You are on page 1of 15

อาจารย์เป้ SmartLaw MINI เนติ 2/74 กลุ่มวิแพ่ง ข้อ 1 หน้า 1

MINI เนติ 2/74 กลุ่มวิแพ่ง ข้อ 1


ป.วิ.แพ่ง ภาค 1 บททั่วไป
การตรวจคําคู่ความ
มาตรา 18 ว.1 ให้อาํ นาจศาลตรวจคําคู่ความ
*มาตรา 18 ว.1 ให้ศาลมีอาํ นาจที่จะตรวจคําคูค่ วามที่พนักงานเจ้าหน้าที่ของศาลได้รบั ไว้เพื่อยื่นต่อศาล
หรือส่งให้แก่คคู่ วาม หรือบุคคลใด ๆ
มาตรา 1 ในประมวลกฎหมายนี ้ ถ้าข้อความมิได้แสดงให้เห็นเป็ นอย่างอื่น
(5) “คําคู่ความ” หมายความว่า บรรดาคําฟ้อง คําให้การหรือคําร้องทัง้ หลายที่ย่นื ต่อศาลเพื่อตัง้ ประเด็น
ระหว่างคู่ความ
(3) “คําฟ้อง” หมายความว่า กระบวนพิจารณาใด ๆ ที่โจทก์ได้เสนอข้อหาต่อศาลไม่วา่ จะได้เสนอด้วยวาจา
หรือทําเป็ นหนังสือ ไม่วา่ จะได้เสนอต่อศาลชัน้ ต้น หรือชัน้ อุทธรณ์หรือฎีกา ไม่ว่าจะได้เสนอในขณะที่เริ่มคดีโดยคําฟ้ อง
หรือคําร้องขอหรือเสนอในภายหลังโดยคําฟ้ องเพิ่มเติมหรือแก้ไข หรือฟ้ องแย้งหรือโดยสอดเข้ามาในคดีไม่ว่า
ด้วยสมัครใจ หรือถูกบังคับ หรือโดยมีคาํ ขอให้พิจารณาใหม่
(4) “คําให้การ” หมายความว่า กระบวนพิจารณาใด ๆ ซึ่งคู่ความฝ่ ายหนึ่งยกข้อต่อสูเ้ ป็ นข้อแก้คาํ ฟ้องตามที่
บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายนี ้ นอกจากคําแถลงการณ์

คําคูค่ วาม ไม่ใช่คาํ คูค่ วาม


1.คําร้องขอแก้ไขเพิม่ เติมคําฟ้อง, คําให้การ, ฟ้องแย้ง 1.คําร้องขอให้ออกหมายเรียกบุคคลภายนอก ตามม.57 (3)
2.คําร้องสอดโดยสมัครใจตามม.57 (1) (2) 2.คําร้องขอเลื่อนคดี (*ฎ.699/2521)
3.คําร้องขัดทรัพย์ 3.คําร้องขอขยายระยะเวลายื่นคําให้การ (ฎ.665/2509)

มาตรา 18 ว.2 กรณีคาํ คู่ความมีข้อบกพร่อง


***มาตรา 18 ว.2 ถ้าศาลเห็นว่าคําคู่ความที่ได้ย่นื ไว้ดงั กล่าวแล้วนัน้ อ่านไม่ออกหรืออ่านไม่เข้าใจหรือเขียนฟุ่ มเฟื อย
เกินไป หรือไม่มีรายการ ไม่มีลายมือชื่อ ไม่แนบเอกสารต่าง ๆ ตามที่กฎหมายต้องการ หรือมิได้ชาํ ระหรือวางค่าธรรมเนียม
ศาลโดยถูกต้องครบถ้วน ศาลจะมีคาํ สั่งให้คืนคําคู่ความนัน้ ไปให้ทาํ มาใหม่ หรือแก้ไขเพิ่มเติม หรือชําระหรือวาง
ค่าธรรมเนียมศาลให้ถกู ต้องครบถ้วน ภายในระยะเวลาและกําหนดเงื่อนไขใด ๆ ตลอดจนเรื่องค่าฤชาธรรมเนียมตามที่ศาล
เห็นสมควรก็ได้ ถ้ามิได้ปฏิบตั ิตามข้อกําหนดของศาลในระยะเวลาหรือเงื่อนไขที่กาํ หนดไว้ก็ให้มีคาํ สั่งไม่รบั คําคู่ความนัน้
1.คําคูค่ วามอ่านไม่ออก / อ่านไม่เข้าใจ / เขียนฟุ่ มเฟื อยเกินไป ศาลมีอาํ นาจสั่ง
2.คําคูค่ วามไม่มีรายการ 1.ให้คืนคําคู่ความนัน้ และไปทํามาใหม่
3.คําคูค่ วามไม่มีลายมือชื่อ (รวมถึงลงไม่ครบ/ไม่มีอาํ นาจลง) 2.ให้แก้ไขเพิ่มเติมคําคู่ความนัน้
4.คําคูค่ วามไม่แนบเอกสารต่าง ๆ ตามที่กฎหมายต้องการ
5.คู่ความมิได้ชาํ ระหรือวางค่าธรรมเนียมศาลให้ถกู ต้องครบถ้วน ให้ชาํ ระ/วางให้ถกู ต้องครบถ้วน
หลักการ กรณีมเี หตุตามข้อ 1 – 5 ศาลจะสั่งไม่รบั คําคู่ความทันทีไม่ได้

ติวสอบทนาย ติวเนติ ติวผู้ชว่ ย ต้องติวกับ อ.เป้ อ.ตูน SmartLawTutor T.086-987-5678, Line @smartlawtutor
อาจารย์เป้ SmartLaw MINI เนติ 2/74 กลุ่มวิแพ่ง ข้อ 1 หน้า 2
ประเด็น กรณีคคู่ วามไม่ปฏิบตั ิตามคําสั่งศาล ศาลต้องมีคาํ สั่งไม่รบั หรือให้คืนคําคู่ความตามมาตรา 18 ว.2
และต้องคืนค่าขึน้ ศาลทัง้ หมดตามมาตรา 151 ว.1 อย่างไรก็ตาม หากศาลชัน้ ต้นจะมีคาํ สั่งว่าโจทก์ทงิ้ ฟ้ องย่อมมีผล
เท่ากับศาลชัน้ ต้นมีคาํ สั่งไม่รับคําฟ้ อง และศาลชัน้ ต้นชอบที่จะมีคาํ สั่งให้คืนค่าขึน้ ศาลในศาลชัน้ ต้นที่โจทก์ได้ชาํ ระไว้
แล้วทัง้ หมดให้แก่โจทก์ตามมาตรา 151 ว.1 (***ฎ.9151/2559, 6018/2557)
มูลเหตุที่ 1 คําคูค่ วามอ่านไม่ออก / อ่านไม่เข้าใจ / เขียนฟุ่ มเฟื อยเกินไป
1.1) บรรยายคําฟ้องยืดยาวเกินไป
ฎ.862/2513 โจทก์ยนื่ คําฟ้อง (กูย้ มื เงิน) บรรยายฟ้องยืดยาว 17 หน้า ศาลชัน้ ต้นสั่งว่าโจทก์บรรยายฟ้องฟุ่ มเฟื อย
เกินไป ให้ไปทํามาใหม่ โจทก์ทาํ คําฟ้องมาใหม่และยืน่ ภายในกําหนด แต่ยงั มีขอ้ ความยาวถึง 10 หน้า ศาลชัน้ ต้นสั่งให้ไปทํา
มาใหม่ แต่โจทก์ไม่ปฏิบตั ติ าม ศาลชัน้ ต้นอาศัยป.วิ.แพ่ง มาตรา 18 มีคาํ สัง่ ไม่รบั คําฟ้องได้
1.2) เขียนอุทธรณ์เสียดสีศาล (*ฎ.71/2491)
มูลเหตุที่ 2 คําคูค่ วามไม่มีรายการ (ดูมาตรา 67 ว.1 ว.2)
* มาตรา 67 ว.2 *ในการยื่นหรือส่งคําคูค่ วาม หรือเอกสารอื่นใดอันจะต้องทําตามแบบพิมพ์ท่จี ดั ไว้
เจ้าพนักงาน คู่ความ หรือบุคคลผูเ้ กี่ยวข้องจะต้องใช้กระดาษแบบพิมพ์นนั้ ....
Ex 1. เขียนแทรกบรรทัดในแบบพิมพ์ศาล
*ฎ.359/2484 ศาลชัน้ ต้นตรวจคําคู่ความและสั่งว่า “โจทก์เขียนสําเนาแซกเข้าระหว่างบรรทัดทําให้อ่านยาก ให้
โจทก์ทาํ สําเนาใหม่ยนื่ ภายในสามวัน” โจทก์แถลงยืนยันและไม่ยอมรับสําเนาคืนไป ศาลชัน้ ต้นจึงสั่งไม่รบั ฟ้องอุทธรณ์
Ex 2.เอาแบบพิมพ์คาํ ร้องมาแก้เป็ นแบบพิมพ์ฎีกา
***ฎ.2864/2562 โจทก์ฎีกาโดยนําแบบพิมพ์คาํ ร้องมาขีดฆ่าแก้ไขแล้วเขียนข้อความใหม่ว่าเป็ นฎีกา โดยไม่ได้
ใช้แบบพิมพ์ฎีกาและคําขอท้ายฎีกาให้ถูกต้องตามแบบทีก่ ฎหมายกําหนด แต่ทศี่ าลชัน้ ต้นมีคาํ สัง่ รับฎีกาของโจทก์โดย
ไม่ได้ส่งั ให้โจทก์ดาํ เนินการแก้ไขให้ถูกต้องเสียก่อน แม้เป็ นการไม่ชอบ แต่คดีขนึ้ มาสู่การพิจารณาของศาลฎีกาแล้ว เพือ่
ไม่ให้เกิดความล่าช้า ศาลฎีกาสมควรวินจิ ฉัยฎีกาของโจทก์
มูลเหตุที่ 3 คําคูค่ วามไม่มีลายมือชื่อ
มาตรา 67 ว.1 เมื่อประมวลกฎหมายนีห้ รือกฎหมายอื่นบัญญัตวิ ่า เอกสารใดจะต้องส่งให้แก่คู่ความ
ฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งหรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง (เช่น คําคู่ความที่ทาํ โดยคําฟ้อง คําให้การ หรือคําร้องหรือคําขอโดยทํา
เป็ นคําร้อง หมายเรียกหรือหมายอื่น ๆ สําเนาคําแถลงการณ์ หรือสําเนาพยานเอกสาร ฯลฯ) เอกสารนั้นต้องทําขึน้
ให้ปรากฏข้อความแน่ชดั ถึงตัวบุคคลและมีรายการต่อไปนี ้
*(5) วัน เดือน ปี ของคําคู่ความ หรือเอกสารและลายมือชื่อของเจ้าพนักงาน คู่ความ หรือบุคคลซึ่งเป็ นผูย้ ่ืนหรือเป็ นผูส้ ่ง
Ex 1. กรณีคาํ คูค่ วามไม่ลงลายมือชื่อผูเ้ รียง (ฎ.1033/2549* , 7967/2543*)
**ฎ.5622/2548 คําให้การจําเลยไม่มีลายมือชือ่ จําเลยหรือทนายจําเลยผูย้ ืน่ คําให้การเป็ นคําคู่ความทีไ่ ม่บริบูรณ์
ตามป.วิ.พ. มาตรา 67 (5) การทีท่ นายจําเลยลงลายมือชื่อในช่องหมายเหตุท้ายคําให้การจําเลยแผ่นแรก ไม่ใช่เป็ น
การลงลายมือชื่อในคําคู่ความตามความหมายของม.67 (5) การทีศ่ าลชัน้ ต้นพิพากษาคดีไปโดยไม่แก้ไขข้อบกพร่องของ
คําคู่ความดังกล่าวให้บริบูรณ์เสียก่อนจึงเป็ นการไม่ชอบ และศาลอุทธรณ์ควรพิพากษายกคําพิพากษาศาลชัน้ ต้นเพือ่ ให้ศาล
ชัน้ ต้นแก้ไขข้อบกพร่องดังกล่าวแล้วพิพากษาใหม่ การทีศ่ าลอุทธรณ์ชขี ้ าดตัดสินฟ้องอุทธรณ์ของโจทก์ไปโดยทีย่ งั มิได้มีการ
แก้ไขข้อบกพร่องดังกล่าว จึงเป็ นการไม่ชอบเช่นเดียวกัน ศาลฎีกาย่อมยกคําพิพากษาศาลล่างทัง้ สองเพื่อให้ศาลชัน้ ต้ น
ดําเนินกระบวนพิจารณาตาม ป.วิ.พ. มาตรา 18 ว.2 โดยให้จาํ เลยลงลายมือชือ่ ในคําให้การแล้วพิพากษาใหม่ตามรูปคดี

