน้าที่ปล่อยตัวผู้ต้องขัง แต่ปล่อยตัวผิดพลาดโดย ม.๗ว.ท้าย ๒๐ ๑๕ ๑๐
ไม่เจตนา แต่ไม่สามารถนาตัวกลับคืนมาได้ หรือได้ตัว
คืนมาโดยผูต้ ้องขังมอบตัวหรือผู้อนื่ จับตัวได้
ตารางที่ ๙ แสดงลักษณะความผิดเกี่ยวกับเอกสารทางราชการ
ปรับความผิด ระดับการลงโทษไม่เกิน หมายเหตุ
ลักษณะการกระทาความผิด พ.ร.บ.๒๔๘๒ กักบริเวณ เพิ่มเวร
ขัง
ยาม
๑. เปิดเผยความลับทางราชการ แต่ยังไม่เกิดการ ม.๗ว.ท้าย ๒๐ ๑๕ ๑๐
เสียหายร้ายแรง เช่น เปิดเผยกรณีอายัดตัวผูต้ ้องขัง
กรณีผู้ต้องขังย้ายเรือนจา เป็นต้น
๒. ลบประกาศหรือฉีกทาลายใบประกาศของทาง ม.๗ว.ท้าย ๑๕ ๑๐ ๗
ราชการ

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


216 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

๓. ขีดเขียนหรือต่อเติมข้อความในเอกสารทางราชการ ม.๗ว.ท้าย ๑๕ ๑๐ ๗
เช่น เขียนข้อความไม่สุภาพในสมุดจัดเวรยาม เป็นต้น

ตารางที่ ๑๐ แสดงลักษณะความผิดเกี่ยวกับการบังคับบัญชา
ปรับความผิด ระดับการลงโทษไม่เกิน หมายเหตุ
ลักษณะการกระทาความผิด พ.ร.บ.๒๔๘๒ กักบริเวณ เพิ่มเวร
ขัง
ยาม
๑. ไม่แนะนาตักเตือน และสั่งสอนให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา ม.๙ ๑๐ ๗ ๕
มีความประพฤติดี และปฏิบตั ิโดยเคร่งครัดตามกฎหมาย
ข้อบังคับ และระเบียบแบบแผนของเรือนจา เช่น พบ
เห็นผู้ใต้บังคับบัญชาแสดงกิริยาวาจาไม่สุภาพเรียบร้อย
หรือส่งเสียงเอะอะ โวยวายขณะปฏิบัติหน้าที่ ไม่แนะนา
ตักเตือน หรือสั่งสอน กลับวางเฉย เป็นต้น
๒. ไม่มาฝึกระเบียบแถวตามคาสั่งของผู้บังคับบัญชา ม.๗ว.ท้าย ๗ ๕ ๓
๓.ไม่ประพฤติตนให้เป็นตัวอย่างอันดีงามแก่ผู้ต้องขัง ม.๘ว.เจ็ด ๑๐ ๗ ๕

หมายเหตุ หากมีพฤติการณ์กระทาผิดกรณีอื่นนอกจากกรณีตัวอย่างในแนวทางการลงโทษนี้ และสามารถ


ปรับบทความผิดตามพระราชบัญญัติวินัยข้าราชการราชทัณฑ์ พุทธศักราช 2482 ได้ ก็ให้ผู้บังคับบัญชา
นาพฤติการณ์กระทาผิดนั้นมาเทียบเคียงกับกรณีความผิดในทางการลงโทษนี้ แล้วสั่งลงโทษไปตามความ
เหมาะสมให้ได้ระดับโทษในแนวเดียวกัน
*อ้า งอิง หนั งสื อกรมราชทัณฑ์ ที่ ยธ 0702.2/9075 ลงวันที่ 24 มีนาคม 2559 เรื่องซักซ้อ ม
แนวทางปฏิบัติการดาเนินการทางวินัย ตาม พ.ร.บ.วินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์ พุทธศักราช 2482

********************
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 217

(ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๗ ตอนที่ ๓ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๔ มกราคม ๒๕๖๓)

กฎกระทรวง
กาหนดประโยชน์ของนักโทษเด็ดขาด และเงื่อนไขที่นักโทษเด็ดขาด
ซึ่งได้รับการลดวันต้องโทษจาคุกหรือการพักการลงโทษและได้รับการปล่อยตัวต้องปฏิบัติ
พ.ศ.๒๕๖๒
-----------------------
อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๗ วรรคหนึ่ง มาตรา ๕๒ วรรคสอง และมาตรา ๕๓ วรรค
หนึ่งแห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมโดยได้รับ ความ
เห็นชอบจากคณะกรรมการราชทัณฑ์ออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้

หมวด ๑
บททั่วไป
-----------------------
ข้อ ๑ นักโทษเด็ดขาดซึ่งแสดงให้เห็นว่ามีความประพฤติดี มีความอุตสาหะ มีความก้าวหน้าใน
การศึกษา และทาการงานเกิดผลดี หรือทาความชอบแก่ทางราชการเป็นพิเศษ อาจได้รับการพิจารณา
เลื่อนชั้น การแต่งตั้งให้มีตาแหน่งหน้าที่ผู้ช่วยเหลือเจ้าพนักงานเรือนจา การลดวันต้องโทษจาคุก การลด
วัน ต้องโทษจ าคุกลงอีกไม่เกิน จ านวนวันที่ทางานสาธารณะ หรือทางานอื่นใดเพื่อประโยชน์ ของทาง
ราชการนอกเรือนจา การพักการลงโทษ การฝึกวิชาชีพในสถานประกอบการนอกเรือนจา หรือการรับ
การศึกษาอบรมนอกเรือนจา โดยให้นาพฤติการณ์การกระทาความผิด ลักษณะความผิด ความรุนแรงของ
คดี และการกระทาความผิดที่ได้กระทามาก่อนแล้ว มาประกอบการพิจารณาให้ประโยชน์ในแต่ละกรณี
ด้วย
ข้อ ๒ การแบ่งชั้นนักโทษเด็ดขาดมีดังต่อไปนี้
(๑) ชั้นเยี่ยม
(๒) ชั้นดีมาก
(๓) ชั้นดี
(๔) ชั้นกลาง
(๕) ชั้นต้องปรับปรุง
(๖) ชั้นต้องปรับปรุงมาก
ข้อ ๓ นักโทษเด็ดขาดเข้าใหม่ ให้จัดอยู่ในชั้นกลาง เว้นแต่กรณีดังต่อไปนี้
(๑) นักโทษเด็ดขาดสัญชาติไทยซึ่งถูกคุมขังนอกราชอาณาจักรมาแล้วไม่เกินสามปี เมื่อรับโอนตัว
มาคุมขังในราชอาณาจักร ให้จัดอยู่ในชั้นกลาง หากถูกคุมขังมาแล้วมากกว่าสามปี ให้จัดอยู่ในชั้นดี โดยให้
จัดชั้นนักโทษเด็ดขาดตั้งแต่วันที่รับตัวเข้ามาคุมขังในเรือนจา
(๒) ศาลมีคาพิพากษาถึงที่สุดให้เพิ่มโทษฐานกระทาความผิดซ้าตามมาตรา ๙๒ หรือมาตรา ๙๓
แห่งประมวลกฎหมายอาญา หรือตามกฎหมายอื่น ให้จัดอยู่ในชั้นต้องปรับปรุง

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


218 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

(๓) กรณีปรากฏข้อเท็จจริงว่านักโทษเด็ดขาดซึ่งเคยต้องโทษจาคุกและพ้นโทษแล้ ว กลับมา


กระทาความผิดอีกภายในห้า ปีนั บแต่วันที่พ้นโทษจาคุก คราวก่อน โดยความผิดทั้งสองคราวนั้น ไม่ใช่
ความผิดที่กระทาโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ ให้จัดอยู่ในชั้นต้องปรับปรุง
(๔) กรณีปรากฏข้อเท็จจริงว่านักโทษเด็ดขาดซึ่งเคยต้องโทษจาคุ กและพ้นโทษแล้ ว กลับมา
กระทาความผิดและต้องโทษจาคุกในคราวนี้อีกเป็นครั้งที่ส ามหรือมากกว่า โดยความผิดนั้นไม่ใช่ความผิด
ที่กระทาโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ ให้จัดอยู่ในชั้นต้องปรับปรุงมาก
(๕) นักโทษเด็ดขาดซึ่งกระทาความผิดในคดีอุกฉกรรจ์ คดีสะเทือนขวัญ หรือคดีที่เป็นที่สนใจของ
ประชาชน ตามที่รัฐมนตรีประกาศกาหนด ให้จัดอยู่ในชั้นต้องปรับปรุงมาก
ข้อ ๔ นักโทษเด็ดขาดซึ่งกระทาความผิดหลายคดี ให้จัดชั้นดังต่อไปนี้
(๑) เมื่อคดีใดคดีหนึ่งมีคาพิพากษาถึงที่สุด ให้ผู้บัญชาการเรือนจาพิจารณาจัดชั้นตามข้อ ๓และ
อาจได้รับการพิจารณาเลื่อนชั้น แม้คดีอื่นยังไม่ถึงที่สุด
(๒) คดีที่นักโทษเด็ดขาดได้รับการพิจารณาจัดชั้นและอาจได้รับการพิจารณาเลื่อนชั้นตาม (๑)แม้
จะครบกาหนดโทษแล้ว แต่ถ้านักโทษเด็ดขาดผู้นั้นยังถูกคุมขังอยู่ในเรือนจาในคดีอื่นที่ยังไม่ถึงที่สุด ให้คง
ชั้นนักโทษเด็ดขาดผู้นั้นไว้จนกว่าคดีอื่นถึงที่สุด และให้จัดชั้นตามชั้นเดิมที่คงไว้
ข้อ ๕ คดีตามข้อ ๔ เมื่อศาลได้มีคาพิพากษาถึงที่สุดในภายหลังและเป็นกรณีที่จะต้องมี การจัด
ชั้นตามข้อ ๓ (๒) หรือ (๕) ให้ดาเนินการจัดชั้นนักโทษเด็ดขาดผู้นั้น โดยถือเสมือนเป็นนักโทษเด็ดขาดเข้า
ใหม่ตามข้อ ๓ (๒) หรือ (๕) แล้วแต่กรณี เว้นแต่เป็นนักโทษเด็ดขาดซึ่งอยู่ในชั้นต้องปรับปรุงมาก ให้คง
ชั้นต้องปรับปรุงมากไว้ตามเดิม

หมวด ๒
การเลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาด
-----------------------
ส่วนที่ ๑
การเลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาดกรณีปกติ
-----------------------
ข้อ ๖ การเลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาดกรณีปกติ ให้เลื่อนตามลาดับชั้น ครั้งละหนึ่งชั้น
ข้อ ๗ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาดาเนินการเลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาดกรณีปกติตามกาหนดเวลาและ
เงื่อนไข ดังต่อไปนี้
(๑) นักโทษเด็ดขาดซึ่งมีกาหนดโทษจาคุกไม่เกินสามปีและต้องโทษจาคุกเพียงคดีเดียวให้เลื่อน
ชั้นได้ปีละสามครั้ง คือ ในวันสิ้นเดือนเมษายนครั้งหนึ่ง ในวันสิ้นเดือนสิงหาคมครั้งหนึ่งและในวันสิ้นเดือน
ธันวาคมอีกครั้งหนึ่ง
(๒) นักโทษเด็ดขาดซึ่งมีกาหนดโทษจาคุกเกินกว่ าสามปีหรือต้องโทษจาคุกหลายคดีให้เลื่อนชั้น
ได้ปีละสองครั้ง คือ ในวันสิ้นเดือนมิถุนายนครั้งหนึ่งและในวันสิ้นเดือนธันวาคมอีกครั้งหนึ่ง
ข้อ ๘ การพิจารณาเลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาดตามข้อ ๗ (๑) ให้ดาเนินการ ดังต่อไปนี้
(๑) นักโทษเด็ดขาดเข้าใหม่ซึ่งถูกจัดอยู่ในชั้น ดังต่อไปนี้
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 219

(ก) ชั้นกลาง จะเลื่อนชั้นได้ต้องเป็นนักโทษเด็ดขาดซึ่งถูกคุมขังอยู่ในเรือนจามาแล้วไม่น้อยกว่าสี่


เดือนนับแต่วันที่คดีถึงที่สุด หรือเป็นนักโทษเด็ดขาดมาแล้วน้อยกว่าสี่เดือนนับแต่วันที่คดีถึงที่สุด แต่ถูก
คุมขังอยู่ในเรือนจามาแล้วไม่น้อยกว่าแปดเดือน
(ข) ชั้นต่ากว่าชั้นกลาง จะเลื่อนชั้นได้ต้องเป็นนักโทษเด็ดขาดซึ่งถูกคุมขังอยู่ในเรือนจามาแล้วไม่
น้อยกว่าแปดเดือนนับแต่วันที่คดีถึงที่สุด หรือเป็นนักโทษเด็ดขาดมาแล้วน้อยกว่าแปดเดือนนับแต่วันที่คดี
ถึงที่สุด แต่ถูกคุมขังอยู่ในเรือนจามาแล้วไม่น้อยกว่าหนึ่งปีสี่เดือน
(๒) นักโทษเด็ดขาดกรณีอื่นนอกจาก (๑) ซึ่งถูกจัดอยู่ในชั้น ดังต่อไปนี้
(ก) ชั้นกลางขึ้นไป จะเลื่อนชั้นได้ต้องเป็นนักโทษเด็ดขาดในชั้นเดิมมาแล้วไม่น้อยกว่าสี่เดือน
(ข) ชั้นต่ากว่าชั้นกลาง จะเลื่อนชั้นได้ต้องเป็นนักโทษเด็ดขาดในชั้นเดิมมาแล้วไม่น้อยกว่าแปด
เดือน
ข้อ ๙ การพิจารณาเลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาดตามข้อ ๗ (๒) ให้ดาเนินการ ดังต่อไปนี้
(๑) นักโทษเด็ดขาดเข้าใหม่ซึ่งถูกจัดอยู่ในชั้น ดังต่อไปนี้
(ก) ชั้นกลาง จะเลื่อนชั้นได้ต้องเป็นนักโทษเด็ดขาดซึ่งถูกคุมขังอยู่ในเรือนจามาแล้วไม่น้อยกว่า
หกเดือนนับแต่วันที่คดีถึงที่สุด หรือเป็นนักโทษเด็ดขาดน้อยกว่าหกเดือนนับแต่วันที่คดีถึงที่สุด แต่ถูกคุม
ขังอยู่ในเรือนจามาแล้วไม่น้อยกว่าหนึ่งปี
(ข) ชั้นต้องปรับปรุง จะเลื่อนชั้นได้ต้องเป็นนักโทษเด็ดขาดซึ่งถูกคุมขังอยู่ในเรือนจามาแล้ว ไม่
น้อยกว่าหนึ่งปีนับแต่วันที่คดีถึงที่สุด หรือเป็นนักโทษเด็ดขาดน้อยกว่าหนึ่งปีนับแต่วันที่คดีถึงที่สุด แต่ถูก
คุมขังอยู่ในเรือนจามาแล้วไม่น้อยกว่าสองปี
(ค) ชั้นต้องปรับปรุงมากตามข้อ ๓ (๔) จะเลื่อนชั้นได้ต้องเป็นนักโทษเด็ดขาดซึ่งถูกคุมขังอยู่ใน
เรือนจามาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีนับแต่วันที่คดีถึงที่สุด หรือเป็นนักโทษเด็ดขาดน้อยกว่าสองปีนับแต่วันที่
คดีถึงที่สุด แต่ถูกคุมขังอยู่ในเรือนจามาแล้วไม่น้อยกว่าสามปี
(ง) ชั้นต้องปรับปรุงมากตามข้อ ๓ (๕) จะเลื่อนชั้นได้ต้องเป็นนักโทษเด็ดขาดซึ่งถูกคุมขังอยู่ใน
เรือนจามาแล้วไม่น้อยกว่าสามปีนับแต่วันที่คดีถึงที่สุด หรือเป็นนักโทษเด็ดขาดน้อยกว่าสามปีนับแต่วันที่
คดีถึงที่สุด แต่ถูกคุมขังอยู่ในเรือนจามาแล้วไม่น้อยกว่าสี่ปี
(๒) นักโทษเด็ดขาดกรณีอื่นนอกจาก (๑) ซึ่งถูกจัดอยู่ในชั้น ดังต่อไปนี้
(ก) ชั้นกลางขึ้นไป จะเลื่อนชั้นได้ต้องเป็นนักโทษเด็ดขาดในชั้นเดิมมาแล้วไม่น้อยกว่าหกเดือน
(ข) ชั้นต้องปรับปรุง จะเลื่อนชั้นได้ต้องเป็นนักโทษเด็ดขาดในชั้นเดิมมาแล้วไม่น้อยกว่าหนึ่งปี
(ค) ชั้นต้องปรับปรุงมาก จะเลื่อนชั้นได้ต้องเป็นนักโทษเด็ดขาดในชั้นเดิมมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปี
ข้อ ๑๐ การพิจารณาเลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาด ให้คานึงถึงผลดีต่อการปกครองบังคับบัญชาและ
การรักษาวินัยของเรือนจา ประโยชน์ต่อการพัฒนาพฤตินิสัยของนักโทษเด็ดขาดผู้นั้นให้กลับตนเป็นคนดี
การเสียสละทางานเพื่อส่วนรวม มีความวิริยะอุตสาหะ มีความขยันหมั่นเพียร มีความมานะอดทน หรือทา
การงานให้เกิดผลดีแก่ท างราชการและส่วนรวมในการพิจารณาเลื่ อนชั้นนักโทษเด็ดขาดนอกจากจะ
คานึงถึงเหตุตามวรรคหนึ่งแล้ว ต้องพิจารณาปัจจัยดังต่อไปนี้ด้วย
(๑) ผ่านการจาแนกลักษณะของผู้ต้องขังตามที่กรมราชทัณฑ์กาหนด
(๒) ผ่านการประเมินพฤติกรรม การพัฒนาพฤตินิสัย หรือหลักสูตรการศึกษาอบรมและการฝึก
วิชาชีพ การฝึกทักษะการทางาน การทางานสาธารณะ หรือการทางานอื่นใดตามที่ได้รับมอบหมาย ทั้งนี้
ตามเกณฑ์การประเมินที่อธิบดีกาหนด

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


220 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

(๓) ไม่อยู่ในระหว่างถูกดาเนินการทางวินัยหรือถูกลงโทษทางวินัยในระหว่างการพิจารณาเลื่อน
ชั้น
ข้อ ๑๑ นั กโทษเด็ดขาดซึ่งเจ็ บป่วยหรือพิก าร หรือโดยสภาพแห่ งร่ างกายไม่ส ามารถเข้ ารับ
การศึกษาอบรม การฝึกวิชาชีพ หรือการฝึกทักษะการทางาน หรือได้รับการพัฒนาพฤตินิสัย อาจได้รับ
การพิจารณาเลื่อนชั้นกรณีปกติได้ โดยให้เสนอใบรับรองแพทย์ของทางราชการเพื่อประกอบการพิจารณา
ของคณะทางานเพื่อตรวจสอบการเลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาดประจาเรือนจา
ข้อ ๑๒ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาแต่งตั้งคณะทางานเพื่อตรวจสอบการเลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาด
ประจาเรือนจา ประกอบด้วยผู้บัญชาการเรือนจาเป็นประธาน และเจ้าพนักงานเรือนจาจานวนไม่น้อยกว่า
ห้าคนเป็นคณะทางาน และให้เจ้าพนักงานเรือนจาคนหนึ่งเป็นเลขานุการการแต่งตั้งคณะทางานตามวรรค
หนึ่ง อาจมีผู้แทนจากหน่วยงานหรือบุคคลภายนอกร่วมเป็นคณะทางานด้วยก็ได้
ข้อ ๑๓ ให้คณะทางานตามข้อ ๑๒ ดาเนินการตรวจสอบบัญชีร ายชื่อนักโทษเด็ดขาดซึ่งสมควร
ได้รับการเลื่อนชั้นและเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้อง แล้วเสนอความเห็นต่อผู้บัญชาการเรือนจา
ข้อ ๑๔ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาเสนอบัญชีการเลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาด พร้อมทั้งเอกสารหลักฐาน
ที่เกี่ยวข้อง และรายงานขอความเห็นชอบต่ออธิบดีตามกาหนดเวลา ดังต่อไปนี้
(๑) การเลื่อนชั้นในวันสิ้นเดือนเมษายน ให้รายงานขอความเห็นชอบภายในเดือนพฤษภาคม
(๒) การเลื่อนชั้นในวันสิ้นเดือนมิถุนายน ให้รายงานขอความเห็นชอบภายในเดือนกรกฎาคม
(๓) การเลื่อนชั้นในวันสิ้นเดือนสิงหาคม ให้รายงานขอความเห็นชอบภายในเดือนกันยายน
(๔) การเลื่อนชั้นในวันสิ้นเดือนธันวาคม ให้รายงานขอความเห็นชอบภายในเดือนมกราคมของปี
ถัดไป
ข้อ ๑๕ เมื่ออธิบดีให้ความเห็นชอบในการเลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาดแล้ว ให้ผู้บัญชาการเรือนจา
ออกคาสั่งและแจ้งให้นักโทษเด็ดขาดทราบผลการเลื่อนชั้น และปิดประกาศรายชื่อนักโทษเด็ดขาดซึ่ง
ได้รับการเลื่อนชั้นในที่เปิดเผยตามที่ผู้บัญชาการเรือนจาเห็นสมควร ในกรณีที่นักโทษเด็ดขาดไม่ได้รับการ
เลื่อนชั้น ให้ผู้บัญชาการเรือนจาแจ้งให้นักโทษเด็ดขาดผู้นั้นทราบ พร้อมทั้งเหตุผลที่ไม่ได้รับการเลื่อนชั้น
ผลของคาสั่งเห็นชอบตามวรรคหนึ่ง ให้ถือว่านักโทษเด็ดขาดผู้นั้นได้รับการเลื่อนชั้น ดังต่อไปนี้
(๑) ตั้งแต่วันที่ ๑ พฤษภาคม สาหรับการเลื่อนชั้นในวันสิ้นเดือนเมษายน
(๒) ตั้งแต่วันที่ ๑ กรกฎาคม สาหรับการเลื่อนชั้นในวันสิ้นเดือนมิถุนายน
(๓) ตั้งแต่วันที่ ๑ กันยายน สาหรับการเลื่อนชั้นในวันสิ้นเดือนสิงหาคม
(๔) ตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคมของปีถัดไป สาหรับการเลื่อนชั้นในวันสิ้นเดือนธันวาคม
ข้อ ๑๖ การนับระยะเวลาการเลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาดกรณีศาลมีคาพิพากษาถึงที่สุดแล้วแต่ยัง
ไม่ได้ตัวมาคุมขังในเรือนจา ให้เริ่มนับแต่วันที่รับตัวนักโทษเด็ดขาดผู้นั้นเข้ามาคุมขังในเรือนจา

ส่วนที่ ๒
การเลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาดกรณีมีเหตุพิเศษ
-----------------------
ข้อ ๑๗ การพิจารณาเลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาดกรณีมีเหตุพิเศษนอกจากจะเป็นผู้มีความประพฤติ
ดีมีความอุตสาหะ มีความก้าวหน้าในการศึกษา และทาการงานเกิดผลดี หรือทาความชอบแก่ทางราชการ
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 221

