You are on page 1of 89

1

เด็ก LD คืออะไร
LD หรือ Learning Disabilities หมายถึง ความบกพร่องทางด้าน
การเรียนรู้ แสดงออกมาในรูปของปั ญหาด้านการอ่าน การเขียน การ
สะกดคำ การคำนวณและเหตุผลเชิงคณิตศาสตร์
รศ. พญ. ศันสนีย์ ฉัตรคุปต์ ผู้อำนวยการสถาบันสร้างสรรค์
ศักยภาพสมองครีเอทีฟเบรน กล่าวว่า เด็ก LD หรือเด็กที่มีความ
บกพร่องทางการเรียนรู้ เป็ นเด็กที่มีวงจรการทำงานของสมองไม่เป็ นไป
ตามที่ควรจะเป็ นเซลล์สมองบางส่วนอยู่ผิดที่ ทำให้มีปัญหาในการเรียน
เรียนอ่อนบางวิชา หรือหลายๆ วิชา ทัง้ ที่สติปัญญาปกติ บางคนมี
ปั ญหาในการอ่านทัง้ ที่มีสายตาหรือประสาทตาปกติ แต่การแปลภาพใน
สมองไม่เหมือนคนทั่วไป ทำให้เห็นตัวหนังสือกลับหัวกลับหาง ลอยไป
ลอยมา ไม่คงที่ บางครัง้ เห็นๆ หยุดๆ มองเห็นตัวหนังสือหายไปเป็ น
บรรทัด บางครัง้ เห็นตัวหนังสือแต่ไม่ร้ค
ู วามหมาย บางคนมีปัญหาการ
ฟั ง ทัง้ ที่การได้ยินปกติ แต่สมองไม่สามารถแยกแยะเสียงสูง- ต่ำ จึงมัก
เขียนสะกดผิด และไม่ทราบความหมายของคำ บางคนมีปัญหาเรื่อง
ทิศทาง ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับภาษา ไม่ร้ว
ู ่าซ้ายหรือขวา กะระยะทางไม่ถูก
ทำให้เดินชนอยู่บ่อยๆ บางคนคำนวณไม่ได้ เพราะไม่เข้าใจสัญลักษณ์
ตัวเลข ฯ
เด็กวัยเรียน ส่วนใหญ่ของเด็กที่เป็ น LD จะแสดงความ
บกพร่องให้เห็นตัง้ แต่ชน
ั ้ ประถม โดยเฉพาะในชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 2 ซึง่
เด็กในชัน
้ นีค
้ วรเริ่มอ่านหนังสือออก เขียนคำง่าย ๆ ได้ เข้าใจหลักการ
2

ใน การบวก ลบเลข หากเด็กไม่ได้รับการวินิจฉัยและช่วยเหลือตัง้ แต่


เริ่มแรก จะทำให้เด็กไม่ประสบความสำเร็จทางด้านการเรียนเท่าที่ควร
มีโอกาสเรียนตกซ้ำชัน
้ ทัง้ ๆ ที่สติปัญญาดี ประมาณร้อยละ 40 ของเด็ก
ที่เป็ น LD จะออกจากโรงเรียนก่อนที่จะเรียนจบ เด็ก LD บางคน
อาการอาจจะหายไปได้เมื่อโตขึน
้ แต่ในเด็กส่วนใหญ่อาการหรือความ
ผิดปกติมักจะคงอยู่หากไม่ได้รับการช่วยเหลือเด็กมักจะมีการเรียนที่ล้ม
เหลวและปั ญหาทางอารมณ์ และเมื่อเด็กเข้าสู่วัยรุ่นจะเริ่มท้อ  หมด
กำลังใจ ปฏิเสธการเรียน มีภาวะซึมเศร้า หรือมีปัญหาพฤติกรรมตาม
มา เช่น หนีโรงเรียน ติดเกม ติดสารเสพติด หนีออกจากบ้าน ฯลฯ ซึ่ง
ก็ทำให้ปัญหาการเรียนที่มีอยู่นน
ั ้ เลวลงไปอีก 