ติวสอบทนาย ติวเนติ ติวผู้ชว่ ย ต้องติวกับ อ.เป้ อ.ตูน SmartLawTutor T.086-987-5678, Line @smartlawtutor
อาจารย์เป้ SmartLaw MINI เนติ 2/74 กลุ่มวิแพ่ง ข้อ 1 หน้า 3
Ex 2.ทนายความลงลายมือชื่อในอุทธรณ์โดยไม่มีอาํ นาจยื่นอุทธรณ์ (มาตรา 62)
***ฎ.4548/2562 การสละสิทธิหรือใช้สทิ ธิในการอุทธรณ์หรือฎีกาและกระบวนพิจารณาทีเ่ ป็ นไปในทางจําหน่าย
สิทธิของคู่ความ ทนายความต้องได้รบั มอบอํานาจจากตัวความโดยชัดแจ้ง (มาตรา 62) ว. ทนายโจทก์ลงชือ่ เป็ นผู ้
อุทธรณ์ในคําฟ้องอุทธรณ์โดยใบแต่งทนายความมิได้ ระบุให้ ว. มีอํานาจยื่นอุทธรณ์แทนโจทก์ จึงเป็ นคําฟ้อง
อุทธรณ์ทมี่ ีขอ้ บกพร่อง เท่ากับคําฟ้องอุทธรณ์ไม่มีลายมือชือ่ โจทก์ (ม.67 ว.1 (5)) ศาลชัน้ ต้ นต้ องสั่งให้ โจทก์แก้ ไข
ข้ อบกพร่องเสียให้ ถกู ต้ องก่อนตาม ป.วิ.พ. มาตรา 18 (ว.2) การทีศ่ าลชัน้ ต้นสั่งรับอุทธรณ์มาโดยไม่ส่งั ให้แก้ไข
ข้อบกพร่องจึงเป็ นการดําเนินกระบวนพิจารณาทีผ่ ดิ ระเบียบตาม ป.วิ.พ. มาตรา 27 ว.1 ศาลอุทธรณ์จึงชอบทีจ่ ะสั่งให้
ศาลชัน้ ต้นจัดการแก้ไขข้อบกพร่องโดยให้โจทก์ลงชือ่ ในฐานะผูอ้ ทุ ธรณ์ในคําฟ้องอุทธรณ์ให้ถูกต้องแล้วจึงดําเนินกระบวน
พิจารณาต่อไป การทีศ่ าลอุทธรณ์พพิ ากษายกอุทธรณ์ของโจทก์เสียทีเดียว เป็ นการไม่ถกู ต้องและไม่ชอบด้วยความ
ยุตธิ รรม แต่เมือ่ ตามใบแต่งทนายความฉบับหลังโจทก์ได้แต่งตัง้ ว. เป็ นทนายความให้มสี ทิ ธิอทุ ธรณ์ฎีกาแทนโจทก์ได้ใน
ชัน้ ฎีกานีแ้ ล้วจึงเป็ นกรณีทโี่ จทก์ได้แก้ไขข้อบกพร่องในชัน้ ยืน่ คําฟ้องอุทธรณ์แล้ว จึงไม่ตอ้ งดําเนินการในเรือ่ งนีอ้ กี
Ex 3. อุทธรณ์ลงชื่อทนายความที่ไม่ได้ย่นื ใบแต่งทนายความ (*ฎ.5748/2551 แนวเดียวกัน)
มูลเหตุที่ 4 ไม่แนบเอกสารต่างๆทีก่ ฎหมายต้องการ = เอกสารทีก่ ฎหมายบังคับว่าจะต้องยื่นต่อศาล
1.ใบแต่งทนายความ (มาตรา 61)
2.หนังสืออนุญาตหรือยินยอมให้ดาํ เนินคดี กรณีคคู่ วามเป็ นบุคคลผูไ้ ร้ความสามารถ (มาตรา 56 ว.1)
หลักสําคัญ
1) กรณีคคู่ วามมิได้แนบเอกสารที่กฎหมายบังคับให้ย่นื ต่อศาลมาพร้อมกับคําคูค่ วาม ศาลจะมีคาํ สั่งไม่รบั คํา
คู่ความนัน้ ทันทีไม่ได้ ต้องมีคาํ สั่งแก้ไขตามมาตรา 18 ว.2 เสียก่อน (*ฎ.14317/2556)
2) หากศาลชัน้ ต้นรับ = เป็ นกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบ (ม.27) ศาลอุทธรณ์ส่งั ให้แก้ไขได้ (ฎ. 4548/2562***)
3) กลับกัน หากไม่ใช่เอกสารที่กฎหมายบังคับให้ย่นื ต่อศาล ศาลชัน้ ต้นมีอาํ นาจสั่งรับคําคูค่ วามดังกล่าวได้ และ
ศาลชัน้ ต้นไม่มีอาํ นาจสั่งบังคับให้ย่นื ก่อนมีคาํ สั่งรับคําคู่ความ แต่เป็ นเรื่องที่ค่คู วามฝ่ ายนัน้ ต้องมายื่นในชัน้ พิจารณา
Ex 1. หนังสือมอบอํานาจให้ฟ้องคดีของโจทก์มิได้ปิดอากรแสตมป์ , มิได้ประทับตราสําคัญ
*ฎ.18/2544 ประเด็นเรือ่ งหนังสือมอบอํานาจให้ฟ้องคดีของโจทก์มิได้ปิดอากรแสตมป์ นัน้ ป.วิ.แพ่ง
มาตรา 18 ไม่ได้บงั คับว่าหนังสือมอบอํานาจให้ฟ้องคดีเป็ นเอกสารทีต่ อ้ งแนบมาพร้อมกับคําฟ้อง ดังนัน้ แม้ในขณะที่
โจทก์ยนื่ ฟ้องจะไม่มีหนังสือมอบอํานาจแนบมาด้วยก็ไม่ทาํ ให้ฟ้องโจทก์ไม่สมบูรณ์ตามกฎหมาย เพียงแต่ว่าเมือ่ ใดโจทก์
อ้างหนังสือมอบอํานาจเป็ นพยานหลักฐาน โจทก์จะต้องปิ ดแสตมป์ ให้บริบูรณ์และขีดฆ่าแล้ว ศาลจึงจะรับฟังเป็ น
พยานหลักฐานในคดีแพ่งได้ (ป.รัษฎากร มาตรา 118*) เมือ่ โจทก์อา้ งในคําฟ้องว่ามอบอํานาจให้ บ. ฟ้องคดีแทนซึ่งโจทก์
จะต้องนําสืบในชัน้ พิจารณาต่อไป การทีศ่ าลชัน้ ต้นพิพากษายกฟ้องโจทก์โดยไม่ให้โอกาสโจทก์สบื พยานก่อนจึงไม่ชอบ
Ex 2. สัญญาเช่าซือ้ (*ฎ.3303/2532), สัญญากู้ (ฎ.1077/2520), สัญญาขายฝาก (ฎ.944/2515)
Ex 3.หนังสือรับรองนิติบคุ คล (***ฎ.410/2550)
Ex 4.หลักฐานเกี่ยวกับความเสียหายและค่าเสียหาย ไม่ใช่เอกสารที่กฎหมายต้องการให้แนบมากับคํา
ฟ้องตามมาตรา 18 และเป็ นเรื่องรายละเอียดที่โจทก์สามารถนํามาสืบในชัน้ พิจารณาได้ แม้โจทก์ไม่ได้แนบหลักฐาน
เกี่ยวกับค่าเสียหายมาท้ายฟ้องด้วยก็เป็ นฟ้องที่สมบูรณ์และชอบด้วยป.วิ.พ. มาตรา 172 ว.2 (*ฎ.628-629/2539)
*มูลเหตุที่ 5 คู่ความมิได้ชาํ ระหรือวางค่าธรรมเนียมศาล (ค่าขึน้ ศาล) ให้ถูกต้อง
หลักสําคัญ กรณีนศี ้ าลชัน้ ต้นจะมีคาํ สั่งไม่รบั คําฟ้องทันทีไม่ได้ ต้องมีคาํ สั่งให้โจทก์ชาํ ระค่าธรรมเนียมศาล
(ค่าขึน้ ศาล) ให้ถกู ต้องภายในเวลาที่กาํ หนดเสียก่อน หากโจทก์ไม่ปฏิบตั ิจึงจะมีคาํ สั่งไม่รบั คําฟ้องได้

ติวสอบทนาย ติวเนติ ติวผู้ชว่ ย ต้องติวกับ อ.เป้ อ.ตูน SmartLawTutor T.086-987-5678, Line @smartlawtutor
อาจารย์เป้ SmartLaw MINI เนติ 2/74 กลุ่มวิแพ่ง ข้อ 1 หน้า 4
ประเด็น กรณีย่นื อุทธรณ์หรือฎีกา ผูอ้ ทุ ธรณ์หรือฎีกามีหน้าที่นาํ เงินค่าขึน้ ศาลชัน้ อุทธรณ์หรือชัน้ ฎีกา และเงิน
ค่าธรรมเนียมซึ่งจะต้องใช้แก่คคู่ วามอีกฝ่ ายหนึง่ ตามคําพิพากษาหรือคําสั่งตามมาตรา 229 มาวางศาลให้ครบถ้วน
1) ค่าขึน้ ศาลชั้นอุทธรณ์ ซึ่งคิดตามจํานวนทุนทรัพย์ท่พี ิพาทในชัน้ อุทธรณ์ หากผูอ้ ทุ ธรณ์ชาํ ระค่าธรรมเนียม
ศาล (ค่าขึน้ ศาล) ชัน้ อุทธรณ์ไม่ครบถือว่าอยู่ในบังคับของมาตรา 18 ว.2 กล่าวคือ จะมีคาํ สั่งไม่รบั อุทธรณ์ทนั ทีไม่ได้
2) ค่าธรรมเนียมซึง่ ต้องใช้แก่คู่ความอีกฝ่ ายหนึ่ง (มาตรา 229)
***มาตรา 229 การอุทธรณ์นนั้ ให้ทาํ เป็ นหนังสือยื่นต่อศาลชัน้ ต้นซึ่งมีคาํ พิพากษาหรือคําสั่งภายในกําหนด
หนึ่งเดือนนับแต่วนั ที่ได้อา่ นคําพิพากษาหรือคําสั่งนัน้ และผูอ้ ทุ ธรณ์ตอ้ งนําเงินค่าธรรมเนียมซึ่งจะต้องใช้แก่ค่คู วามอีก
ฝ่ ายหนึ่งตามคําพิพากษาหรือคําสั่งมาวางศาลพร้อมกับอุทธรณ์นนั้ ด้วย .....
2.1.) ค่าขึน้ ศาลในศาลชัน้ ต้นที่ค่คู วามฝ่ ายที่ชนะคดีได้ชาํ ระไว้
2.2.) ค่าทนายความของคูค่ วามฝ่ ายที่ชนะคดี ดูม.149 และม.161 ประกอบ
2.3.) ค่าใช้จ่ายในการดําเนินคดีของคู่ความฝ่ ายที่ชนะคดี
***ฎ.3264/2560 ป.วิ.พ. มาตรา 229 บัญญัตใิ ห้ผูอ้ ทุ ธรณ์ตอ้ งนําเงินค่าธรรมเนียมซึ่งจะต้องใช้แก่คู่ความอีก
ฝ่ ายหนึ่งตามคําพิพากษาหรือคําสั่งมาวางศาลพร้อมกับอุทธรณ์ จําเลยผูอ้ ทุ ธรณ์จึงมีหน้าทีต่ รวจสอบความถูกต้องและ
ปฏิบตั ติ ามบทบัญญัตขิ องกฎหมายดังกล่าวโดยเคร่งครัด หาใช่เป็ นหน้าทีข่ องศาลชัน้ ต้นทีจ่ ะต้องแจ้งจํานวน
ค่าธรรมเนียมดังกล่าวให้จาํ เลยทราบและมีคาํ สั่งให้จาํ เลยปฏิบตั เิ สียก่อนไม่ เพราะกรณีมิใช่เรือ่ งการมิได้ชาํ ระหรือวาง
ค่าธรรมเนียมศาลโดยถูกต้องครบถ้วนตาม ป.วิ.พ. มาตรา 18 วรรคสอง ทีศ่ าลชัน้ ต้นจะต้องสัง่ ให้ชาํ ระหรือวาง
ค่าธรรมเนียมศาลให้ถูกต้องครบถ้วนเสียก่อนทีจ่ ะมีคาํ สัง่ รับหรือไม่รบั คําคูค่ วาม
มาตรา 18 ว.3 กรณีศาลมีคาํ สั่งไม่รับหรือให้คืนได้เลย
*ม.18 ว.3 ถ้าศาลเห็นว่าคําคูค่ วามที่ได้นาํ มายื่นดังกล่าวข้างต้น มิได้เป็ นไปตามเงื่อนไขแห่งกฎหมายที่
บังคับไว้ นอกจากที่กล่าวมาในวรรคก่อน และโดยเฉพาะอย่างยิง่ เมื่อเห็นว่าสิทธิของคู่ความหรือบุคคลซึ่งยื่นคําคู่ความ
นัน้ ได้ถกู จํากัดห้ามโดยบทบัญญัติแห่งกฎหมายเรื่องเขตอํานาจศาล ก็ให้ศาลมีคาํ สั่งไม่รบั หรือคืนคําคูค่ วามนัน้ ไปเพื่อ
ยื่นต่อศาลที่มีเขตอํานาจ (ดูมาตรา 151 ว.1, 131 (2) ประกอบ)
1.กรณีฟ้องผิดศาล
1.1.ถ้าศาลชัน้ ต้นตรวจพบในชัน้ ตรวจคําฟ้องว่าโจทก์ฟ้องผิดศาล ศาลชัน้ ต้นมีอาํ นาจสั่งไม่รบั หรือให้คืนคํา
ฟ้องไปเพื่อยื่นต่อศาลที่มเี ขตอํานาจได้เลย (ม.18 ว.3) และต้องคืนค่าขึน้ ศาลแก่โจทก์ทงั้ หมด (ม.151 ว.1)
1.2. กรณีศาลชัน้ ต้นมีคาํ สั่งรับฟ้องแล้วและตรวจพบเองในระหว่างการพิจารณา ศาลมีอาํ นาจสั่งเพิกถอน
คําสั่งรับฟ้องโดยถือว่าเป็ นการสั่งเพิกถอนกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบและมีคาํ สั่งใหม่เป็ นไม่รบั ฟ้องได้ และศาลต้องมี
คําสั่งให้คืนค่าขึน้ ศาลทัง้ หมด ตามมาตรา 27 ประกอบมาตรา 151 วรรคหนึ่ง (ฎ.114/2521, 1847/2527)
1.3. กรณีศาลชัน้ ต้นตรวจพบเองในชัน้ ทําคําพิพากษา โดยที่จาํ เลยมิได้ยกเรื่องเขตอํานาจศาลเป็ นข้อต่อสูใ้ น
คําให้การถือเสมือนการสั่งไม่รบั คําฟ้อง และศาลชัน้ ต้นต้องพิพากษายกฟ้อง มีคาํ สั่งให้คืนค่าขึน้ ศาลทัง้ หมด (ฎ.7953/2554)
1.4. จําเลยยกปั ญหาเรื่องเขตอํานาจศาลขึน้ เป็ นข้อต่อสูใ้ นคําให้การ = ปั ญหาเรื่องเขตอํานาจศาลกลายเป็ น
ประเด็นข้อพิพาทในคดีแล้ว ศาลต้องพิพากษายกฟ้อง (ม.131 (2)) และไม่ตอ้ งคืนค่าขึน้ ศาล (ฎ.8947/47*, 3504/50, 3948/47)
ประเด็น กรณีท่ีจาํ เลยทราบว่าโจทก์ฟ้องต่อศาลที่ไม่มีเขตอํานาจ แต่จาํ เลยมิได้โต้แย้งคัดค้านในระหว่างการ
พิจารณาของศาลชัน้ ต้น จําเลยจะยกเรื่องการพิจารณาที่ผิดระเบียบขึน้ อ้างในชัน้ อุทธรณ์ไม่ได้ (ฎ.7321/2550)