เป็นพิเศษแล้ว จะต้องปรากฏข้อเท็จจริงว่านักโทษเด็ดขาดผู้นั้นมีความเสียสละอุทิศตนช่วยเหลือทาง
ราชการ โดยการเข้ าต่อสู้ ขัดขวาง หรือป้องกันการหลบหนีของผู้ ต้ องขังจากเรื อนจา ช่ว ยเหลื อเจ้ า
พนักงานเรือนจาหรือผู้อื่นในขณะที่ตกอยู่ในภาวะอันตราย หรือเสี่ยงอันตราย เข้าทาการป้องกันจับกุม
ผู้ต้องขังที่ก่อการจลาจลหรือก่อเหตุร้ ายขึ้นภายในเรือนจา หรือทาการดับเพลิงในกรณีที่เกิดเพลิงไหม้
อาคารสถานที่ของเรือนจา
นอกจากข้อเท็จจริงตามวรรคหนึ่ง ปลัดกระทรวงยุติธรรมอาจพิจารณาอนุมัติให้นักโทษเด็ดขาด
เลื่อนชั้นเป็นกรณีพิเศษ เพื่อประโยชน์ด้ านความมั่นคงปลอดภัยของรัฐหรือความสัมพันธ์อันดีระหว่ าง
ประเทศก็ได้
ข้อ ๑๘ การเลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาดกรณีมีเหตุพิเศษ อาจเลื่อนชั้นก่อนเวลาหรือเลื่อนข้ามชั้นก็
ได้
การพิจารณาเลื่อนชั้นตามวรรคหนึ่ง ให้คณะทางานตามข้อ ๑๒ ดาเนินการตามข้อ ๑๓และให้
เลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาดเมื่อได้รับอนุมัติจากปลัดกระทรวงยุติธรรม
ผลการเลื่ อนชั้น ตามวรรคหนึ่ ง ให้ ถือว่ านักโทษเด็ ด ขาดผู้ นั้ น ได้ รับ การเลื่ อ นชั้น นับแต่วั น ที่
ปลัดกระทรวงยุติธรรมอนุมัติ และให้นาความในข้อ ๑๕ วรรคหนึ่ง มาใช้บังคับกับการแจ้งผลการเลื่อนชั้น
โดยอนุโลม
หมวด ๓
การแต่งตั้งนักโทษเด็ดขาดให้มีตาแหน่งหน้าที่ผู้ช่วยเหลือเจ้าพนักงานเรือนจา
-----------------------
ข้อ ๑๙ กรณีมีความจาเป็นต้องแต่งตั้งนักโทษเด็ดขาดให้มีตาแหน่งหน้าที่ผู้ช่วยเหลือเจ้าพนักงาน
เรือนจาในกิจการเรือนจา ให้ผู้บัญชาการเรือนจาแต่งตั้งคณะทางานเพื่อคัดเลือกนักโทษเด็ดขาดให้มี
ตาแหน่งหน้ าที่ผู้ช่วยเหลือเจ้ าพนักงานเรือนจาประจาเรื อนจาประกอบด้วย ผู้บัญชาการเรือนจาเป็น
ประธาน และเจ้าพนักงานเรือนจาจานวนไม่น้อยกว่าห้าคนเป็นคณะทางาน และให้เจ้าพนักงานเรือนจา
คนหนึ่งเป็นเลขานุการ
ข้อ ๒๐ การคัดเลือกนักโทษเด็ดขาดซึ่งจะได้รับการแต่งตั้งให้มีตาแหน่งหน้ าที่ผู้ช่วยเหลือเจ้า
พนักงานเรือนจา ต้องดาเนินการตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้
(๑) อัตราส่วนของนักโทษเด็ดขาดซึ่งผู้บัญชาการเรือนจาจะแต่งตั้งให้มีตาแหน่งหน้าที่ผู้ช่วยเหลือ
เจ้าพนักงานเรือนจาต้องไม่เกินร้อยละสามของจานวนผู้ต้องขังในเรือนจา
(๒) มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้
(ก) เป็นนักโทษเด็ดขาดชั้น เยี่ ยม เว้นแต่มีนักโทษเด็ดขาดชั้นเยี่ยมไม่เพียงพอ ให้แต่งตั้งจาก
นักโทษเด็ดขาดชั้นดีมากหรือชั้นดีตามลาดับ
(ข) เป็นผู้ได้รับมอบหมายให้ทาหน้าที่ผู้ช่วยงานเจ้าพนักงานเรือนจาเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่ า
หนึ่งปี ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดีกาหนด
(ค) ไม่อยู่ในระหว่างถูกดาเนินการทางวินัยหรือมีประวัติถูกลงโทษทางวินัย หรือเคยถูกถอดถอน
จากตาแหน่งหน้าที่ผู้ช่วยเหลือเจ้าพนักงานเรือนจาหรือผู้ช่วยงานเจ้าพนักงานเรือนจา
(ง) ไม่เป็นนักโทษเด็ดขาดซึ่งกระทาความผิดในคดีอุกฉกรรจ์ หรือเป็นอาชญากรโดยอาชีพ หรือ
เป็นผู้กระทาความผิดในคดียาเสพติดให้โทษที่เข้าข่ายรายสาคัญและมีอิทธิพลตามที่อธิบดีประกาศกาหนด

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


222 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ข้อ ๒๑ ให้คณะทางานตามข้อ ๑๙ ดาเนินการคัดเลือกนักโทษเด็ดขาดซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มี


ลักษณะต้องห้ ามตามข้อ ๒๐ และจัดทาแบบรายงานการแต่งตั้งนักโทษเด็ดขาดให้ มีตาแหน่งหน้ าที่ผู้
ช่วยเหลือเจ้าพนักงานเรือนจา และเสนอขออนุมัติต่ออธิบดี
ข้อ ๒๒ เมื่ออธิบดีอนุมัติแล้ว ให้ผู้บัญชาการเรือนจาออกคาสั่งแต่งตั้งนักโทษเด็ดขาดผู้นั้นให้มี
ตาแหน่งหน้าที่ผู้ช่วยเหลือเจ้าพนักงานเรือนจา และให้คาสั่งดังกล่าวมีผลนับแต่วันที่อธิบดีอนุมัติ
ข้อ ๒๓ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาจัดฝึกอบรมนักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับการแต่งตั้งให้มีตาแหน่งหน้าที่
ผู้ช่วยเหลือเจ้าพนักงานเรือนจาก่อนทาหน้าที่ โดยให้ความรู้ความเข้าใจในหน้าที่และความรับผิ ดชอบ
ระเบียบวินัย และข้อบังคับของเรือนจา
ข้อ ๒๔ นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับการแต่งตั้งให้มีตาแหน่งหน้ าที่ผู้ช่วยเหลือเจ้าพนักงานเรือนจา
ผู้ใดประพฤติตนเสียหายหรือมีพฤติการณ์ไม่เหมาะสม ให้ผู้บัญชาการเรือนจาสั่งระงับการปฏิบัติหน้าที่
แล้วสอบสวนและรายงานไปยังอธิบดีเพื่อพิจารณาอนุมัติถอดถอนโดยทันที
เมื่ออธิบดีอนุมัติแล้ว ให้ผู้บัญชาการเรือนจาออกคาสั่งถอดถอน และให้คาสั่งดังกล่าวมีผลนับแต่
วันที่ผู้บัญชาการเรือนจาสั่งระงับการปฏิบัติหน้าที่
ข้อ ๒๕ เครื่องแต่งกายผู้มีตาแหน่งหน้าที่ผู้ช่วยเหลือเจ้าพนักงานเรือนจา ให้เป็นไปตามระเบียบ
ที่อธิบดีกาหนด
หมวด ๔
การลดวันต้องโทษจาคุกและการปล่อยตัว
-----------------------
ข้อ ๒๖ นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับโทษจาคุกตามคาพิพากษาถึงที่สุดมาแล้วไม่น้อยกว่าหกเดือน
หรือหนึ่งในสามของกาหนดโทษตามหมายศาลในขณะนั้นแล้วแต่อย่างใดจะมากกว่า หรือไม่น้อยกว่าสิบปี
ในกรณีที่ต้องโทษจาคุกตลอดชีวิตที่มีก ารเปลี่ยนโทษจาคุกตลอดชีวิตเป็นโทษจาคุกมีกาหนดเวลา อาจ
ได้รับการลดวันต้องโทษจาคุกตามชั้นและตามจานวนวัน ดังต่อไปนี้
(๑) ชั้นเยี่ยม เดือนละห้าวัน
(๒) ชั้นดีมาก เดือนละสี่วัน
(๓) ชั้นดี เดือนละสามวัน
นักโทษเด็ดขาดซึ่งกระทาผิดวินัยจะไม่ได้รับประโยชน์จ ากการสะสมวันลดวันต้องโทษจาคุกตาม
ชั้นเฉพาะเดือนที่กระทาผิดวินัย
ข้อ ๒๗ นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับการลดวันต้องโทษจาคุกตามข้อ ๒๖ จะได้รับการพิจารณาปล่อย
ตัว ต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้
(๑) เป็นนักโทษเด็ดขาดตั้งแต่ชั้นดีขึ้นไป
(๒) เหลือโทษจาคุกเท่ากับจานวนวันที่ได้รับการสะสมลดวันต้องโทษจาคุกตามข้อ ๒๖และหากมี
วันลดวันต้องโทษจาคุกตามมาตรา ๕๒ (๖) ให้นามารวมด้วย
(๓) ได้รับการแก้ไข บาบัด ฟื้นฟู และพัฒนาพฤตินิสัยตามที่อธิบดีกาหนด
(๔) มีผู้อุปการะ
(๕) ผ่านการคัดเลือกจากคณะทางานเพื่อพิจารณาวินิจฉัยลดวันต้องโทษจาคุกประจาเรือนจา
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 223

ข้อ ๒๘ การพิจารณาปล่ อยตัว นักโทษเด็ดขาดจากการลดวันต้องโทษจาคุก ให้นาเหตุปัจจัย


ดังต่อไปนี้มาพิจารณาด้วย
(๑) ระยะเวลาการคุมประพฤติ
(๒) ความน่ าเชื่อถือและความเหมาะสมของผู้อุปการะในการควบคุมดูแลนักโทษเด็ดขาดให้
ปฏิบัติตามเงื่อนไขจนกว่าจะพ้นโทษ
(๓) ผลกระทบด้านความปลอดภัยของสังคม
(๔) มีพฤติการณ์ในระหว่างถูกคุมขังจนน่าเชื่อว่าได้กลับตนเป็นคนดี
ข้อ ๒๙ ให้มีคณะทางานเพื่อพิจารณาวินิจฉัยลดวันต้องโทษจาคุกประจาเรือนจาประกอบด้วยผู้
บั ญ ชาการเรื อ นจ าเป็ น ประธาน ผู้ แ ทนกรมการปกครอง ผู้ แ ทนกรมคุ ม ประพฤติ ผู้ แ ทนส านั ก งาน
คณะกรรมการป้ องกั น และปราบปรามยาเสพติด ผู้ แทนส านักงานตารวจแห่ งชาติ และเจ้ าพนักงาน
เรือนจาซึ่งผู้บัญชาการเรือนจาแต่งตั้งจานวนสองคน เป็นคณะทางาน และให้เจ้าพนักงานเรือนจาคนหนึ่ง
เป็นเลขานุการ
ข้อ ๓๐ การประชุมของคณะทางานตามข้อ ๒๙ ต้องมีคณะทางานมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง
ของจานวนคณะทางานทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม
ในการประชุมของคณะทางานตามวรรคหนึ่ง ห้ามมิให้ผู้บัญชาการเรือนจามอบหมายให้ผู้อื่นทา
หน้าที่เป็นประธานแทน หากผู้บัญชาการเรือนจาไม่สามารถทาหน้าที่เป็นประธานได้ ให้เลื่อนการประชุม
คราวนั้นออกไป โดยให้คานึงถึงประโยชน์ของนักโทษเด็ดขาดผู้นั้นเป็นสาคัญ
การวินิ จ ฉัย ชี้ข าดของที่ป ระชุมให้ ถือเสี ยงข้ างมาก คณะทางานคนหนึ่งให้ มีเสี ยงหนึ่งในการ
ลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด
ข้อ ๓๑ ให้คณะทางานตามข้อ ๒๙ ดาเนินการตรวจสอบบัญชีรายชื่อนักโทษเด็ดขาดซึ่งสมควร
ได้รับการลดวันต้องโทษจาคุกตามมาตรา ๕๒ (๕) และเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องแล้วเสนอความเห็นต่อ
อธิบดี
ข้อ ๓๒ เมื่ออธิบดีได้รับความเห็นของคณะทางานแล้ว ให้เสนอคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณา
วินิจฉัยลดวันต้องโทษจาคุกพิจารณาอนุมัติให้ปล่อยตัว
อธิบดีอาจตั้งคณะทางานเพื่อพิจารณากลั่นกรองก่อนเสนอความเห็นตามวรรคหนึ่งก็ได้
การพิจารณาของคณะอนุกรรมการตามวรรคหนึ่ง ให้นาเหตุปัจจัยตามข้อ ๒๘ มาพิจารณาด้วย
ความเห็นของคณะอนุกรรมการตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นที่สุด
ข้อ ๓๓ เมื่อคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาวินิจฉัยลดวันต้องโทษจาคุกอนุมัติให้ปล่อยตัวนักโทษ
เด็ดขาดซึ่งได้รับการลดวันต้องโทษจาคุกแล้ว ให้อธิบดีแจ้งผลการอนุมัติให้ผู้บัญชาการเรือนจาทราบใน
การนี้ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาออกหนังสือสาคัญให้แก่ นักโทษเด็ดขาดผู้นั้นและมีหนังสือแจ้งพนักงานคุม
ประพฤติในท้องที่ที่นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับการปล่อยตัวเข้าไปพักอาศัยทราบภายในเวลาอันสมควร โดย
นักโทษเด็ดขาดผู้นั้นต้องไปรายงานตัวต่อพนักงานคุมประพฤติในท้องที่ที่ไปพักอาศัยภายในสามวันนับแต่
วันที่ได้รับการปล่อยตัว
หนังสือสาคัญตามวรรคหนึ่ง ต้องระบุเงื่อนไขตามหมวด ๙ เงื่อนไขที่นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับการ
ปล่ อยตัว ก่อนครบกาหนดโทษต้องปฏิบัติ ในกรณีที่ห นังสื อส าคัญสู ญ หาย ให้ รีบแจ้งต่อพนัก งานคุ ม
ประพฤติและขอรับใบแทนหนังสือสาคัญ

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


224 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

เมื่อเจ้าพนักงานเรือนจาหรือพนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจเรียกให้ นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับ
การปล่อยตัวแสดงหนังสือสาคัญ ให้นักโทษเด็ดขาดผู้นั้นแสดงหนังสือสาคัญต่อบุคคลดังกล่าวถ้าไม่แสดง
หนังสือสาคัญ พนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจจะจับนักโทษเด็ดขาดผู้นั้นส่งเรือนจาก็ได้
ข้อ ๓๔ กรณีที่นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับการลดวันต้องโทษจาคุกและปล่อยตัวไป ฝ่าฝืนหรือไม่
ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กาหนดในหมวด ๙ เงื่อนไขที่นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับการปล่อยตัวก่อนครบกาหนด
โทษต้องปฏิบัติ ให้พนักงานคุมประพฤติ รายงานให้ อธิบดี ทราบโดยเร็ว เพื่อให้คณะอนุกรรมการเพื่ อ
พิจารณาวินิจฉัยลดวันต้องโทษจาคุกพิจารณาสั่งเพิกถอนการลดวันต้องโทษจาคุก

หมวด ๕
การลดวันต้องโทษจาคุกลงอีกไม่เกินจานวนวันที่ทางานสาธารณะหรือทางานอื่นใด
เพื่อประโยชน์ของทางราชการนอกเรือนจา
-----------------------
ข้อ ๓๕ นักโทษเด็ดขาดซึ่งถูกส่งออกไปทางานสาธารณะหรือทางานอื่นใดเพื่อประโยชน์ของทาง
ราชการนอกเรือนจา ให้ได้รับการลดวันต้องโทษจาคุกลงเท่ าจานวนวันที่ทางานนั้นวันทางานตามวรรค
หนึ่ง ต้องไม่น้อยกว่าแปดชั่วโมง โดยให้นับรวมเวลาเดินทางทั้งไปและกลับด้วย
ข้อ ๓๖ งานสาธารณะตามหมวดนี้ ได้แก่
(๑) งานที่ต้องใช้งบประมาณแผ่นดิน เงินของราชการบริหารส่วนท้องถิ่น เงินของรัฐวิสาหกิจหรือ
เงินของหน่วยงานอื่นของรัฐ
(๒) งานนอกเหนือจาก (๑) ซึ่งมีลักษณะเป็นการก่อให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชนทั่วไปการจัดทา
บริการสาธารณะ การช่วยเหลือบรรเทาสาธารณภัย หรือการอื่นใดที่มีลักษณะเป็น การบริการสังคมทั้งนี้
ไม่ว่างานนั้นจะมีผลประโยชน์ตอบแทนหรือไม่
งานสาธารณะที่จะจัดให้นักโทษเด็ดขาดออกไปทานอกเรือนจาตามวรรคหนึ่ง ต้องเสนอให้อธิบดี
พิจารณาให้ความเห็นชอบก่อน
ข้อ ๓๗ งานอื่นใดเพื่อประโยชน์ของทางราชการตามหมวดนี้ ได้แก่
(๑) งานรักษาความสะอาด งานสุขาภิบาล หรืองานบารุงรักษาสถานที่หรือหน่วยงานของราชการ
นอกเรือนจา
(๒) งานอื่นใดตามที่กาหนดในระเบียบกรมราชทัณฑ์
ข้อ ๓๘ นักโทษเด็ดขาดผู้ใดมีวันลดวันต้องโทษจาคุกสะสมจากการออกไปทางานสาธารณะหรือ
ทางานอื่น ใดเพื่อประโยชน์ ของทางราชการนอกเรือนจาเท่ ากับโทษจาคุกที่เหลื ออยู่ ให้ ผู้ บัญชาการ
เรือนจาเสนออธิบดีเพื่อพิจารณาสั่งปล่อยตัวจากการลดวันต้องโทษจาคุกสะสมนั้นให้นาความในข้อ ๓๓
ข้อ ๓๔ ข้อ ๗๒ ข้อ ๗๓ และข้อ ๗๔ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
ข้อ ๓๙ การส่งนักโทษเด็ดขาดผู้ใดออกไปทางานสาธารณะหรือทางานอื่นใดเพื่อประโยชน์ของ
ทางราชการนอกเรือนจา คณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาคัดเลือกนักโทษเด็ดขาดที่จะสั่งให้ออกไปทางาน
สาธารณะหรื อ ท างานอื่ น ใดเพื่ อ ประโยชน์ ข องทางราชการนอกเรื อ นจ า อาจก าหนดให้ ใ ช้ อุ ป กรณ์
อิเล็กทรอนิกส์หรืออุปกรณ์อื่นใดเพื่อสนับสนุนการควบคุมตัวนักโทษเด็ดขาดผู้นั้นก็ได้
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 225

หมวด ๖
การพักการลงโทษ
-----------------------
ข้อ ๔๐ นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับโทษจาคุกตามคาพิพากษาถึงที่สุดมาแล้วไม่น้อยกว่าหกเดือน
หรือหนึ่งในสามของกาหนดโทษตามหมายศาลในขณะนั้นแล้วแต่อย่างใดจะมากกว่า หรือไม่น้อยกว่าสิบปี
ในกรณีที่ต้องโทษจาคุกตลอดชีวิตที่มี การเปลี่ยนโทษจาคุกตลอดชีวิตเป็นโทษจาคุกมีกาหนดเวลาอาจ
ได้รับการพักการลงโทษ
ข้อ ๔๑ นักโทษเด็ดขาดซึ่งจะได้รับ พิจารณาการพักการลงโทษกรณีปกติ จะต้องเป็นนักโทษ
เด็ดขาดซึ่งต้องโทษจาคุกเป็นครั้งแรก เว้นแต่โทษจาคุกในครั้งก่อนนั้นเป็น ความผิดที่กระทาโดยประมาท
หรือความผิดลหุโทษ
นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับการล้างมลทินตามกฎหมายล้างมลทิน ไม่ถือเป็นการต้องโทษจาคุกครั้ง
แรก
ข้อ ๔๒ ในกรณีปกติ นักโทษเด็ดขาดอาจได้รับการพักการลงโทษ ดังต่อไปนี้
(๑) ชั้นเยี่ยม ไม่เกินหนึ่งในสามของกาหนดโทษที่ระบุไว้ในหมายแจ้งโทษเด็ดขาด
(๒) ชั้นดีมาก ไม่เกินหนึ่งในสี่ของกาหนดโทษที่ระบุไว้ในหมายแจ้งโทษเด็ดขาด
(๓) ชั้นดี ไม่เกินหนึ่งในห้าของกาหนดโทษที่ระบุไว้ในหมายแจ้งโทษเด็ดขาด
กรณีตาม (๑) (๒) หรือ (๓) หากมีการพระราชทานอภัยโทษ ให้ถือกาหนดโทษตามหมายแจ้งโทษ
เด็ดขาดฉบับหลังสุด
ในกรณีที่นักโทษเด็ดขาดมีวันลดวันต้องโทษจาคุกตามมาตรา ๕๒ (๖) ให้นามารวมกับระยะเวลา
พักการลงโทษตามวรรคหนึ่งด้วย
ข้อ ๔๓ ในกรณีที่อธิบ ดี พิจ ารณาแล้ ว เห็ นว่ ามี เหตุ พิเ ศษที่จ ะพัก การลงโทษนั กโทษเด็ ด ขาด
มากกว่าที่กาหนดในข้อ ๔๒ ให้เสนอคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาวินิจฉัยการพักการลงโทษพิจารณาให้
ความเห็นชอบและเสนอรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติ
ข้อ ๔๔ การพิจ ารณาการพักการลงโทษให้กับ นักโทษเด็ดขาด ให้ นาเหตุปัจจัยดังต่อไปนี้ มา
พิจารณาด้วย
(๑) พฤติการณ์แห่งคดีที่ได้กระทาและการกระทาความผิดที่ได้กระทามาก่อนแล้ว
(๒) ระยะเวลาการคุมประพฤติ
(๓) ความน่ าเชื่อถือและความเหมาะสมของผู้อุป การะในการควบคุมดูแลนักโทษเด็ดขาดให้
ปฏิบัติตามเงื่อนไขจนกว่าจะพ้นโทษ
(๔) ผลกระทบด้านความปลอดภัยของสังคม
(๕) มีพฤติการณ์ในระหว่างถูกคุมขังจนน่าเชื่อว่าได้กลับตนเป็นคนดี
(๖) ผ่านการแก้ไข บาบัด ฟื้นฟู และพัฒนาพฤตินิสัย
ข้อ ๔๕ ให้มีคณะทางานเพื่อพิจารณาวินิจฉัยการพักการลงโทษประจาเรือนจา ประกอบด้วยผู้
บั ญ ชาการเรื อ นจ าเป็ น ประธาน ผู้ แ ทนกรมการปกครอง ผู้ แ ทนกรมคุ ม ประพฤติ ผู้ แ ทนส านั ก งาน
คณะกรรมการป้ องกัน และปราบปรามยาเสพติด ผู้ แทนส านัก งานตารวจแห่ งชาติ และเจ้ าพนัก งาน

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


226 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

เรือนจาซึ่งผู้บัญชาการเรือนจาแต่งตั้งจานวนสองคน เป็นคณะทางาน และให้เจ้าพนักงานเรือนจาคนหนึ่ง


เป็นเลขานุการ
ให้นาความในข้อ ๓๐ มาใช้บังคับกับการประชุมของคณะทางานตามวรรคหนึ่ง โดยอนุโลม
ข้อ ๔๖ ให้คณะทางานตามข้อ ๔๕ ดาเนินการตรวจสอบบัญชีรายชื่อนักโทษเด็ดขาดซึ่งสมควร
ได้รับการพักการลงโทษและเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้อง แล้วเสนอความเห็นต่อผู้บัญชาการเรือนจา
ข้อ ๔๗ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาเสนอรายชื่อนักโทษเด็ดขาดซึ่งสมควรได้รับ การพักการลงโทษ
พร้อมความเห็นต่ออธิบดีเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ
อธิบดีอาจตั้งคณะทางานเพื่อพิจารณากลั่นกรองก่อนเสนอความเห็นตามวรรคหนึ่งก็ได้
ในกรณีที่อธิบดีไม่เห็นด้วยกับ ความเห็นของคณะทางานตามข้อ ๔๕ ให้ทาความเห็นแย้งแล้วส่ง
เรื่องกลับไปให้คณะทางานพิจารณาให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ผู้ บัญชาการเรือนจาได้รับ
เรื่องหากไม่สามารถดาเนินการภายในกาหนดเวลาดังกล่าวได้ ให้ขยายระยะเวลาได้อีกไม่เกินสิบห้าวัน
เมื่อคณะท างานตามข้ อ ๔๕ พิจารณาเสร็จแล้ ว ให้ ทาความเห็ นแจ้ ง อธิบ ดี ท ราบ เพื่อเสนอ
ความเห็นต่อคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาวินิจฉัยการพักการลงโทษพิจารณา
ข้อ ๔๘ ให้อธิบดีกากับดูแลการคัดเลือกนักโทษเด็ดขาดซึ่งจะได้รับการพักการลงโทษ ทั้งนี้ตาม
หลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวงนี้ โดยนักโทษเด็ดขาดซึ่งจะได้รับ การพั กการลงโทษ
จะต้องเป็นผู้ที่สามารถปรับเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมไปในทางที่ดีขึ้นได้
ข้อ ๔๙ เมื่ออธิบดี พิจารณาความเห็นของคณะทางานตามข้อ ๔๕ และเห็นชอบด้วยให้เสนอ
ความเห็นต่อคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาวินิจฉัยการพักการลงโทษพิจารณาอนุมัติพักการลงโทษ
การพิจารณาของคณะอนุกรรมการตามวรรคหนึ่ง ให้นาเหตุปัจจัยตามข้อ ๔๔ มาพิจารณาด้วย
ความเห็นของคณะอนุกรรมการตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นที่สุด
ข้อ ๕๐ เมื่อคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาวินิจฉัยการพักการลงโทษหรือรัฐมนตรีอนุมัติพักการ
ลงโทษและให้ปล่อยตัว นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับการพักการลงโทษแล้ว ให้อธิบดีแจ้งผลการอนุมัติให้ผู้
บัญชาการเรือนจาทราบ ในการนี้ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาออกหนังสือสาคัญให้แก่นักโทษเด็ดขาดผู้นั้นและ
มีหนังสือแจ้งพนัก งานคุมประพฤติและพนัก งานฝ่ายปกครองหรือตารวจในท้องที่ที่นักโทษเด็ดขาดซึ่ง
ได้รับการปล่อยตัวเข้าไปพักอาศัยทราบภายในเวลาอันสมควร โดยนักโทษเด็ดขาดผู้นั้นต้องไปรายงานตัว
ต่อพนักงานคุมประพฤติในท้องที่ที่ไปพักอาศัยภายในสามวันนับแต่วันที่ได้รับการปล่อยตัว
ถ้านักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับการพักการลงโทษและปล่อยตัว ตามวรรคหนึ่ง ย้ายที่อยู่หรือเข้าไป
ทางานในท้องที่อื่นที่มิใช่สถานที่หรือท้องที่ตามข้อ ๗๓ (๒) หรือ (๕) ให้พนักงานคุมประพฤติแห่งท้องที่ที่
มีการย้ายเข้าไปมีหนังสือแจ้งพนักงานฝ่ายปกครอง หรือตารวจในท้องที่ที่นักโทษเด็ดขาดผู้นั้นได้ย้ายที่อยู่
หรือเข้าไปทางานในท้องที่นั้นทราบภายในเวลาอันสมควร
ข้อ ๕๑ หนังสือสาคัญ ตามข้อ ๕๐ ต้องระบุเงื่อนไขตามหมวด ๙ เงื่อนไขที่นักโทษเด็ดขาดซึ่ง
ได้รับการปล่อยตัวก่อนครบกาหนดโทษต้องปฏิบัติ ในกรณีที่หนังสือสาคัญสูญหาย ให้รีบแจ้งต่อพนักงาน
คุมประพฤติและขอรับใบแทนหนังสือสาคัญ
เมื่อเจ้าพนักงานเรือนจาหรือพนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจเรียกให้ นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับ
การปล่อยตัวแสดงหนังสือสาคัญ ให้นักโทษเด็ดขาดผู้นั้นแสดงหนังสือสาคัญต่อบุคคลดังกล่าวถ้าไม่แสดง
หนังสือสาคัญ พนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจจะจับนักโทษเด็ดขาดผู้นั้นส่งเรือนจาก็ได้
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 227