สาเหตุของ LD เกิดจากอะไร?
จากการศึกษาค้นคว้ามีสาเหตุของ เด็ก LD เกิดจากความ
ผิดปกติของสมอง ทำให้เด็กกลุ่มนีม
้ ีพัฒนาการด้านการเรียนช้า สมอง
ของเด็กที่เป็ น LD ไม่สามารถจัดการกับข้อมูลที่รับเข้าไปได้อย่างถูกต้อง
เชื่อว่าสาเหตุของ LD มีสาเหตุสำคัญ 3 ประการ คือ
1. กรรมพันธุ์ เด็กบางคนอาจมีญาติผู้ใหญ่ที่ เป็ น LD แต่สังคมใน
สมัยก่อนยังไม่ร้จ
ู ัก LD
2. การที่เด็กคลอดก่อนกำหนด ทำให้เซลล์สมองผิด ปกติ
3. สารเคมีเข้าสู่ร่างกายและสะสมในปริมาณที่มาก โดยเฉพาะ
อย่างยิ่ง สารตะกั่วซึ่งมาจากอากาศและอาหารที่ปนเปื้ อนสารเหล่านี ้
การที่มารดาสูบบุหรี่ ดื่มสุรา ได้รับสารพิษ หรือใช้ยาบางชนิด
3

นอกจากนี ้ โรค LD ยังอาจมีสาเหตุมาจากเคยมีโรคติดเชื้อหรือ


อุบัติเหตุรุนแรงที่สมอง เป็ นโรคลมชัก โรค LD มักพบร่วมกับโรคสมาธิ
สัน
้ โรคกระตุก (Tic Disorders) และกลุ่มที่มีความล่าช้าในภาษาและ
การพูด โดยเฉพาะกับโรคสมาธิสน
ั ้ พบว่าเป็ นร่วมกันถึง 30-40% คือใน
เด็กที่เป็ น LD หรือสมาธิสน
ั ้ 10 คน จะมี 4 คน ที่จะเป็ นทัง้ สมาธิสน
ั้
และ LD

อาการและพฤติกรรมของเด็ก LD
อาการของเด็ก LD จะมีมาตัง้ แต่กำเนิด ทัง้ ที่มี IQ และร่างกายทุก
ส่วนปกติ และจะปรากฎชัดเมื่อเข้าเรียน คือ เบื่อการอ่าน อ่านหนังสือ
ตะกุกตะกักไม่สมกับวัย เมื่อพ่อแม่ ครู ให้อ่านหรือทำการบ้าน ก็จะไม่
ยอมอ่าน ทำให้สอบตก ถึงขัน
้ ต้องเรียนซ้ำชัน
้ โดยวิชาที่เป็ นปั ญหามาก
ที่สุด คือ คณิตศาสตร์ เนื่องจากอ่านไม่ออก จับความไม่ได้ ตีความโจทย์
ไม่เป็ น ทัง้ ที่เมื่ออ่านให้ฟังก็สามารถตอบได้ถูก

ชนิดของ LD
LD แบ่งออกได้เป็ น 3 ชนิด ได้แก่
1. ความผิดปกติทางการอ่าน (reading disorder)
2. ความผิดปกติทางการเขียน (disorder of written
expression)
3. ความผิดปกติทางการคำนวณ (mathematic disorder
4

อาการของ LD อาจแบ่งได้เป็ น 3 กลุ่ม คือ


1. มีปัญหาในการอ่านหนังสือ (Dyslexia) อาจจะอ่านไม่ออก
หรืออ่านได้บ้าง แต่สะกดคำไม่ถูก ผสมคำไม่ได้ สลับตัวพยัญชนะ
สับสนกับการผันสระ c]t วรรณยุกต์ บางทีสนใจแต่การสะกดคำ ทำให้
อ่านแล้วจับความไม่ได้
2. มีปัญหาในการเขียนหนังสือ (Dysgraphia) ทัง้ ๆที่ร้ว
ู ่าจะเขียน
อะไร แต่ก็เขียนไม่ได้ หรือเขียนได้ช้า เขียนตกหล่น เขียนพยัญชนะ
สลับกัน หรือคำเดียวกันแต่เขียนสองครัง้ ไม่เหมือนกัน บางคนเขียน
แบบสลับซ้ายขวาเหมือนส่องกระจก ลายมือโย้เย้ ขนาดของตัวอักษรไม่
เท่ากัน ขึน
้ ลงไม่ตรงบรรทัด
ไม่เว้นช่องไฟ อาจจะเกิดจากมือและสายตาทำงานไม่ประสานกัน หรือ
การรับภาพของสมองไม่เหมือนคนอื่นๆ
3. มีปัญหาในการคำนวณ (Dyscalculia) อาจจะคำนวณไม่ได้
เลย หรือทำได้แต่สับสนกับตัวเลข ไม่เข้าใจสัญลักษณ์ ไม่เข้าใจค่าของ
ตัวเลข บางคนสับสนตัง้ แต่การจำเครื่องหมายบวก ลบ คูณ หาร ไม่
สามารถจับหลักการได้ เช่น หลักหน่วย หลักสิบ หลักร้อยต่างกัน
อย่างไร บางคนบวกลบเป็ น
เข้าใจเครื่องหมาย แต่ตีโจทย์คณิตศาสตร์ไม่ได้ เช่น ถามว่า 2+2
เท่ากับเท่าไร ตอบได้ แต่ถ้าบอกว่ามีส้มอยู่ 2 ลูก ป้ าให้มาอีก 2 ลูก
รวมเป็ นกี่ลูก เด็กกลุ่มนีจ
้ ะตอบไม่ได้
5

ลักษณะนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
บุคคลที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ มีระดับสติปัญญาปกติ
หรือมากกว่า ไม่ได้เปั ญญาอ่อน
ไม่มีปัญหาทางด้านการเห็น การได้ยิน สติปัญญา หรือออทิสติก หรือ
จากการถูกละทิง้ ละเลย หรือความด้อยโอกาสอื่น ๆ อาจแสดงออกมา
เป็ นความบกพร่องทางการฟั ง การพูด การเขียน การคำนวณ
เป็ นต้น ซึ่งจะส่งผลต่อการเรียน ทำให้เรียนไม่ได้ตามศักยภาพที่มีอยู่
เด็กพวกนีถ
้ ึงแม้จะเรียนพร้อมกับ
เด็กคนอื่น แต่กเ็ รียนรู้ไม่ได้ แบ่งออกเป็ น 3 กลุ่ม ดังนี ้
1. ความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการอ่าน
- อาจจะอ่านไม่ออกหรืออ่านได้บ้าง สะกดคำไม่ถูก ผสมคำ
ไม่ได้ สลับตัวพยัญชนะ สับสน กับการผันสระ อ่านตกหล่น ข้ามคำ
อ่านไม่ได้ใจความจนถึงขัน
้ อ่านไม่ออกเลย
- อ่านช้า ลำบากในการอ่าน จะต้องสะกดคำก่อนจึงจะ
อ่านได้
- อ่านออกเสียงไม่ชัดเจน
- อ่านเดาจากอักษรตัวแรก เช่น บาท เป็ นบทที่, เมื่อนัน

เป็ น บัดนัน

6

- อ่านข้าม อ่านเพิ่ม อ่านสลับคำ เช่น กรน อ่านเป็ น


นรก, กลม เป็ น กมล เพราะ ความสามารถในการรับตัวหนังสือเข้าไป
แล้วแปลเป็ นตัวอักษรเสียไป
- ผันเสียงวรรณยุกต์ไม่ได้
- อ่านแล้วจับใจความสำคัญหรือเรียงลำดับเหตุการณ์
ของเรื่องที่อ่านไม่ได้
- สำหรับเด็กที่มีความสามารถในการคำนวณ แต่มีปัญหา
ในการอ่าน ก็ไม่สามารถ
ทำคะแนน ได้ดีเวลาสอบ เนื่องจากโจทย์ที่ให้ต้องอ่านเพื่อตีความหมาย

2. ความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการเขียน
- รู้ว่าจะเขียนอะไร แต่เขียนไม่ได้ เขียนตก เขียน
พยัญชนะสลับกัน บางคนเขียนแบบ
สลับซ้าย เป็ นขวาเหมือน ส่องกระจก เกิดจากมือและสายตาทำงานไม่
ประสานกัน เขียนกลับหลัง เขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ สลับ
ตำแหน่งกัน (เด็กกลุ่มนีม
้ ักจะเริ่มสังเกตเห็นปั ญหาได้ชัดเจนตอนเริ่ม
เข้าเรียน) เช่น ก ไก่ เขียนหันหัวไปทางขวาแทนที่จะเป็ นทางซ้าย
- ลากเส้นวนๆ ซ้ำๆ ไม่แน่ใจว่าจะเขียนหัวเข้าหรือ
หัวออก เขียนพยัญชนะหรือตัวเลข
สลับกัน เช่น น เป็ น ม, ภ เป็ น ถ, ด เป็ น ค, b เป็ น d, 6 เป็ น 9
เป็ นต้น
7