ติวสอบทนาย ติวเนติ ติวผู้ชว่ ย ต้องติวกับ อ.เป้ อ.ตูน SmartLawTutor T.086-987-5678, Line @smartlawtutor
อาจารย์เป้ SmartLaw MINI เนติ 2/74 กลุ่มวิแพ่ง ข้อ 1 หน้า 5
2.กรณีอน่ื ๆ
2.1.ถ้าคําคู่ความที่นาํ มายื่นต่อศาลมิได้เป็ นไปตามเงือ่ นไขแห่งกฎหมายที่บงั คับไว้นอกจากที่กล่าวมาในม.
18 ว.2 ศาลชัน้ ต้นชอบที่จะมีคาํ สั่งไม่รบั หรือคืนคําคูค่ วามนัน้ ตามม.18 ว.3 และคืนค่าขึน้ ศาลทัง้ หมดตามม.151 ว.1
2.2. แต่ถ้าศาลชั้นต้นได้ก้าวล่วงเข้าไปวินิจฉัยชีข้ าดในประเด็นแห่งคดีแล้ว ศาลชัน้ ต้นชอบที่จะพิพากษา
ยกฟ้องตามม.131 (2) และไม่ตอ้ งคืนค่าขึน้ ศาลตามม.151 ว.1 เพราะไม่ใช่กรณีไม่รบั หรือให้คืนคําฟ้อง (ฎ.1661/2550)
ฎ.5630/2548 คดีนหี ้ นังสือมอบอํานาจทีโ่ จทก์แนบมาพร้อมคําฟ้องมิได้ระบุให้ผูร้ บั มอบอํานาจดําเนินการ
ฟ้องร้องคดีได้ ผูร้ บั มอบอํานาจจึงไม่มีอาํ นาจฟ้อง ทีศ่ าลชัน้ ต้นพิพากษายกฟ้องโจทก์ทนั ทีโดยมิได้มีคาํ สั่งรับคําฟ้องโจทก์
ไว้ก่อน ถือว่าได้นาํ เอาข้อเท็จจริงทีป่ รากฏในคําฟ้องมาวินจิ ฉัยในประเด็นเรือ่ งอํานาจฟ้องแล้วว่า โจทก์ไม่มีอาํ นาจฟ้อง
อันเป็ นการวินจิ ฉัยในประเด็นแห่งคดีตามป.วิ.พ. มาตรา 131 (2) ศาลชัน้ ต้นไม่คนื ค่าขึน้ ศาลทัง้ หมดแก่โจทก์จึงชอบแล้ว
ฎ.3665/2550 ศาลชัน้ ต้นตรวจคําฟ้องของโจทก์แล้วปรากฏว่าข้อกล่าวอ้างตามคําฟ้องเห็นได้ชดั แจ้งว่าจําเลยไม่
ต้องรับผิดต่อโจทก์ (จําเลยไม่ได้ตกลงทําสัญญากับโจทก์) ศาลชัน้ ต้นย่อมมีอาํ นาจทีจ่ ะสั่งงดสืบพยานโจทก์ จําเลย และ
พิพากษายกฟ้องไปได้เลย โดยไม่จาํ ต้องให้คู่ความนําพยานเข้าสืบก่อน (ค่าฤชาธรรมเนียมให้เป็ นพับ = ไม่คนื )

คู่ความมรณะ (มาตรา 42-45)


มาตรา 42 ถ้าคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งในคดีท่คี า้ งพิจารณาอยูใ่ นศาลได้มรณะเสียก่อนศาลพิพากษาคดี ให้
ศาลเลื่อนการนั่งพิจารณาไปจนกว่าทายาทของผูม้ รณะหรือผูจ้ ดั การทรัพย์มรดกของผูม้ รณะ หรือบุคคลอื่นใดที่
ปกครองทรัพย์มรดกไว้ จะได้เข้ามาเป็ นคู่ความแทนที่ผู้มรณะ โดยมีคาํ ขอเข้ามาเอง หรือโดยที่ศาลหมายเรียกให้
เข้ามา เนื่องจากคูค่ วามฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งมีคาํ ขอฝ่ ายเดียว คําขอเช่นว่านีจ้ ะต้องยื่นภายในกําหนดหนึ่งปี นบั แต่วนั ที่
คู่ความฝ่ ายนัน้ มรณะ
ว.2 ถ้าไม่มีคาํ ขอของบุคคลดังกล่าวมาแล้ว หรือไม่มีคาํ ขอของคูค่ วามฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งภายในเวลาที่กาํ หนด
ไว้ ให้ศาลมีคาํ สั่งจําหน่ายคดีเรื่องนัน้ เสียจากสารบบความ (ดูมาตรา 132 (3) ประกอบ)
*1) บทบัญญัตเิ รื่องคู่ความมรณะ (มาตรา 42 ถึง 45) จะนํามาใช้บงั คับในกรณีท่ีคู่ความมรณะหลังจากยืน่
ฟ้ องคดีแล้ว หากเป็ นกรณีบคุ คลใดมรณะตัง้ แต่ก่อนฟ้องเป็ นเรื่องไม่มีอาํ นาจฟ้องเพราะไม่มีสภาพบุคคล (เนติ 59)
2) บทบัญญัตเิ รื่องคูค่ วามมรณะใช้บงั คับกรณีคคู่ วามมรณะขณะทีค่ ดีค้างพิจารณาและก่อนศาลพิพากษา
2.1.) คําว่า ในขณะที่คดีคา้ งพิจารณา = อาจจะค้างพิจารณาอยู่ในศาลชัน้ ต้น ศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกาก็ได้
2.2.) กรณีค่คู วามมรณะหลังศาลอ่านคําพิพากษาและอยู่ในระยะเวลายื่นอุทธรณ์หรือยื่นฎีกา สามารถนํา
บทบัญญัติเรื่องคู่ความมรณะมาใช้บงั คับได้ เพราะคดียงั ไม่ถงึ ที่สดุ (เนติ 66 อ้างฎ.1890/2536, 1575/2538, 291/2540)
2.3.) กรณีค่คู วามมรณะในชัน้ บังคับคดี (ไม่มีการอุทธรณ์หรือฎีกา) ไม่ใช่กรณีค่คู วามมรณะในขณะที่คดีคา้ ง
พิจารณาก่อนศาลพิพากษาคดี จึงนําบทบัญญัตเิ รื่องคูค่ วามมรณะไปใช้บงั คับมิได้ ดังนัน้
Ex 1.กรณีลกู หนีต้ ามคําพิพากษาตาย คู่ความฝ่ ายที่ชนะคดีย่อมดําเนินการบังคับคดีต่อไปได้ เช่น ออกคํา
บังคับ (ฎ.2532/2523) ขายทอดตลาด (ฎ.1950/2553) โดยไม่ตอ้ งรอให้มีทายาทหรือผูจ้ ดั การมรดกเข้ามาเป็ นคู่ความแทนที่
ของลูกหนีต้ ามคําพิพากษาผูม้ รณะเสียก่อน
Ex 2.กรณีเจ้าหนีต้ ามคําพิพากษาตาย ทายาทหรือผูจ้ ดั การมรดกของเจ้าหนีฯ้ ที่ถึงแก่ความตายไปแล้ว
สามารถบังคับคดีต่อไปได้ แม้จะมิได้ขอเข้าเป็ นคู่ความแทนที่ผมู้ รณะ เพราะกรณีไม่อยู่ในบังคับของม.42 (ฎ.3034/2531)
Ex 3.กรณีขอเป็ นคู่ความแทนที่ผมู้ รณะในชัน้ บังคับคดี และไม่จาํ ต้องขอภายใน 1 ปี นับแต่วนั มรณะตาม
มาตรา 42, และไม่ตอ้ งใช้สิทธิภายใน 1 ปี ตามป.พ.พ. มาตรา 1754 อายุความมรดก (ฎ.2761/2530, , 2376/2545, 6971/2554)

ติวสอบทนาย ติวเนติ ติวผู้ชว่ ย ต้องติวกับ อ.เป้ อ.ตูน SmartLawTutor T.086-987-5678, Line @smartlawtutor
อาจารย์เป้ SmartLaw MINI เนติ 2/74 กลุ่มวิแพ่ง ข้อ 1 หน้า 6
หมายเหตุ แต่ถา้ คดีกลับมาอยูใ่ นระหว่างพิจารณาในชัน้ บังคับคดี ใช้บทบัญญัตเิ รื่องคู่ความมรณะได้
เช่น มีการร้องขอเพิกถอนการขายทอดตลาดและมีคคู่ วามมรณะระหว่างการไต่สวน (ฎ.7064/2558)
***ฎ.7064/2558 แม้คดีนถี ้ งึ ทีส่ ดุ ตามคําสัง่ ศาลฎีกาทีม่ ีคาํ ส่งให้จาํ หน่ายคดีออกจากสารบบความศาล
ฎีกาแล้วก็ตาม แต่ในชัน้ บังคับคดีจาํ เลยยืน่ คําร้องขอให้ศาลเพิกถอนประกาศขายทอดตลาดทรัพย์ของจําเลย อันเป็ นข้อ
พิพาททีเ่ กิดขึน้ เกีย่ วเนือ่ งกับการบังคับคดี เมือ่ ศาลชัน้ ต้นมีคาํ สั่งยกคําร้องจําเลยอุทธรณ์ ศาลชัน้ ต้นมีคาํ สั่งรับอุทธรณ์
ของจําเลยแล้ว ย่อมมีผลให้คดีดงั กล่าวอยูใ่ นอํานาจพิจารณาพิพากษาของศาลอุทธรณ์ และเป็ นคดีกรณีทจี่ าํ ต้องจัดหา
บุคคลผูเ้ ข้ามาเป็ นคู่ความแทนโจทก์ผูม้ รณะเพือ่ ให้มีคู่ความอยู่โดยครบถ้วนก่อนทีจ่ ะส่งสําเนาอุทธรณ์ของจําเลยให้แก่
โจทก์และดําเนินคดีต่อไป การพิจารณาและมีคาํ สั่งให้บคุ คลใดเข้าเป็ นคูค่ วามแทนโจทก์ผูม้ รณะในคดีซ่งึ อยู่ในระหว่าง
อุทธรณ์เช่นนี ้ จึงเป็ นอํานาจของศาลอุทธรณ์ไม่ใช่อาํ นาจของศาลชัน้ ต้น คําสั่งศาลอุทธรณ์ทวี่ า่ คดีไม่อยู่ในอํานาจทีจ่ ะ
พิจารณาให้คนื คําร้องแก่ศาลชัน้ ต้นเพือ่ ดําเนินการต่อไป จึงเป็ นกรณีทมี่ ิได้ปฏิบตั ติ ามบทบัญญัตแิ ห่ง ป.วิ.พ. มาตรา 27
วรรคหนึ่ง เมือ่ ความปรากฏแก่ศาลฎีกาประกอบกับจําเลยยกปัญหาดังกล่าวขึน้ อ้างในฎีกา ศาลฎีกาเห็นสมควรหยิบยก
ปัญหาดังกล่าวขึน้ วินจิ ฉัย แต่เมือ่ ศาลชัน้ ต้นได้ดาํ เนินการตามคําสั่งศาลอุทธรณ์ โดยมีคาํ สั่งอนุญาตให้ผูร้ อ้ งเข้าเป็ น
คู่ความแทนโจทก์ผมู ้ รณะซึ่งมิใช่เป็ นคําสั่งไปในทางวินจิ ฉัยชีข้ าดข้อพิพาทแห่งคดีและอยูใ่ นอํานาจของผูพ้ พิ ากษาคน
เดียวทีจ่ ะสั่งได้ คําสั่งของศาลชัน้ ต้นแม้จะเป็ นการผิดระเบียบแต่ในชัน้ นีม้ ีประเด็นเพียงเรือ่ งการจัดหาบุคคลผูเ้ ข้ามาเป็ น
คู่ความแทนคูค่ วามมรณะเพือ่ ให้คดีสามารถดําเนินการไปได้โดยมีคู่ความครบถ้วน ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 42 วรรคหนึ่ง
ย่อมไม่เป็ นทีเ่ สียหายแก่คคู่ วามฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่ ศาลฎีกาไม่จาํ ต้องเพิกถอนหรือสั่งแก้ไข ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 27 ว.1
หมายเหตุ อํานาจสั่งคําร้อง
1.ศาลชัน้ ต้นมีอาํ นาจสั่งนับแต่โจทก์ย่ืนฟ้องจนถึงก่อนมีคาํ สั่งรับอุทธรณ์ (ฎ.4254/2559)
2. ศาลอุทธรณ์มีอาํ นาจสั่งนับแต่เวลาที่ศาลชัน้ ต้นมีคาํ สั่งรับอุทธรณ์ (เนติ สมัย 55)
3) เมื่อศาลทราบเรื่องการมรณะ ศาลต้องมีคาํ สั่งให้เลื่อนคดี เพื่อรอบุคคลเข้ามาเป็ นคู่ความแทนที่ผมู้ รณะ
3.1.) หากศาลทราบเรือ่ งมรณะ แต่ไม่เลื่อนคดี เป็ นการดําเนินกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบ (มาตรา 27)
*ฎ.8236/2559 โจทก์ถึงแก่ความตายระหว่างการพิจารณาของศาลอุทธรณ์ เจ้าหน้าทีศ่ าลได้รายงานผลการส่ง
หมายแจ้งวันนัดฟังคําพิพากษาศาลอุทธรณ์ว่าโจทก์ถงึ แก่ความตายแล้วพร้อมทัง้ ได้เสนอต่อศาลชัน้ ต้นแสดงว่าศาลชัน้ ต้น
ทราบแล้วว่าโจทก์ถงึ แก่ความตายตัง้ แต่ก่อนอ่านคําพิพากษาศาลอุทธรณ์ จึงเป็ นอํานาจของศาลอุทธรณ์ทจี่ ะต้องมีคาํ สั่ง
เกีย่ วกับการมรณะของคู่ความตามป.วิ.แพ่งมาตรา 42 ศาลชัน้ ต้นต้องเลือ่ นการอ่านคําพิพากษาศาลอุทธรณ์และ
ดําเนินการเพือ่ ให้มคี ู่ความเข้าแทนทีค่ ู่ความทีถ่ งึ แก่ความตายแล้วส่งสํานวนพร้อมคําพิพากษาศาลอุทธรณ์คนื ศาลอุทธรณ์
เพือ่ สั่งเกีย่ วกับกรณีทโี่ จทก์ถึงแก่ความตายและมีคาํ พิพากษาใหม่ต่อไป การทีศ่ าลชัน้ ต้นไม่มีคาํ สัง่ ประการใดตามที่
เจ้าหน้าทีศ่ าลเสนอรายงานผลการส่งหมายแจ้งนัดดังกล่าวและอ่านคําพิพากษาศาลอุทธรณ์ไปโดยทราบว่าโจทก์ถึง
แก่ความตายแล้ วและยังไม่มีผ้ ูเข้ าเป็ นคู่ความแทนโจทก์ โดยมิได้ ดําเนินการตามป.วิ.แพ่งมาตรา 42 เสียก่อน จึง
เป็ นการดําเนินกระบวนพิจารณาทีผ่ ิดระเบียบตามป.วิ.แพ่ง มาตรา 27 การอ่านคําพิพากษาศาลอุทธรณ์ของศาล
ชัน้ ต้นจึงไม่ชอบ ต่อมาจําเลยที่ 2 ยืน่ ฎีกาและมีคาํ ขอให้เรียกทายาทของโจทก์เข้าเป็ นคู่ความแทนทีโ่ จทก์ ศาลชัน้ ต้นได้
หมายเรียกทายาทของโจทก์เข้าเป็ นคู่ความแทนทีโ่ จทก์ แต่ทายาทของโจทก์ไม่มาศาล ศาลชัน้ ต้นมีคาํ สั่งตัง้ ศ. ภริยาโดย
ชอบด้วยกฎหมายของโจทก์เข้าเป็ นคู่ความแทนโจทก์ รวมทัง้ มีคาํ สั่งให้ส่งสําเนาฎีกาแก่ ศ. ล้วนเป็ นคําสั่งและการดําเนิน
กระบวนพิจารณาทีไ่ ม่ชอบ ศาลฎีกาเห็นสมควรให้ศาลล่างทัง้ สองดําเนินกระบวนพิจารณาและมีคาํ สั่งให้ถูกต้องเสียก่อน
3.2.) หากศาลไม่ทราบเรือ่ งการมรณะของคู่ความจึงได้ดาํ เนินกระบวนพิจารณาต่อไป โดยมิได้เลื่อนคดี
ถือว่ากระบวนพิจารณานัน้ ชอบด้วยกฎหมาย (เนติ สมัย 66 อ้างฎ.3170/2556)