ข้อ ๕๒ กรณีที่นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับการพักการลงโทษและปล่อยตัวไปฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม
เงื่อนไขที่กาหนดในหมวด ๙ เงื่อนไขที่นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับการปล่อยตัวก่อนครบกาหนดโทษต้อง
ปฏิบัติ ให้พนักงานคุมประพฤติรายงานให้ อธิบดีทราบโดยเร็ว เพื่อให้คณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณา
วินิจฉัยการพักการลงโทษพิจารณาสั่งเพิกถอนการพักการลงโทษ

หมวด ๗
การฝึกวิชาชีพในสถานประกอบการนอกเรือนจา
-----------------------
ข้อ ๕๓ นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับโทษจาคุกตามคาพิพากษาถึงที่สุดมาแล้วไม่น้อยกว่าหนึ่งในสาม
ของกาหนดโทษตามหมายจาคุกเมื่อคดีถึงที่สุดในขณะนั้น และเหลือโทษจาคุกไม่เกินสามปีหกเดือน อาจ
ได้รับอนุญาตให้ออกไปฝึกวิชาชีพในสถานประกอบการนอกเรือนจา
คาว่า “สถานประกอบการ” ให้หมายความรวมถึงสถานที่ของทางราชการ รัฐวิสาหกิจ วิสาหกิจ
ชุมชน หรือหน่วยงานอื่นของรัฐด้วย
ข้อ ๕๔ นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับอนุญาตให้ออกไปฝึกวิช าชีพในสถานประกอบการนอกเรือนจา
ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้
(๑) เป็นนักโทษเด็ดขาดตั้งแต่ชั้นดีขึ้นไป
(๒) ได้รับการฝึกอบรมและผ่านการทดสอบความรู้จากผู้ให้การฝึกอบรมแล้ว
(๓) ไม่อยู่ในระหว่างถูกดาเนินการทางวินัยหรือถูกลงโทษทางวินัยในรอบหกเดือนก่อนออกไปฝึก
วิชาชีพ
(๔) ไม่อยู่ในระหว่างถูกดาเนินคดีอาญาในคดีอื่นหรือถูกอายัดตัวเพื่อดาเนินคดีอาญาอื่น
(๕) ไม่มีพฤติการณ์ที่แสดงให้เห็นว่าเมื่อได้รับอนุญาตให้ออกไปแล้วอาจจะหลบหนีหรือก่อให้เกิด
ความเสียหายแก่ทางราชการ
ข้อ ๕๕ นักโทษเด็ดขาดซึ่งกระทาความผิดดังต่อไปนี้ไม่ได้รับ การพิจารณาคัดเลือกให้ออกไปฝึก
วิชาชีพในสถานประกอบการนอกเรือนจา
(๑) ความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งราชอาณาจักรตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๐๗ถึง
มาตรา ๑๓๕
(๒) ความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้ ายตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๓๕/๑ ถึงมาตรา
๑๓๕/๔
(๓) ความผิดเกี่ยวกับเพศตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๗๖ วรรคสาม มาตรา ๒๗๗
มาตรา ๒๗๗ ทวิ มาตรา ๒๗๗ ตรี มาตรา ๒๘๐ มาตรา ๒๘๒ หรือมาตรา ๒๘๓
(๔) ความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่ างกายตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๘๙ มาตรา ๒๙๗
หรือมาตรา ๒๙๘
ข้อ ๕๖ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาแต่งตั้งคณะทางานเพื่อพิจารณาคัดเลือกนักโทษเด็ดขาดให้ออกไป
ฝึกวิชาชีพในสถานประกอบการนอกเรือนจา ประกอบด้วยผู้ บัญชาการเรือนจาเป็นประธานและเจ้ า
พนักงานเรือนจาจานวนไม่น้ อยกว่ าสามคนเป็นคณะทางาน และให้เจ้ าพนักงานเรือนจาคนหนึ่งเป็น
เลขานุการ

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


228 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ข้อ ๕๗ ให้คณะทางานตามข้อ ๕๖ ดาเนินการคัดเลือกนักโทษเด็ดขาดซึ่งสมควรให้ออกไปฝึก


วิชาชีพในสถานประกอบการนอกเรือนจา แล้วเสนอผู้บัญชาการเรือนจาให้ความเห็นชอบ
ข้อ ๕๘ การฝึกวิชาชีพในสถานประกอบการนอกเรือนจาตามลักษณะงานดังต่อไปนี้ต้องได้รับ
ความเห็นชอบจากอธิบดีก่อน โดยให้คานึงถึงความปลอดภัยของนักโทษเด็ดขาดประกอบด้วย
(๑) งานที่ต้องทาใต้ดิน ใต้น้า ในถ้า ในอุโมงค์ หรือในที่อับอากาศ
(๒) งานที่ทาบนที่สูง
(๓) งานเกี่ยวกับกัมมันตภาพรังสี
(๔) งานเชื่อมโลหะ
(๕) งานขนส่งวัตถุอันตราย
(๖) งานผลิตสารเคมีอันตราย
(๗) งานที่ต้องทาด้วยเครื่องมือหรือเครื่องจักรซึ่งผู้ทาได้รับ ความสั่นสะเทือนอันอาจเป็นอันตราย
และงานที่มีเสียงดังเกินเกณฑ์ที่จะส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้ต้องขัง
(๘) งานที่ต้องห้ามเกี่ยวกับความร้อนจัดหรือเย็นจัดอันอาจเป็นอันตราย
(๙) งานอื่นตามที่อธิบดีกาหนด
ข้อ ๕๙ การให้นักโทษเด็ดขาดหญิงออกไปฝึ กวิช าชีพในสถานประกอบการนอกเรือนจาให้ ผู้
บัญชาการเรื อนจ าพิจ ารณาลั กษณะงานและสถานประกอบการด้ว ยความรอบคอบ และเสนออธิ บดี
พิจารณาให้ความเห็นชอบก่อนอนุญาตให้ออกไปฝึกวิชาชีพ
ข้อ ๖๐ ในกรณีที่ปรากฏในภายหลังว่านักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับอนุญาตให้ออกไปฝึกวิช าชีพใน
สถานประกอบการนอกเรื อนจ าขาดคุ ณสมบัติห รื อ มีลั ก ษณะต้ องห้ า ม หรือฝ่ าฝื นหรือไม่ปฏิบั ติ ต าม
ระเบี ย บของสถานประกอบการหรื อ กรมราชทั ณ ฑ์ ตลอดจนข้ อ ตกลงที่ ก รมราชทั ณ ฑ์ ท ากั บ สถาน
ประกอบการ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาเพิกถอนการอนุญาตและนาตัวนักโทษเด็ดขาดผู้นั้นกลับเข้าเรือนจา
พร้อมทั้งรายงานให้อธิบดีทราบเพื่อดาเนินการต่อไป
ข้อ ๖๑ ให้ผู้บัญชาการเรือนจารายงานผลการอนุญาตให้นักโทษเด็ดขาดออกไปฝึกวิชาชีพใน
สถานประกอบการนอกเรือนจาต่ออธิบดี ตามระยะเวลาและรูปแบบที่อธิบดีกาหนด และผู้บัญชาการ
เรือนจาอาจกาหนดให้ใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรืออุปกรณ์อื่นใดเพื่อสนับสนุน การควบคุมตัวนักโทษ
เด็ดขาดผู้นั้นก็ได้
หมวด ๘
การรับการศึกษาอบรมนอกเรือนจา
-----------------------
ข้อ ๖๒ นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับโทษจาคุกตามคาพิพากษาถึงที่สุดมาแล้วไม่น้อยกว่าหนึ่งในสาม
ของกาหนดโทษตามหมายจาคุกเมื่อคดีถึงที่สุดในขณะนั้น และเหลือโทษจาคุกไม่เกินสามปีหกเดือน อาจ
ได้รับอนุญาตให้ออกไปศึกษาอบรมนอกเรือนจา
ข้อ ๖๓ นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับอนุญาตให้ออกไปศึกษาอบรมนอกเรือนจาในหลักสูตรการศึกษา
อบรมที่กรมราชทัณฑ์หรือเรือนจาทาความตกลงกับสถานศึกษา ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม
ดังต่อไปนี้
(๑) ต้องโทษจาคุกเป็นครั้งแรก
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 229

(๒) เป็นนักโทษเด็ดขาดตั้งแต่ชั้นดีขึ้นไป
(๓) อยู่ ร ะหว่ างการศึกษาอบรมก่อนต้องโทษ และยังสามารถศึกษาอบรมต่อเนื่องเพื่อให้จบ
หลักสูตรได้
(๔) ได้รับการศึกษาอบรมในเรือนจาและจาเป็นต้องได้รับการศึกษาอบรมต่อเนื่องนอกเรือนจา
(๕) ไม่อยู่ในระหว่างถูกดาเนินการทางวินัยหรือถูกลงโทษทางวินัยในรอบหกเดือนก่อนออกไป
ศึกษาอบรมนอกเรือนจา
(๖) ไม่อยู่ในระหว่างถูกดาเนินคดีอาญาในคดีอื่นหรือถูกอายัดตัวเพื่อดาเนินคดีอาญาอื่น
(๗) ไม่มีพฤติการณ์ที่แสดงให้เห็นว่าเมื่อได้รับอนุญาตให้ออกไปแล้วอาจจะหลบหนีหรือก่อให้เกิด
ความเสียหายแก่ทางราชการ
หลักสูตรการศึกษาอบรมที่อนุญาตให้นักโทษเด็ดขาดออกไปศึกษาอบรมนอกเรือนจาตามวรรค
หนึ่งให้เป็นไปตามที่อธิบดีประกาศกาหนด
ข้อ ๖๔ นักโทษเด็ดขาดซึ่งกระทาความผิดดังต่อไปนี้ไม่ได้รับ การพิจารณาคัดเลือกให้ออกไป
ศึกษาอบรมนอกเรือนจา
(๑) ความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งราชอาณาจักรตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๐๗ถึง
มาตรา ๑๓๕
(๒) ความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้ ายตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๓๕/๑ ถึงมาตรา
๑๓๕/๔
(๓) ความผิดเกี่ยวกับเพศตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๗๖ วรรคสาม มาตรา ๒๗๗
มาตรา ๒๗๗ ทวิ มาตรา ๒๗๗ ตรี มาตรา ๒๘๐ มาตรา ๒๘๒ หรือมาตรา ๒๘๓
(๔) ความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่ างกายตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๘๙ มาตรา ๒๙๗
หรือมาตรา ๒๙๘
ข้อ ๖๕ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาแต่งตั้งคณะทางานเพื่อพิจารณาคัดเลือกนักโทษเด็ดขาดให้ออกไป
รับการศึกษาอบรมนอกเรือนจา ประกอบด้วยผู้บัญชาการเรือนจาเป็นประธาน และเจ้าพนักงานเรือนจา
จานวนไม่น้อยกว่าสามคนเป็นคณะทางาน และให้เจ้าพนักงานเรือนจาคนหนึ่งเป็นเลขานุการ
ข้อ ๖๖ ให้คณะทางานตามข้อ ๖๕ ดาเนินการคัดเลือกนักโทษเด็ดขาดซึ่งสมควรให้ออกไปรับ
การศึกษาอบรมนอกเรือนจา แล้วเสนอผู้บัญชาการเรือนจาให้ความเห็นชอบก่อนเสนออธิบดี พิจารณา
อนุมัติ
ข้อ ๖๗ ให้นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับอนุญาตให้ออกไปศึกษาอบรมนอกเรือนจาปฏิบัติ ดังต่อไปนี้
(๑) แต่งกายตามที่สถานศึกษาหรือผู้บัญชาการเรือนจากาหนด
(๒) กลับเข้าเรือนจาไม่เกินเวลา ๑๗.๐๐ นาฬิกาในวันเดียวกัน
ข้ อ ๖๘ ในกรณีที่ นั กโทษเด็ด ขาดซึ่ ง ได้รั บ อนุญ าตให้ อ อกไปศึ ก ษาอบรมนอกเรื อนจาไม่ มี ผู้
ควบคุมในเวลาที่ออกไปศึก ษาอบรม ให้ นักโทษเด็ดขาดผู้ นั้นปฏิบัติ ต ามเงื่อนไขที่ส ถานศึ กษาหรื อ ผู้
บัญชาการเรือนจากาหนด
ข้อ ๖๙ กรณีที่มีค่าใช้จ่ายอื่นนอกจากที่สถานศึกษาหรือผู้บัญชาการเรือนจาจัดให้ ให้นักโทษ
เด็ดขาดซึ่งได้รับอนุญาตให้ออกไปศึกษาอบรมนอกเรือนจารับผิดชอบค่าใช้จ่ายดังกล่าว

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


230 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ข้อ ๗๐ ในกรณีที่ปรากฏในภายหลังว่านักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับอนุญ าตให้ออกไปศึกษาอบรม


นอกเรือนจาขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ าม หรือฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามระเบียบของสถานศึกษา
หรือกรมราชทัณฑ์ ตลอดจนข้อตกลงที่กรมราชทัณฑ์ทากับสถานศึกษา ให้ผู้บัญชาการเรือนจาเพิกถอน
การอนุ ญ าตและน าตั ว นั ก โทษเด็ ด ขาดผู้ นั้ น กลั บ เข้ า เรื อ นจ า พร้ อ มทั้ ง รายงานให้ อ ธิ บ ดี ท ราบเพื่ อ
ดาเนินการต่อไป
ข้อ ๗๑ ให้ผู้บัญชาการเรือนจารายงานผลการอนุญาตให้นักโทษเด็ดขาดออกไปศึกษาอบรมนอก
เรือนจาต่ออธิบดีตามระยะเวลาและรูปแบบที่อธิบดีกาหนด และผู้บัญชาการเรือนจาอาจกาหนดให้ใช้
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรืออุปกรณ์อื่นใด เพื่อสนับสนุนการควบคุมตัวนักโทษเด็ดขาดผู้นั้นก็ได้

หมวด ๙
เงื่อนไขที่นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับการปล่อยตัวก่อนครบกาหนดโทษต้องปฏิบัติ
-----------------------
ข้อ ๗๒ เงื่อนไขที่เป็นข้อห้ ามมิให้ นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับ การปล่ อยตัวก่อนครบกาหนดโทษ
กระทาการ มีดังต่อไปนี้
(๑) ห้ามเข้าไปในเขตท้องที่ สถานที่ หรือตามเวลาที่กาหนด
(๒) ห้ามคบหาสมาคมกับบุคคลทีอ่ าจนาไปสู่การกระทาความผิดอีก
(๓) ห้ ามเกี่ย วข้องกับ สารระเหย วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท หรือยาเสพติดให้ โ ทษทุก
ประเภท รวมทั้งอาวุธปืน เครื่องกระสุนปืน หรือวัตถุระเบิดทุกชนิด
(๔) ห้ามประพฤติตนในทางเสื่อมเสีย โดยการเสพสุราหรือเล่นการพนันที่อาจนาไปสู่การกระทา
ผิดกฎหมายอีก
(๕) ห้ามเยี่ยมหรือติดต่อกับผู้ต้องขัง ผู้ต้องกักขัง หรือผู้ต้องกักกันอื่นที่ไม่ใช่ญาติ ซึ่งถูกคุมขังอยู่
ในเรือนจา สถานกักขัง สถานกักกัน หรือสถานคุมขังอื่นใด
(๖) ห้ ามเดิน ทางออกนอกเขตท้ องที่จังหวัด เว้นแต่มีธุระส าคัญเป็นครั้งคราว ให้ ขออนุญ าต
พนักงานคุมประพฤติ หากจะย้ายที่อยู่หรือเปลี่ยนแปลงผู้อุป การะ ให้ยื่นคาร้องต่อพนักงานคุมประพฤติ
ในท้องที่เดิมและต้องได้รับอนุญาตก่อน
(๗) เงื่ อ นไขอื่ น ตามที่ ค ณะอนุ ก รรมการเพื่ อ พิ จ ารณาวิ นิ จ ฉั ย ลดวั น ต้ อ งโทษจ าคุ ก หรื อ
คณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาวินิจฉัยการพักการลงโทษกาหนด
ข้ อ ๗๓ เงื่อนไขให้ นั กโทษเด็ด ขาดซึ่ ง ได้รั บ การปล่ อยตัว ก่ อ นครบกาหนดโทษกระทาการมี
ดังต่อไปนี้
(๑) รายงานตัวต่อพนักงานคุมประพฤติ
(๒) พักอาศัยอยู่กับผู้อุปการะตามสถานที่ที่แจ้ง เว้นแต่มีเหตุจาเป็นให้ยื่นคาร้องต่อพนัก งานคุม
ประพฤติในท้องที่เดิมและต้องได้รับอนุญาตก่อน
(๓) ปฏิบัติตามคาแนะนาและคาตักเตือนของพนักงานคุมประพฤติและเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อ การ
แก้ไขฟื้นฟูตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดีกรมคุมประพฤติกาหนด
(๔) ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับ หากมีการฝ่าฝืนและถูกลงโทษโดยเจ้าพนักงานผู้
มีหน้าที่และอานาจตามกฎหมาย ระเบียบ หรือข้อบังคับนั้น ไม่ว่าจะเป็นโทษสถานใดนักโทษเด็ดขาดหรือ
ผู้อุปการะนักโทษเด็ดขาดผู้นั้นต้องแจ้งให้พนักงานคุมประพฤติทราบทุกครั้ง
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 231

(๕) ประกอบอาชีพสุจริต หากจะเปลี่ยนสถานที่ทางานหรือย้ายงานใหม่ ต้องแจ้งให้พนักงานคุม


ประพฤติทราบทุกครั้ง เว้นแต่มีเหตุจาเป็น ให้แจ้งพนักงานคุมประพฤติทราบภายในกาหนดระยะเวลาการ
รายงานตัวครั้งต่อไป
(๖) เงื่ อ นไขอื่ น ตามที่ ค ณะอนุ ก รรมการเพื่ อ พิ จ ารณาวิ นิ จ ฉั ย ลดวั น ต้ อ งโทษจ าคุ ก หรื อ
คณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาวินิจฉัยการพักการลงโทษกาหนด
ข้อ ๗๔ การกาหนดเงื่อนไขตามข้อ ๗๒ หรือข้อ ๗๓ จะกาหนดข้อเดียว หรือหลายข้อก็ได้แล้วแต่
ความเหมาะสมแก่ลักษณะของนักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับการปล่อยตัวก่อนครบกาหนดโทษและพฤติ การณ์
ของนักโทษเด็ดขาดผู้นั้น
การดาเนินการตามเงื่อนไขตามวรรคหนึ่ง คณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาวินิจฉัยลดวันต้องโทษ
จ าคุ ก หรื อ คณะอนุ ก รรมการเพื่ อ พิ จ ารณาวิ นิ จ ฉั ย การพั ก การลงโทษอาจก าหนดให้ ใ ช้ อุ ป กรณ์
อิเล็กทรอนิกส์หรืออุปกรณ์อื่นใดในการติดตามตัวนักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับการปล่อยตัวก่อนครบกาหนด
โทษก็ได้

ให้ไว้ ณ วันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖2


สมศักดิ์ เทพสุทิน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๕๒ แห่งพระราชบัญญัติ


ราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ บัญญัติให้การดาเนินการเลื่อนชั้นนักโทษเด็ดขาด การแต่งตั้งให้มีตาแหน่งหน้าที่ผู้
ช่วยเหลือเจ้าพนักงานเรือนจา การลดวันต้องโทษจาคุก การลดวันต้องโทษจาคุกลงอีกไม่เกินจานวนวันที่
ทางานสาธารณะหรือทางานอื่นใดเพื่อประโยชน์ของทางราชการนอกเรือนจา การพักการลงโทษ และการ
ฝึกวิชาชีพในสถานประกอบการหรือรับการศึกษาอบรมนอกเรือนจา ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและ
เงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวงโดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการราชทัณฑ์ และมาตรา ๕๓
แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว บัญญัติให้นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับการลดวันต้องโทษจาคุกตามมาตรา ๕๒
(๕)หรือ (๖) หรือได้รับการพักการลงโทษตามมาตรา ๕๒ (๗) และได้รับการปล่อยตัวไปก่อนครบกาหนด
โทษตามหมายศาลในขณะนั้ น ต้องปฏิบัติตนโดยเคร่งครัด ตามเงื่อนไขที่ กาหนดในกฎกระทรวง จึง
จาเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


232 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

กฎกระทรวง 12 ฉบับ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 12 ต.ค.2563