- เรียงลำดับอักษรผิด เช่น สถิติ เป็ น สติถิ


- เขียนเรียงลำดับ ก-ฮ ไม่ได้ แต่บอกให้เขียนทีละตัวได้
- เขียนไม่ตรงบรรทัด ขนาดตัวหนังสือเล็กใหญ่ไม่เท่ากัน
ไม่มีช่องไฟ
- จับดินสอแน่นมาก ลบบ่อยๆ เขียนทับคำเดิมหลายๆ
ครัง้
- สะกดคำผิด เช่น บดบาด (บทบาท) แพด (แพทย์)
3. ความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการคิดคำนวณ อาจ
จะคำนวณไม่ได้เลยหรือทำได้แต่สับสน กับตัวเลข ไม่เข้าใจสัญลักษณ์
ไม่เข้าใจค่าของตัวเลข ไม่สามารถ
จับหลักการ บวก ลบ คูณ หารได้
- เขียนตัวเลขผิด ไม่เข้าใจเครื่องหมาย สัญลักษณ์ ค่า
ของตัวเลขหลักต่าง ๆ หรือไม่เข้าใจวิธีการคำนวณตัวเลข
- นับเลขไปข้างหน้าหรือนับย้อนหลังไม่ได้
- จำสูตรคูณไม่ได้
- จะคำนวณเลขจากซ้ายไปขวา แทนที่จะเป็ นจากขวาไป
ซ้าย
- ไม่เข้าใจเรื่องเวลา
- เขียนเลขสลับตำแหน่งกัน เช่น จาก 12 เป็ น 21
8

- เอาตัวเลขน้อยลบออกจากตัวเลขมาก เช่น 35 - 8 = 27
เด็กจะเอา 5 ลบออก 8 เพราะมองว่า 5 เป็ นเลขจำนวนน้อย แทนที่จะ
มองว่า 5 เป็ นตัวแทนของ 15

จะทราบได้อย่างไรว่าเด็กคนไหนเป็ น LD
แม้เด็ก LD จะไม่สามารถวินิจฉัยได้ชัดเจนในเด็กต่ำกว่า 6
ขวบ แต่ก็สามารถค้นหากลุ่มเสี่ยงได้ตงั ้ แต่ชน
ั ้ อนุบาล โดยเฉพาะในกลุ่ม
ที่ใช้มือไม่เก่ง งุ่มง่าม ซุกซน พูดช้า การทรงตัวไม่ดี สับสนทิศทาง
สับสนซ้ายขวา หรือเด็กที่อายุเกินชัน
้ ป. 1 แล้วยังพูดไม่ชัด มีปัญหา
เรื่องของการใช้
ภาษา พูด อธิบายหรือเล่าอะไรไม่ได้ ประโยคไม่ปะติดปะต่อ ก็อาจจะมี
LD ร่วมด้วย และเมื่อถึงวัยประถมศึกษาที่ต้องแสดงความสามารถ
ทางการเรียนแยกย่อยรายวิชา อาการของโรค ก็จะแสดงให้เห็นเด่นชัด
ขึน

นอกจากนี ้ ครู ผู้ปกครองสามารถสังเกตได้ว่า เด็กมีอาการ
ของโรค LD หรือไม่ ด้วยการดูจากพฤติกรรมในชีวิตประจำวันของเด็กที่
มักจะไม่มีระเบียบในชีวิต ขีล
้ ืม หาของไม่ค่อยเจอทัง้ ที่อยู่ใกล้ตัว เด็ก L
D จะไม่ค่อยสนใจอ่าน เขียน และทำการบ้าน มีลายมือสูงๆ ต่ำๆ ผอมๆ
อ้วนๆ ปะปนกันในหนึ่งบรรทัด เขียนไม่เป็ นระบบ ทำงานที่ได้รับมอบ
หมายอย่างไม่รอบคอบ ผิดๆ ถูกๆ
9

อย่างไรก็ตาม ผู้ปกครองที่สงสัยว่าลูกเป็ น LD สามารถพาลูกไปรับการ


ทดสอบและรับการช่วยเหลือได้ที่ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ (ประสานมิตร) และโรงพยาบาลที่มีเครื่องทดสอบ
เช่น โรงพยาบาลของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่, มหาวิทยาลัยขอนแก่น
และมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เป็ นต้น