ติวสอบทนาย ติวเนติ ติวผู้ชว่ ย ต้องติวกับ อ.เป้ อ.ตูน SmartLawTutor T.086-987-5678, Line @smartlawtutor
อาจารย์เป้ SmartLaw MINI เนติ 2/74 กลุ่มวิแพ่ง ข้อ 1 หน้า 7
4) ระยะเวลาการเข้าเป็ นคู่ความมรณะ มาตรา 42 วางหลักว่า ต้องขอภายใน 1 ปี นับแต่วนั ทีค่ คู่ วามฝ่ ายนั้น
มรณะ อย่างไรก็ตาม ในทางปฏิบตั ิสามารถแยกพิจารณาได้ดงั นี ้
4.1.กรณียงั อยู่ภายในเวลา 1 ปี นับแต่วนั ที่คคู่ วามมรณะจะขอเมื่อไหร่ก็ได้ (*ฎ.4254/2559)
4.2.กรณีพน้ 1 ปี นับแต่วนั ที่ค่คู วามฝ่ ายนัน้ มรณะและศาลสั่งยังมิได้มีคาํ สั่งจําหน่ายคดีออกเสียจากสารบบ
ความ ยังสามารถขอเข้าเป็ นคู่ความแทนที่ผมู้ รณะได้ ส่วนศาลจะอนุญาตหรือไม่ เป็ นดุลพินิจ (เนติ 58 ฎ.2915/48,2953/64)
***ฎ.2953/2564 กรณีเกีย่ วกับการสั่งอนุญาตให้เข้าเป็ นคู่ความแทนโจทก์นนั้ เป็ นไปตาม ป.วิ.แพ่ง มาตรา 42
โดยกฎหมายกําหนดให้ยนื่ ภายในกําหนด 1 ปี นับแต่วนั ทีค่ ู่ความฝ่ ายนัน้ มรณะและกฎหมายบัญญัตไิ ว้ดว้ ยว่าหากไม่ยนื่
ให้ศาลมีคาํ สัง่ จําหน่ายคดีเรือ่ งนัน้ ออกเสียจากสารบบความ ซึ่งบทบัญญัตมิ าตรา 42 ดังกล่าวก็เชือ่ มโยงกับบทบัญญัติ
มาตรา 132 (3) ซึ่งบัญญัตเิ กีย่ วกับเรือ่ งการจําหน่ายคดีออกจากสารบบความซึ่งบทบัญญัตใิ นส่วนนีม้ ีลกั ษณะของการ
บัญญัตใิ ห้อาํ นาจศาลใช้ดลุ พินจิ ในการจําหน่ายคดีได้ ไม่ใช่เป็ นบทบัญญัตใิ นลักษณะบังคับให้ศาลต้องจําหน่ายคดีเสมอ
ไป หากเข้าเงือ่ นไขตามทีก่ าํ หนดไว้แต่อย่างใด โดยบทบัญญัตทิ งั้ มาตรา 42 และมาตรา 132 ดังกล่าวนัน้ เป็ นบทบัญญัติ
ในทางวิธีพจิ ารณาความ มุ่งหมายให้เกิดความเป็ นธรรมในการดําเนินคดีไม่ใช่ถือเป็ นเรือ่ งเคร่งครัดโดยนํามาเป็ นข้อชีข้ าด
ในข้อแพ้ชนะในทางเทคนิคแต่อย่างใด ดังนัน้ เมือ่ ศาลยังไม่ได้ส่งั จําหน่ายคดีออกเสียจากสารบบความ ก็ย่อมมีอาํ นาจใช้
ดุลพินจิ ให้เข้ามาเป็ นคู่ความแทนทีผ่ ูม้ รณะได้ แม้จะเกินกําหนดเวลา 1 ปี ก็ตาม กรณีหาใช่เป็ นบทบังคับศาลไม่
4.3.กรณีพน้ 1 ปี และศาลสั่งจําหน่ายคดีไปแล้วย่อมล่วงพ้นเวลาที่จะเข้ามา (ฎ.2071-2074/2550)
5) คดีท่เี ป็ นสิทธิเฉพาะตัว ขอเป็ นคู่ความแทนที่ไม่ได้ ***
Ex 1. คดีรอ้ งขอแต่งตัง้ หรือถอดถอนผูจ้ ดั การมรดก ผูร้ อ้ งตาย (คําร้องศาลฎีกาที่ ท.1810/2554)
Ex 2. ผูจ้ ดั การมรดกฟ้องคดีแล้วตายลง (ฎ.5153/2546)
ถ้าไม่ใช่กรณีทเี่ ป็ นสิทธิเฉพาะตัวย่อมเข้าเป็ นคูค่ วามแทนทีผ่ ู้มรณะได้
ฎ.8687-8688/2558 จําเลยตาย คําสั่งศาลทีต่ งั้ จําเลยเป็ นผูจ้ ดั การมรดกไม่มีผลต่อไป แต่ความรับผิดของ
ผู้จัดการมรดกอันเกิดจากการจัดการมรดกมิชอบ มิใช่เป็ นการเฉพาะตัวจึงย่อมตกทอดแก่ทายาท ทีศ่ าลอนุญาตให้
ท. เป็ นคู่ความแทนทีจ่ าํ เลยจึงชอบแล้ว (ฟ้องให้ศาลพิพากษาว่าข้อกําหนดในพินยั กรรมตกเป็ นโมฆะและให้แบ่งมรดก)
6) สิทธิในการดําเนินคดีของผูเ้ ข้าเป็ นคูค่ วามแทนที่ยอ่ มมีเช่นเดียวกับคูค่ วามที่มรณะไป (เนติ 55 คร.60/2503)
***ฎ.2609/2564 การเพิกเฉยไม่ดาํ เนินคดีภายในเวลาตามทีศ่ าลเห็นสมควรกําหนดอันจะเป็ นการทิง้ ฟ้อง ตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพ่ง มาตรา 174 (2) จะต้องเป็ นการเพิกเฉยไม่ดาํ เนินกระบวนพิจารณาตามคําสัง่
ศาลโดยชอบและโจทก์มีหน้าทีต่ อ้ งปฏิบตั ติ ่อศาลในการดําเนินกระบวนพิจารณานัน้
คดีนศี ้ าลชัน้ ต้นมีคาํ สั่งให้ยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลในศาลชัน้ ต้นแก่โจทก์ทงั้ หมด ในระหว่างการพิจารณาของ
ศาลชัน้ ต้นปรากฏว่า โจทก์มรณะ การทีศ่ าลชัน้ ต้นมีคาํ สั่งอนุญาตให้เข้าเป็ นคู่ความแทนทีโ่ จทก์ผูม้ รณะตามประมวล
กฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพ่ง มาตรา 42 วรรคหนึ่ง เพือ่ ให้คู่ความนัน้ ดําเนินการกระบวนพิจารณาแทนโจทก์ต่อไป
ดังนัน้ ผูเ้ ข้าเป็ นคู่ความแทนโจทก์ย่อมมีสทิ ธิดาํ เนินคดีแทนโจทก์ รวมทัง้ สิทธิทไี่ ด้รบั ยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลในศาล
ชัน้ ต้นด้วย แม้ขอ้ เท็จจริงจะฟังได้ว่า ผูเ้ ข้าเป็ นคูค่ วามแทนโจทก์มีทรัพย์สนิ สามารถเสียค่าธรรมเนียมศาลได้ ก็ไม่มี
ผลกระทบถึงสิทธิในการดําเนินคดีแทนโจทก์ต่อไปแต่อย่างใด การทีศ่ าลชัน้ ต้นมีคาํ สัง่ ให้ผูเ้ ข้าเป็ นคู่ความแทนโจทก์ชาํ ระ
ค่าขึน้ ศาล โดยทีผ่ ูเ้ ข้าเป็ นคู่ความแทนโจทก์ไม่มีหน้าทีต่ อ้ งชําระค่าขึน้ ศาล ตามคําสัง่ ของศาลชัน้ ต้นดังกล่าว จึงเป็ นการ
ไม่ถูกต้อง ถือไม่ได้ว่าโจทก์เพิกเฉยไม่ดาํ เนินคดีภายในเวลาตามทีศ่ าลกําหนดอันจะเป็ นการทิง้ ฟ้องตามป.วิ.แพ่ง มาตรา
174 (2) ทีศ่ าลชัน้ ต้นมีคาํ สั่งว่าโจทก์ทงิ้ ฟ้องให้จาํ หน่ายคดีออกจากสารบบความจึงไม่ชอบ

ติวสอบทนาย ติวเนติ ติวผู้ชว่ ย ต้องติวกับ อ.เป้ อ.ตูน SmartLawTutor T.086-987-5678, Line @smartlawtutor
อาจารย์เป้ SmartLaw MINI เนติ 2/74 กลุ่มวิแพ่ง ข้อ 1 หน้า 8

คู่ความร่วม (มาตรา 59)


*มาตรา 59 บุคคลตัง้ แต่สองคนขึน้ ไป อาจเป็ นคู่ความในคดีเดียวกันได้ โดยเป็ นโจทก์รว่ มหรือจําเลยร่วม
ถ้าหากปรากฏว่าบุคคลเหล่านัน้ มีผลประโยชน์รว่ มกันในมูลความแห่งคดี แต่หา้ มมิให้ถือว่าบุคคลเหล่านัน้ แทนซึ่งกัน
และกัน เว้นแต่มลู แห่งความคดีเป็ นการชําระหนีซ้ ่งึ แบ่งแยกจากกันมิได้ หรือได้มีกฎหมายบัญญัติไว้ดงั นัน้ โดยชัดแจ้ง
ในกรณีเช่นนี ้ ให้ถือว่าบุคคลเหล่านัน้ แทนซึ่งกันและกันเพียงเท่าที่จะกล่าวต่อไปนี ้
(1) บรรดากระบวนพิจารณาซึง่ ได้ทาํ โดย หรือทําต่อคู่ความร่วมคนหนึ่งนัน้ ให้ถือว่าได้ทาํ โดย หรือทําต่อ
คู่ความร่วมคนอื่น ๆ ด้วย เว้นแต่กระบวนพิจารณาที่คคู่ วามร่วมคนหนึ่งกระทําไปเป็ นที่เสื่อมเสียแก่ค่คู วามร่วมคนอื่น ๆ
(2) การเลื่อนคดีหรือการงดพิจารณาคดีซ่งึ เกี่ยวกับคูค่ วามร่วมคนหนึ่งนัน้ ให้ใช้ถึงคู่ความร่วมคนอืน่ ๆ ด้วย
1. “ผลประโยชน์ร่วมกันในมูลความแห่งคดี” หมายถึง มีส่วนได้เสียร่วมกันในมูลเหตุอนั เป็ นรากฐานแห่งคดี
กรณีเป็ นโจทก์ร่วมกันได้
Ex1 .กรณีเกิดเหตุละเมิดครัง้ เดียวกัน แต่มีผไู้ ด้รบั ความเสียหายหลายคน แม้คา่ เสียหายของโจทก์แต่ละคนจะ
แยกต่างหากจากกันได้ ผูเ้ สียหายเหล่านัน้ มีผลประโยชน์รว่ มกันในมูลความแห่งคดี เป็ นโจทก์รว่ มกันได้ (ฎ.695/2524)
Ex 2.จําเลยบุกรุกที่ดินหลายแปลงซึ่งอยูต่ ิดกันในเวลาเดียวกัน เจ้าของที่ดินเหล่านัน้ ย่อมมีสว่ นได้เสียร่วมกันใน
มูลความแห่งคดี แม้ท่ดี ินเหล่านัน้ จะมีหนังสือรับรองการทําประโยชน์คนละฉบับก็ตาม (ฎ.1966/2535)
กรณีเป็ นจําเลยร่วมกันได้
Ex 1. ฟ้ องลูกหนีต้ ามสัญญาประธานกับผู้ออกเช็คชําระหนีต้ ามสัญญาประธาน
*ฎ.6260/2550 คดีนโี ้ จทก์ฟ้องจําเลยที่ 1 ให้ชาํ ระหนีค้ ่าจ้ างให้ดาํ เนินการยืน่ คําขอรับชําระหนีใ้ นคดีลม้ ละลาย
ฟ้องจําเลยที่ 2 และที่ 3 ให้ ชําระหนีต้ ามเช็คทีจ่ าํ เลยที่ 1 นําไปชําระหนีค้ า่ จ้างดังกล่าวแก่โจทก์ แม้จาํ เลยทัง้ สาม
จะต้องรับผิดในมูลหนีท้ แี่ ตกต่างกัน แต่ขอ้ เท็จจริงอันเป็ นมูลเหตุรากฐานแห่งหนีท้ โี่ จทก์ฟ้องเกิดจากการกระทําอันเดียวกัน
คือจําเลยที่ 1 ได้วา่ จ้างโจทก์และค้างชําระหนีค้ ่าจ้างอันเดียวกัน จําเลยทัง้ สามจึงมีส่วนได้เสียร่วมกันตามกฎหมาย อันถือ
ได้ว่าจําเลยทัง้ สามมีผลประโยชน์ร่วมกันในมูลความแห่งคดี โจทก์จึงฟ้องจําเลยทัง้ สามรวมกันมาในคดีเดียวกันได้
2.ฟ้ องผู้ทคี่ รอบครองทีด่ นิ ร่วมกันโดยไม่มีสทิ ธิ (*ฎ.821/2540)
กรณีทถ่ี ือว่าไม่มีผลประโยชน์ร่วมกันในมูลความแห่งคดี
Ex .จําเลยแต่ละคนเข้ามาอาศัยที่ดินโจทก์ทาํ กินเป็ นส่วนสัดโดยไม่ได้เกี่ยวข้องกันเลย จําเลยทัง้ หมดจึงมิได้มี
ผลประโยชน์รว่ มกันในมูลความแห่งคดี โจทก์ชอบที่จะยื่นฟ้องจําเลยมาคนละสํานวน (ฎ.542/2516***)
ผลของการเป็ นคูค่ วามร่วม แบ่งออกเป็ น 2 กรณี
1.กรณีมูลความแห่งคดีเป็ นการชําระหนีซ้ ึ่งแบ่งแยกจากกันได้ ไม่ถือว่าแทนซึง่ กันและกัน (ฎ.1680/2523)
2.กรณีทม่ี ูลความแห่งคดีเป็ นการชําระหนีซ้ ง่ึ แบ่งแยกจากกันมิได้ คือ เป็ นลูกหนีร้ ว่ ม ต้องร่วมกันรับผิด
เช่น กรณีลกู หนีก้ บั ผูค้ าํ้ ประกัน ลูกหนีร้ ว่ ม ความรับผิดของนายจ้างและลูกจ้าง แบ่งออกเป็ น 3 กรณี
2.1 กระบวนพิจารณาทีเ่ ป็ นคุณ ถือว่าเป็ นการทําแทนกัน
***ฎ.5235/2560 โจทก์ฟ้องจําเลยที่ 1 ในฐานะผูก้ ระทําละเมิดจําเลยที่ 2 ในฐานะนายจ้างของจําเลย
ที่ 1 ซึ่งกระทําละเมิดในทางการทีจ่ า้ งขอให้จาํ เลยที่ 1 และที่ 2 ร่วมกันรับผิดต่อโจทก์ มูลความแห่งคดีจึงเป็ นการชําระหนี ้
ซึ่งแบ่งแยกออกจากกันมิได้ แม้จาํ เลยที่ 1 จะมิได้ยกอายุความขึน้ ต่อสูเ้ พราะขาดนัดยืน่ คําให้การ แต่เมือ่ จําเลยที่ 2 ยก
อายุความเรือ่ งสิทธิเรียกร้อง ค่าเสียหายอันเกิดแต่มูลละเมิดเกิน 1 ปี ขึน้ ต่อสูถ้ ือว่าเป็ นการทําแทนจําเลยที่ 1 ด้วย
(ข้อสังเกต จําเลยคนหนึง่ ยืน่ คําให้การไม่ถือว่ายืน่ แทนจําเลยอีกคนหนึ่ง