กฎกระทรวง
กาหนดประเภท ชนิด และขนาดของเครื่องพันธนาการที่ใช้แก่ผู้ต้องขัง พ.ศ.๒๕๖๓
------------------------
อาศั ย อ านาจตามความในมาตรา ๗ วรรคหนึ่ ง และมาตรา ๒๑ วรรคห้ า แห่ ง
พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.๒๕๖๐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้ยกเลิก
(๑) หมวด ๓ เครื่องพันธนาการ ของส่วนที่ ๒ อานาจและหน้าที่เจ้าพนักงานเรือนจา
ข้อ ๒๕ ข้อ ๒๖ ข้อ ๒๗ ข้อ ๒๘ ข้อ ๒๙ และข้อ ๓๐ แห่งกฎกระทรวงมหาดไทย ออกตามความใน
มาตรา ๕๘ แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พุทธศักราช ๒๔๗๙
(๒) กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ.๒๕๔๑) ออกตามความในพระราชบัญญัติราชทัณฑ์
พุทธศักราช ๒๔๗๙ (๓) กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๕ (พ.ศ.๒๕๕๘) ออกตามความในพระราชบั ญ ญั ติ
ราชทัณฑ์ พุทธศักราช ๒๔๗๙
ข้อ ๒ ประเภทของเครื่องพันธนาการที่ใช้แก่ผู้ต้องขัง มีดังต่อไปนี้
(๑) สายรัดข้อมือ
(๒) เสื้อพันธนาการ
(๓) กุญแจมือ
(๔) กุญแจเท้า
(๕) ชุดกุญแจมือและกุญแจเท้า
(๖) ตรวน
(๗) โซ่ล่าม
ข้อ ๓ สายรัดข้อมือมี ๒ แบบ ดังต่อไปนี้
(๑) สายรัดข้อมือแบบที่ ๑ ได้แก่ สายรัดข้อมือพลาสติกขึ้นรูปเป็นชิ้นเดียวกันทั้งหมด
แบบตวัดรัดให้แน่นด้วยตัวเอง โดยใช้ปลายพลาสติกพันรอบข้อมือซ้ายและข้อมือขวา และต้องสอดปลาย
สายพลาสติกเข้ า กับ ช่อง ๒ ช่องตรงกลางของอุปกรณ์ เมื่อปลายสายพลาสติกเข้ าช่องแล้ว จะไม่
สามารถดึงสายรัดข้อมือกลับออกมาอีกได้ โดยบริเวณฐานของสายรัดข้อมือมีขนาด เส้นผ่านศูนย์กลางไม่
น้อยกว่า ๑ เซนติเมตร ส่วนสายรัดข้อมือมีความกว้างไม่น้อยกว่ า ๐.๕ เซนติเมตร และมีความยาว
โดยรวมไม่น้อยกว่า ๘๕ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน ๑๐๐ เซนติเมตร
(๒) สายรัดข้อมือแบบที่ ๒ ได้แก่ สายรัดข้อมือพลาสติกขึ้นรูปเป็นชิ้นเดียวกันทั้งหมด
แบบตวัดรัดให้แน่นด้วยตัวเอง โดยใช้ปลายพลาสติกพันรอบข้อมือซ้ายและข้อมือขวา และต้องสอด ปลาย
สายพลาสติกเข้ากับช่อง ๑ ช่องตรงปลายของอุปกรณ์ เมื่อปลายสายพลาสติกเข้าช่องแล้ว จะไม่สามารถ
ดึงสายรัดข้อมือกลับออกมาอีกได้ โดยบริเวณฐานของสายรัดข้อมือมีขนาด เส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า
๑ เซนติเมตร ส่วนสายรัดข้อมือมีความกว้างไม่น้อยกว่า ๐.๕ เซนติเมตร และมีความยาวโดยรวมไม่น้อย
กว่า ๑๔ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน ๒๐ เซนติเมตร
ข้อ ๔ เสื้อพันธนาการ ได้แก่ เสื้อที่ทาด้วยผ้าอย่างหนาหรือวัสดุอื่นใดที่มีความคงทน
แข็งแรง ลาตัวมีความกว้างระหว่าง ๙๐ เซนติเมตร ถึง ๑๒๕ เซนติเมตร แขนเสื้อมีความยาว จากหัวไหล่
ถึงปลายแขนไม่น้อยกว่า ๑๐๐ เซนติเมตร โดยด้านหน้าของตัวเสื้อประกอบด้วยบริเวณ ปลายแขนเสื้อทั้ง
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 233

สองข้างเย็บปิดและติดตั้งห่วงโลหะที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า ๒ เซนติเมตร ข้างละ ๑ ห่วง


เพื่อใช้ร้อยสายรัดที่มีความยาวไม่น้อยกว่า ๑๒๐ เซนติเมตร และมีความกว้าง ไม่น้อยกว่า ๒ เซนติเมตร
ตัว สายรั ดทาจากผ้ าอย่ างหนาหรื อวัส ดุ อื่นใดที่ มี ความคงทนแข็ง แรง ไม่น้อยกว่ าวัส ดุที่ ใช้ท าตั ว เสื้ อ
ด้านหลังของตัวเสื้อประกอบด้วยสายรัดและห่วงโลหะติดตั้งไว้ไม่น้อยกว่า ๓ จุด โดยสายรัดมีความยาวไม่
น้อยกว่า ๕๐ เซนติเมตร และมีความกว้างไม่น้อยกว่า ๒ เซนติเมตร ด้านข้างของตัวเสื้อบริเวณกึ่งกลาง
ด้านหน้า และด้านหลังติดตั้งสายรัดและจุดยึดเพื่อใช้รัดใต้หว่ างขา จานวน ๑ จุด โดยสายรัดมีความยาว
ไม่น้อยกว่า ๕๐ เซนติเมตร และมีความกว้างไม่น้อยกว่า ๒ เซนติเมตร
ข้อ ๕ กุญแจมือ มี ๕ แบบ ดังต่อไปนี้
(๑) กุญแจมือแบบที่ ๑ ได้แก่ ห่วงทาด้วยโลหะ มีฟันเฟืองโลหะเพื่อใช้ตวัดรัดข้อมือ
ซ้าย และข้อมือขวาให้แน่น ระหว่างตัวห่วงโลหะทั้งสองข้างเชื่อมติดกันด้วยลูกโซ่โลหะที่มีขนาด เส้นผ่าน
ศูนย์กลางไม่เกิน ๔.๗๕ มิลลิเมตร และมีความยาวไม่น้อยกว่า ๓ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน ๑๐ เซนติเมตร
(๒) กุญแจมือแบบที่ ๒ ได้แก่ ห่วงทาด้วยโลหะ มีฟันเฟืองโลหะเพื่อใช้ตวัดรัดข้อมือ
ซ้าย และข้อมือขวาให้แน่น ระหว่างตัวห่วงโลหะทั้งสองข้างเชื่อมติดกันด้วยบานพับโลหะที่มีจุดยึดติดกับ
ตัวห่วงโลหะอย่างน้อยข้างละสองจุด
(๓) กุญแจมือแบบที่ ๓ ได้แก่ ห่วงทาด้วยโลหะ มีฟันเฟืองโลหะเพื่อใช้ตวัดรัดข้อมือ
ซ้าย และข้อมือขวาให้แน่น ตัวห่วงโลหะแต่ละข้ างเชื่อมติดกับห่วงโลหะที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่
เกิน ๔.๗๕ มิลลิเมตร สอดเข้ากับบานพับโลหะที่มีจุดยึดติดกับสายเข็มขัดรัดเอวที่มีจุดยึดไม่น้อยกว่ าสี่
จุด สายเข็มขัดรัดเอวยาวไม่เกิน ๑๓๐ เซนติเมตร และมีระยะห่ างระหว่างบานพับโลหะที่ยึดติดกับ
สายเข็มขัดรัดเอวด้านซ้ายและเอวด้านขวาไม่น้อยกว่า ๓๐ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน ๑๐๐ เซนติเมตร
(๔) กุญแจมือแบบที่ ๔ ได้แก่ ห่วงทาด้วยโลหะ มีฟันเฟืองโลหะเพื่อใช้ตวัดรัดข้ อมือ
ซ้าย และข้อมือขวาให้แน่น ตัวห่วงโลหะแต่ละข้างเชื่อมติดกับลูกโซ่โลหะที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่
เกิน ๔.๗๕ มิลลิเมตร และมีความยาวไม่น้อยกว่า ๓ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน ๑๐ เซนติเมตร ยึดติดกับสาย
เข็มขัดรัดเอวที่ทาจากลูกโซ่โลหะที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน ๔.๗๕ มิลลิเมตร และมีความยาวไม่
เกิน ๑๓๐ เซนติเมตร และมีระยะห่างระหว่างตัวห่วงโลหะที่อยู่ที่เอวด้ านซ้ายและเอวด้านขวา ไม่น้อย
กว่า ๓๐ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน ๑๐๐ เซนติเมตร ปลายทั้งสองข้างของสายเข็มขัดรัดเอวลูกโซ่ โลหะมีห่วง
สาหรับใช้สอดแม่กุญแจโลหะเพื่อยึดสายเข็มขัดรัดเอวลูกโซ่โลหะทั้งสองข้างเข้าด้วยกัน
(๕) กุญแจมือแบบที่ ๕ ได้แก่ ห่วงทาด้วยโลหะ มีฟันเฟืองโลหะเพื่อใช้ตวัดรัดข้อมือ
ซ้าย และข้อมือขวาให้แน่น ตัวห่วงโลหะแต่ละข้างเชื่อมติดกับลูกโซ่โลหะที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่
เกิน ๔.๗๕ มิลลิเมตร และมีความยาวไม่น้อยกว่า ๓ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน ๑๐ เซนติเมตร ยึดติด
กับ สายเข็มขัดรัดเอวที่ทาจากลูกโซ่โลหะที่ด้านหน้าลาตัว ลูกโซ่โลหะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน
๔.๗๕ มิลลิเมตร สายเข็มขัดรัดเอวลูกโซ่โลหะมีความยาวไม่เกิน ๑๓๐ เซนติเมตร ปลายทั้งสองข้าง
ของสายเข็มขัดรัดเอวลูกโซ่โลหะมีห่วงสาหรับใช้สอดแม่กุญแจโลหะเพื่อยึดสายเข็มขัดรัดเอวลูกโซ่โลหะ
ทั้งสองข้างเข้าด้วยกัน
การคลายห่วงโลหะที่ใช้ตวัดรัดข้อมือของกุญแจมือตามวรรคหนึ่ง ให้ใช้ลูกกุญแจโลหะไข
ที่ตัวห่วงโลหะทั้งสองข้ างด้วยลูกกุญแจโลหะดอกเดี ยวกัน ส่วนการคลายแม่กุญแจโลหะของกุญแจมือ
แบบที่ ๔ และแบบที่ ๕ ให้ใช้ลูกกุญแจโลหะดอกเดียวกันกับที่ใช้ในการคลายห่วงโลหะ

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


234 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ข้อ ๖ กุญแจเท้า ได้แก่ ห่วงทาด้วยโลหะ มีฟันเฟืองโลหะเพื่อใช้ตวัดรัดข้อเท้าซ้ายและ


ข้อเท้าขวาให้แน่น ระหว่างตัวห่วงโลหะทั้งสองข้างเชื่อมติดกันด้วยลูกโซ่โลหะที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง
ไม่เกิน ๔.๗๕ มิลลิเมตร และมีความยาวไม่น้อยกว่า ๓๘ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน ๕๐ เซนติเมตร
การคลายห่วงโลหะที่ใช้ตวัดรัดข้อเท้าของกุญแจเท้าตามวรรคหนึ่ง ให้ใช้ลูกกุญแจโลหะ
ไขที่ตัวห่วงโลหะทั้งสองข้างด้วยลูกกุญแจโลหะดอกเดียวกัน
ข้อ ๗ ชุดกุญแจมือและกุญแจเท้า ได้แก่ กุญแจมือแบบที่ ๑ ตามข้อ ๕ (๑) และกุญแจ
เท้า ตามข้อ ๖ ที่ระหว่างกึ่งกลางของลูกโซ่โลหะของกุญแจมือแบบที่ ๑ และลูกโซ่โลหะของกุญแจเท้า
เชื่อมติดกับลูกโซ่โลหะที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน ๔.๗๕ มิลลิเมตร และมีความยาวไม่น้อยกว่า
๘๐ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน ๑๐๐ เซนติเมตร
ข้อ ๘ ตรวน มี ๓ ขนาด ดังต่อไปนี้
(๑) ขนาดที่ ๑ วัดเส้นผ่านศูนย์กลางเหล็กวงแหวน ๑๐ มิลลิเมตร โซ่ระหว่างวงแหวน
มีความยาวไม่น้อยกว่ า ๕๐ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน ๗๕ เซนติเมตร และมีขนาดของลูกโซ่ที่วัด เส้นผ่ าน
ศูนย์กลางเหล็กไม่เกิน ๑๐ มิลลิเมตร
(๒) ขนาดที่ ๒ วัดเส้นผ่านศูนย์กลางเหล็กวงแหวน ๑๒ มิลลิเมตร โซ่ระหว่างวงแหวน
มีความยาวไม่น้อยกว่ า ๕๐ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน ๗๐ เซนติเมตร และมีขนาดของลูกโซ่ที่วัด เส้นผ่ าน
ศูนย์กลางเหล็กไม่เกิน ๔.๗๕ มิลลิเมตร
(๓) ขนาดที่ ๓ วัดเส้นผ่านศูนย์กลางเหล็กวงแหวน ๑๗ มิลลิเมตร โซ่ระหว่างวงแหวน
มีความยาวไม่น้อยกว่ า ๕๐ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน ๗๕ เซนติเมตร และมีขนาดของลูกโซ่ที่วัด เส้นผ่ าน
ศูนย์กลางเหล็กไม่เกิน ๑๗ มิลลิเมตร
ข้อ ๙ โซ่ล่าม ให้มีขนาดตามที่กาหนดไว้สาหรับตรวนขนาดที่ ๑ และขนาดที่ ๓ โดยมี
ความยาวของโซ่ไม่น้อยกว่า ๙๐ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน ๑๓๐ เซนติเมตร
ข้อ ๑๐ สายรัดข้อมือ เสื้อพันธนาการ กุญแจมือ กุญแจเท้า ชุดกุญแจมือและกุญแจเท้า
ตรวน และโซ่ล่าม ให้เป็นไปตามแบบท้ายกฎกระทรวง
ให้ไว้ ณ วันที่ 25 กันยายน พ.ศ.๒๕๖3
สมศักดิ์ เทพสุทิน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
หมายเหตุ :- เหตุ ผ ลในการประกาศใช้ ก ฎกระทรวงฉบั บ นี้ คื อ โดยที่ ม าตรา ๒๑ วรรคห้ า แห่ ง
พระราชบั ญญัติร าชทัณ ฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ บัญญัติให้ การกาหนดประเภท ชนิด และขนาดของเครื่ อ ง
พันธนาการที่ใช้แก่ผู้ต้องขัง ให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง จึงจาเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้
(ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๗ ตอนที่ ๘๔ ก ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๖๓)
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 235

กฎกระทรวง
กาหนดประเภทหรือชนิดของอาวุธอื่นนอกจากอาวุธปืน ที่เจ้าพนักงานเรือนจา
จะพึงมีไว้ในครอบครองหรือใช้ในการปฏิบตั ิหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๖๓
-------------------
อาศั ย อ านาจตามความในมาตรา ๗ วรรคหนึ่ ง และมาตรา ๒๒ วรรคสอง แห่ ง
พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้ยกเลิกกฎกระทรวงมหาดไทย ออกตามความในพระราชบัญญัติราชทั ณ ฑ์
พุทธศักราช ๒๔๗๙ (ฉบับที่ ๔)
ข้อ ๒ อาวุธอื่นนอกจากอาวุธปืนที่เจ้าพนักงานเรือนจาจะพึงมีไว้ในครอบครอง หรือ ใช้
ในการปฏิบัติหน้าที่มดี ังต่อไปนี้
(๑) ตะบองไม้กลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า ๒.๕ เซนติเมตร แต่ไม่เกิน ๓
เซนติเมตร มีความยาวไม่เกิน ๗๐ เซนติเมตร มีลักษณะผิวเรียบและมีขนาดเท่ากันตลอด จากด้ามจับถึง
ปลาย
(๒) ตะบองโลหะชนิดยืดหดได้ มีความยาวยืดสุดไม่เกิน ๗๐ เซนติเมตร (๓) ตะบอง
พลาสติกหรือไฟเบอร์หรือทาจากวัสดุสังเคราะห์อื่นที่คล้ ายกัน มีความยาวไม่เกิน ๗๐ เซนติเมตร มี
ลักษณะกลมและมีผิวเรียบจะมีกิ่งสาหรับจับหรือไม่ก็ได้

ให้ไว้ ณ วันที่ 25 กันยายน พ.ศ. ๒๕๖3


สมศักดิ์ เทพสุทิน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่ม าตรา ๒๒ วรรคสอง แห่ง


พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ บัญญัติให้ประเภทหรือชนิดของอาวุธอื่นนอกจากอาวุธปืน ที่เจ้า
พนั กงานเรื อนจ าจะพึง มี ไว้ ในครอบครอง หรือใช้ในการปฏิบั ติห น้ า ที่ ให้ เป็นไปตามที่ ก าหนด ใน
กฎกระทรวง จึงจาเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


236 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

กฎกระทรวง
กาหนดสถานทีค่ ุมขัง พ.ศ. ๒๕๖๓
-----------------------
อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๗ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๓๓ แห่งพระราชบัญญัติ
ราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ในกฎกระทรวงนี้ “สถานที่คุมขัง” หมายความว่า สถานที่อื่นที่มิใช่เรือนจาซึ่งเป็น
สถานที่ของทางราชการหรือ เอกชนที่เจ้ าของหรือผู้ปกครองดูแลรักษาสถานที่อนุญาตหรือยินยอมเป็น
หนังสือให้ใช้ประโยชน์ ในการควบคุมผู้ต้องขัง ทั้งนี้ ต้องไม่ใช่สถานที่ตามมาตรา ๘๙/๒ แห่งประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญา
ข้อ ๒ การกาหนดอาณาเขตของสถานที่คุมขัง จะกาหนดอาณาเขตของอสังหาริมทรัพย์
ทั้งแปลง หรื อส่ ว นใดส่ วนหนึ่งของอาคารหรือสิ่ งปลู กสร้ างที่ตั้งอยู่บนอสั งหาริมทรั พย์นั้นก็ได้ โดย
อสังหาริมทรัพย์ อาคาร หรือสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว ต้องมีลักษณะ ดังต่อไปนี้
(๑) กรณีอสังหาริมทรัพย์ ต้องมีขอบเขตที่แน่นอน และมีอ าคารหรือสิ่งปลูกสร้ างที่มี
ลักษณะ เป็นการถาวรตั้งอยู่ สามารถใช้ประโยชน์จากอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างดังกล่าวได้ โดยไม่ต้องทา
การก่อสร้าง ซ่อมแซม หรือปรับปรุงใหม่
(๒) กรณี อ าคารหรื อ สิ่ ง ปลู ก สร้ า ง ต้ อ งมี ลั ก ษณะเป็ น การถาวรและตั้ ง อยู่ บ น
อสังหาริมทรัพย์ โดยส่วนที่จะกาหนดเป็นอาณาเขตของสถานที่คุมขังต้องสามารถใช้ประโยชน์ได้ โดยไม่
ต้องทา การก่อสร้าง ซ่อมแซม หรือปรับปรุงใหม่
ข้อ ๓ สถานที่คุมขังต้องมีวัตถุประสงค์ในการใช้คุมขังผู้ต้องขังเพื่อประโยชน์อย่ างหนึ่ง
อย่างใด ดังต่อไปนี้
(๑) การปฏิบัติตามระบบการจาแนกและการแยกคุมขัง
(๒) การดาเนินการตามระบบการพัฒนาพฤตินิสัย
(๓) การรักษาพยาบาลผู้ต้องขัง
(๔) การเตรียมความพร้อมก่อนปล่อย
ข้อ ๔ สถานที่คุมขังตามข้อ ๓ (๑) ได้แก่
(๑) สถานที่สาหรับอยู่อาศัย
(๒) สถานที่สาหรับควบคุม กักขัง หรือกักตัวตามกฎหมายของทางราชการที่มิใช่เรือนจา
ข้อ ๕ สถานที่คุมขังตามข้อ ๓ (๒) ได้แก่
(๑) สถานที่ราชการ หรือสถานที่ที่ส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐใช้ประโยชน์ในการ
จัดทา บริการสาธารณะ
(๒) สถานศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 237

(๓) วัดตามกฎหมายว่าด้วยคณะสงฆ์
(๔) มัสยิดตามกฎหมายว่าด้วยการบริหารองค์กรศาสนาอิสลาม
(๕) สถานที่ทาการหรือสถานประกอบการของเอกชน
(๖) สถานที่ทาการของมูลนิธิ สถานสงเคราะห์ หรือสถานที่ที่ใช้ส าหรับการสั งคม
สงเคราะห์ ไม่ว่าจะเป็นของทางราชการหรือเอกชน
ข้อ ๖ สถานที่คุมขังตามข้อ ๓ (๓) ได้แก่ สถานพยาบาลประเภทที่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน
ข้อ ๗ สถานที่คุมขังตามข้อ ๓ (๔) ได้แก่ สถานที่คุมขังตามข้อ ๓ (๑) (๒) หรือ (๓) ที่ใช้
สาหรับคุมขังนักโทษเด็ดขาดที่เหลือกาหนดโทษจาคุกไม่เกินสามปีหกเดือน หรือต้องโทษจาคุก มาแล้วไม่
น้อยกว่าสองในสามของกาหนดโทษครั้งหลังสุด ในกรณีที่เหลือกาหนดโทษจาคุกเกินสามปี หกเดือน
ข้อ ๘ เมื่ออธิบดีได้วางระเบียบตามมาตรา ๓๔ วรรคหนึ่ง เกี่ยวกับการบริหารงาน
และ การอื่นอันจาเป็นในสถานที่คุมขังใดตามข้อ ๔ ข้อ ๕ ข้อ ๖ หรือข้อ ๗ แล้วแต่กรณี แล้วให้
อธิบดี จัดให้มีบัญชีสถานที่คุมขังนั้นและประกาศในระบบสารสนเทศของกรมราชทัณฑ์ให้ทราบถึงอาณา
เขต และวัตถุประสงค์ของสถานที่คมุ ขังแต่ละแห่งด้วย

ให้ไว้ ณ วันที่ 25 กันยายน พ.ศ. ๒๕๖3


สมศักดิ์ เทพสุทิน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๓๓ แห่งพระราชบัญญัติ
ราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ บัญญัติให้การกาหนดอาณาเขตในสถานที่อื่นที่มิใช่เรือนจาให้เป็นสถานที่คุมขัง
เพื่อดาเนินกิจการตามภารกิจของกรมราชทัณฑ์ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนด
ในกฎกระทรวง จึงจาเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้ (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๗ ตอนที่ ๘๔
ก ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๖๓)

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


238 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

กฎกระทรวง
กาหนดระบบการจาแนกลักษณะของผู้ต้องขัง การควบคุมและการแยกคุมขัง
และการย้ายผูต้ ้องขัง พ.ศ. ๒๕๖๓
--------------------
อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๗ วรรคหนึ่ง มาตรา ๔๐ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๔๑
แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมโดยได้รับความเห็นชอบ
จากคณะกรรมการราชทัณฑ์ออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้ยกเลิกหมวด ๔ การควบคุมผู้ต้องขัง ของส่วนที่ ๒ อานาจและหน้าที่เจ้า
พนักงานเรือนจา ข้อ ๓๑ ข้อ ๓๒ ข้อ ๓๓ และข้อ ๓๔ และหมวด ๑ ข้อความทั่วไป ของส่วนที่ ๔
การแยกผู้ต้องขัง ข้อ ๔๐ ข้อ ๔๑ ข้อ ๔๒ และข้อ ๔๓ แห่งกฎกระทรวงมหาดไทย ออกตามความใน
มาตรา ๕๘ แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พุทธศักราช ๒๔๗๙
หมวด ๑
การจาแนกลักษณะของผู้ต้องขัง
---------------------
ข้ อ ๒ ให้ ผู้ บั ญ ชาการเรื อ นจ าจั ด ให้ มี แ ดนแรกรั บ หรื อ สถานที่ แ รกรั บ ในเรื อ นจ า
โดยเฉพาะ สาหรับแยกขังผู้ต้องขังเข้ าใหม่หรือรับย้ ายจากเรือนจาอื่นเพื่อรอการจาแนกลักษณะของ
ผู้ต้องขัง รายบุคคลก่อนที่จะส่งตัวไปรับการอบรม แก้ไข และฟื้นฟูจิตใจตามความเหมาะสมของผู้ต้องขัง
รายบุคคล
ข้อ ๓ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาแต่งตั้งเจ้ าพนักงานเรือนจาจานวนไม่น้อยกว่ าหนึ่ง คน
ปฏิบัติหน้าที่จาแนกลักษณะของผู้ต้องขัง โดยจะต้องเป็นนักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ หรือ เจ้า
พนักงานเรือนจาซึ่งผ่านการกอบรมด้านการจาแนกลักษณะของผู้ต้องขังจากกรมราชทัณฑ์
เจ้ าพนั กงานเรื อนจ าซึ่งได้รับการแต่งตั้งตามวรรคหนึ่ง มีห น้ าที่ศึกษาและรวบรวม
ประวัติ ของผู้ต้องขังแต่ละคนและสังเกตพฤติกรรมของผู้ต้องขังในการใช้ชีวิตในเรือนจา
ข้อ ๔ การจาแนกลักษณะของผู้ต้องขัง ให้ดาเนินการดังต่อไปนี้
(๑) ขั้นพื้นฐาน ให้ดาเนินการกลั่นกรองผู้ต้องขัง โดยการจัดชั้น จัดกลุ่ม ควบคุม และ
แยกคุมขังผู้ต้องขัง
(๒) ขั้นแก้ไข บาบัด ฟื้นฟู และพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขังให้กลับตนเป็นคนดี ให้นาข้อมูล
จาก (๑) และข้ อ มู ล อื่ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ งมาใช้ ใ นการวิ เ คราะห์ การวางแผน และการปฏิ บั ติ ต่ อ ผู้ ต้ อ งขั ง
รายบุคคลให้เหมาะสม
(๓) ขั้นการเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยตัวผู้ต้องขัง ให้นาข้อมูลจาก (๑) และ (๒)มาใช้
วางแผนเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยตัวผู้ต้องขังรายบุคคลให้เหมาะสม
การดาเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่อธิบดีกาหนด
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 239