ภาวะแอลดีมีผลต่อเด็กอย่างไร  ?
์ รีในตนเองต่ำ เด็กอาจจะรู้สึกว่าตนเองแตกต่าง
ทำให้มีศักดิศ
จากเพื่อน บ่อยครัง้ มักคิดว่าตนเองด้อยกว่าคนอื่นหรือแย่กว่าคนอื่น
ทำให้เด็กคิดว่าตนเองจะล้มเหลวทางการเรียน ไม่คาดหวังอะไรมาก
เกี่ยวกับผลการเรียน ทำให้ไม่ตงั ้ ใจเรียนจนสูญเสียความสนใจทางการ
เรียนไปทักษะทางสังคมช้าหรือไม่เหมาะสมกับวัย เช่นเด็กบางคนอาจ
ชอบเล่นกับเด็กที่อายุน้อยกว่า การควบคุมตนเองหรือการแสดงออก
ทางพฤติกรรมไม่เหมาะสม
เด็ก LD หลายคนจะค่อยๆ สะสมความรู้ว่าตนล้มเหลวและเริ่ม
มีอาการหดหู่ ซึมเศร้า ซึ่งอาจทำให้เกิดปั ญหาต่อเนื่องถึงกับมี
ความเครียดสูง มีอาการเจ็บป่ วยทางกาย ละเมอ เกลียดชัง ก้าวร้าว จึง
10

ควรที่พ่อแม่ผู้ปกครองต้องเฝ้ าระวังและเอาใจใส่ใกล้ชิด เพื่อร่วมกันลด


หรือแก้ปัญหาดังกล่าว เราสามารถเข้าใจเด็ก LD ได้ โดยไม่ทำให้
เด็ก LD เกิดความแตกต่างจากเพื่อหรือ คิดว่าตนเองมีปมด้อย ถึง
เวลาแล้วที่จะช่วยกันแก้ไขเด็ก LD โดยการมาเข้าใจเขาเหล่านัน
้ กัน
เถอะ
แม้แอลดีจะไม่สามารถวินิจฉัยได้ชัดเจนในเด็กต่ำกว่า 6 ขวบ
แต่เราก็สามารถค้นหากลุ่มเสี่ยงตัง้ แต่ชน
ั ้ อนุบาล โดยเฉพาะในกลุ่มที่ใช้
มือไม่เก่ง งุ่มง่าม ซุกซน พูดช้า การทรงตัวไม่ดี สับสนทิศทาง สับสน
ซ้ายขวา หรือเด็กที่อายุเกินชัน
้ ป.1 แล้วยังพูดไม่ชัด มีปัญหาเรื่องของ
การใช้ภาษา พูด อธิบายหรือเล่าอะไรไม่ได้ ประโยคไม่ปะติดปะต่อ ก็
อาจจะมีแอลดีร่วมด้วย และเมื่อถึงวัยประถมที่สภาพแวดล้อมเริ่มผลัก
ดันให้ต้องแสดงความสามารถ การเรียนแยกย่อยเป็ นรายวิชาและเอา
จริงเอาจังมากขึน
้ อาการของโรคก็จะแสดงให้เห็นเด่นชัดขึน

จะช่วยเหลือเด็ก LD ได้อย่างไร
เมื่อสงสัยว่า เด็กเป็ น LD ซึง่ ถือว่าเป็ นความพิการชนิดหนึ่ง
ที่เด็กจะต้องได้รับความช่วยเหลือทางการแพทย์และการศึกษาตาม
กฎหมาย ครูมีสิทธิที่จะส่งเด็กไปพบแพทย์ เมื่อตรวจพบ แพทย์จะเป็ น
ผู้ออกใบรับรองเพื่อให้เด็กได้รับความช่วยเหลือ ซึ่งทัง้ พ่อแม่ ครู และ
แพทย์ต้องทำงานร่วมกันในการให้ความช่วยเหลือเด็ก
11

หลักสำคัญในการช่วยเหลือเด็กที่มีภาวะ LD
1.  ครูและผู้ปกครองควรปรับทัศนคติให้เป็ นบวกในการมอง
ปั ญหาของเด็ก ควรมองว่า LD เป็ นความผิดปกติ หรือความพิการอย่าง
หนึง่ ที่ทำให้เด็กที่เป็ น LD สมควรได้รับความช่วยเหลือเป็ นพิเศษแตก
ต่างจากเด็กปกติทั่วไป (การให้ความช่วยเหลือเป็ นพิเศษไม่ได้
หมายความว่าเป็ นการให้ “อภิสิทธิ”์ กับเด็กที่เป็ น LD)
2 แก้ไขความบกพร่องในกระบวนการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค
เฉพาะ
3.  จัดทำแผนการศึกษาเฉพาะรายบุคคล (Individualized
Education Plan-IEP) สำหรับเด็กที่เป็ น LD ทุกคน วิธีการสอน
จำนวนชั่วโมงการเรียน และเกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินผลต้องมีการปรับ
เพื่อให้เข้ากับความบกพร่องและความต้องการของเด็กที่เป็ น LD แต่ละ
ราย
4. แก้ไขปั ญหาทางอารมณ์ที่มักจะพบร่วมด้วยบ่อย ๆ ในเด็ก
ที่เป็ น LD
5. ส่งเสริมจุดแข็งหรือความสามารถอื่น ๆ ของเด็ก ให้คำชม
ส่งเสริมให้กำลังใจ และทำทุกวิถีทางเพื่อให้เด็กเกิดความภาคภูมิใจใน
ตัวเอง รู้สึกว่าตัวเองมีความสามารถ มีคณ
ุ ค่า กระตือรือร้น ที่จะพัฒนา
ปมเด่น และแก้ไขจุดบกพร่องของตัวเอง