ติวสอบทนาย ติวเนติ ติวผู้ชว่ ย ต้องติวกับ อ.เป้ อ.ตูน SmartLawTutor T.086-987-5678, Line @smartlawtutor
อาจารย์เป้ SmartLaw MINI เนติ 2/74 กลุ่มวิแพ่ง ข้อ 1 หน้า 9
ประเด็น การที่จาํ เลยร่วมคนหนึ่งให้การต่อสูค้ ดีท่เี ป็ นคุณแก่จาํ เลยคนอื่น ต่อมาศาลอนุญาตให้โจทก์
ถอนฟ้องจําเลยคนที่ย่นื คําให้การเสียแล้ว กรณีไม่ถือว่าเป็ นการต่อสูค้ ดีแทนจําเลยอื่นอีกต่อไป ถือว่าไม่มีประเด็นตามข้อ
ต่อสูข้ องจําเลยที่ศาลอนุญาตให้ถอนฟ้องอีกต่อไปแล้ว (ดูมาตรา 176 ประกอบ)
***ฎ.1938/2540 คดีนโี ้ จทก์ฟ้องขอให้จาํ เลยที่ 1 รับผิดชําระหนีใ้ นฐานะผูก้ ู ้ และขอให้จาํ เลยที่ 2 รับ
ผิดชําระหนีใ้ นฐานะผูค้ า้ํ ประกัน มูลความแห่งคดีเป็ นการชําระหนีซ้ ่งึ แบ่งแยกจากกันไม่ได้ แม้ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 59 (1)
ให้ถือว่า บรรดากระบวนพิจารณาซึ่งได้ทาํ โดยหรือทําต่อคูค่ วามร่วมคนหนึง่ นัน้ ให้ถือว่าได้ทาํ โดยหรือทําต่อคู่ความร่วมคน
อืน่ ๆ ด้วยก็ตาม แต่หลังจากทีจ่ าํ เลยที่ 1 ยืน่ คําให้การยกอายุความเรือ่ งสิทธิเรียกร้องตามสัญญากูเ้ งินขึน้ ต่อสู ้ โจทก์ได้
ขอถอนฟ้องจําเลยที่ 1 ศาลชัน้ ต้นอนุญาต และจําหน่ายคดีสาํ หรับจําเลยที่ 1 ออกจากสารบบความแล้ว ผลย่อมเป็ นไป
ตามมาตรา 176 แห่ง ป.วิ.พ.ทีว่ า่ การถอนคําฟ้องย่อมมีผลลบล้างผลแห่งการยืน่ คําฟ้องนัน้ รวมทัง้ กระบวนพิจารณาอืน่ ๆ
อันมีมาต่อภายหลังยืน่ คําฟ้องและกระทําให้คู่ความกลับคืนเข้าสู่ฐานะเดิมเสมือนหนึง่ มิได้มกี ารยืน่ คําฟ้องเลย ดังนัน้
กระบวนพิจารณาทีจ่ าํ เลยที่ 1 ยืน่ คําให้การยกอายุความเรือ่ งสิทธิเรียกร้องตามสัญญากูเ้ งินขึน้ ต่อสูโ้ จทก์ ถือว่าเป็ นอันลบ
ล้างไปด้วยผลของการถอนฟ้องตามบทบัญญัตดิ งั กล่าวจึงเท่ากับว่าไม่มกี าํ หนดอายุความเรือ่ งสิทธิเรียกร้องตามสัญญากู ้
ของจําเลยที่ 1 ทีจ่ ะนํามาพิจารณาได้อกี
2.2 กระบวนพิจารณาทีเ่ สือ่ มเสีย ไม่ถือว่าทําแทนกัน เช่น การยอมรับ
ฎ.8880/2547 สัญญาเช่าซือ้ และสัญญาคํา้ ประกันไม่ได้ปิดอากรแสตมป์ หรือเสียภาษีอากรแสตมป์
เป็ นตัวเงิน ป.รัษฎากร มาตรา 118 บัญญัตวิ า่ ตราสารใดไม่ได้ปิดแสตมป์ บริบูรณ์จะใช้ตน้ ฉบับหรือสําเนาเอกสารนัน้ เป็ น
พยานหลักฐานในคดีแพ่งไม่ได้ แม้จาํ เลยที่ 1 จะขาดนัดยืน่ คําให้การ โจทก์มีหน้าทีต่ อ้ งนําสืบว่าจําเลยที่ 1 ทําสัญญาเช่า
ซือ้ เมือ่ สัญญาเช่าซือ้ ไม่อาจรับฟังเป็ นพยานหลักฐานได้ คดีนจี ้ ึงไม่อาจรับฟังได้วา่ จําเลยที่ 1 ทําสัญญาเช่าซือ้ กับโจทก์
และแม้จาํ เลยที่ 2 จะให้การรับว่าจําเลยที่ 1 ทําสัญญาเช่าซือ้ โดยมีจาํ เลยที่ 2 เป็ นผูค้ า้ํ ประกันจริง แต่คาํ ให้การของ
จําเลยที่ 2 ก็หามีผลถึงจําเลยที่ 1 ไม่ เมือ่ จําเลยที่ 1 เป็ นลูกหนีช้ นั้ ต้น คดีจึงมีผลถึงจําเลยที่ 2 ในฐานะผูค้ า้ํ ประกันด้วย
2.3 การเลือ่ นคดีหรือการงดการพิจารณา หากมีการเลื่อนคดีหรืองดการพิจารณาแล้ว ย่อมมีผลถึง
คู่ความร่วมคนอื่นด้วยตามมาตรา 59 (2) ไม่ว่าคู่ความร่วมคนหนึ่งขอเลื่อนคดีหรือของดการพิจารณาเพราะเหตุสว่ นตัว
ของคู่ความร่วมคนนัน้ หรือศาลเป็ นผู้ส่ังเลือ่ นคดีหรืองดการพิจารณาเอง
ฎ.2987/2525 การอนุญาตให้จาํ เลยที่ 1 เลือ่ นคดี ย่อมมีผลถึงจําเลยที่ 2 ด้วย
คดีทนี่ ่าพิจารณา
***ฎ.4437/2550 (โจทก์ทงั้ สองเป็ นเจ้าของรวมในทีด่ นิ พิพาท) การอุทธรณ์คาํ พิพากษาหรือคําสั่งของศาลเป็ น
สิทธิของคู่ความแต่ละคนทีจ่ ะดําเนินกระบวนพิจารณาเพือ่ ประโยชน์แก่คดีของตน การขอขยายระยะเวลายืน่ อุทธรณ์อนั
เป็ นกระบวนพิจารณาอย่างหนึ่งเมือ่ ได้กระทําโดยคู่ความร่วมคนหนึ่งย่อมเป็ นไปเพือ่ ประโยชน์ของคู่ความร่วมคนนัน้ ไม่มี
ผลไปถึงคู่ความร่วมคนอืน่ ทีม่ ิได้ขอขยายระยะเวลายืน่ อุทธรณ์ดว้ ย กรณีมใิ ช่เรือ่ งทีจ่ ะนํามาตรา 59 (1) แห่งป.วิ.พ. มาใช้
โจทก์ที่ 1 ลงชือ่ ในคําร้องขอขยายระยะเวลายืน่ อุทธรณ์เพียงคนเดียว และศาลชัน้ ต้นมีคาํ สั่งอนุญาตให้ขยาย
ระยะเวลายืน่ อุทธรณ์แก่โจทก์ที่ 1 จึงเป็ นประโยชน์แก่โจทก์ที่ 1 แต่เพียงผูเ้ ดียวทีจ่ ะยืน่ อุทธรณ์ได้ภายในกําหนดเวลาที่
ศาลชัน้ ต้นอนุญาตให้ขยาย แม้โจทก์ทงั้ สองได้แต่งตัง้ ทนายความคนเดียวกันให้มีอาํ นาจอุทธรณ์และทนายโจทก์ทงั้ สองได้
ยืน่ อุทธรณ์ภายในระยะเวลายืน่ อุทธรณ์ทศี่ าลชัน้ ต้นขยายให้ อุทธรณ์ของโจทก์ที่ 2 ทีม่ ิได้ขอขยายระยะเวลาอุทธรณ์ไว้
ย่อมเป็ นอุทธรณ์ทยี่ นื่ เมือ่ พ้นกําหนดระยะเวลาอุทธรณ์

ติวสอบทนาย ติวเนติ ติวผู้ชว่ ย ต้องติวกับ อ.เป้ อ.ตูน SmartLawTutor T.086-987-5678, Line @smartlawtutor
อาจารย์เป้ SmartLaw MINI เนติ 2/74 กลุ่มวิแพ่ง ข้อ 1 หน้า 10

เขตอํานาจศาล
คําฟ้ องเกี่ยวด้วยอสังหาริมทรัพย์ฯ
*ม.4 ทวิ คําฟ้องเกี่ยวด้วยอสังหาริมทรัพย์หรือสิทธิหรือประโยชน์อนั เกี่ยวด้วยอสังหาริมทรัพย์ ให้เสนอต่อศาลที่อสังหาริมทรัพย์
นัน้ ตัง้ อยู่ในเขตศาล ไม่ว่าจําเลยจะมีภมู ิลาํ เนาอยู่ในราชอาณาจักรหรือไม่ หรือต่อศาลที่จาํ เลยมีภมู ิลาํ เนาอยู่ในเขตศาล
กรณีทศ่ี าลฎีกาวินิจฉัยว่าเป็ นคําฟ้ องอันเกี่ยวด้วยอสังหาริมทรัพย์ฯ
1.คดีฟ้องให้ส่งมอบที่ดินตามสัญญาซือ้ ขาย (ฎ.4657/2532*)
2.คดีฟ้องขอให้ชาํ ระเงินพร้อมดอกเบีย้ และบังคับจํานองที่ดิน (ฎ.3530/2542*)
3.กรณีฟ้องบังคับให้ขบั ไล่ออกจากอสังหาริมทรัพย์ (ฎ.1173/2518)
4.กรณีขอให้ศาลพิพากษาให้อสังหาริมทรัพย์ท่พี ิพาทเป็ นของสาธารณะ (*ฎ.797/2515)
5.กรณีท่ศี าลต้องพิจารณาว่า โจทก์เป็ นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ท่พี ิพาทหรือไม่
***ฎ.1783/2527 ประชุมใหญ่ โจทก์ฟ้องว่าจําเลยกระทําละเมิด (ให้ชดใช้ค่าเสียหาย) เป็ นเหตุให้โจทก์ได้รบั
ความเสียหายต้องสูญเสียทีด่ นิ ของโจทก์ไป จําเลยให้การต่อสูว้ า่ ทีด่ นิ ทีพ่ พิ าทเป็ นทีส่ าธารณะ มิใช่ของโจทก์ และจําเลย
มิได้ทาํ ละเมิด แม้จาํ เลยจะมิได้กล่าวแก้เป็ นข้อพิพาทด้วยกรรมสิทธิว์ ่าทีด่ นิ เป็ นของจําเลย และตามคําฟ้องของโจทก์มิได้
มีคาํ ขอที่จะบังคับแก่ที่ดนิ แต่การที่จะพิจารณาว่าจําเลยกระทําละเมิดต่อโจทก์หรือไม่ก็จะต้องพิจารณาด้วยว่าที่ดนิ ที่
พิพาทเป็ นของโจทก์หรือไม่ อันเป็ นการพิจารณาถึงความเป็ นอยู่แห่งอสังหาริมทรัพย์จึงเป็ นคดีเกีย่ วด้วยอสังหาริมทรัพย์
กรณีไม่เป็ นคําฟ้ องอันเกี่ยวด้วยอสังหาริมทรัพย์ฯ (ไม่มีคาํ ขอบังคับกับอสังฯ)
1.ผู้จะซือ้ บอกเลิกสัญญาจะซือ้ ขายและฟ้ องให้ผู้จะขายคืนเงินมัดจําและหรือให้ชดใช้ค่าเสียหาย
2.ผู้จะขายฟ้ องให้ผู้จะซือ้ ชําระเงินค่าทีด่ ิน (ฎ.2334/2517)
3.กรณีผิดสัญญาและให้ชดใช้ค่าเสียหายจากการผิดสัญญาจ้างก่อสร้างอาคารบนทีด่ ิน (ฎ.1599/2529)
4.กรณีฟ้องเรียกค่านายหน้าจากการขายทีด่ ิน (คร.77/2519)
5.กรณีฟ้องให้ส่งมอบโฉนด (ฎ.1428-1429/2514, 8676/2544*)
6.โจทก์ฟ้องขอให้บังคับจําเลยไปถอนคําคัดค้านการขอโอนมรดกที่โจทก์ได้ย่นื คําร้องต่อเจ้าพนักงานที่ดิน
อําเภอเมืองปราจีนบุรี มิได้บ่งถึงการที่จะบังคับแก่ตวั ทรัพย์คือที่ดนิ (*ฎ.955/2537)

คําฟ้ องทั่วไป
มาตรา 4 เว้นแต่จะมีบทบัญญัตเิ ป็ นอย่างอื่น
***(1) คําฟ้องให้เสนอต่อศาลทีจ่ าํ เลยมีภูมิลาํ เนาอยู่ในเขตศาล หรือต่อศาลทีม่ ูลคดีเกิดขึน้ ในเขตศาล
ไม่ว่าจําเลยจะมีภมู ิลาํ เนาอยูใ่ นราชอาณาจักรหรือไม่