ข้อ ๕ ให้มีคณะทางานเพื่อจาแนกลักษณะของผู้ต้องขังประจาเรือนจา ประกอบด้วย


ผู้บัญชาการเรือนจ าเป็น ประธาน และเจ้ าพนักงานเรือนจาซึ่งมีความรู้และความชานาญในด้า นการ
ควบคุม การศึกษา การฝึกวิชาชีพ การบาบัดรักษา การพัฒนาจิตใจ หรือการสาธารณสุข จานวนไม่
น้ อยกว่ า ห้ าคน เป็ น คณะทางาน และให้ เจ้ าพนักงานเรือนจาผู้รับผิ ดชอบงานจาแนกลักษณะของ
ผู้ต้องขัง เป็นคณะทางานและเลขานุการ
การแต่งตั้งคณะทางานตามวรรคหนึ่ง อาจมีผู้แทนจากหน่วยงานหรือบุคคลภายนอก
ร่วมเป็น คณะทางานด้วยก็ได้
ข้อ ๖ คณะทางานเพื่อจาแนกลักษณะของผู้ต้องขังมีหน้าที่และอานาจ ดังต่อไปนี้
(๑) กาหนดแผนการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังรายบุคคล โดยคานึงถึงประโยชน์ในการจัดชั้น
จัดกลุ่ม ควบคุม แยกคุมขัง แก้ไข บาบัด ฟื้นฟู และพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขังให้กลับตนเป็นคนดี และการ
เตรียมความพร้อมก่อนปล่อยตัวผู้ต้องขัง
(๒) พิจารณาทบทวนและปรับเปลี่ยนแผนการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังรายบุคคล
(๓) ดาเนินการอื่นใดเพื่อประโยชน์ในการจาแนกลักษณะของผู้ต้องขัง
ข้อ ๗ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาจัดประชุมคณะทางานเพื่อจาแนกลักษณะของผู้ต้องขัง
อย่างน้อยเดือนละหนึ่งครั้ง
การประชุมของคณะทางานต้องมีคณะทางานมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวน
คณะทางานทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม
การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้ างมาก คณะทางานคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งใน
การลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด
ความเห็นของคณะทางานให้เป็นที่สุด
ข้อ ๘ ให้ เจ้ าพนั กงานเรือนจาติดตามผลการปฏิบัติต ามแผนการปฏิบัติต่อผู้ ต้องขั ง
รายบุคคล หลังจากที่ผ่านการจาแนกลักษณะของผู้ต้องขังไปแล้วไม่น้อยกว่าหกเดือน
ข้อ ๙ คณะทางานตามข้อ ๕ อาจทบทวนแผนการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังรายบุคคล ก่อน
ครบระยะเวลาตามที่กาหนดในข้อ ๘ ได้ หากปรากฏข้อเท็จจริงดังต่อไปนี้
(๑) พบปัญหาขัดข้องจากการปฏิบัติตามแผนการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังรายบุคคล
(๒) พบข้อมูลใหม่ที่เป็นสาระสาคัญต่อการจาแนกลักษณะของผู้ต้องขัง
ในกรณีผู้ต้องขังเจ็บป่วย มีโรคประจาตัว หรือมีเหตุจาเป็นจนไม่อาจปฏิบัติตามแผนการ
ปฏิบัติ ต่อผู้ต้องขังรายบุคคลได้ ผู้บัญชาการเรือนจาอาจสั่งให้งดการปฏิบัติตามแผนดังกล่าวได้จนกว่าจะ
มี การรายงานต่อคณะทางานตามข้อ ๕ เพื่อพิจารณาทบทวนแผนการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังรายบุคคล
ข้อ ๑๐ ให้เรือนจาจัดเก็บข้อมูลการจาแนกลักษณะของผู้ต้องขังเพื่อการสืบค้น โดยให้
นาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ และนาข้อมูลดังกล่าวมาประกอบการพิจารณาการเลื่อนชั้น หรือลดชั้น
การย้ ายผู้ ต้องขัง การงานของผู้ ต้องขัง การพักการลงโทษ การลดวันต้องโทษจาคุก และการให้
ประโยชน์แก่ผู้ต้องขังอย่างอื่นด้วย

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


240 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

หมวด ๒
การควบคุมและการแยกคุมขัง
-----------------
ข้อ ๑๑ ในการควบคุมผู้ต้องขัง ให้ดาเนินการ ดังต่อไปนี้
(๑) กรณีป กติ ให้ ผู้ บั ญชาการเรือนจาสั่งการหรือมอบหมายให้ เจ้าพนักงานเรือนจา
ควบคุม ตรวจตรา และปองกันการกระทาความผิดของผู้ต้องขัง รวมถึงการปฏิบัติการอื่น ตามที่กฎหมาย
กาหนดให้เป็นหน้าที่และอานาจของเจ้าพนักงานเรือนจา ในกรณีที่มีการจ่ายผู้ต้องขังออกไปนอกเรือนจา
ให้ผู้บัญชาการเรือนจาจัดให้มีเจ้าพนักงานเรือนจาที่เพียงพอเพื่อปองกันการหลบหนี
(๒) กรณี มี เ หตุ ก ารณ์ ไ ม่ ส งบเกิ ด ขึ้ น ให้ เ จ้ า พนั ก งานเรื อ นจ าระงั บ เหตุ ห รื อ แก้ ไ ข
เหตุการณ์ พร้อมกับแจ้งให้พัศดีหรือผู้บัญชาการเรือนจาทราบ หากไม่สามารถควบคุมเหตุการณ์โดย
กาลังของเจ้ าพนั กงานเรื อนจ าเพีย งฝ่ ายเดียวได้ ให้ประสานขอกาลั งเสริมจากพนักงานฝ่ ายปกครอง
ตารวจ ทหาร หรือหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อระงับเหตุดังกล่าวและรายงานให้อธิบดีทราบ
ข้อ ๑๒ เรือนจาใดมีผู้ต้องขังหญิง ให้เจ้าพนักงานเรือนจาหญิงเป็นผู้ควบคุม เว้นแต่
กรณีมีเหตุจาเป็น
ข้อ ๑๓ ห้ามผู้ต้องขังชายหรือเจ้าพนักงานเรือนจาชายเข้าไปในเขตควบคุมผู้ต้องขังหญิง
เว้นแต่กรณี ดังต่อไปนี้
(๑) มีเหตุการณ์ไม่สงบเกิดขึ้น ซึ่งจาเป็นต้องเข้าไประงับเหตุ และเมื่อเหตุการณ์เข้าสู่
ภาวะปกติแล้ว ให้เจ้าพนักงานเรือนจาชายออกจากเขตควบคุมผู้ต้องขังหญิงทันที
(๒) การปฏิบัติหน้าที่ตามที่ผู้บัญชาการเรือนจามอบหมายหรือเพื่อประโยชน์ของทาง
ราชการ และต้องเข้าไปในเวลากลางวัน โดยมีเจ้าพนักงานเรือนจาตั้งแต่ชั้นพัศดีขึ้นไป และเจ้าพนักงาน
เรือนจา อีกจานวนไม่น้อยกว่าสองคนเข้าไปด้วย หากมีเหตุจาเป็นต้องเข้าไปในเขตควบคุมผู้ต้องขังหญิง
ในเวลากลางคืน ต้องได้รับอนุญาตจากผู้บัญชาการเรือนจาก่อน
ข้อ ๑๔ เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการผู้ต้องขังภายในเรือนจา ให้ผู้บัญชาการ
เรือนจา จัดแบ่งสถานที่ของเรือนจาออกเป็นส่วน ๆ โดยให้มีสิ่งกีดกั้นหรือขอบเขตที่แน่นอน และจัดแยก
ผู้ต้องขังแต่ละประเภทในส่วนที่ได้จัดแบ่ง หากเรือนจาใดโดยสภาพไม่สามารถกระทาได้ ให้พยายามแยก
คุมขัง ผู้ต้องขังให้ใกล้เคียงกับการจัดแบ่งสถานที่ของเรือนจาข้างต้นเท่าที่จะกระทาได้
ข้อ ๑๕ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาแยกคุมขังผู้ต้องขังในกรณี ดังต่อไปนี้
(๑) ผู้ต้องขังมีพฤติการณ์ที่อาจจะก่อเหตุร้ายหรืออาจจะก่อความไม่สงบเรียบร้อยขึ้นใน
เรือนจา หรือมีเหตุพิเศษอย่างอื่น ให้แยกผู้ต้องขังคนนั้นไปรวมกับผู้ต้องขังประเภทอื่น หรือสถานที่อื่น
ภายในเรือนจา
(๒) ผู้ต้องขังหลายคนในคดีเดียวกัน ให้แยกผู้ต้องขังแต่ละคนมิให้ปะปนกัน เว้นแต่
กรณี มีเหตุจาเป็น
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 241

(๓) ผู้ต้องขังป่วยด้วยโรคติดต่อหรือโรคอื่นที่อยู่ในระยะอันตราย ให้แยกผู้ต้องขังป่วย


ออกจากผู้ต้องขังคนอื่น
หมวด ๓
การย้ายผู้ต้องขัง
-------------------
ข้อ ๑๖ ให้อธิบดีย้ายผู้ต้องขังจากเรือนจาหนึ่งไปอีกเรือนจาหนึ่งในกรณี ดังต่อไปนี้
(๑) การควบคุมตามอานาจการคุมขัง
(๒) การบริหารความแออัดภายในเรือนจา
(๓) การควบคุมตามเพศ สถานะ พฤติการณ์ หรือวัตถุประสงค์ในการพัฒนาพฤตินิสัย
ผู้ต้องขัง
(๔) การดาเนินคดีหรือตามคาขอของส่วนราชการอื่น
(๕) เพื่อประโยชน์อื่นใดของทางราชการ การดาเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่
อธิบดีกาหนด
ข้อ ๑๗ การย้ายผู้ต้องขังตามข้อ ๑๖ หากเป็นคนต้องขังหรือคนฝากให้ขออนุญาตศาล
ก่อน เว้นแต่มีเหตุจาเป็นจะย้ายบุคคลดังกล่าวก่อนก็ได้ แต่ต้องรายงานให้ศาลทราบ

ให้ไว้ ณ วันที่ 25 กันยายน พ.ศ. ๒๕๖3


สมศักดิ์ เทพสุทิน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือโดยที่มาตรา ๔๐ วรรคหนึ่ง และมาตรา
๔๑ แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ บัญญัติให้การจัดระบบการจาแนกลักษณะของผู้ต้องขัง
การควบคุมและการแยกคุมขัง และการย้ายผู้ต้องขัง ให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวงโดยได้รับ
ความเห็ น ชอบจากคณะกรรมการราชทัณฑ์ จึงจาเป็นต้องออกกฎกระทรวง(ประกาศในราชกิจจา
นุเบกษา เล่ม ๑๓๗ ตอนที่ ๘๔ ก ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๖๓)

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


242 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

กฎกระทรวง
การร้องทุกข์ การยื่นเรื่องราวใด ๆ
หรือการทูลเกล้าฯ ถวายฎีกาของผู้ต้องขัง พ.ศ. ๒๕๖๓
-----------------------
อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๗ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๔๖ แห่งพระราชบัญญัติ
ราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้ยกเลิกหมวด ๖ การร้องทุกข์ ยื่นเรื่องราว และถวายฎีกาของผู้ต้องขัง ของ
ส่วนที่ ๗ วินัยของผู้ต้องขัง ข้อ ๑๒๐ ข้อ ๑๒๑ ข้อ ๑๒๒ ข้อ ๑๒๓ ข้อ ๑๒๔ ข้อ ๑๒๕ และข้อ
๑๒๖ แห่ ง กฎกระทรวงมหาดไทยออกตามความในมาตรา ๕๘ แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ ร าชทั ณ ฑ์
พุทธศักราช ๒๔๗๙
ข้ อ ๒ ผู้ ต้ อ งขั ง มี สิ ท ธิ ยื่ น ค าร้ อ งทุ ก ข์ ห รื อ เรื่ อ งราวใด ๆ ต่ อ เจ้ า พนั ก งานเรื อ นจ า
ผู้บัญชาการเรือนจา อธิบดี รัฐมนตรี หรือหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง หรือทูลเกล้าฯ ถวายฎีกาต่อ
พระมหากษัตริย์ การดาเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้ยื่นต่อเจ้าพนักงานเรือนจาหรือสถานที่ที่เรือนจาจัดไว้
เพื่อดาเนินการจัดส่งไปยังบุคคลหรือหน่วยงานที่ผู้ต้องขังประสงค์ก็ได้
ข้อ ๓ ผู้ต้องขังจะยื่นคาร้องทุกข์ด้วยวาจาหรือโดยทาเป็นหนังสือก็ได้ ถ้ากระทาด้วย
วาจา ให้เจ้าพนักงานเรือนจาซึ่งรับคาร้องทุกข์เป็นผู้บันทึกคาร้องทุกข์ในบันทึกคาร้องทุกข์หรือหนังสือ
ร้องทุกข์นั้นต้องลงลายมือชื่อผู้ร้องทุกข์และเจ้าพนักงานเรือนจาซึ่งรับคาร้องทุกข์ด้วย
ข้ อ ๔ การเขี ย นหนั ง สื อ ร้ อ งทุ ก ข์ ห รื อ เรื่ อ งราวใด ๆ หรื อ การทู ล เกล้ า ฯ ถวายฎี กา
ผู้ต้องขัง ต้องเขียนด้วยตนเอง เว้นแต่ไม่สามารถเขียนด้วยตนเองได้ ให้เจ้าพนักงานเรือนจาพิจารณา
ให้ความช่วยเหลือตามความประสงค์ของผู้ต้องขัง ในกรณีที่ผู้ต้องขัง ไม่สามารถจัดหาเครื่องเขียนส่ว นตัว
ได้ ให้เจ้าพนักงานเรือนจาจัดหาให้ การเขียนหนังสือร้องทุกข์หรือเรื่องราวใด ๆ หรือการทูลเกล้าฯ
ถวายฎีกา ตามวรรคหนึ่ง ผู้ต้องขังต้องเขียนในสถานที่ที่เรือนจาจัดให้
ข้อ ๕ เมื่อเจ้าพนักงานเรือนจาได้รับคาร้องทุกข์หรือเรื่องราวใด ๆ หรือฎีกา ที่ทูลเกล้าฯ
ถวายแล้ว ให้เจ้าพนักงานเรือนจาซึ่งได้รับมอบหมายตรวจดูข้อความและตรวจสอบข้อเท็จจริง แล้วทา
ความเห็นเสนอผู้บัญชาการเรือนจา พร้อมกับแนวทางการแก้ไขหรือการให้ความช่วยเหลือ เว้นแต่เป็น
การทูลเกล้าฯ ถวายฎีกา ให้ส่งหนังสือไปยังอธิบดีเพื่อดาเนินการต่อไป
ข้อ ๖ คาสั่งหรือคาชี้แจงตอบคาร้องทุกข์หรือเรื่องราวใด ๆ หรือการทูลเกล้าฯ ถวาย
ฎีกา ต้องแจ้งให้ผู้ต้องขังซึ่งยื่นคาร้องทุกข์หรือเรื่องราวใด ๆ หรือทูลเกล้าฯ ถวายฎีกาทราบ และให้
ผู้ต้องขัง คนนั้นลงลายมือชื่อรับทราบไว้เป็นหลักฐาน
ให้ไว้ ณ วันที่ 25 กันยายน พ.ศ. ๒๕๖3
สมศักดิ์ เทพสุทิน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 243

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๔๖ แห่งพระราชบัญญัติ


ราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ บัญญัติว่า ผู้ต้องขังมีสิทธิที่จะยื่นคาร้องทุกข์หรือเรื่องราวใด ๆ ต่อเจ้าพนักงาน
เรือนจา ผู้บัญชาการเรือนจา อธิบดี รัฐมนตรี หรือหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง หรือทูลเกล้าฯ ถวาย
ฎีกา ต่อพระมหากษัตริย์ได้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง จึงจาเป็นต้อง
ออก กฎกระทรวงนี้ (ประกาศในราชกิจจานุเ บกษา เล่ ม ๑๓๗ ตอนที่ ๘๔ ก ลงวัน ที่ ๑๒ ตุลาคม
๒๕๖๓)

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


244 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

กฎกระทรวง
การปฏิบัติต่อผู้ตอ้ งขังซึ่งถูกล่วงละเมิดทางเพศ พ.ศ. ๒๕๖๓
---------------------
อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๗ วรรคหนึ่ง มาตรา ๔๗ วรรคหนึ่ง และมาตรา
๕๙ แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมออกกฎกระทรวงไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ผู้ต้องขังซึ่งถูกล่วงละเมิดทางเพศ ได้แก่
(๑) ผู้ต้องขังซึ่งถูกล่วงละเมิดทางเพศจากการปฏิบัติหน้าที่ โดยมิชอบของเจ้าพนักงาน
เรือนจา
(๒) ผู้ต้องขังหญิงซึ่งถูกล่วงละเมิดทางเพศก่อนกรมราชทัณฑ์รับตัวไว้ ไม่ว่าจะมีการ
ตั้งครรภ์ หรือไม่ก็ตาม
ข้อ ๒ ในกรณีที่ผู้ต้องขังถูกล่วงละเมิดทางเพศจากการปฏิบัติหน้าที่ โดยมิชอบของ เจ้า
พนักงานเรือนจาตามข้อ ๑ (๑) ให้ร้องเรียนต่อผู้ บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปชั้นหนึ่งของเจ้าพนั กงาน
เรือนจาคนนั้น
การล่วงละเมิดทางเพศตามวรรคหนึ่ง ให้หมายความเฉพาะกรณีที่เจ้าพนักงานเรือนจา
กระทา การล่วงละเมิดทางเพศต่อผู้ต้องขังโดยตรงในการกระทาความผิดเกี่ยวกับเพศ ตามมาตรา ๒๗๖
มาตรา ๒๗๗ มาตรา ๒๗๘ มาตรา ๒๗๙ มาตรา ๒๘๒ มาตรา ๒๘๓ มาตรา ๒๘๓ ทวิ และ
มาตรา ๒๘๔ แห่งประมวลกฎหมายอาญา
ข้อ ๓ ผู้ต้องขังตามข้อ ๑ (๑) จะร้องเรียนด้ วยวาจาหรือโดยทาเป็ นหนังสือก็ได้ ถ้า
กระทาด้วยวาจา ให้ผู้บัญชาการเรือนจาหรือผู้ได้รับมอบหมายซึ่งมิใช่ผู้ถูกกล่าวหาเป็นผู้บันทึกคาร้อง
ในคาร้องให้ระบุตัวเจ้าพนักงานเรือนจาผู้กระทาละเมิด พฤติการณ์แห่งการล่วงละเมิด
และความเสียหายที่ได้รับเท่าที่จะสามารถระบุได้
การดาเนินการตามข้อนี้ให้รักษาเป็นความลับ
ข้อ ๔ เมื่อผู้บัญชาการเรือนจาหรื อผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปชั้นหนึ่งของเจ้าพนักงาน
เรือนจา ซึ่งถูกกล่าวหาว่ากระทาการล่วงละเมิดทางเพศต่อผู้ต้ องขังทราบข้อร้องเรียน หรือได้รับคาร้อง
ตามข้อ ๓ แล้ว ให้ดาเนินการ ดังต่อไปนี้
(๑) จัดแพทย์ พยาบาล หรือเจ้าพนักงานเรือนจาซึ่งผ่านการอบรมด้านการพยาบาล
ทาการตรวจร่ างกายผู้ ต้องขั งคนนั้ น เพื่อหาร่องรอยการกระทาผิ ดและเก็บรวบรวมพยานหลั กฐาน
โดยเร็วเท่าที่จะกระทาได้ และรายงานไปยังผู้บัญชาการเรือนจาหรือผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปชั้นหนึ่ง
ของเจ้าพนักงานเรือนจานั้น ในกรณีที่ไม่สามารถดาเนินการได้ ให้ส่งตัวผู้ต้องขังออกไปรับการตรวจ
ที่โ รงพยาบาลภายนอก ในกรณีการตรวจร่างกายผู้ ต้ องขังหญิง ถ้าไม่ใช่แพทย์ห รื อ พยาบาล ให้ เจ้า
พนั กงานเรื อนจ าหญิ งซึ่งผ่ านการอบรมด้านการพยาบาลทาการตรวจร่างกาย ทั้ งนี้ ผู้ ต้องขังหญิ ง
จะขอให้นาบุคคลใดในเรือนจามาอยู่ร่วมในการตรวจด้วยก็ได้
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 245

(๒) จั ดให้ ผู้ ต้องขังได้พบนักจิตวิ ทยาหรื อนักสั งคมสงเคราะห์ โ ดยทัน ที ในกรณี ที่ มี
เหตุขัดข้อง ทาให้ไม่สามารถดาเนินการได้ ให้เจ้าพนักงานเรือนจาให้คาปรึกษาในเบื้องต้นก่อน
ข้อ ๕ เมื่อผู้บัญชาการเรือนจาหรื อผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้ นไปชั้นหนึ่ งของเจ้าพนักงาน
เรือนจา ซึ่งถูกกล่าวหาว่ากระทาการล่วงละเมิดทางเพศต่อผู้ต้องขังได้รับรายงานเกี่ยวกับการล่วงละเมิด
ทางเพศ ต่อผู้ต้องขังตามข้อ ๔ (๑) แล้วให้ตรวจสอบข้อเท็ จจริง และให้ผู้บัญชาการเรือนจารายงาน
อธิบดี เพื่อส่งเรื่องให้พนักงานอัยการพิจารณาไต่สวนชี้ขาด
ในระหว่างนี้ หากผู้บัญชาการเรือนจาเห็นว่ามีความจาเป็นที่จะต้องคุ้มครองผู้ต้องขัง
ซึ่งถูกล่วงละเมิดทางเพศหรือพยาน ให้จัดมาตรการรักษาความปลอดภัยตามความเหมาะสม และให้เจ้า
พนั ก งาน เรื อ นจ าซึ่ ง ถู ก ร้ อ งเรี ย นไปท าหน้ า ที่ อื่ น เพื่ อ ป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ เ ข้ า ไปเกี่ ย วข้ อ งหรื อ ยุ่ ง เหยิ ง กั บ
พยานหลักฐาน
ข้อ ๖ ในกรณีที่มีผู้ต้องขังหญิงซึ่งตั้งครรภ์เนื่องจากการถู กล่วงละเมิดทางเพศจากการ
ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ โ ดยมิ ช อบของเจ้ า พนั ก งานเรื อ นจ า ตามข้ อ ๑ (๑) ให้ ผู้ บั ญ ชาการเรื อ นจ าจั ด แพทย์
พยาบาล หรือเจ้าพนักงานเรือนจาซึ่งผ่านการอบรมด้านการพยาบาลให้คาแนะนา หรือคาปรึกษา ดูแล
สุขภาพ ทางกายและทางจิต และติดตามอาการอย่างใกล้ชิด โดยอาจแยกคุมขังผู้ต้องขังหญิงคนนั้นไว้ที่
สถานพยาบาลก็ได้
ข้อ ๗ ในกรณีที่มีผู้ต้องขังหญิงซึ่งถูกล่วงละเมิดทางเพศก่อนที่ กรมราชทัณฑ์จะรับตัวไว้
ไม่ว่าจะมีการตั้งครรภ์หรือไม่ก็ตามตามข้อ ๑ (๒) ให้แจ้งด้วยวาจาหรือทาเป็นหนังสือยื่นต่อผู้บัญชาการ
เรือนจาเพื่อขอรับความช่วยเหลือในการดาเนินการ ดังต่อไปนี้
(๑) จัดแพทย์ พยาบาล หรือเจ้าพนักงานเรือนจาซึ่งผ่านการอบรมด้านการพยาบาล
ให้คาแนะนาหรือคาปรึกษาเกี่ยวกับการดูแลและการฟื้นฟูสุขภาพทางกาย
(๒) จัดนักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห์เข้าพบปะพูดคุย รวมทั้งให้คาแนะนาหรือ
คาปรึกษาเกี่ยวกับการดูแลและการฟื้นฟูสุขภาพทางจิต
(๓) จั ดเจ้ าพนั กงานเรือนจาให้ คาปรึกษาในเบื้องต้นเกี่ยวกับการให้ ความช่วยเหลือ
ด้านกฎหมาย สอบถามข้อเท็จจริง หรือขอรับความช่วยเหลือจากหน่ว ยงานที่มีหน้าที่เพื่อให้ มี การ
ดาเนินการทางกฎหมายต่อไป การดาเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้นาความในข้อ ๔ และข้อ ๖ มาใช้บังคับ
ด้วยโดยอนุโลม