วิธีการช่วยเหลือเด็กที่มีภาวะ LD
12

1. สอนเด็กในช่องทาง (channel) ที่เด็กรับได้ เช่น หากเด็ก


มีปัญหาในด้านการรับเสียงแต่การ รับภาพปกติ ก็สอนโดยใช้ภาพ เช่น
ให้ดูรูปมากขึน
้ หากเด็กมีปัญหาในการรับภาพ ก็สอนโดยใช้เสียงมาก
ขึน

2.  ใช้วิธีเรียนรู้หลายรูปแบบ (multimodal techniques)
ตามช่องทางที่เด็กเรียนรู้ได้ดี
3.  ใช้เครื่องมือต่าง ๆ เข้ามาช่วยเด็ก เช่น เด็กที่มีปัญหาการ
เขียนอาจใช้เครื่องพิมพ์ดีดหรือเครื่องคอมพิวเตอร์มาช่วย เด็กที่มีปัญหา
การคำนวณควรอนุญาตให้ใช้เครื่องคิดเลข ส่วนเด็กที่มีปัญหาการอ่านก็
ใช้เครื่องอัดเทปมาช่วย โดยคุณครูหรือผู้ปกครองอ่านหนังสือใส่เทป
แล้วเปิ ดให้เด็กฟั ง เป็ นต้น
4.  สอนเสริม โดยจัดให้เด็กเรียนในห้องเรียนพิเศษที่จัดไว้
สอนเด็กที่มีปัญหาคล้าย ๆ กัน หรือให้มีการเรียนตัวต่อตัว ที่เรียกว่า
resource room หรือ remedial classroom
5.  สอนไปตามขัน
้ ตอนเท่าที่เด็กรับได้ ไม่ควรกดดันหรือเร่ง
เด็กและจะต้องปรับให้เหมาะสมกับเด็กเป็ นราย ๆ ไป โดยการเขียน
แผนการศึกษาเฉพาะรายบุคคล (Individualized Education Plan-
IEP)
6. ปรับเกณฑ์และวิธีการที่ใช้ในการประเมินผล เช่น ใช้เป็ น
ระบบ Progressive โดยเด็กแข่งกับตัวเอง ไม่ต้องถูกตัดเกรดกับเพื่อน
13

ๆ วัดความก้าวหน้าของตัวเด็กเองเป็ นหลัก เด็กควรได้เวลาในการสอบ


นานกว่าเด็กปกติ หากเป็ นไปได้
7. สอนซ้ำ ๆ จนเด็กสามารถก้าวหน้าทีละชัน
้ เน้นไปในสิ่งที่
เด็กทำได้ ให้กำลังใจและชมเชยเมื่อเด็กก้าวหน้าขึน