เขตอํานาจศาลของคําฟ้ องทั่วไป (มาตรา 4)


1.ศาลที่มลู คดีเกิดขึน้ ในเขตศาล ไม่ตอ้ งคํานึงถึงภูมลิ าํ เนาโจทก์และจําเลย
2.ศาลที่จาํ เลยมีภมู ิลาํ เนาอยู่ในเขตศาล ไม่ตอ้ งคํานึงสถานที่มลู คดีเกิดและภูมิลาํ เนาโจทก์หรือจําเลย
ข้อสังเกตที่ 1 แม้โจทก์จะมิได้มถี ่นิ ที่อยู่หรือภูมิลาํ เนาในประเทศไทยก็ฟ้องได้ (*ฎ.6001/2559, 6458/2559)
ข้อสังเกตที่ 2 แม้มลู คดีเกิดขึน้ นอกราชฯ โจทก์ฟ้องต่อศาลที่จาํ เลยมีภมู ิลาํ เนาอยูใ่ นราชฯได้ (ฎ.447/2540* เนติ 72)

ติวสอบทนาย ติวเนติ ติวผู้ชว่ ย ต้องติวกับ อ.เป้ อ.ตูน SmartLawTutor T.086-987-5678, Line @smartlawtutor
อาจารย์เป้ SmartLaw MINI เนติ 2/74 กลุ่มวิแพ่ง ข้อ 1 หน้า 11
ศาลทีจ่ าํ เลยมีภูมิลาํ เนาอยู่ในเขตศาล (ในวันฟ้ อง)
1. ถ้าในขณะยื่นฟ้องจําเลยมีภมู ิลาํ เนาอยู่ในเขตอํานาจของศาลที่ย่นื ฟ้อง ศาลนัน้ ย่อมมีอาํ นาจพิจารณาพิพากษา
คดีนนั้ ต่อไปได้ แม้จะมีการเปลี่ยนแปลงภูมิลาํ เนาของจําเลยในภายหลังก็ตาม ทัง้ นี ้ ตามมาตรา 173 ว.2 (2)
2.ภูมลิ าํ เนาของบุคคลธรรมดา พิจารณาได้จากป.พ.พ. มาตรา 37 ถึง 47
***มาตรา 37 ภูมิลาํ เนาของบุคคลธรรมดา ได้แก่ถ่นิ อันบุคคลนัน้ มีสถานทีอ่ ยูเ่ ป็ นแหล่งสําคัญ
***มาตรา 38 ถ้าบุคคลธรรมดามีถ่นิ ที่อยู่หลายแห่งซึ่งอยู่สบั เปลี่ยนกันไปหรือมีหลักแหล่งที่ทาํ การงานเป็ นปกติ
หลายแห่ง ให้ถือเอาแห่งใดแห่งหนึ่งเป็ นภูมิลาํ เนาของบุคคลนัน้
ประเด็น ผูแ้ ทนนิติบคุ คล (หุน้ ส่วนผูจ้ ดั การ, กรรมการผูม้ ีอาํ นาจ) ถือว่ามีภมู ิลาํ เนา ณ สํานักทําการงานของนิติ
บุคคลอีกแห่งหนึง่ ด้วย (ฎ.1251/2523 บริษัทอยู่ลาํ พูน บ้านกรรมการอยู่กทม., ฎ.2528/2537 ห้างหุน้ ส่วนกับหุน้ ส่วนผูจ้ ดั การ)
3.การเปลี่ยนแปลงภูมิลาํ เนา (ป.พ.พ. มาตรา 41)
***มาตรา 41 ภูมิลาํ เนาย่อมเปลี่ยนไปด้วยการย้ายถิ่นที่อยู่ พร้อมด้วยเจตนาปรากฏชัดแจ้งว่าจะเปลี่ยนภูมิลาํ เนา
Ex .จําเลยแจ้งย้ายออกแต่ไม่แจ้งย้ายเข้าถือว่ายังไม่มเี จตนาเปลี่ยนภูมิลาํ เนา
***ฎ.527/2561 แม้จาํ เลยที่ 2 มีบา้ นพักอาศัยทีอ่ ยู่ทจี่ .นนทบุรีและได้แจ้งย้ายออกจากบ้านหลังดังกล่าว โดยไม่
ปรากฏว่าได้แจ้งย้ายเข้าทีใ่ ด แสดงว่าจําเลยที่ 2 ไม่มีเจตนาย้ายทีอ่ ยู่และจงใจจะเปลีย่ นภูมิลาํ เนาตามป.พ.พ. มาตรา 41
ต้องถือว่าจําเลยที่ 2 ยังมีภูมิลาํ เนาอยู่ทจี่ .นนทบุรีก็ตาม แต่จาํ เลยที่ 2 เป็ นกรรมการผูม้ อี าํ นาจกระทําการแทนบริษัท ธ. ซึ่งมี
ภูมิลาํ เนาในเขตศาลชัน้ ต้น (ศาลจังหวัดสมุทรสาคร) ทีท่ าํ การของบริษัทดังกล่าวจึงเป็ นสํานักทําการงานทีส่ าํ คัญอีกแห่งหนึ่ง
ของจําเลยที่ 2 ตามป.พ.พ. มาตรา 37 จึงเป็ นกรณีทจี่ าํ เลยที่ 2 มีภมู ิลาํ เนาหลายแห่ง โจทก์จึงสามารถฟ้องจําเลยที่ 2 ยัง
ภูมิลาํ เนาแห่งใดก็ได้ และถึงแม้จาํ เลยที่ 1 (บุคคลธรรมดา) ไม่ได้มีภูมิลาํ เนาและมูลคดีไม่ได้เกิดในเขตอํานาจศาลชัน้ ต้น แต่
เมือ่ โจทก์ฟ้องให้จาํ เลยทัง้ สองร่วมรับผิดต่อโจทก์และขณะยืน่ ฟ้องจําเลยที่ 2 มีภูมิลาํ เนาอยู่ในเขตศาลชัน้ ต้นโจทก์จึงมีสทิ ธิ
ฟ้องคดีนยี ้ งั ศาลชัน้ ต้นได้ตามป.วิ.แพ่ง มาตรา 4 (1) ประกอบมาตรา 5 (ศึกษาเพิ่มเติม *ฎ.3053/2533)
ศาลทีม่ ูลคดีเกิดขึน้ ในเขตศาล
“มูลคดี” หมายถึง มูลเหตุอนั เป็ นที่มาแห่งการโต้แย้งสิทธิอนั ทําให้โจทก์เกิดอํานาจฟ้อง
1.กรณีละเมิด
1.1.กรณีผตู้ อ้ งเสียหายฟ้องร้อง สถานที่มลู คดีเกิดได้แก่ สถานทีเ่ กิดเหตุละเมิด
ฎ.2786/2540 มูลคดีทเี่ กิดขึน้ หมายถึงต้นเหตุอนั เป็ นทีม่ าแห่งการโต้แย้งสิทธิอนั จะทําให้เกิดอํานาจฟ้องร้อง
ตามสิทธินนั้ โจทก์ฟ้องโดยอาศัยเหตุทจี่ าํ เลยกระทําละเมิดต่อโจทก์เนือ่ งจากจําเลยขายรถยนต์ซ่งึ เป็ นสินสมรสระหว่าง
โจทก์กบั จําเลยให้แก่ผูอ้ นื่ ไปโดยโจทก์ไม่ยินยอม ได้ความว่า สัญญาซือ้ ขายรถยนต์เขียนทีต่ าํ บลหนองหอย จังหวัด
เชียงใหม่ แม้จะฟังว่าเป็ นสถานทีซ่ ่ึงมูลคดีระหว่างจําเลยกับผูซ้ อื ้ ได้เกิดขึน้ แต่ดว้ ยเหตุเดียวกันนีห้ ากจําเลยได้ทาํ สัญญา
ขายรถยนต์ให้แก่บคุ คลภายนอกดังทีโ่ จทก์กล่าวอ้าง ก็เป็ นต้นเหตุอนั เป็ นทีม่ าแห่งการโต้แย้งสิทธิในมูลละเมิดเช่นกัน ทํา
ให้โจทก์เกิดอํานาจฟ้องร้องตามสิทธินนั้ ขึน้ จังหวัดเชียงใหม่จึงเป็ นสถานทีท่ มี ูลคดีเกิดขึน้ โจทก์ยอ่ มฟ้องคดีเรียกเงินอันได้
จากการขายรถยนต์ทศี่ าลจังหวัดเชียงใหม่ซ่งึ มีเขตอํานาจพิจารณาพิพากษาได้
ส่วนการซือ้ ขายรถยนต์อกี คันหนึง่ สัญญาจะซือ้ ขายหรือสัญญาวางมัดจําทําทีต่ าํ บลหนองหลวง จังหวัดตาก โดย
ผูจ้ ะซือ้ เป็ นคนละคนกับทีซ่ ือ้ คันแรก สัญญาทํากันคนละปี หากจะฟังว่าได้ทาํ สัญญาจะซือ้ ขายไว้ ก็เป็ นเรือ่ งการซือ้ ขายที่
จังหวัดตาก มูลคดีอนั เป็ นต้นเหตุแห่งการโต้แย้งสิทธิมใิ ช่เกิดทีเ่ ขตอํานาจของศาลจังหวัดเชียงใหม่
1.2.กรณีผรู้ บั ประกันภัยรับช่วงสิทธิ ได้แก่ สถานทีเ่ กิดเหตุละเมิด ไม่ใช่สถานที่ชดใช้เงิน (***ฎ.2437/2540)