ให้ไว้ ณ วันที่ 25 กันยายน พ.ศ. ๒๕๖3


สมศักดิ์ เทพสุทิน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


246 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

หมายเหตุ :- เหตุผ ลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๔๗ วรรคหนึ่ง แห่ ง


พระราชบัญญัติ ราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ บัญญัติว่า ผู้ต้องขังมีสิทธิร้องเรียนเกี่ยวกับการถูกล่วงละเมิดทาง
เพศจากการปฏิบั ติ หน้ าที่ โ ดยมิช อบของเจ้าพนักงานเรือนจาได้ โดยให้ ได้รับความคุ้มครองและให้
คาปรึกษาในทันที รวมทั้งคาร้อง ดังกล่าวต้องรักษาเป็นความลับและได้รับการไต่สวนชี้ขาดโดยพนักงาน
อัยการ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง และมาตรา ๕๙ แห่ง
พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ บัญญัติว่า ผู้ต้องขังหญิงซึ่งถูกล่วงละเมิดทางเพศ โดยเฉพาะผู้
ที่ตั้งครรภ์จากการถูกล่วงละเมิดดังกล่าว ต้องได้รั บคาแนะนา หรือคาปรึกษาทางการแพทย์ที่เหมาะสม
และต้องได้รับการสนับสนุนการดูแลสุขภาพทางกายและทางจิต ตามความจาเป็น รวมทั้งการให้ความ
ช่วยเหลือด้านกฎหมายด้วย ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ที่กาหนดในกฎกระทรวง จึง
จาเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้ (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๗ ตอนที่ ๘๔ ก ลงวันที่ ๑๒
ตุลาคม ๒๕๖๓)
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 247

กฎกระทรวง
การคานวณรายได้เป็นราคาเงินและการจ่ายเงินรางวัลให้แก่ผู้ต้องขัง
ซึ่งการงานที่ได้ทานั้นก่อให้เกิดรายได้ซึ่งคานวณเป็นราคาเงินได้ พ.ศ. ๒๕๖๓
----------------------
อาศั ย อ านาจตามความในมาตรา ๗ วรรคหนึ่ ง และมาตรา ๕๐ วรรคสอง แห่ ง
พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้ยกเลิก
(๑) หมวด ๑ การจัดให้ทางาน และหมวด ๒ รางวัล ของส่วนที่ ๕ การงาน ข้อ ๕๐ ถึง
ข้อ ๖๕ แห่ งกฎกระทรวงมหาดไทยออกตามความในมาตรา ๕๘ แห่ งพระราชบั ญ ญัติ ราชทั ณ ฑ์
พุทธศักราช ๒๔๗๙
(๒) กฎกระทรวงมหาดไทยออกตามความในมาตรา ๕๘ แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์
พุทธศักราช ๒๔๗๙ (ฉบับที่ ๒)
(๓) กฎกระทรวง ฉบับที่ ๕ (พ.ศ.๒๕๐๔) ออกตามความในพระราชบัญญัติราชทัณฑ์
พุทธศักราช ๒๔๗๙
(๔) กฎกระทรวง ฉบับที่ ๗ (พ.ศ.๒๕๒๐) ออกตามความในพระราชบัญญัติราชทัณฑ์
พุทธศักราช ๒๔๗๙
(๕) กฎกระทรวง ฉบับที่ ๙ (พ.ศ.๒๕๒๑) ออกตามความในพระราชบัญญัติราชทัณฑ์
พุทธศักราช ๒๔๗๙
(๖) ข้อ ๗ แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๐ (พ.ศ. ๒๕๒๓) ออกตามความในพระราชบัญญัติ
ราชทัณฑ์ พุทธศักราช ๒๔๗๙
(๗) ข้อ ๒ แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๖ (พ.ศ. ๒๕๕๘) ออกตามความในพระราชบัญญัติ
ราชทัณฑ์ พุทธศักราช ๒๔๗๙
ข้อ ๒ ในกฎกระทรวงนี้
“ทุน” หมายความว่า บรรดาเงิน ทรัพย์สิน และแรงงานที่ใช้ในการทางานนั้น
“ค่าใช้จ่าย” หมายความว่า บรรดาเงินที่จ่ายเพื่อให้งานนั้นบรรลุวัตถุประสงค์
“กาไร” หมายความว่า รายได้ซึ่งเกิดจากผลของการงานเมื่อได้ หักทุนและค่าใช้จ่ายที่
เกี่ยวข้อง ทั้งหมดออกแล้ว
ข้อ ๓ ในกรณีทกี่ ารงานที่ได้จัดให้ผู้ต้องขังทานั้นก่อให้เกิดรายได้ซึ่งคานวณเป็นราคาเงิน
ได้ ผู้ต้องขังอาจได้รับเงินรางวัลตอบแทนจากการงานนั้น
การค านวณรายได้ เ ป็ น ราคาเงิ น ตามวรรคหนึ่ ง ให้ ค านวณราคาของงานเป็ น ทุ น
ค่าใช้จ่าย และกาไร

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


248 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ข้อ ๔ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาจ่ายเงินรางวัลให้แก่ผู้ต้องขังร้อยละเจ็ดสิบของกาไรทั้งหมด
โดยผู้ต้องขังจะได้รับส่วนแบ่งต่อวันคนละเท่า ๆ กัน ส่วนที่เหลือให้นาส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน
ข้อ ๕ ในการคานวณจ่ายเงินรางวัลให้แก่ผู้ต้องขัง หากมีเศษเหลืออยู่ไม่สามารถเฉลี่ย
จ่าย ให้แก่ผู้รับได้ ให้นาส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน

ให้ไว้ ณ วันที่ 25 กันยายน พ.ศ. ๒๕๖3


สมศักดิ์ เทพสุทิน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม

หมายเหตุ :- เหตุผ ลในการประกาศใช้ กฎกระทรวงฉบับ นี้ คือ โดยที่มาตรา ๕๐วรรคสอง แห่ ง


พระราชบัญญัติ ราชทัณฑ์ พ.ศ.๒๕๖๐ บัญญัติให้การคานวณรายได้เป็นราคาเงินและการจ่ายเงินรางวัล
ให้แก่ผู้ต้องขัง ซึ่งการงานที่ได้ทานั้น ก่อให้เกิดรายได้ซึ่งคานวณเป็นราคาเงินได้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์
วิธีการ และเงื่อนไข ที่กาหนดในกฎกระทรวง จึงจาเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้ (ประกาศในราชกิจจา
นุเบกษา เล่ม ๑๓๗ ตอนที่ ๘๔ ก ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๖๓)
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 249

กฎกระทรวง
การรับเงินทาขวัญของผู้ต้องขังซึ่งได้รับบาดเจ็บเจ็บป่วย หรือตาย
เนื่องจากการทางาน พ.ศ. ๒๕๖๓
-------------------
อาศั ย อ านาจตามความในมาตรา ๗ วรรคหนึ่ ง และมาตรา ๕๑ วรรคหนึ่ ง แห่ ง
พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ในกฎกระทรวงนี้
“เงินทาขวัญ” หมายความว่า เงินที่จ่ายให้แก่ผู้ต้องขังหรือทายาทของผู้ต้องขัง ซึ่งได้รับ
บาดเจ็บ เจ็บป่วย หรือตาย เนื่องจากการทางานตามมาตรา ๔๘ หรือมาตรา ๔๙ แล้วแต่กรณี
ข้อ ๒ ในกรณีที่เจ้าพนักงานเรือนจาซึ่งสั่งให้ผู้ต้องขังทางานตามมาตรา ๔๘ หรือมาตรา
๔๙ แล้วแต่กรณี พบว่าผู้ต้องขังได้รับบาดเจ็บ เจ็บป่วย หรือตาย เนื่องจากการทางานดังกล่าว ให้
รายงานผู้บัญชาการเรือนจาทราบโดยเร็ว
ข้อ ๓ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาแต่งตั้งคณะทางานเพื่อตรวจสอบสิทธิการได้รับเงินทาขวัญ
ประกอบด้วย
(๑) เจ้าพนักงานเรือนจาซึ่งดารงตาแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชานาญการขึ้นไป
หรือ ประเภททั่วไป ระดับอาวุโสขึ้นไป จานวนหนึ่งคน เป็นประธานคณะทางาน
(๒) เจ้าพนักงานเรือนจาซึ่งดารงตาแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการขึ้นไป หรือ
ประเภททัว่ ไป ระดับปฏิบัติงานขึ้นไป จานวนไม่น้อยกว่าสองคน เป็นคณะทางาน
ข้อ ๔ ให้คณะทางานตามข้อ ๓ ดาเนินการตรวจสอบสิทธิของผู้ต้องขังซึ่งสมควรได้รับ
เงินทาขวัญ และรายงานผลการตรวจสอบไปยังผู้บัญชาการเรือนจา
ในการตรวจสอบสิทธิตามวรรคหนึ่ง ให้ตรวจสอบจากรายงานของเจ้าพนักงานเรือนจา
ตามข้อ ๒ และเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้อง
ข้อ ๕ เมื่อผู้บัญชาการเรือนจาได้รับรายงานผลการตรวจสอบจากคณะทางานตามข้อ ๔
แล้ว ให้พิจารณาและเสนออธิบดีเพื่อพิจารณาอนุมัติการจ่ายเงินทาขวัญ
ข้อ ๖ การจ่ายเงินทาขวัญ ให้จ่ายตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้
(๑) บาดเจ็บหรือเจ็บป่วยจนเป็นอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ให้ จ่ายเงินทาขวัญไม่เกิน
หนึ่งหมื่นบาท
(๒) บาดเจ็บหรือเจ็บป่วยจนประกอบกรณียกิจตามปกติไม่ได้เกิ นกว่ายี่สิบวัน ให้จ่าย
เงินทาขวัญไม่เกินสองหมื่นบาท
(๓) บาดเจ็บจนพิการหรือทุพพลภาพ หรือเจ็บป่วยเรื้อรังซึ่ง อาจถึงตลอดชีวิต ให้จ่าย
เงินทาขวัญไม่เกินสี่หมื่นบาท

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


250 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

(๔) ตาย ให้จ่ายเงินทาขวัญไม่เกินหนึ่งแสนสองหมื่นบาท


ข้ อ ๗ เมื่ อ อธิ บ ดี อ นุ มั ติ ใ ห้ จ่ า ยเงิ น ท าขวั ญ ตามข้ อ ๖ (๑) (๒) หรื อ (๓) แล้ ว ให้ ผู้
บัญชาการเรือนจา นาเงินเข้าบัญชีเงินฝากของผู้ต้องขังและออกใบสาคัญให้แก่ผู้ต้องขัง ไว้เป็นหลักฐาน
ข้อ ๘ การจ่ายเงินทาขวัญตามข้อ ๖ (๔) ให้ผู้บัญชาการเรือนจาจ่ายให้แก่ทายาท ของ
ผู้ต้องขังคนนั้ น หากไม่มีทายาทมาขอรับเงินดังกล่าวภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่ได้รับแจ้ง หรือติดต่อ
ทายาทไม่ได้ภายในหนึ่งปี นับแต่วันที่ผู้ต้องขังคนนั้นถึงแก่ ความตาย ให้ผู้บัญชาการเรือนจารายงาน
อธิบดีเพื่อยุติเรื่อง ให้ทายาทของผู้ต้องขังซึ่งได้รับแจ้งจากผู้บัญชาการเรือนจาตามวรรคหนึ่ง นาหลักฐาน
มาแสดงต่อเจ้าพนักงานเรือนจาเพื่อขอรับเงินทาขวัญ
ข้อ ๙ เมื่อผู้บัญชาการเรือนจาดาเนินการตามข้อ ๗ หรือข้อ ๘ แล้ว ให้รายงานอธิบดี
เพื่อทราบ

ให้ไว้ ณ วันที่ 25 กันยายน พ.ศ. ๒๕๖3


สมศักดิ์ เทพสุทิน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๕๑ วรรคหนึ่ง แห่ง


พระราชบั ญ ญั ติ ร าชทั ณ ฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ บั ญ ญั ติ ว่ า ผู้ ต้ อ งขั ง ซึ่ ง ได้ รั บ บาดเจ็ บ เจ็ บ ป่ ว ย หรื อ ตาย
เนื่องจากการงาน ตามมาตรา ๔๘ หรือมาตรา ๔๙ มีสิทธิได้รับเงินทาขวัญตามหลักเกณฑ์ วิธีการ
และเงื่อนไขที่กาหนด ในกฎกระทรวง จึงจาเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้ (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๗ ตอนที่ ๘๔ ก ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๖๓)
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 251

กฎกระทรวง
การส่งตัวผู้ต้องขังไปรักษาตัวนอกเรือนจา พ.ศ. ๒๕๖๓
--------------------
อาศั ย อ านาจตามความในมาตรา ๗ วรรคหนึ่ ง และมาตรา ๕๕ วรรคสอง แห่ ง
พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ ๒๕๖๐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมโดยได้รับความเห็นชอบจาก
คณะกรรมการราชทัณฑ์ ออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้ยกเลิกข้อ ๓๘ ข้อ ๓๙ และข้อ ๗๓ แห่งกฎกระทรวงมหาดไทยออกตาม
ความในมาตรา ๕๘ แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พุทธศักราช ๒๔๗๙
ข้อ ๒ เมื่อผู้บัญชาการเรือนจาได้รับรายงานจากเจ้าพนักงานเรือนจาว่า ผู้ต้องขังคนใด
ป่ ว ย มี ปั ญ หาเกี่ ย วกั บ สุ ข ภาพจิ ต หรื อ เป็ น โรคติ ด ต่ อ ให้ ส่ ง ตั ว ผู้ ต้ อ งขั ง คนนั้ น ไปรั บ การตรวจใน
สถานพยาบาล ของเรือนจาโดยเร็ว ถ้าผู้ต้องขังคนนั้นต้องได้ รับการบาบัดรักษาเฉพาะด้านหรื อถ้าคง
รักษาพยาบาล อยู่ในเรือนจาจะไม่ทุเลาดีขึ้น ให้ดาเนินการ ดังต่อไปนี้
(๑) กรณีผู้บัญชาการเรือนจาอนุญาตให้ส่งตัวผู้ต้องขังคนนั้ นไปรับการรักษาในสถาน
บาบัดรักษาสาหรับโรคชนิดนั้นโดยเฉพาะ โรงพยาบาล หรือสถานบาบัดรักษาทางสุขภาพจิตของรัฐ
นอกเรือนจา ตามที่แพทย์ พยาบาล หรือเจ้าพนักงานเรือนจาซึ่งผ่านการอบรมด้านการพยาบาลเสนอ
ให้เจ้าพนักงานเรือนจาพาผู้ต้องขังคนนั้นไปและกลับในวันเดียวกัน
(๒) เมื่อผู้บัญชาการเรือนจาอนุญาตให้ส่งตัวผู้ต้องขังไปรับการรักษานอกเรือนจาตาม
(๑) หากแพทย์ ผู้ ท าการตรวจรั ก ษามี ค วามเห็ น ว่ า สมควรรั บ ตั ว ผู้ ต้ อ งขั ง คนนั้ น ไว้ รั ก ษาในสถาน
บาบัดรักษา สาหรับโรคชนิดนั้นโดยเฉพาะ โรงพยาบาล หรือสถานบาบัดรักษาทางสุขภาพจิ ตของรัฐ
ให้เจ้าพนักงาน เรือนจาซึ่งพาผู้ต้องขังคนนั้นไปตรวจรักษาขอหลักฐานและความเห็นของแพทย์ผู้ทาการ
ตรวจรักษา ประกอบการจัดทารายงานเสนอผู้บัญชาการเรือนจาพิจารณา ถ้าผู้บัญชาการเรือนจาเห็น
ด้วยกับ ความเห็นของแพทย์ผู้ทาการตรวจรักษา ให้มีคาสั่งอนุญาตให้รับตัวไว้รักษา
(๓) กรณีผู้บัญชาการเรือนจาไม่เห็นด้วยกับความเห็นของแพทย์ผู้ทาการตรวจรักษาตาม
(๒) หรือมีเหตุฉุกเฉินอื่นอันอาจเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตหรือความปลอดภัยของผู้ต้องขัง ให้เจ้าพนักงาน
เรือนจา นาตัวผู้ต้องขังคนนั้น กลับเข้ารักษาพยาบาลภายในเรือนจา และจัดการช่วยเหลือประการอื่น
เท่าที่จาเป็นแล้ว รายงานอธิบดีโดยเร็ว พร้อมกับสาเนาความเห็นของแพทย์และสาเนาหลักฐานอื่นที่
เกี่ยวข้อง
(๔) กรณีที่ผู้บัญชาการเรือนจามีข้อสงสัยเกี่ยวกับรายงานของเจ้าพนักงานเรือนจาตาม
(๒) อาจสั่งให้เจ้าพนักงานเรือนจาทารายงานเพิ่มเติม หรือสั่งให้เจ้าพนักงานเรือนจาคนอื่น หรือ ตั้ง
คณะทางานเพื่อตรวจสอบและทารายงานก็ได้
ข้อ ๓ การส่งตัวผู้ต้องขังไปรักษาตัวนอกเรือนจา ให้ผู้บัญชาการเรือนจาพิจารณา สถาน
บาบัดรักษาสาหรับโรคชนิดนั้นโดยเฉพาะ โรงพยาบาล หรือสถานบาบัดรักษาทางสุขภาพจิตของรัฐ
ตามสิทธิการรักษาของผู้ต้องขังและอยู่ในพื้นที่ที่สามารถส่ งตัวผู้ต้องขังไปรักษาได้เป็นลาดับแรก เว้นแต่

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


252 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

แพทย์ผู้ทาการตรวจรักษามีความเห็นให้ส่งตัวผู้ต้องขังไปรักษาในโรงพยาบาลเอกชน เพราะสถานที่รักษา
ของรัฐดังกล่าวขาดเครื่องมือหรืออุปกรณ์ในการรักษาผู้ต้องขัง
ในกรณีที่สถานที่รักษาของรัฐตามวรรคหนึ่งอยู่ห่างไกล และหากผู้ต้องขังไม่ได้รับการ
รั กษา อย่ างทัน ท่ว งทีอาจเป็ น อัน ตรายถึงแก่ชีวิตหรือทุพพลภาพ ให้ ส่ งตัว ผู้ ต้องขังคนนั้นไปรักษาใน
โรงพยาบาลเอกชน เมื่อผู้ต้องขังพ้นขีดอันตรายแล้ว ให้รีบส่งตัวผู้ต้องขังไปรักษาในสถานที่รักษาของรัฐ
ตามวรรคหนึ่งโดยเร็ว
ข้ อ ๔ เมื่ อ ผู้ บั ญ ชาการเรื อ นจ าอนุ ญ าตให้ ส่ ง ตั ว ผู้ ต้ อ งขั ง ไปรั ก ษาตั ว นอกเรื อ นจ า
ให้ดาเนินการดังต่อไปนี้
(๑) จัดเจ้าพนักงานเรือนจาอย่างน้อยจานวนสองคนควบคุมผู้ต้องขังป่วยหนึ่งคนให้อยู่
ภายในเขตที่กาหนด เว้นแต่การออกนอกเขตนั้นเป็นกรณีจาเป็นเร่งด่วนตามคาสั่งแพทย์ หรือกรณีมีเหตุ
ฉุกเฉินอื่น อันอาจเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตหรือความปลอดภัยของผู้ต้องขัง ในกรณีที่มีผู้ต้องขั งป่ว ย
มากกว่าหนึ่งคน ให้จัดเจ้าพนักงานเรือนจาควบคุมในอัตราส่วนตามความเหมาะสม โดยให้คานึงถึงความ
เสี่ยงในการหลบหนี หรือความปลอดภัยของบุคคลภายนอกประกอบด้วย กรณีผู้ต้องขังหญิงป่วย ให้เจ้า
พนักงานเรือนจาหญิงเป็นผู้ควบคุม เว้นแต่ในกรณีฉุกเฉินหรือจาเป็นไม่อาจจัดเจ้าพนักงานเรือนจาหญิง
ไปควบคุมได้ ให้เจ้าพนักงานเรือนจาชายเป็นผู้ควบคุมในระยะที่ห่างแต่สามารถมองเห็นพฤติกรรมของ
ผู้ ต้ อ งขั ง หญิ ง ซึ่ ง ป่ ว ยได้ และแจ้ ง ให้ เ จ้ า หน้ า ที่ ข องสถานที่ รั ก ษาผู้ ต้ อ งขั ง ตามข้ อ ๓ ทราบ ทั้ ง นี้
ให้ผู้บัญชาการเรือนจา จัดเจ้าพนักงานเรือนจาหญิงไปควบคุมแทนโดยเร็ว
(๒) ตรวจสอบสิทธิการรักษาของผู้ต้องขังให้เป็นไปตามที่ทางราชการจัดให้ และห้าม
ผู้ต้องขัง เข้าอยู่ในห้องพักพิเศษแยกจากผู้ป่วยทั่วไป เว้นแต่ต้องพักรักษาตั วในห้องควบคุมพิเศษตามที่
สถานทีร่ ักษาผู้ต้องขังตามข้อ ๓ จัดให้
(๓) ให้ เ จ้ า พนั ก งานเรื อ นจ าซึ่ ง มี ห น้ า ที่ ค วบคุ ม ผู้ ต้ อ งขั ง ตรวจสอบและควบคุ ม การ
รับประทาน อาหารให้เป็นไปตามที่สถานที่รักษาผู้ต้องขังตามข้อ ๓ จัดให้ การรับประทานอาหารส่วนตัว
นอกจากที่จัดให้ ต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานเรือนจาซึ่งมีหน้าที่ควบคุมผู้ต้ องขัง และผ่านการ
ตรวจของแพทย์ หรือพยาบาลแล้ว และให้บันทึกรายละเอียดของอาหารและผู้ทาอาหารให้ครบถ้วนและ
สามารถตรวจสอบได้
(๔) ให้เจ้าพนักงานเรือนจาซึ่งมีหน้าที่ควบคุมผู้ต้องขังจดบันทึกข้อมูลผู้เข้าเยี่ยม และ
เวลา เข้าเยี่ยมโดยละเอียด และดูแลให้ผู้เข้าเยี่ยมปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการเยี่ยมผู้ต้องขังในเรือนจา
ในการควบคุ ม ตั ว ผู้ ต้ อ งขั ง ตามวรรคหนึ่ ง ผู้ บั ญ ชาการเรื อ นจ าอาจใช้ อุ ป กรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ หรืออุปกรณ์อื่นใดตามความเหมาะสมก็ได้
ข้ อ ๕ ผู้ ต้ อ งขั ง ซึ่ ง ได้ รั บ อนุ ญ าตให้ อ อกไปรั ก ษาตั ว นอกเรื อ นจ า ต้ อ งปฏิ บั ติ ตั ว
ดังต่อไปนี้
(๑) อยู่ภายในเขตที่กาหนด เว้นแต่การออกนอกเขตเป็นกรณีจาเป็นเร่งด่วนตามคาสั่ง
แพทย์ หรือกรณีมีเหตุฉุกเฉินอื่นอันอาจเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตหรือความปลอดภัยของผู้ต้องขัง
(๒) ใช้สิทธิของผู้ต้องขังตามที่ทางราชการจัดให้และห้ามเข้าอยู่ในห้องพักพิเศษแยกจาก
ผู้ป่วยทั่วไป เว้นแต่ต้องพักรักษาตัวในห้องควบคุมพิเศษตามที่สถานที่รักษาผู้ต้องขังตามข้อ ๓ จัดให้
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 253