8. ใช้ส่ อ
ื การสอนที่สนุก เช่น เล่นเป็ นเกมต่าง ๆ ที่สามารถ
กระตุ้นประสาทสัมผัสได้หลายด้านพร้อมกัน
9. แก้ไขอาการสมาธิสน
ั ้ ที่อาจมีร่วมด้วย โดยอาจใช้ยา
methylphenidate
10. ดูแลช่วยเหลือปั ญหาทางอารมณ์ที่เกิดร่วมด้วย เช่น โรค
ซึมเศร้า หรือวิตกกังวล
11. มองหาจุดเด่น-จุดด้อยของเด็ก ช่วยให้เด็กมีความรู้สึกมี
คุณค่าในตัวเอง (Self-esteem) สูงขึน
้ โดยค้นหาจุดเด่นของเด็ก ความ
สามารถในด้านอื่นที่ไม่ใช่การเรียน และส่งเสริมให้ เด็กได้มีโอกาส
ประสบความสำเร็จ เน้นการให้คำชมเพื่อให้เด็กเกิดกำลังใจ
12. แก้ไขความสัมพันธ์ในครอบครัว ครอบครัวของเด็กที่
เป็ น LD มักจะมีความตึงเครียด เนื่องมาจากการเรียนของเด็กและพ่อ
แม่มักไม่เข้าใจปั ญหาที่เด็กมี การอธิบายพ่อแม่ให้มีความเข้าใจที่ถูกต้อง
และเปลี่ยนทัศนคติจากการตำหนิเด็กมาเป็ นการช่วยเหลือเด็กเป็ นสิง่
สำคัญมาก บางครัง้ นักเรียนในห้องเรียน
ท่าทางจะฉลาด มีความคล่องตัว การพูดจาฉะฉาน กล้าแสดงออก
14

ตอบคำถามดีมาก แต่พอถามวกมาเรื่องเรียนเด็กเหล่านีก
้ ับมีแววว่าจะ
เรียนไม่เป็ นที่พึงพอใจ (ศาตราจารย์ศรียา นิยมธรรม

บ้านและการบ้านของเด็ก LD
การบ้านของเด็ก LD ที่ครูจะให้ ครูควรเข้าใจและความ
สามารถของเด็ก LD ด้วย เพราะเด็กกลุ่มนีค
้ วามสามารถทำการบ้านได้
ไม่เหมือนหรือเท่ากับเด็กปกติ ครูจะต้องปรับการให้การบ้านที่เหมาะ
สม และครูต้องระวังที่จะไม่ไปกดดันเด็กมากเกินไปเกี่ยวกับเรื่อง
การบ้าน สำหรับเด็ก LD แล้ว เรื่องการบ้านนัน
้ เป็ นเรื่องยาก น่าเบื่อ
มันยุ่งยากทัง้ วันทุกวัน ควรให้การบ้านเด็กกลุ่มนีเ้ ท่าที่เขาสามารถ
ทำได้ จะทำให้เด็กมีความภาคภูมิใจที่สามารถทำการบ้านด้วยตนเองได้
พร้อมตรวจการบานเด็ก LD เหมือนเด็กปกติ
สภาพแวดล้อมเริ่มผลักดันให้ต้องแสดงความสามารถ การ
เรียนแยกย่อยเป็ นรายวิชาและเอาจริงเอาจังมากขึน
้ อาการของโรคก็จะ
แสดงให้เห็นเด่นชัดขึน

คำแนะนำแก่ครูและผู้ปกครองของเด็ก LD
                   1. พยายามใจเย็นๆ เมื่อคุณฟั งเด็กพูด หรือรอเด็ก
เขียน   เพราะเด็กอาจพูดหรือเขียนได้ไม่ คล่องและต้องใช้เวลาสัก
นิด
                   2. แสดงความรักต่อเด็ก
15

                   3. มองหาจุดแข็งและความสามารถอื่นๆ พยายาม


สร้างจุดแข็งเหล่านัน
้ ให้ทดแทนความบกพร่องที่เด็กมี
                   4. อย่าลืมชมเมื่อเด็กทำอะไรได้ดี  แม้จะเป็ นสิ่งเล็ก
น้อยก็ตาม
                   5. ยอมรับนับถือในตัวเด็ก   ว่าเด็กก็เป็ นบุคคลที่มี
ความหมายและมีสิ่งดี ๆ ในตนเอง
เหมือนกัน
                   6. มีความคาดหวังที่เหมาะสม
                   7. เมื่อเด็กทำผิด   เช่น  เขียนผิด   อ่านผิด   จงอย่า
บ่น   ช่วยเด็กแก้ไขข้อที่ผิดอย่างอดทน
                   8. อ่านหนังสือสนุกๆ กับเด็ก  กระตุ้นให้เด็กถาม
คำถาม เล่าเรื่อง และแสดงความคิดเห็น    
9. ใช้กระดาษที่มีสีสดใส (a bright construction
paper) ทาบบนข้อความที่จะอ่านเพื่อช่วย ให้นักเรียนสามารถจดจ่ออยู่
กับข้อความที่อ่าน

กิจกรรมบำบัดกับเด็กแอลดี 
   กิจกรรมบำบัดเป็ นอีกหนึ่งวิชาชีพที่สามารถช่วยเหลือเด็ก
กลุ่มนีใ้ นการพัฒนาความสามารถในด้านการเรียนให้เพิ่มขึน
้ ได้ โดยนัก
16