ติวสอบทนาย ติวเนติ ติวผู้ชว่ ย ต้องติวกับ อ.เป้ อ.ตูน SmartLawTutor T.086-987-5678, Line @smartlawtutor
อาจารย์เป้ SmartLaw MINI เนติ 2/74 กลุ่มวิแพ่ง ข้อ 1 หน้า 12
2.กรณีผิดสัญญา
2.1.กรณีสญ
ั ญาไม่มีแบบ สถานที่มลู คดีเกิด = สถานทีต่ กลงทําสัญญากันด้วยวาจา (ป.พ.พ. มาตรา 356)
ข้อสังเกต ถ้าคู่สญ
ั ญามีเจตนาทําเป็ นหนังสือ สถานที่ลงลายมือชื่อในสัญญาของแต่ละฝ่ ายเป็ นสถานที่มลู คดีเกิด
***ฎ.1184/2556 เดิมจําเลยที่ 1 เช่าซือ้ รถยนต์คนั พิพาทจากบริษัท เค. ผ่อนชําระได้ 3 ปี ก็ไม่สามารถผ่อนต่อได้ จึงขอ
สินเชือ่ จากบริษัท เจ. สาขาร้อยเอ็ด ซึ่งเป็ นตัวแทนของโจทก์ โดยจําเลยลงชือ่ ในสัญญาซือ้ ขายแบบมีเงือ่ นไขบังคับและหนังสือ
สัญญาคํา้ ประกันในฐานะผูซ้ อื ้ และผูค้ า้ํ ประกันทีจ่ งั หวัดร้อยเอ็ด ซึ่งขณะนัน้ ยังไม่มีการลงชือ่ ผูข้ าย หลังจากนัน้ มีการส่งสัญญาไปให้
ั ญาในฐานะผูข้ ายทีจ่ งั หวัดสุรินทร์โดยระบุสถานทีท่ าํ สัญญาตําบลนอกเมือง อําเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
โจทก์ลงชือ่ เป็ นคู่สญ
เมื่อโจทก์กับจําเลยมุ่งจะทําสัญญาเป็ นหนังสือระหว่างกัน ย่อมถือได้ ว่าสถานที่ทีโ่ จทก์ลงชื่อเป็ นคู่สัญญาในฐานะผู้ขาย
เป็ นสถานที่ทีม่ ูลคดีเกิดอีกแห่งหนึ่งด้ วย เมือ่ ข้อเท็จจริงปรากฏว่าสถานทีด่ งั กล่าวตัง้ อยู่ในท้องทีอ่ าํ เภอเมืองสุรินทร์ จังหวัด
สุรินทร์ อยู่ในเขตอํานาจศาลชัน้ ต้น โจทก์จึงมีอาํ นาจฟ้องจําเลยทัง้ สามต่อศาลชัน้ ต้นได้ตามป.วิ.แพ่ง มาตรา 4 (1) และ มาตรา 5
2.2. กรณีตกลงกันทางโทรศัพท์และโทรสาร สถานที่มลู คดีเกิดได้แก่ ทุกสถานที่ท่ีมกี ารใช้โทรศัพท์และโทรสาร
***ฎ.269/2543 จําเลยทัง้ สองเป็ นหุน้ ส่วนร่วมกันก่อสร้างบ้านพักรับรอง จําเลยที่ 2 ในฐานะตัวแทนของจําเลยที่ 1
ได้ทาํ ข้อตกลงกับโจทก์ ณ ทีท่ าํ การบริษัทโจทก์ซ่งึ ตัง้ อยู่ในจังหวัดลําปาง ให้โจทก์ตดิ ต่อซือ้ วัสดุอปุ กรณ์ก่อสร้างจากบริษัท ล.
ในนามของโจทก์เพือ่ นําไปก่อสร้างบ้านพักรับรองแล้วจําเลยที่ 2 จะชําระเงินให้บริษัท ล. ในนามของโจทก์ หากบริษัท ล. เรียก
เก็บเงินค่าสินค้าและค่าเสียหายทีจ่ าํ เลยที่ 2 สั่งซือ้ ไปในนามโจทก์และโจทก์ชาํ ระเงินให้แก่บริษัท ล. ไป จําเลยที่ 2 จะชดใช้
คืน จึงได้มีการติดต่อเปิ ดเครดิตกับบริษัท ล. โดยทางโทรศัพท์และโทรสาร ซึ่งบริษัท ล. ตกลงด้วย แม้บริษัท ล. มีภมู ิลาํ เนา
อยู่ในจังหวัดอุตรดิตถ์ แต่ขอ้ ตกลงในการเจรจาติดต่อเปิ ดเครดิตในการซือ้ ขายสินค้าเป็ นสัญญาประเภทหนึ่งซึ่งมีคู่สญ ั ญาสาม
ฝ่ าย คือ ฝ่ ายโจทก์ ฝ่ ายจําเลยทัง้ สองโดยจําเลยที่ 2 ซึ่งเป็ นตัวแทนจําเลยที่ 1 และฝ่ ายบริษัท ล. โดยการทําข้อตกลงเพือ่ เปิ ด
เครดิตได้ตดิ ต่อกันทางโทรศัพท์และโทรสารระหว่างจังหวัดอุตรดิตถ์และจังหวัดลําปาง ดังนัน้ มูลคดีในการก่อให้เกิดสัญญา
สามฝ่ ายเกีย่ วกับข้อตกลงในการเปิ ดเครดิต จึงเกีย่ วเนือ่ งกันทัง้ ในเขตอํานาจทัง้ ศาลจังหวัดลําปางและศาลจังหวัดอุตรดิตถ์
ดังนัน้ ศาลจังหวัดอุตรดิตถ์และศาลจังหวัดลําปางจึงมีอาํ นาจ
2.3. สัญญาที่ทาํ กันโดยบุคคลที่อยู่ห่างโดยระยะทาง
ป.พ.พ. มาตรา 361 วรรคหนึ่ง อันสัญญาระหว่างบุคคลซึง่ อยู่หา่ งกันโดยระยะทางนัน้ ย่อมเกิดเป็ นสัญญา
ขึน้ แต่เวลาเมื่อคําบอกกล่าวสนองไปถึงผู้เสนอ
Ex 1.สถานที่รบั มอบสินค้าอาจเป็ นสถานที่สนองรับการทําสัญญา
1.1.ผูซ้ อื ้ ไปรับสินค้า ณ สถานที่ของผูข้ าย สถานที่ของผูข้ ายเป็ นสถานที่มลู คดีเกิด
***ฎ.6580/2557 จําเลยสั่งซือ้ สินค้าทีโ่ จทก์ผลิตผ่านพนักงานของโจทก์ทจี่ งั หวัดนครศรีธรรมราชซึ่งเป็ นภูมิลาํ เนาของ
จําเลยเพือ่ นําไปจําหน่ายให้แก่ลูกค้า จากนัน้ พนักงานโจทก์จะสั่งใบสั่งซือ้ มายังโจทก์ทจี่ งั หวัดสมุทรสาครเพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ เมือ่
โจทก์อนุมตั กิ ็จะจัดส่งสินค้าไปให้จาํ เลยยังจังหวัดนครศรีธรรมราช กรณีเป็ นการทําคําเสนอต่อโจทก์ทไี่ ม่ได้อยู่เฉพาะหน้า หาก
โจทก์ประสงค์จะทําสัญญาซือ้ ขายกับจําเลยก็ตอ้ งแสดงเจตนาบอกกล่าวสนองรับไปถึงจําเลย แต่อย่างไรก็ตาม จําเลย (ผูซ้ ือ้ ) เป็ น
ผูม้ ารับสินค้าตามฟ้องจากโจทก์ทีจ่ งั หวัดสมุทรสาคร ซึ่งการรับมอบสินค้าของจําเลยเป็ นการรับไว้แทนการบอกกล่าวสนองรับ
ดังนัน้ สถานทีท่ จี่ าํ เลยรับมอบสินค้าจึงเป็ นสถานทีท่ มี่ ูลคดีได้เกิดขึน้ ตามบทบัญญัตดิ งั กล่าว เมือ่ สํานักงานใหญ่ของโจทก์อยู่ในเขต
อํานาจของศาลชัน้ ต้น (ศาลจังหวัดสมุทรสาคร) ศาลชัน้ ต้นจึงมีอาํ นาจพิจารณาคดีนไี ้ ด้ (เปรียบเทียบกับฎ.3720/2551*, 6231/2556*)
1.2.ผูข้ ายส่งมอบสินค้ามาให้ผซู้ อื ้ สถานที่ของผูซ้ ือ้ เป็ นสถานที่มลู คดีเกิด ( ***ฎ.6231/2556, 3720/2551)
2.4. สัญญาเช่าซือ้ สถานที่ท่ผี เู้ ช่าซือ้ และผูใ้ ห้เช่าซือ้ ลงลายมือชื่อในสัญญาเป็ นสถานที่มลู คดีเกิด ไม่ว่าใครจะลง
ลายมือชื่อก่อนก็ตาม (ฎ.8553/2553 ผูเ้ ช่าซือ้ ลงลายมือชื่อก่อนที่ จ.กระบี่ ผูใ้ ห้เช่าซือ้ ลงชื่อที่ จ.สงขลา*ฎ.8818/2551 ผูใ้ ห้เช่า
ซือ้ ลงลายมือชื่อก่อนที่กรุงเทพ)
ติวสอบทนาย ติวเนติ ติวผู้ชว่ ย ต้องติวกับ อ.เป้ อ.ตูน SmartLawTutor T.086-987-5678, Line @smartlawtutor
อาจารย์เป้ SmartLaw MINI เนติ 2/74 กลุ่มวิแพ่ง ข้อ 1 หน้า 13
2.5. สัญญากูย้ ืมเงิน
Ex 1. สถานที่อนุมตั กิ ารทําสัญญากูย้ ืมเงินเป็ นสถานที่มลู คดีเกิด (ฎ.5298/2551,5702/2548)
*ฎ.5298/2551 เมือ่ โจทก์อนุมตั วิ งเงินสินเชือ่ บุคคลให้แก่จาํ เลย ณ ทีท่ าํ การของโจทก์ ซึ่งอยู่ในเขตอํานาจของศาล
แขวงปทุมวัน ต่อมาจําเลยผิดสัญญาไม่ชาํ ระหนีใ้ ห้แก่โจทก์ ทําให้โจทก์ได้รบั ความเสียหาย จึงเห็นได้ว่าเหตุอนั เป็ นทีม่ าแห่ง
การโต้แย้งสิทธิทที่ าํ ให้โจทก์มีอาํ นาจฟ้องจําเลยเกิดขึน้ ณ ทีท่ าํ การของโจทก์ซ่งึ เป็ นสถานทีอ่ นุมตั สิ นิ เชือ่ บุคคลให้แก่จาํ เลย
อันอยู่ในเขตอํานาจของศาลแขวงปทุมวัน ดังนัน้ โจทก์จึงมีอาํ นาจเสนอคําฟ้องคดีนตี ้ อ่ ศาลแขวงปทุมวันได้ตามบทบัญญัติ
แห่งกฎหมายดังกล่าว การทีโ่ จทก์ใช้โทรศัพท์แจ้งเรือ่ งการอนุมตั สิ นิ เชือ่ บุคคลให้แก่จาํ เลย เป็ นเพียงการอํานวยความสะดวก
ให้แก่จาํ เลยซึ่งเป็ นลูกหนีเ้ ท่านัน้ หาทําให้มลู คดีทเี่ กิดขึน้ ณ ทีท่ าํ การของโจทก์เปลีย่ นแปลงไปไม่
Ex 2.สถานที่ท่ผี ใู้ ห้กเู้ บิกเงินเอาไปให้ผกู้ ไู้ ม่ใช่สถานที่มลู คดีเกิด แต่สถานที่ท่ผี กู้ รู้ บั มอบเงินเป็ นสถานที่มลู คดีเกิด
*ฎ.145/2553 (เนติ 63) สาระสําคัญในการกูย้ ืมเงิน คือการส่งมอบและการทําสัญญาหรือหลักฐานเป็ นหนังสือ ดังนัน้
การทีโ่ จทก์จะเบิกหรือถอนเงินจากธนาคารใดไปให้จาํ เลยกูย้ ืมเงิน มิใช่สาระสําคัญในการกูย้ ืมเงินแต่อย่างใด มิฉะนัน้ แล้วจะทําให้
มูลคดีเกิดขึน้ สถานทีใ่ ดแล้วแต่โจทก์เพียงฝ่ ายเดียว กล่าวคือ หากโจทก์ไปถอนเงินหรือฝากเงินธนาคารในท้องทีใ่ ดจะทําให้ศาลซึ่ง
อยู่ในเขตท้องทีน่ นั้ มีอาํ นาจพิจารณาคดีกูย้ ืมเงินไปทัง้ สิน้ โดยทีจ่ าํ เลยไม่สามารถทราบได้ ซึ่งจําเลยในฐานะคู่สญ ั ญาน่าจะทราบถึง
เขตอํานาจศาลทีจ่ ะมีการฟ้องบังคับคดีในกรณีผดิ สัญญาในฐานะคู่สญ ั ญากับโจทก์ดว้ ย มิใช่ขนึ้ อยู่กบั โจทก์แต่เพียงฝ่ ายเดียว และ
ตามคําฟ้องของโจทก์ โจทก์ร่วมกับจําเลยเปิ ดบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ไว้ในธนาคารทีอ่ ยู่ในท้องทีท่ จี่ าํ เลยมีภูมิลาํ เนาอยู่ในขณะทํา
สัญญา เงินทีโ่ จทก์โอนไปยังไม่เป็ นสิทธิของจําเลยเพราะโจทก์ยงั มีสทิ ธิเบิกถอนได้ (โจทก์โอนเงินเข้าบัญชีร่วม) การทีจ่ าํ เลยจะรับ
เงินทีโ่ จทก์ให้กูย้ ืมได้จะต้องไปเบิกถอนเงินจากธนาคารดังกล่าว ธนาคารดังกล่าวจึงถือว่าเป็ นทีร่ บั มอบเงินทีก่ ูย้ ืม จึงเป็ นกรณีทมี่ ูล
คดีเกิดขึน้ ในท้องทีเ่ ดียวกับทีจ่ าํ เลยมีภูมิลาํ เนาในขณะทําสัญญาและทีร่ ะบุในสัญญากูย้ มื เงินว่า เป็ นทีจ่ ดั ทําสัญญากูย้ ืมเงิน
2.6. กรณีฟอ้ งผูค้ าํ้ ประกัน สถานที่ทาํ สัญญาคํา้ ประกันเป็ นสถานที่มลู คดีเกิดด้วย
***ฎ.6936/2539 จําเลยทําสัญญาคํา้ ประกันหนีต้ ามสัญญาเช่าซือ้ แม้สญ ั ญาเช่าซือ้ ได้ทาํ ขึน้ ทีก่ รุงเทพมหานคร แต่
โจทก์ฟ้องให้จาํ เลยรับผิดตามสัญญาคํา้ ประกัน หาได้ฟ้องให้บงั คับตามสัญญาเช่าซือ้ เมือ่ สัญญาคํา้ ประกันทีจ่ าํ เลยทํากับ
โจทก์ซ่งึ เป็ นเหตุแห่งการฟ้องร้องในคดีนที ้ าํ สัญญาทีจ่ งั หวัดลําปาง จึงถือว่ามูลคดีนเี ้ กิดขึน้ ในเขตศาลจังหวัดลําปาง มูลคดีหา
ได้เกิดขึน้ ในเขตศาลแพ่งไม่ ทีศ่ าลแพ่งวินจิ ฉัยมูลคดีเกิดขึน้ ในเขตศาลจังหวัดลําปางและจําเลยมีภูมลิ าํ เนาอยู่ในเขตศาล
จังหวัดลําปาง พิพากษายกฟ้องโจทก์ อันเป็ นการทีศ่ าลแพ่งใช้ดลุ พินจิ ไม่ยอมรับไว้พจิ ารณาพิพากษา
2.7. สถานที่ท่ีลกู หนีล้ งลายมือชื่อในหนังสือรับสภาพหนีเ้ ป็ นสถานที่มลู คดีเกิด (ฎ.6508/2547***, 3100/2551*)
2.8. กรณีทาํ สัญญาโอนสิทธิเรียกร้อง สถานที่ทาํ สัญญาโอนสิทธิเรียกร้องให้แก่โจทก์ไม่ใช่สถานที่มลู คดีเกิด
***ฎ.9430/2554 สัญญาจ้างนีท้ าํ ขึน้ ระหว่างจําเลยกับห้างว. ทํา ณ ทีท่ าํ การของจําเลยทีอ่ .พล จ.ขอนแก่น ซึ่งอยู่ในเขต
อํานาจศาลจังหวัดพล แม้หา้ งดังกล่าวทําสัญญาโอนสิทธิเรียกร้องค่าก่อสร้างตามสัญญาว่าจ้างให้แก่โจทก์ แต่โจทก์ก็เป็ นเพียง
ผูร้ บั โอนสิทธิเรียกร้องของห้างดังกล่าว ในอันทีจ่ ะบังคับชําระหนีต้ ามมูลหนีเ้ ดิมจากจําเลยแทนห้างดังกล่าว เมือ่ สัญญาจ้างทีเ่ ป็ น
มูลหนีใ้ ห้เกิดการโอนสิทธิเรียกร้องเกิดขึน้ ณ ทีท่ าํ การของจําเลย และจําเลยปฏิเสธไม่จ่ายเงินค่าก่อสร้างให้แก่โจทก์ ถือว่ามูลเหตุ
ซึ่งเป็ นทีม่ าแห่งการโต้แย้งสิทธิอนั จะทําให้โจทก์มีอาํ นาจฟ้องเกิดขึน้ ณ ทีท่ าํ การของจําเลยซึ่งอยู่ในเขตอํานาจศาลจังหวัดพล
โจทก์ฟ้องจําเลยต่อศาลแขวงขอนแก่นตามป.วิ.แพ่ง มาตรา 4 (1) ไม่ได้
2.9. เช็ค***
Ex 1.สถานที่ท่เี ช็คถูกปฏิเสธการจ่ายเงินเป็ นสถานที่มลู คดีเกิด (ฎ.5477/2550*, 8506/2551*)
Ex 2. สถานที่เกิดมูลหนีเ้ ดิมเป็ นสถานที่มลู คดีเกิดในคดีเช็คด้วย (ฎ.1864/2548, 3818/2538)