(๓) รับประทานอาหารตามที่ สถานที่รักษาผู้ต้องขังตามข้อ ๓ จัดให้ การรับประทาน


อาหารส่วนตัวนอกจากที่จัดให้ต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานเรือนจา ซึ่งมีหน้าที่ควบคุมผู้ต้องขังและ
ผ่านการตรวจของแพทย์หรือพยาบาลแล้ว
ข้อ ๖ ในกรณีที่ผู้ต้องขังเจ็บป่วยร้ายแรงหรือประสบอุบัติเหตุขณะอยู่นอกเรือนจา และ
หากผู้ ต้องขังไม่ได้รั บ การรั กษาอย่ างทันท่ว งทีอาจเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตหรือทุพพลภาพได้ ให้ เจ้า
พนั กงาน เรื อนจ าซึ่งมีห น้ าที่ควบคุมผู้ ต้องขังรายงานผู้ บัญชาการเรือนจาเพื่ อพิจารณา โดยให้ ระบุ
รายละเอียดเกี่ยวกับผู้ต้องขัง อาการป่วยเจ็บ และโรงพยาบาลที่จะทาการตรวจรักษา เมื่อผู้บัญชาการ
เรือนจาอนุญาต ให้จัดเจ้าพนักงานเรือนจาดูแลและควบคุมผู้ต้องขังในโรงพยาบาล หากเป็นกรณีที่
ผู้ต้องขังไปศาล ให้รายงานศาลเพื่อทราบด้วย
ในกรณีเร่งด่วนอันอาจเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตหรือความปลอดภั ยของผู้ต้องขัง ให้เจ้า
พนักงานเรือนจาซึ่งมีหน้าที่ควบคุมผู้ต้องขังนาตัวผู้ต้องขังคนนั้นส่งโรงพยาบาลเพื่อทาการตรวจรักษา
ก่อน และรายงานผู้บัญชาการเรือนจาโดยทันที
ข้อ ๗ กรณีผู้ต้องขังต้องพักรักษาตัวที่ สถานที่รักษาผู้ต้องขังตามข้อ ๓ เป็นเวลานาน
ให้ผู้บัญชาการเรือนจาดาเนินการ ดังต่อไปนี้
(๑) พักรักษาตัวเกินกว่าสามสิบวัน ให้มีหนังสือขอความเห็นชอบจากอธิบดี พร้อมกับ
ความเห็นของแพทย์ผู้ทาการรักษาและหลักฐานอื่นที่เกี่ยวข้อง
(๒) พักรักษาตัวเกินกว่าหกสิบวัน ให้มีหนังสือขอความเห็นชอบจากอธิบดี พร้อมกับ
ความเห็นของแพทย์ผู้ทาการรักษาและหลักฐานอื่นที่เกี่ยวข้อง และรายงานให้ปลัดกระทรวงทราบ
(๓) พักรั กษาตัว เกิน กว่าหนึ่งร้อยยี่สิ บวัน ให้ มีห นังสื อขอความเห็ นชอบจากอธิบดี
พร้อมกับความเห็นของแพทย์ผู้ทาการรักษาและหลักฐานอื่นที่เกี่ยวข้อง และรายงานให้รัฐมนตรีทราบ
ในกรณี ที่ ผู้ บั ญ ชาการเรื อ นจ าเห็ น เป็ น การสมควรเพื่ อ ความปลอดภั ย ของผู้ ต้ อ งขั ง
มาตรการควบคุม หรือเหตุผลในการรักษา ให้รายงานอธิบดีเพื่อขอย้ายผู้ต้องขังเข้ ารับการรัก ษาใน
โรงพยาบาลสังกัด กรมราชทัณฑ์หรือสถานพยาบาลอื่นที่เหมาะสม
ข้อ ๘ ในกรณีที่ผู้ ต้องขั งฝ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิบัติ ตามเงื่ อนไขที่ กาหนดหรื อขัด คาสั่ ง เจ้ า
พนักงาน เรือนจาซึ่งมีหน้าที่ควบคุมผู้ต้องขัง ให้เจ้าพนักงานเรือนจาตักเตือนให้ปฏิบัติตามเงื่อนไขหรือ
คาสั่งนั้นก่อน หากผู้ต้องขังยังคงฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติต าม ให้รายงานผู้บัญชาการเรือนจา และรายงาน
ให้แพทย์ ผู้ทาการตรวจรักษาพิจารณาสั่งการตามที่เห็นสมควร

ให้ไว้ ณ วันที่ 25 กันยายน พ.ศ. ๒๕๖3


สมศักดิ์ เทพสุทิน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


254 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

หมายเหตุ :- เหตุผ ลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๕๕ วรรคสอง แห่ ง


พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ บัญญัติให้ผู้ต้องขังซึ่งป่วย มีปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพจิต หรือเป็น
โรคติดต่อ ต้องได้รับการบาบัดรักษาเฉพาะด้านหรือถ้าคงรักษาพยาบาลอยู่ในเรือนจาจะไม่ทุเลาดีขึ้น ให้
ส่งตัวผู้ต้องขังดังกล่าวไปยังสถานบาบัดรักษาสาหรับโรคชนิดนั้นโดยเฉพาะ โรงพยาบาล หรือสถาน
บาบัดรักษาทางสุขภาพจิตนอกเรือนจาต่อไป ทั้งนี้ หลักเกณฑ์และวิธีการส่งตั วผู้ต้องขังไปรักษาตัวนอก
เรือนจา ระยะเวลาการรักษาตัว รวมทั้งผู้มี อานาจอนุญาต ให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวงโดย
ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการราชทัณฑ์ จึงจาเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้(ประกาศในราชกิจจา
นุเบกษา เล่ม ๑๓๗ ตอนที่ ๘๔ ก ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๖๓)
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 255

กฎกระทรวง
กาหนดทรัพย์สินของผู้ต้องขังเป็นสิ่งของที่อนุญาตหรือไม่อนุญาต
ให้เก็บรักษาไว้ในเรือนจา พ.ศ. ๒๕๖๓
----------------------
อาศั ย อ านาจตามความในมาตรา ๗ วรรคหนึ่ ง และมาตรา ๖๒ วรรคหนึ่ ง แห่ ง
พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้ยกเลิก
(๑) หมวด ๑ สิ่งของต้องห้าม หมวด ๒ สิ่งของที่อนุญาต และหมวด ๓ สิ่งของอย่าง
อื่น ของส่วนที่ ๘ ทรัพย์สินของผู้ต้องขัง ข้อ ๑๒๗ ข้อ ๑๒๘ ข้อ ๑๒๙ ข้อ ๑๓๐ และข้อ ๑๓๑ แห่ง
กฎกระทรวงมหาดไทยออกตามความในมาตรา ๕๘ แห่งพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พุทธศักราช ๒๔๗๙
(๒) ข้อ ๓ แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ.๒๕๔๗) ออกตามความในพระราชบัญญัติ
ราชทัณฑ์ พุทธศักราช ๒๔๗๙
ข้อ ๒ ทรัพย์สินดังต่อไปนี้เป็นสิ่งของที่อนุญาตให้ผู้ต้องขังเก็บรักษาไว้ในเรือนจา แต่ต้อง
มีปริมาณหรือจานวนไม่เกินกว่าที่อธิบดีอนุญาต
(๑) สิ่งของเกี่ยวกับการรักษาอนามัย เช่น แปรงสีฟัน ยาสีฟนั สบู่ หวี ผ้าเช็ดตัว
(๒) อาหารที่ปรุงแล้วเสร็จซึ่งอนุญาตให้ผู้ต้องขังรับประทานได้
(๓) สิ่งของอื่นที่ได้รับอนุญาตจากผู้บัญชาการเรือนจาและผู้ต้องขังได้ปฏิบัติตามเงื่อนไข
ทีผ่ ู้บัญชาการเรือนจากาหนด
ข้อ ๓ ทรัพย์สินดังต่อไปนี้เป็นสิ่งของที่ไม่อนุญาตให้ผู้ต้องขังเก็บรักษาไว้ในเรือนจา
(๑) สิ่งของที่มีสภาพเป็นของสด เสียง่ายหรือของอันตรายหรือโสโครก
(๒) ผลิตภัณฑ์ยาสูบตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ
(๓) สิ่งของที่มีขนาด น้าหนัก ปริมาณ จานวน หรือสภาพ อันจะเก็บรักษาไว้ในเรือนจา
ไม่ได้
(๔) วัตถุ เอกสาร สิ่ งพิมพ์ หรือสิ่ งอื่นใดที่สื่ อ ไปในทางลามกอนาจาร หรืออาจ
ก่อให้เกิด ความไม่สงบเรียบร้อยหรือเสื่อมเสียต่อศีลธรรมอัน ดี (๕) สิ่งของอื่นที่มีลักษณะทานองเดียวกับ
(๑) (๒) (๓) หรือ (๔) ตามที่อธิบดีกาหนด
ให้ไว้ ณ วันที่ 25 กันยายน พ.ศ. ๒๕๖3
สมศักดิ์ เทพสุทิน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


256 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่ม าตรา ๖๒ วรรคหนึ่ง แห่ง


พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ บัญญัติให้ทรัพย์สินของผู้ต้องขังชนิดใดจะเป็นสิ่งของที่อนุญ าต
หรือไม่อนุญาตให้เก็บรักษาไว้ในเรือนจา ให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง จึงจาเป็นต้องออก
กฎกระทรวงนี้(ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๗ ตอนที่ ๘๔ ก ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๖๓)
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 257

กฎกระทรวง
การดาเนินการทางวินัยผู้ต้องขัง พ.ศ. ๒๕๖๓
---------------------
อาศั ย อ านาจตามความในมาตรา ๗ วรรคหนึ่ ง และมาตรา ๖๙ วรรคสอง แห่ ง
พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้ยกเลิก
(๑) หมวด ๕ การลงโทษฐานผิดวินัย ของส่วนที่ ๗ วินัยของผู้ต้องขัง ข้อ ๙๙ ถึงข้อ
๑๑๙ แห่ ง กฎกระทรวงมหาดไทยออกตามความในมาตรา ๕๘ แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ ร าชทั ณ ฑ์
พุทธศักราช ๒๔๗๙
(๒) ข้อ ๔ แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ ๘ (พ.ศ. ๒๕๒๑) ออกตามความในพระราชบัญญัติ
ราชทัณฑ์ พุทธศักราช ๒๔๗๙
(๓) ข้อ ๔ และข้อ ๕ แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๔ (พ.ศ. ๒๕๕๓) ออกตามความใน
พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พุทธศักราช ๒๔๗๙
ข้อ ๒ เมื่อเจ้าพนักงานเรือนจาพบเห็นหรือทราบว่าผู้ต้องขังกระทาผิดวินัย ให้ทาบันทึก
รายงานพฤติการณ์แห่งการกระทาที่กล่าวหา หรือเป็ นที่สงสัยว่ากระทาผิด ชื่อตัว และชื่อสกุล ของ
ผู้กระทาผิด วัน เวลา และสถานที่เกิดเหตุ และพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้องเท่าที่มี หรือรวบรวมได้ เสนอ
ผู้บังคับบัญชาเหนือตนขึ้นไปทราบ และเสนอผู้บัญชาการเรือนจาพิจารณา
ข้อ ๓ เมื่อผู้บัญชาการเรือนจาได้รับบันทึกรายงานพฤติการณ์ตามข้อ ๒ แล้ว ให้แต่งตั้ง
เจ้าพนักงานเรือนจาจานวนไม่น้อยกว่าสามคนแต่ไม่เกินห้าคน เพื่อสอบสวนการกระทาผิดวินัย เว้นแต่
การกระทาผิดนั้นมีกระบวนการในการพิจารณาลงโทษเป็นการเฉพาะ
ข้อ ๔ ให้เจ้าพนักงานเรือนจาซึ่งได้รับการแต่งตั้งตามข้อ ๓ แจ้งข้อกล่าวหาให้ผู้ต้องขัง
ซึ่งถูกกล่าวหาทราบ พร้อมทั้งสอบถามว่าจะให้การรับสารภาพหรือปฏิเสธ และให้จัดทาบันทึกคาให้การ
ดังกล่ าวไว้ รวมทั้งเปิ ดโอกาสให้ ผู้ต้ องขังชี้แจงแก้ข้อกล่าวหา และนาพยานหลักฐานมาแสดง เพื่อ
ประกอบคาให้การต่อสู้ได้อย่างเต็มที่
ข้อ ๕ เจ้าพนักงานเรือนจาซึ่งได้รับการแต่งตั้งตามข้อ ๓ ต้องดาเนินการสอบสวน และ
รวบรวมพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้องให้แล้วเสร็จโดยไม่ชักช้า แล้วเสนอความเห็นต่อผู้บัญชาการเรือนจา
ถึงพฤติการณ์แห่งการกระทาผิดวินัย รวมทั้งโทษที่จะลงแก่ผู้ต้องขัง
การดาเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้เจ้าพนัก งานเรือนจาดาเนินการให้แล้ วเสร็จภายใน
ระยะเวลา ที่อธิบดีกาหนด
ข้อ ๖ ผู้บัญชาการเรื อนจามีอานาจลงโทษทางวินัยผู้ต้องขังซึ่งกระทาผิ ดวินัยตามที่
บัญญัติ ไว้ในมาตรา ๖๙
คาสั่งลงโทษทางวินัยให้มีผลนับแต่วันที่ผู้ต้องขังได้รับแจ้งคาสั่ง

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


258 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ข้อ ๗ ในกรณีที่เจ้าพนักงานเรือนจาเห็นว่า ผู้ต้องขังซึ่งจะได้รับโทษหรืออยู่ระหว่าง


การลงโทษทางวินัยตามมาตรา ๖๙ เจ็บป่วยหรือมีเหตุจาเป็นอื่นใดที่สมควรเพิกถอน เปลี่ยนแปลง งด
หรือรอการลงโทษ ให้รายงานไปยังผู้บัญชาการเรือนจา
เมื่อผู้บัญชาการเรือนจาได้รับรายงานตามวรรคหนึ่ ง อาจเรียกเจ้าพนักงานเรือนจา
หรือผู้ต้องขังมาชี้แจงเพื่อประกอบการพิจารณาเพิกถอน เปลี่ยนแปลง งด หรือรอการลงโทษก็ได้ และ
เมื่อผู้บัญชาการเรือนจาได้พิจารณาและมีคาสั่งประการใดแล้ว ให้เจ้าพนักงานเรือนจาปฏิบัติตามคาสั่ง
และบันทึกเหตุแห่งการเพิกถอน เปลี่ยนแปลง งด หรือรอการลงโทษ
คาสั่งของผู้บัญชาการเรือนจาตามวรรคสอง ให้เป็นที่สุด
ข้อ ๘ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาภาคทัณฑ์ผู้ต้องขังซึ่งกระทาผิดวินั ยไม่ร้ายแรง และได้
สานึกถึงความผิดที่ได้กระทาไปแล้ว
การภาคทัณฑ์ตามวรรคหนึ่ง ให้กระทาโดยวิธีเรียกตัวผู้ ต้องขังมาว่ากล่าวสั่งสอน ให้
ประพฤติตัว อยู่ในวินัย
ข้อ ๙ ให้ผู้บัญชาการเรือนจางดการเลื่อนชั้นผู้ต้องขังซึ่งกระทาผิด ดังต่อไปนี้
(๑) ประพฤติผิ ดระเบี ยบหรื อข้ อ บัง คั บ อัน มีไว้ ส าหรับ การเยี่ย มเยี ยนหรื อติ ด ต่ อ กั บ
บุคคลภายนอก
(๒) นาสิ่งของซึ่งมิใช่ของตนเข้าหรือออกจากเรือนจาโดยไม่ได้รับอนุญาต
(๓) ทาให้เกิดเหตุติดขัดในการงานของผู้ต้องขังคนอื่นโดยประมาท
(๔) ทาให้ทรัพย์สินของทางราชการหรือของผู้อื่นเสียหาย
(๕) กระทาผิดเกี่ยวกับสิ่งของต้องห้ามตามมาตรา ๗๒ หรือมาตรา ๗๓
ข้อ ๑๐ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาลดชั้นผู้ต้องขังซึง่ กระทาผิด ดังต่อไปนี้
(๑) จงใจทาให้เกิดเหตุติดขัดในการงานของผู้ต้องขังคนอื่น
(๒) จงใจทาให้ทรัพย์สินของทางราชการหรือของผู้อื่นเสียหาย
(๓) กระด้างกระเดื่องต่อเจ้าพนักงานเรือนจา
(๔) พยายามหลบหนี
(๕) ทาร้ายหรือพยายามทาร้ายร่างกายผู้อื่น
(๖) ก่อการทะเลาะวิวาท
(๗) เล่นการพนัน
(๘) เสพของมึนเมา
(๙) กระทาผิดเกี่ยวกับสิ่งของต้องห้ามตามมาตรา ๗๒ หรือมาตรา ๗๓
ข้อ ๑๑ การลดชั้นผู้ต้องขังตามข้อ ๑๐ ให้ลดตามลาดับครั้งละหนึ่งชั้น เว้นแต่กรณี
ดังต่อไปนี้
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 259

(๑) ประพฤติผิดเงื่อนไขการคุมประพฤติและได้ตั วกลับคืนมา ไม่ว่าขณะที่ปล่อยตัว


นักโทษ เด็ดขาดคนนั้นเพื่อคุมประพฤติจะเป็นนักโทษเด็ดขาดชั้นใด ให้ลดชั้นเป็นชั้นต้องปรับปรุง
(๒) เสพยาเสพติด ให้ลดชั้นเป็นชั้นต้องปรับปรุงมาก
(๓) กระทาผิดเกี่ยวกับสิ่งของต้องห้ามตามมาตรา ๗๒ (๑) หรือ(๖) หรือร่วมกันกระทา
ผิด ทั้งในฐานะตัวการ ผู้ใช้ ผู้สนับสนุน หรือผู้ได้รับประโยชน์จากสิ่งของดังกล่าว ให้ลดชั้นเป็น ชั้นต้อง
ปรับปรุงมาก
(๔) หลบหนีไปและได้ตัวกลับคืนมา ไม่ว่าก่อนหลบหนีนักโทษเด็ดขาดคนนั้นจะเป็น
นักโทษเด็ดขาดชั้นใด ให้ลดชั้นเป็นชั้นต้องปรับปรุงมาก
(๕) ทาร้ายร่างกายเจ้าพนักงานเรือนจา เจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งเข้าไปปฏิบัติหน้าที่ หรือ ผู้
ปฏิบัติ หน้าที่อยู่ในเรือนจา ให้ลดชั้นเป็นชั้นต้องปรับปรุงมาก
(๖) ฆ่าผู้อื่น ก่อการทะเลาะวิวาท หรือทาร้ายร่างกายผู้อื่น ให้ลดชั้นนักโทษเด็ดขาด
ดังต่อไปนี้
(ก) ฆ่าผู้อื่น ก่อการทะเลาะวิวาท หรือทาร้ายร่างกายผู้อื่นจนเป็นเหตุให้ถึงแก่ความ
ตาย ให้ลดชั้นเป็นชั้นต้องปรับปรุงมาก
(ข) ก่อการทะเลาะวิวาทหรือทาร้ายร่างกายผู้อื่นจนเป็นเหตุให้ได้รับอันตรายสาหัส
ให้ลดชั้นสองชั้น เว้นแต่นักโทษเด็ดขาดคนนั้นเป็นนักโทษเด็ดขาดชั้นต้องปรับปรุง ให้ลดชั้นเป็นชั้นต้อง
ปรับปรุงมาก
(๗) กรณีอื่นตามที่รัฐมนตรีประกาศกาหนด
ข้อ ๑๒ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาตัดการอนุญาตให้ไ ด้รับการเยี่ยมเยียนหรือติดต่อ กับ
บุคคลภายนอกแก่ผู้ต้องขังซึ่งกระทาผิด ดังต่อไปนี้
(๑) ประพฤติผิ ดระเบียบหรือข้อบังคับอันมีไว้ส าหรับการเยี่ยมเยียนหรือติดต่อ กับ
บุคคลภายนอก
(๒) นาสิ่งของซึ่งมิใช่ของตนเข้าหรือออกจากเรือนจาโดยไม่ได้รับอนุญาต
(๓) กระทาผิดเกีย่ วกับสิ่งของต้องห้ามตามมาตรา ๗๒ หรือมาตรา ๗๓
(๔) พยายามหลบหนีหรือหลบหนีไปแล้วแต่ได้ตัวกลับคืนมา
ข้ อ ๑๓ ให้ ผู้ บั ญ ชาการเรื อ นจ าลดประโยชน์ แ ละรางวั ล แก่ ผู้ ต้ อ งขั ง ซึ่ ง กระท าผิ ด
ดังต่อไปนี้
(๑) ละทิ้งหรือเพิกเฉยต่อการงานอันเป็นหน้าที่
(๒) ทาให้ทรัพย์สินของผู้อื่นเสียหาย
(๓) ก่อการทะเลาะวิวาทในขณะทาการงาน
การลดประโยชน์และรางวัลตามวรรคหนึ่ง ให้พึงลดเพียงอย่างเดียวตามที่เห็นสมควร

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


260 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ข้อ ๑๔ ให้ผู้บัญชาการเรือนจางดประโยชน์และรางวัลแก่ผู้ต้องขังซึ่งกระทาผิดตามข้อ
๑๓ โดยเจตนาและมีความเสียหายเกิดขึ้น และจะงดเพียงอย่างเดียวก็ได้
ข้อ ๑๕ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาขังเดี่ยวผู้ต้องขังซึ่งกระทาผิด ดังต่อไปนี้
(๑) เล่นการพนันโดยเป็นเจ้ามือหรือสมคบกับผู้อื่นเล่นการพนันตั้งแต่สองครั้งขึ้นไป
(๒) ทะเลาะวิวาทตั้งแต่สองครั้งขึ้นไป
(๓) เสพยาเสพติด
(๔) กระทาผิดเกีย่ วกับสิ่งของต้องห้ามตามมาตรา ๗๒(๑)หรือ (๖)หรือร่วมกันกระทาผิด
ทั้งในฐานะตัวการ ผู้ใช้ ผู้สนับสนุน หรือผู้ได้รับประโยชน์จากสิ่งของดังกล่าว
(๕) พยายามหลบหนีหรือหลบหนีไปแล้วแต่ได้ตัวกลับคืนมา
(๖) ทาร้ายร่างกายผู้อื่นจนเป็นเหตุให้ได้รับอันตรายสาหัสหรือถึงแก่ความตาย
(๗) กระด้างกระเดื่องต่อเจ้าพนักงานเรือนจาซึ่งมีตาแหน่งตั้งแต่ชั้นพัศดีขึ้นไป
การขังเดี่ยวตามวรรคหนึ่ง ให้กระทาโดยวิธีแยกผู้ต้องขั งซึ่งกระทาผิดจากผู้ต้องขั งอื่น
และคุมขัง ไว้ในที่ที่จัดขึ้นเป็นพิเศษ และห้ามการติดต่อหรือพูดจากับผู้อื่น เว้นแต่เป็นสิทธิตามที่กฎหมาย
กาหนด
ให้ พัศดีจั ดให้ มีผู้ คอยตรวจการขังเดี่ยวให้เป็นไปตามวรรคสอง ในกรณีที่ผู้ ต้องขังมี
อาการ เจ็บป่วย ให้มีการรักษาพยาบาล
หากการกระท าผิ ดตามวรรคหนึ่ ง เป็นความผิ ดที่จ ะต้ อ งถู กลงโทษตามข้ อ อื่ น ด้ ว ย
ให้ลงโทษตามข้อนั้นก่อน แล้วจึงลงโทษขังเดี่ยวอีกสถานหนึ่ง
การลงโทษขังเดี่ยวให้กระทาได้ไม่เกินหนึ่งเดือน ถ้าขังเดี่ยวเกินกว่าสิบห้าวัน ให้กระทา
ต่อเนื่องได้ครั้งละไม่เกินสิบห้าวัน โดยมีระยะเวลาเว้นช่วงในแต่ละครั้งไม่น้อยกว่าห้าวัน
ข้อ ๑๖ นักโทษเด็ดขาดซึ่งได้รับการลดวันต้องโทษจาคุกแล้ว ให้ผู้บัญชาการเรือนจา
ตัดจานวนวันที่ได้รับการลดวันต้องโทษจาคุกในกรณีที่กระทาผิด ดังต่อไปนี้
(๑) ไม่เกินสิบห้าวัน
(ก) ฝ่าฝืนระเบียบหรือข้อบังคับของเรือนจา
(ข) เล่นการพนัน
(ค) ก่อการทะเลาะวิวาทกับผู้ต้องขัง
(ง) กระด้างกระเดื่องต่อเจ้าพนักงานเรือนจา
(๒) ตั้งแต่สิบห้าวันแต่ไม่เกินสามสิบวัน
(ก) ละทิ้งหรือเพิกเฉยต่อการงานอันเป็นหน้าที่
(ข) พยายามทาให้ผู้อื่นหรือกิจการของเรือนจาเสียหาย
(ค) ทะเลาะวิวาทตั้งแต่สองครั้งขึ้นไป
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 261