ติวสอบทนาย ติวเนติ ติวผู้ชว่ ย ต้องติวกับ อ.เป้ อ.ตูน SmartLawTutor T.086-987-5678, Line @smartlawtutor
อาจารย์เป้ SmartLaw MINI เนติ 2/74 กลุ่มวิแพ่ง ข้อ 1 หน้า 14
คําฟ้ องหรือคําร้องขอซึ่งอาจเสนอได้หลายศาล
***มาตรา 5 คําฟ้องหรือคําร้องขอซึ่งอาจเสนอต่อศาลได้สองศาลหรือกว่านัน้ ไม่ว่าจะเป็ นเพราะภูมลิ าํ เนาของ
บุคคลก็ดี เพราะที่ตงั้ ของทรัพย์สินก็ดี เพราะสถานที่ท่เี กิดมูลคดีก็ดี หรือเพราะมีขอ้ หาหลายข้อก็ดี ถ้ามูลความแห่งคดี
เกี่ยวข้องกัน โจทก์หรือผูร้ อ้ งจะเสนอคําฟ้องหรือคําร้องขอต่อศาลใดศาลหนึ่งเช่นว่านัน้ ก็ได้
1) กรณีฟ้องลูกหนีช้ นั้ ต้นและบังคับจํานองกับผูจ้ าํ นองที่เป็ นบุคคลที่สาม
***ฎ.680/2532 การทีโ่ จทก์ฟ้องบังคับจํานองแก่ทดี่ นิ ทีจ่ าํ เลยที่ 2 นํามาจํานองประกันหนีข้ องจําเลยที่ 1 นัน้ จะต้อง
พิจารณาว่าโจทก์มีสทิ ธิบงั คับจํานองได้หรือไม่ จําเลยที่ 1 เป็ นหนีโ้ จทก์หรือไม่ และจําเลยที่ 2 ต้องร่วมรับผิดกับจําเลยที่ 1
หรือไม่ อันเป็ นการพิจารณาถึงสิทธิทโี่ จทก์จะฟ้องขอให้บงั คับจํานอง คําฟ้องของโจทก์จึงเป็ นคําฟ้องเกีย่ วด้วยอสังหาริมทรัพย์
ดังนี ้ แม้จาํ เลยที่ 1 จะมีภูมลิ าํ เนาอยู่เชียงใหม่ก็ตาม แต่เมือ่ ทีด่ นิ ทีจ่ าํ นองอยู่ทกี่ รุงเทพมหานคร โจทก์จึงฟ้องจําเลยทัง้ สองต่อ
ศาลแพ่งซึ่งเป็ นศาลทีท่ รัพย์ตงั้ อยู่ในเขตได้ตามป.วิ.พ. มาตรา 4 ทวิประกอบมาตรา 5 (ปัจจุบนั )
2) กรณีฟ้องห้างหุน้ ส่วนจํากัดและหุน้ ส่วนผูจ้ ดั การ (*ฎ.99/2524)
ประเด็น แม้โจทก์จะถอนฟ้องจําเลยคนที่มีภมู ิลาํ เนาอยู่ในเขตศาล ศาลนัน้ ก็ยงั มีอาํ นาจพิจารณาคดีกบั จําเลยที่
ไม่มีภมู ิลาํ เนาอยู่ในเขตอํานาจศาลนัน้ ได้ (ศึกษาเพิ่มเติม ฎ.2403/2523)
อํานาจศาลในคดีไม่มีข้อพิพาท
คําร้องขอทั่วไป
มาตรา 4 เว้นแต่จะมีบทบัญญัติเป็ นอย่างอื่น
***(2) คําร้องขอ ให้เสนอต่อศาลทีม่ ูลคดีเกิดขึน้ ในเขตศาล หรือต่อศาลทีผ่ ู้ร้องมีภูมิลาํ เนาอยู่ในเขตศาล
Ex 1.คําร้องขอให้ศาลสั่งเป็ นคนไร้ความสามารถและให้ตงั้ ผูร้ อ้ งเป็ นผูอ้ นุบาล (*ฎ.4513/2542)
Ex 2. คําร้องขอให้ศาลมีคาํ สั่งแสดงกรรมสิทธิ์ท่ดี ินโดยการครอบครองปรปั กษ์ (ฎ.1665/2548)
คําร้องขอให้ศาลแต่งตัง้ ผู้จัดการมรดก
***มาตรา 4 จัตวา ว.1 คําร้องขอแต่งตัง้ ผูจ้ ดั การมรดก ให้เสนอต่อศาลทีเ่ จ้ามรดกมีภูมิลาํ เนาอยู่ในเขต
ศาลในขณะถึงแก่ความตาย
1.กรณีเจ้ามรดกมีภูมิลาํ เนาอยู่ในราชอาณาจักรให้เสนอต่อศาลที่เจ้ามรดกมีภมู ิลาํ เนาอยูใ่ นเขตศาลในขณะ
ถึงแก่ความตาย จะยื่นคําร้องต่อศาลที่ทรัพย์มรดกอยูใ่ นเขตศาลหรือศาลที่ผรู้ อ้ งมีภมู ิลาํ เนาไม่ได้
*ฎ.1448/2543 พระภิกษุ ก. ได้มาซึ่งทีด่ นิ ในจังหวัดลําพูนในระหว่างเวลาทีอ่ ยู่ในสมณเพศต่อมาพระภิกษุ ก. ถึงแก่
มรณภาพขณะทีพ่ ระภิกษุ ก. มีภมู ิลาํ เนาอยู่ทวี่ ดั ในจังหวัดเชียงใหม่ โดยมิได้จาํ หน่ายทีด่ นิ ไปในระหว่างชีวติ หรือโดยพินยั
กรรมการยืน่ คําร้องขอแต่งตัง้ ผูจ้ ดั การมรดกรายนีจ้ ึงต้องยืน่ ต่อศาลจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งเป็ นศาลทีเ่ จ้ามรดกมีภูมิลาํ เนาอยู่ใน
เขตขณะถึงแก่ความตายตามป.วิ.แพ่ง มาตรา 4 จัตวา เมือ่ ผูร้ อ้ งไม่มีอาํ นาจยืน่ คําร้องขอให้แต่งตัง้ ผูจ้ ดั การมรดกต่อศาล
จังหวัดลําพูน การทีศ่ าลจังหวัดลําพูนรับคําร้องไว้พจิ ารณาและมีคาํ สั่ง กับศาลอุทธรณ์พจิ ารณาอุทธรณ์ผรู ้ อ้ งและพิพากษายืน
ตามคําสั่งศาลชัน้ ต้นจึงเป็ นการมิชอบปัญหานีเ้ ป็ นปัญหาข้อกฎหมายอันเกีย่ วด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน ศาลฎีกา
มีอาํ นาจยกขึน้ วินจิ ฉัยตามป.วิ.แพ่ง มาตรา 142(5) เป็ นไม่รบั คําร้องขอของผูร้ อ้ งและให้คนื ค่าขึน้ ศาลทัง้ สามศาลแก่ผรู ้ อ้ ง
2. กรณีเจ้ามรดกมีภมู ิลาํ เนาหลายแห่ง ผูร้ อ้ งจะยื่นคําร้องต่อศาลที่เจ้ามรดกมีภมู ิลาํ เนาอยูใ่ นเขตศาลในขณะถึง
แก่ความตายแห่งใดก็ได้ (ดูมาตรา 5 ประกอบ) ฎ.5912/2539, 661/2550, 4214/2557
ฎ.5912/2539 แม้ผตู ้ ายมีชือ่ อยู่ในทะเบียนบ้านทีจ่ งั หวัดพิจิตรและผูต้ ายถึงแก่ความตายทีจ่ ังหวัดพิจิตร แต่ผตู ้ ายก็ได้
อยู่กินเป็ นสามีภริยากับผูร้ อ้ งจนมีบุตรด้วยกันถึง 4 คนทีจ่ ังหวัดสมุทรปราการรวมทัง้ ผูต้ ายได้ซือ้ ทีด่ นิ ไว้ทจี่ งั หวัดสมุทรปราการ
แสดงว่าผูต้ ายมีบา้ นทีจ่ งั หวัดสมุทรปราการเป็ นสถานทีอ่ ยู่อนั เป็ นแหล่งสําคัญอีกแห่งหนึ่งด้วย บ้านทีส่ มุทรปราการจึงเป็ น
ภูมิลาํ เนาของผูต้ ายตามป.พ.พ. มาตรา 37 ผูร้ อ้ งจึงมีสทิ ธิเสนอคําร้องขอต่อศาลจังหวัดสมุทรปราการได้ตามป.วิ.แพ่ง ม.4 จัตวา
ติวสอบทนาย ติวเนติ ติวผู้ชว่ ย ต้องติวกับ อ.เป้ อ.ตูน SmartLawTutor T.086-987-5678, Line @smartlawtutor
อาจารย์เป้ SmartLaw MINI เนติ 2/74 กลุ่มวิแพ่ง ข้อ 1 หน้า 15

การเพิกถอนกระบวนพิจารณาทีผ่ ิดระเบียบ (มาตรา 27)


1.กรณีศาลเพิกถอนเอง กฎหมายไม่ได้กาํ หนดเวลาไว้ (ฎ.5956/2557)
1.1.ศาลชัน้ ต้นมีอาํ นาจสั่งเพิกถอนหรือแก้ไขกระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบในศาลชัน้ ต้นเองได้ แม้ศาลชัน้ ต้น
จะมีคาํ พิพากษาไปแล้ว (ฎ.810/2552 อ.ไพโรจน์ วายุภาพ ทําหมายเหตุทา้ ยฎีกาว่าน่าจะขัดกับมาตรา 144)
1.2. ศาลสูงใช้อาํ นาจตามม.27 เพิกถอนหรือแก้ไขกระบวนพิจารณาของศาลชัน้ ต้นได้
2. กรณีคู่ความฝ่ ายที่เสียหายร้องขอ ต้องยกขึน้ กล่าวได้ไม่ว่าเวลาใด ๆ ก่อนมีคาํ พิพากษา แต่ตอ้ งไม่ช้ากว่า
8 วันนับแต่วนั ที่ค่คู วามฝ่ ายนัน้ ได้ทราบข้อความหรือพฤติการณ์อนั เป็ นมูลแห่งข้ออ้างนัน้ และต้องมิได้ดาํ เนินการอันใดขึน้
ใหม่หลังจากที่ได้ทราบเรื่องผิดระเบียบแล้ว หรือต้องมิได้ให้สตั ยาบันแก่การผิดระเบียบนัน้ ๆ (ฎ.477/2550)
ประเด็น หากคู่ความพึ่งทราบหลังจากศาลชัน้ ต้นมีคาํ พิพากษาแล้ว คู่ความชอบที่รอ้ งขอให้ส่งั เพิกถอนหรือ
แก้ไขได้ แต่ตอ้ งไม่ชา้ กว่า 8 วัน นับแต่วนั ที่คคู่ วามฝ่ ายนัน้ ทราบ (ฎ.1564/2561, 800/2551, 1293/2564)
***ฎ.1293/2564 คําขอให้พจิ ารณาคดีใหม่และฎีกาของจําเลยกล่าวอ้างว่า โจทก์นาํ ส่งหมายเรียกและสําเนาคํา
ฟ้องไปยังบ้านของจําเลยตามแบบรับรองรายการทะเบียนราษฎรโดยโจทก์ทราบว่าบ้ านดังกล่าวได้ รอื้ ถอนไปแล้ วและ
โจทก์แถลงขอให้ประกาศหนังสือพิมพ์ ทัง้ ทีท่ ราบดีวา่ จําเลยมีภูมลิ าํ เนาอยู่ทแี่ ห่งอืน่ อันเป็ นการส่งหมายเรียกและสําเนาคํา
ฟ้องโดยไม่ชอบ ซึ่งถือได้วา่ เป็ นการกล่าวอ้างว่าเป็ นกรณีทมี่ ิได้ปฏิบตั ติ ามบทบัญญัตแิ ห่งป.วิ.แพ่งในข้อทีม่ ่งุ หมายจะ
ยังให้การเป็ นไปด้วยความยุตธิ รรมในเรือ่ งการส่งคําคู่ความหรือเอกสารอืน่ ๆ ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 27 วรรคหนึ่ง ซึ่งข้อ
ค้านเรือ่ งผิดระเบียบดังกล่าว จําเลยซึ่งเป็ นคู่ความฝ่ ายทีเ่ สียหายอาจยกขึน้ กล่าวอ้างได้ไม่วา่ เวลาใด ๆ ก่อนมีคาํ พิพากษา
แต่ตอ้ งไม่ชา้ กว่าแปดวันนับแต่วนั ทีจ่ าํ เลยได้ทราบข้อความหรือพฤติการณ์อนั เป็ นมูลแห่งข้ออ้างนัน้ ตามมาตรา 27 วรรค
สอง และในกรณีทคี่ ่คู วามทราบข้ อค้ านเรื่องผิดระเบียบภายหลังเมื่อศาลมีคําพิพากษาแล้ ว ก็ไม่อาจเป็ นไปได้ว่า
คู่ความฝ่ ายนัน้ จะยกข้อค้านขึน้ กล่าวอ้างได้ก่อนมีคาํ พิพากษา แต่ในกรณีเช่นว่านีค้ ู่ความฝ่ ายทีเ่ สียหายชอบทีจ่ ะยกขึน้
กล่าวอ้างไม่ชา้ กว่าแปดวันนับแต่วนั ทราบข้อความหรือพฤติการณ์อนั เป็ นมูลแห่งข้ออ้างด้วย
จําเลยได้มอบหมายให้ทนายความมาคัดถ่ายเอกสารสํานวนคดีนวี ้ นั ที่ 30 ธ.ค.59 และได้รบั เอกสารดังกล่าววันที่
27 ม.ค.60 ซึ่งเป็ นเวลาภายหลังศาลชัน้ ต้นมีคาํ พิพากษาเมือ่ วันที่ 23 ธ.ค.56 แล้ว จึงเป็ นการบ่งชีช้ ดั ว่าจําเลยได้ทราบ
ข้อความหรือพฤติการณ์อนั เป็ นมูลแห่งข้ออ้างเรือ่ งผิดระเบียบในการส่งคําคู่ความในสํานวนคดีนอี ้ ย่างช้าในวันทีจ่ าํ เลย
ได้รบั เอกสารดังกล่าวเมือ่ วันที่ 27 ม.ค.60 การทีจ่ าํ เลยยืน่ คําขอให้พจิ ารณาคดีใหม่โดยอ้างว่า การส่งหมายเรียกและ
สําเนาคําฟ้องให้แก่จาํ เลยไม่ชอบ เมือ่ วันที่ 14 ก.พ.2560 จึงช้ากว่าแปดวันนับแต่วนั ทราบข้อความหรือพฤติการณ์อนั เป็ น
มูลแห่งข้ออ้างนัน้ จําเลยหมดสิทธิทีจ่ ะขอให้ ศาลสั่งเพิกถอนการพิจารณาทีผ่ ิดระเบียบนัน้ ได้ตาม ป.วิ.พ. มาตรา
27 วรรคสอง แล้ว ปัญหาดังกล่าวเป็ นข้อกฎหมายเกีย่ วด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน แม้ไม่มีคู่ความฝ่ ายใด
ยกขึน้ อ้าง ศาลฎีกามีอาํ นาจยกขึน้ วินจิ ฉัยตามป.วิ.พ. มาตรา 142 (4) ประกอบมาตรา 246 และ 252
ตัวอย่างกรณีให้สัตยาบันแล้ว = ขอเพิกถอนไม่ได้
ฎ.7321/2550 ศาลชัน้ ต้นให้ส่งหมายเรียกและสําเนาคําฟ้องให้แก่จาํ เลยแล้ว จําเลยทราบถึงการฟ้องแล้วไม่ได้
คัดค้านว่า ศาลชัน้ ต้นไม่มีเขตอํานาจทีจ่ ะรับฟ้องไว้พจิ ารณากลับยินยอมให้ศาลชัน้ ต้นดําเนินกระบวนพิจารณา โดย
สืบพยานโจทก์และให้จาํ เลยอ้างตนเข้าเบิกความ จนกระทั่งทัง้ สองฝ่ ายแถลงหมดพยานและศาลชัน้ ต้นพิพากษาคดีแล้ว
เท่ากับจําเลยยอมปฏิบตั ติ ามทีศ่ าลชัน้ ต้นดําเนินกระบวนพิจารณาเสร็จสิน้ อันเป็ นการให้สตั ยาบันแก่การผิดระเบียบแล้ว
จําเลยจึงยกการผิดระเบียบดังกล่าวขึน้ มาในชัน้ อุทธรณ์ไม่ได้ (ฎ.6574/2559 แนวเดียวกัน)

ติวสอบทนาย ติวเนติ ติวผู้ชว่ ย ต้องติวกับ อ.เป้ อ.ตูน SmartLawTutor T.086-987-5678, Line @smartlawtutor

You might also like