(ง) ทาร้ายหรือพยายามทาร้ายผู้อื่น
(๓) ตั้งแต่สามสิบวันแต่ไม่เกินหกสิบวัน
(ก) ไม่ปฏิบัติตามคาสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายของเจ้าพนักงานเรือนจา
(ข) กระทาผิดเกี่ยวกับสิ่งของต้องห้ามตามมาตรา ๗๒ หรือมาตรา ๗๓
(ค) สมคบกับผู้อื่นก่อความไม่สงบเรียบร้อยขึ้น
(ง) จงใจทาให้ผู้อื่นหรือกิจการของเรือนจาเสียหาย
(จ) พยายามหลบหนีหรือหลบหนีไปแล้วแต่ได้ตัวกลับคืนมา
(ฉ) ทาร้ายหรือพยายามทาร้ายเจ้าพนักงานเรือนจา เจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งเข้าไป
ปฏิบัติหน้าที่ หรือผู้ปฏิบัติหน้าที่อยู่ในเรือนจา
ในกรณีที่นักโทษเด็ดขาดซึ่งกระทาผิดวินัยมีวันที่ได้รับการลดวันต้องโทษจาคุ กน้อยกว่า
ที่จะถูกตัด ให้ตัดจานวนวันที่ได้รับการลดวันต้องโทษจาคุกที่มีอยู่ทั้งหมด
การตัดจานวนวันที่ได้รับการลดวันต้องโทษจาคุกตามข้อนี้ ไม่ให้ใช้บังคับแก่กรณีการ
ได้รับการลดวันต้องโทษจาคุกตามมาตรา ๕๒ (๖)
ข้อ ๑๗ ถ้ามีการกระทาผิดอย่างอื่นนอกจากที่กาหนดในกฎกระทรวงนี้ ให้ผู้บัญชาการ
เรือนจาพิจารณาลงโทษทางวินัยตามที่เห็นสมควร
ข้อ ๑๘ กรณีผู้ต้องขังครอบครองหรือใช้สิ่งของต้องห้ามตามมาตรา ๗๒ หรือมาตรา
๗๓ ในขณะที่อยู่น อกเรื อนจา ให้ผู้บัญชาการเรือนจาลงโทษทางวินัยเช่นเดียวกับการกระทาผิ ดวินัย
ในเรือนจา
ข้อ ๑๙ กรณีที่ผู้ต้องขังกระทาผิดวินัยและความผิดนั้นมี โทษหลายสถาน ห้ามลงโทษ
เกินกว่าสามสถาน
ข้อ ๒๐ กรณีที่ผู้ต้องขังกระทาผิดวินัยและไม่อยู่ในสถานะที่จะลงโทษตามที่กฎหมาย
กาหนดได้ ให้ผู้บัญชาการเรือนจาลงโทษทางวินัยสถานอื่นตามความเหมาะสม
ข้อ ๒๑ เมื่อผู้ต้องขังได้รับคาสั่งลงโทษทางวินัยแล้ว ไม่พอใจคาสั่งนั้น ให้มีสิทธิอุทธรณ์
คาสั่ง โดยยื่นหนังสือต่อผู้ออกคาสั่งภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ผู้ต้องขังได้รับแจ้งคาสั่ง
การอุ ท ธรณ์ ต ามวรรคหนึ่ ง ไม่ เ ป็ น เหตุ ใ ห้ ทุ เ ลาการปฏิ บั ติ ต ามค าสั่ ง ลงโทษของ
ผู้บัญชาการเรือนจา
ข้อ ๒๒ การออกคาสั่งลงโทษทางวินัย การเพิกถอน การอุทธรณ์ การพิจารณาอุทธรณ์
และการแจ้งคาวินิจฉัยอุทธรณ์คาสั่งลงโทษทางวินัย ให้นาความในกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทาง
ปกครองมาใช้บังคับโดยอนุโลม
ข้อ ๒๓ กรณีที่มีการเพิกถอนคาสั่งลงโทษผู้ต้องขังซึ่งกระทาผิดวินัย ให้ผู้บัญชาการ
เรือนจา ดาเนินการเยียวยาผู้ต้องขังซึ่งถูกลงโทษ ดังต่อไปนี้
(๑) โทษงดการเลื่อนชั้น ให้เลื่อนชั้นย้อนหลังไปถึงงวดการเลื่อนชั้นที่ถูกงด

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


262 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

(๒) โทษลดชั้น ให้คืนชั้นกลับสู่ชั้นเดิมก่อนถูกลงโทษและให้ย้อนหลังไปถึงวันที่คาสั่ง


ลงโทษมีผลใช้บังคับ
(๓) โทษตัดการอนุญาตให้ได้รับการเยี่ยมเยียนหรือติดต่อกับบุคคลภายนอก ให้จัดวัน
เยี่ยม ทดแทนนอกจากวันเยี่ยมปกติเท่ากับจานวนวันที่ถูกตัด
(๔) โทษขังเดี่ยว ให้จัดให้ได้รับการเยี่ยมเยียนเพิ่มขึ้นนอกจากวันเยี่ยมปกติเป็นจานวน
สองเท่าของวันที่ถูกขังเดี่ยว หรือเพิ่มระยะเวลาการเยี่ยมเยียนเป็นสองเท่าของระยะเวลาตามปกติ
(๕) โทษตัดจานวนวันที่ได้รับการลดวันต้องโทษจาคุก ให้คืนจานวนวันที่ได้รับการลดวัน
ต้องโทษจาคุกเท่ากับจานวนวันที่ถูกตัด
เมื่อเพิกถอนคาสั่งลงโทษทางวินัยแล้ว ให้บันทึกการเพิกถอนคาสั่งในทะเบียนประวัติ
ผู้ต้องขังคนนั้น และให้ได้รับสิทธิประโยชน์ที่เป็นผลจากการถูกลงโทษนั้นคืนด้วย
ให้ไว้ ณ วันที่ 25 กันยายน พ.ศ. ๒๕๖3
สมศักดิ์ เทพสุทิน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
หมายเหตุ :- เหตุ ผ ลในการประกาศใช้ ก ฎกระทรวงฉบั บ นี้ คื อ โดยที่ ม าตรา ๖๙ วรรคสอง แห่ ง
พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ บัญญัติให้การดาเนินการพิจารณาลงโทษทางวินัย การลงโทษ
การเพิกถอน การเปลี่ยนแปลง การงด หรือการรอการลงโทษ และการอุทธรณ์คาสั่งลงโทษทางวินัย
ของผู้ต้องขัง รวมทั้งผู้มีอานาจในการดาเนินการดังกล่าว ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข
ที่กาหนดในกฎกระทรวง จึงจาเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้ (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๗
ตอนที่ ๘๔ ก ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๖๓)
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 263

กฎกระทรวง
การดาเนินการกับสิ่งของต้องห้ามตามมาตรา ๗๓
ในกรณีที่ไม่มีการดาเนินการฟ้องร้องตามกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๖๓
---------------------
อาศั ย อ านาจตามความในมาตรา ๗ วรรคหนึ่ ง และมาตรา ๗๔ วรรคสามแห่ ง
พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ในกรณีที่เจ้าพนักงานเรือนจาตรวจพบสิ่งของต้องห้ามตามมาตรา ๗๓ และไม่
ดาเนินการฟ้องร้องผู้ต้องขังซึ่งเป็นเจ้าของหรือผู้ครอบครองสิ่งของต้องห้ามดั งกล่าว ให้ผู้บัญชาการ
เรือนจาดาเนินการทางวินัยแก่ผู้ต้องขังนั้น และจัดทาบัญชีจัดเก็บ สิ่งของต้องห้ามดังกล่าวเพื่อใช้เป็น
หลักฐานในการดาเนินการทางวินัย
ในกรณีที่มีความจาเป็นต้องแยกเก็บรักษาสิ่งของต้ องห้ามตามมาตรา ๗๓ ให้เรือนจา
จัดสถานที่เก็บรักษาสิ่งของต้องห้ามนั้นแยกต่างหากเพื่อประโยชน์ในการดูแลรักษาหลักฐาน
ข้อ ๒ เมื่อผู้บัญชาการเรือนจาได้ดาเนินการทางวินัยแก่ผู้ ต้องขังซึ่งเป็นเจ้าของ หรือ
ผู้ครอบครองสิ่งของต้องห้ามตามมาตรา ๗๓ แล้ว ให้ดาเนินการกับสิ่งของต้องห้าม ดังต่อไปนี้
(๑) เงินตรา ให้นาส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน ในกรณีที่เป็นเงิ นตราสกุลอื่นที่ไม่ใช่เงิน
บาท ให้แลกเปลี่ยนเป็นเงินบาทแล้วนาส่งคลังเป็นรายได้ แผ่นดิน หากไม่สามารถแลกเปลี่ยนได้ ให้
ดาเนินการตามที่เห็นสมควร
(๒) สิ่งของอื่น ให้ทาลาย ทาให้เสื่อมสภาพ หรือทาให้ใช้การไม่ได้
ให้ไว้ ณ วันที่ 25 กันยายน พ.ศ. ๒๕๖3
สมศักดิ์ เทพสุทิน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๗๔ วรรคสาม แห่ง
พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ บัญญัติว่าในกรณีสิ่งของต้องห้ามตามมาตรา ๗๓ หากไม่มี การดา
เนินการฟ้องร้องตามกฎหมาย ให้ผู้บัญชาการเรือนจามีอานาจดาเนินการกับสิ่งของต้องห้ามดังกล่าว ตาม
หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง จึงจาเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้ (ประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๗ ตอนที่ ๘๔ ก ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๖๓)

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


264 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ระเบียบกรมราชทัณฑ์
ว่าด้วยการปฏิบัติหน้าที่เวรยามรักษาการณ์กลางคืน
และกลางวันในวันหยุดราชการของเรือนจาหรือทัณฑสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕
เพื่อให้การปฏิบัติหน้าที่เวรยามรักษาการณ์ภายในเรือนจาหรือทัณฑสถานเป็นระเบียบ
แบบแผนมีหลักเกณฑ์ถือปฏิบัติอย่างเดียวกันกรมราชทัณฑ์จึงวางระเบียบไว้ดังต่อไปนี้
ข้ อ ๑ ให้ แ ต่ ล ะเรื อ นจ าหรื อ ทั ณ ฑสถานจั ด ท าสมุ ด จั ด เวรยามรั ก ษาการณ์ แ จ้ ง ให้
เจ้าหน้าที่ผู้จะต้องอยู่เวรยามได้ทราบล่วงหน้าอย่างน้อย ๒ วัน วิธีการแจ้งให้แจ้งโดยวางสมุดจัดเวรยามไว้
คู่กับสมุดลงเวลามาปฏิบัติราชการประจาวันของข้าราชการและให้ผู้ถูกเวรยามเซ็นชื่อรับทราบในช่องที่
ตรงกับรายชื่อที่ผู้นั้นถูกจัดให้อยู่เวรยามทั้งนี้เพื่อสะดวกในการตรวจสอบของเจ้าหน้าที่
ข้ อ ๒ ให้ ฝ่ า ยควบคุ ม และรั ก ษาการณ์ ห รื อ ฝ่ า ยปกครองและรั ก ษาการณ์ มี ห น้ า ที่
รับผิดชอบในการจัดเวรยามรักษาการณ์ประจาวันภายในเรือนจาหรือทัณฑสถานโดยจัดให้เจ้าหน้าที่ทุก
คนได้หมุนเวียนผลัดเปลี่ยนกันเข้าเวรอย่ างเสมอหน้ากันและให้จัดเจ้าหน้าที่ไว้คอยตรวจสอบว่าผู้มีหน้าที่
เข้าเวรยามแต่ละวันที่จัดไว้ล่วงหน้านั้นได้เซ็นรับทราบคาสั่งครบถ้วนหรือไม่หากผู้ใดไม่เซ็นชื่อก็ให้ติดตาม
เพื่อทราบปั ญหาหรื อเหตุขัดข้องแล้ ว รีบเสนอผู้ บัง คับบัญชาซึ่งรับผิ ดชอบในการจัด เวรยามได้ ท ราบ
ล่วงหน้าเพื่อสั่งการแก้ไขได้ทันกาลก่อนจะถึงกาหนดเวลาที่เจ้าหน้าที่ผู้นั้นจะเข้าเวรยามทั้งนี้เพื่อมิให้ขาด
กาลังเจ้าหน้าที่เวรยาม
ข้อ ๓ แม้จะได้มีหลักฐานจัดให้ผู้ถูกเวรยามเซ็นชื่อรับทราบไว้ล่วงหน้าในสมุดจัดเวรยาม
รักษาการณ์ตามข้อ ๑แล้วแต่เพื่อป้องกันการหลงลืมของเจ้าหน้าที่ผู้ถูกเวรยามจึงให้คงมีป้ายประกาศ
รายชื่อเจ้าหน้าที่อยู่เวรยามประจาวันติดไว้ที่ฝาผนังประตูเข้าเรือนจาดังเช่นที่เรือนจาส่วนใหญ่ถือปฏิบัติ
อยู่แล้วอีกส่วนหนึ่งด้วย
ข้อ ๔ การจัดเวรยามรักษาการณ์กลางคืนและกลางวันในวันหยุดราชการของแต่ล ะ
เรือนจาหรือทัณฑสถานให้พึงมีระดับการบังคับบัญชาลดหลั่นกันตามลาดับดังนี้
๔.๑ เวรผู้ใหญ่
๔.๒ พัศดีเวรและผู้ช่วยพัศดีเวร
๔.๓ หัวหน้าเวรรักษาการณ์ทุกผลัด
๔.๔ หัวหน้าเวรประตูหัวหน้าเวรประจาแดน
๔.๕ เวรรักษาการณ์ทั่วไป
แต่ทั้งนี้ต้องจัดอัตรากาลังให้เหมาะสมกับสภาพของแต่ละเรือนจาหรือทัณฑสถานและ
ให้ ส อดคล้ องกับ จ านวนเจ้ าหน้ าที่เวรยามที่ส ามารถจะเบิ กจ่ายเงิน ค่าอาหารทาการนอกเวลาตามที่
กระทรวงการคลังกาหนดให้ด้วย
ข้อ ๕ นอกจากผู้บัญชาการเรือนจาผู้อานวยการหรือผู้ปกครองทัณฑสถานจะมีหน้าที่
ต้องเข้าตรวจภายในเรือนจ าหรื อทัณฑสถานตามระเบียบที่กรมราชทัณฑ์กาหนดไว้แล้ วผู้บัญชาการ
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 265

เรือนจาผู้อานวยการหรือผู้ปกครองทัณฑสถานจะต้องจัดเวรตรวจพิเศษให้ผู้บังคับบัญชาระดับรองเป็นเวร
เข้าตรวจเรือนจาหรือทัณฑสถานแทนผู้บัญชาการเรือนจาผู้อานวยการหรือผู้ปกครองด้วยโดยจะต้องเข้า
ตรวจการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ เ วรยามรั ก ษาการณ์ เ ป็ น ประจ าทุ ก วั น ทั้ ง นี้ เ พื่ อ เสริ ม ก าลั ง การตรวจตราของ
ผู้บังคับบัญชาระดับสูงอีกชั้นหนึ่ง
ข้อ ๖ การอยู่เวรยามรักษาการณ์กลางคืนให้ถือปฏิบัติดังนี้
๖.๑ ในวันเปิดที่ทาการตามปกติผู้จะเข้าปฏิบัติหน้าที่เวรยามรักษาการณ์ ตามนัยข้อ๔ทุก
คนให้พ้นจากหน้าที่ประจาวันเมื่อเวลา ๑๕.๐๐น. เพื่อไปเตรียมตัวเข้าเวรยามและจะต้องกลับเข้ามารับมอบ
หน้าที่เวรยามต่อจากเจ้าหน้าที่รับผิดชอบตอนกลางวันไม่เกินเวลา ๑๖.๓๐ น. และให้พ้นจากหน้าที่เวรยาม
รักษาการณ์กลางคืนเวลา ๐๘.๓๐ น. ของเช้าวันรุ่งขึ้นแต่จะถือว่าพ้นจากหน้าที่ก็ต่อเมื่อเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน
ประจาวันหรือเจ้าหน้าที่เวรยามรักษาการณ์กลางวันในกรณีที่วันรุ่งขึ้นตรงกับวันหยุดราชการมารับมอบ
หน้าที่ครบทุกคนเสียก่อนด้วย
๖.๒ ให้ผู้พ้นจากหน้าที่เวรยามรักษาการณ์กลางคืนซึ่งจะต้องกลับเข้ามาปฏิบัติหน้าที่
ประจาวันในวันเปิดทาการตามปกติกลับเข้ามาปฏิบัติหน้าที่ไม่เกินเวลา ๑๐.๐๐ น.
๖.๓ ให้ผู้พ้นจากหน้าที่เวรยามรักษาการณ์กลางคืนแต่จะต้องถูกเวรคาบเกี่ยวกับเวร
รักษาการณ์ตอนกลางวันในวันหยุดราชการด้วยให้กลับเข้ามาเข้าเวรไม่เกิน ๐๙.๓๐ น.
ให้เรือนจาและทัณฑสถานพยายามหลีกเลี่ยงการจัดเวรยามคาบเกี่ยวกรณีนี้ให้น้อยที่สุด
หากเป็นไปได้ถ้าจะเป็นต้องจัดเมื่อผู้นั้นออกเวรรักษาการณ์กลางคืนแล้วให้ จัดอาหารเช้าจากร้านค้า
สงเคราะห์ภายในเรื อนจ าเป็นสวัส ดิการแก่เจ้าหน้าที่ดังกล่ าวแทนการอนุญาตให้ ออกไปรับประทาน
อาหารเช้าที่บ้านก็จะเพิ่มกาลังการควบคุมให้แข็งแรงขึ้น
๖.๔ การส่งมอบหน้าที่เวรยามแต่ละผลัดต้องปลุกเวรผลัดต่อไปมาตรวจและเซ็นรับมอบ
หน้าที่กันให้เรียบร้อยเสียก่อนจึงจะออกเวรได้ถ้าหากเวรผลัดต่อไปยังไม่เซ็นรับมอบหน้าที่ถือว่าเวรคนเดิม
ยังไม่หมดหน้าที่
ข้อ ๗ การอยู่เวรรักษาการณ์กลางวันในวันหยุดราชการให้ถือปฏิบัติดังนี้
๗.๑ ให้เวรรักษาการณ์กลางวันทุกคนเข้าปฏิบัติหน้าที่ไ ม่เกินเวลา ๐๘.๐๐ น. และให้
พ้นจากหน้าที่เวลา ๑๗.๐๐ น.
๗.๒ ผู้ที่มีหน้าที่เป็นเวรรักษาการณ์กลางวันและมีหน้าที่จะต้องอยู่เวรต่อเนื่องคาบเกี่ยว
ไปถึงเวรรักษาการณ์กลางคืนในเย็นวันนั้นด้วยอนุญาตให้ออกไปเตรียมตัวเข้าเวรกลางคืนตามนัยข้อ ๖.๑
ได้แต่ทั้งนี้ให้เรือนจาและทัณฑสถานพยายามหลีกเลี่ยงการจัดเวรต่อเนื่องคาบเกี่ยวกันตามนัยข้อ ๖.๓
วรรคสอง
๗.๓ ให้ จั ด เวรผลั ด เปลี่ ย นกั น ออกไปรั บ ประทานอาหารกลางวั น ระหว่ า งช่ ว งเวลา
๑๑.๐๐ – ๑๒.๐๐น. และ ๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐น. แต่ทั้งนี้ให้คานึงถึงการจัดกาลังการควบคุมที่เหลืออยู่ให้
เพียงพอแก่การรักษาความปลอดภัยของเรือนจาหรือทัณฑสถานแต่ละแห่งด้วย

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา


266 กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ข้อ ๘ ให้จัดเวรยามสารองประจาวันไว้ส่วนหนึ่งหากมีเหตุจาเป็นเช่นกรณีเจ้าหน้าที่เวร
ยามในวันนั้นเจ็บป่วยกระทันหันหรือเกิดเหตุการณ์เฉพาะหน้าที่ไม่อาจมาปฏิบัติหน้าที่ตามปกติได้เมื่อถึง
เวลาที่จะต้องเข้าปฏิบัติหน้าที่แต่ผู้มีหน้าที่เข้าเวรยามโดยตรงยังไม่เข้าปฏิบัติหน้าที่ก็ให้เวรยามสารองเข้า
ปฏิบัติหน้าที่แทนได้ทันที
ข้อ ๙ การขออนุญาตสับเปลี่ยนการอยู่เวรยามแทนกันให้กระทาได้โดยถือปฏิบัติตามนัย
หนั ง สื อ กรมราชทั ณ ฑ์ ที่ ม ท. ๐๙๐๒/ว๒๒๒ลงวั น ที่ ๓ ๑ตุ ล าคม๒๕๒๒กล่ า วคื อ ต้ อ งได้ รั บ อนุ ญ าตจาก
ผู้บังคับบัญชาโดยเสนอขออนุญาตผ่านการพิจารณาของพัศดีเวรจนถึงหัวหน้าฝ่ายควบคุมและรักษาการณ์
หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากผู้บัญชาการเรือนจาหรือผู้ปกครองเป็นผู้พิจารณาอนุญาตเสียก่อน
ข้อ ๑๐ ให้ เจ้ าหน้ าที่ประตูตรวจการเข้าออกของเจ้าหน้าที่เวรยามรักษาการณ์เมื่อ
เจ้าหน้าที่ดังกล่าวได้เข้ามาปฏิบัติหน้าที่ภายในเรือนจาหรือทัณฑสถานแล้วจะออกไปนอกแดนต้องได้รับ
อนุญาตจากเวรผู้ใหญ่หรือพัศดีเวรหากจะออกไปนอกเรือนจาหรือทัณฑสถานเจ้าหน้าที่ประตูจะอนุญาต
ให้ออกไปได้ต่อเมื่อได้มีบันทึกอนุญาตออกนอกเรือนจาหรือทัณฑสถานจากเวรผู้ใหญ่หรือพัศดีเวรมา
แสดงเสียก่อนเมื่ออนุญาตให้ผ่านประตูไปแล้วเจ้าหน้าที่ประตูต้องยึดเอกสารการอนุญาตดังกล่าวไว้เป็น
หลักฐาน
ข้อ ๑๑ เวรผู้ใหญ่หรือพัศดีเวรที่อนุญาตให้เจ้าหน้าที่เวรยามรักษาการณ์ออกไปจาก
แดนหรือออกไปนอกเรือนจาหรือทัณฑสถานจะอนุญาตได้เฉพาะกรณีปฏิบัติตามคาสั่งของผู้บังคับบัญชา
หากเวรผู้ใหญ่หรือพัศดีเวรจะอนุญาตเองอาจกระทาได้เฉพาะเมื่อเจ้าหน้าที่เวรยามผู้นั้นมีเหตุผลความ
จาเป็นจริงๆและต้องคานึงถึงการควบคุมและความปลอดภัยภายในของเรือนจาหรือทัณฑสถานเป็นหลัก
สาคัญเมื่ออนุญาตไปแล้วหากเกิดผลเสียหายผู้อนุญาตอาจจะต้องร่วมรับผิดชอบด้วยทั้งจะต้องจัดให้มีผู้
ปฏิบัติหน้าที่รับผิดชอบแทนระหว่างผู้นั้นไม่อยู่ในหน้าที่ด้วย
ข้อ ๑๒ การมอบหมายหน้าที่ระดับการบังคับบัญชาและความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่
เวรยามตามนัยข้อ๔ให้เรือนจาหรือทัณฑสถานแต่ละแห่งเป็นผู้กาหนด
ข้อ ๑๓ เมื่อผู้บังคับบัญชาเข้าตรวจเรือนจาเจ้าหน้าที่เวรยามรักษาการณ์จะต้องรายงาน
ตนตามข้อบังคับที่๔/๒๔๘๕ลงวันที่๑๗มีนาคม๒๔๘๕กล่าวคือเมื่อไปหยุดยืนอยู่ตรงหน้าผู้ที่จะรับรายงาน
แล้วให้ทาความเคารพอยู่ห่างประมาณ๑เมตรรายงานโดยกล่าวชื่อตัวและชื่อสกุลหน้าที่ที่ตนรับผิดชอบใน
ช่วงเวลาใดมีเหตุการณ์ปกติหรือผิดปกติอย่างไรหรือไม่จานวนผู้ต้องขังมีเท่าใดแยกเป็นชายหญิงเท่าไร
สาหรับเรือนจาหรือทัณฑสถานที่เป็นราชการบริหารส่ วนกลางการรายงานครั้งแรกตามปกติให้เป็นหน้าที่
ของพั ศ ดี เ วรขั้ น ต่ อ ไปเมื่ อ ผู้ บั ง คั บ บั ญ ชาผ่ า นประตู ใ ดหรื อ หน่ ว ยงานใดให้ เ ป็ น หน้ า ที่ ข องหั ว หน้ า ผู้
รักษาการณ์ประตูหรือหัวหน้าผู้ควบคุมหน่วยงานนั้นเป็นผู้รายงานดังนี้เป็นต้น
ข้อ ๑๔ ระเบียบนี้ไม่บังคับรวมถึงการจัดเวรป้อมยามรักษาการณ์กาแพงเรือนจาและเวร
รักษาการณ์ภายนอกเรือนจา
กฎหมายราชทัณฑ์และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 267

ข้อ ๑๕ ไม่ถือเป็นข้อจากัดที่จะให้เรือนจาหรือทัณฑสถานแต่ละแห่งกาหนดกฎเกณฑ์
รายเดือนปลีกย่อยในการวางระเบียบปฏิบัติเป็นการภายในให้รัดกุมและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ
ระเบียบนี้
ข้อ ๑๖ ให้ใช้ระเบียบนี้ตั้งแต่วันที่ประกาศนี้เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๗ เมษายน ๒๕๒๕
(ลงชื่อ) ทวี ชูทรัพย์
อธิบดีกรมราชทัณฑ์

รวบรวมโดย... ดาวเรือง หงษา

You might also like