กิจกรรมบำบัดจะให้การช่วยเหลือเด็กในองค์ประกอบพื้นฐานที่
เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ของเด็ก เช่น

- ส่งเสริมช่วงความสนใจและสมาธิในเด็กที่มีช่วงความสนใจ
และสมาธิสน
ั้
- ลดพฤติกรรมไม่อยู่นิ่ง
- ส่งเสริมทักษะการควบคุมตนเองอดทนต่อความคับข้องใจ
- ส่งเสริมทักษะความจำด้านสายตา
- ส่งเสริมทักษะด้านการเคลื่อนไหว                   
โดยใช้กิจกรรมที่ผ่านการวิเคราะห์โดยนักกิจกรรมบำบัด
เป็ นสื่อในการส่งเสริมความสามารถให้กับเด็กในแต่ละด้านที่เด็กมี
ปั ญหา หลังจากที่เด็กได้เข้ารับการประเมินกิจกรรมบำบัดแล้ว ถ้า
คุณพ่อคุณแม่หรือท่านผู้ปกครอง เคยสอนการบ้านหรือดูการทำงานใน
สมุดงานของลูกท่านเอง แล้วพบว่า เอ๊ะ ทำไมลูกเราทำงานสกปรก
เลอะเทอะ ทำการบ้านไม่ถูก เขียนตัวหนังสืออ่านไม่ออก เขียนไม่
เป็ นคำไม่เป็ นคำ อย่าเพิ่งไปด่าว่ากล่าวลูกว่าลูกไม่ฉลาด ขีเ้ กียจ
หรือไม่สนในการเรียน เพราะจะทำให้ลูกหมดกำลังใจ เพราะเขาอาจ
จะตัง้ ใจเรียน แต่ด้วยเหตุผลบางอย่างที่เราไม่ร้ท
ู ำให้เขาเรียนไม่ได้
อ่านไม่ออก เราควรสังเกต สอบถาม ทดสอบ เช่นการให้บวกเลขง่าย
ๆ การให้ลูกเขียนตามคำบอกคำง่าย ๆ การให้เขาอ่าหนังสือให้ฟัง
แต่ถ้าสิง่ เหล่านี ้ เขาทำไม่ได้ตามวัยที่ควรจะทำได้ ไม่ใช่เหตุผลที่ว่า
เพราะ ลูกเราขีเ้ กียจ หรือไม่สนใจการเรียน สิง่ เหล่านีค
้ ือสัญญาณ
17

เตือนว่าลูกคุณอาจมีความบกพร่องทางการเรียนรู้หรือศัพท์ทางการ
แพทย์เรียกว่า LD

เด็ก LD ก็เก่งได้
แม้จะเรียกว่าเป็ นเด็กที่บกพร่องด้านการเรียนรู้ แต่เด็ก LD ก็
ยังเรียนรู้ได้นะคะ ไม่อย่างนัน
้ เด็กที่เคยถูกไล่ออกจากโรงเรียนเพราะ
อ่านหนังสือไม่ออก อย่างไอน์สไตน์ คงไม่ประสบความสำเร็จเป็ นนัก
วิทยาศาสตร์ช่ อ
ื ก้องได้หรอก การช่วยเหลือเด็ก LD ที่สำคัญก็คือ การ
จัดการศึกษาพิเศษในรูปแบบที่เหมาะสมกับเด็กในแต่ละรายนั่นเอง เด็ก
LD แต่ละคนจะมีสไตล์การเรียนรู้ที่ไม่เหมือนกัน ต้องเลือกใช้การเรียน
ในช่องทางที่เขาสามารถรับได้ มีการปรับเปลี่ยนวิธีการสอน และการ
ประเมินผล ให้ตรงจุดประสงค์การเรียนรู้นน
ั้
ดังกรณีตัวอย่างที่ ศ.ศรียา นิยมธรรม ภาควิชาการศึกษาพิเศษ
คณะศึกษาศาสตร์ มศว.ให้ไว้ว่า... “ในเด็ก LD ที่มีปัญหาเรื่องการอ่าน
ถ้าให้มาทำข้อสอบแบบเป็ นตัวเลือก 100 ข้อ เขาจะอ่านและกามั่วเลย
เพราะเขาจะเห็นเป็ นตัวหนังสือกระโดดอยู่ อ่านไม่ร้เู รื่อง ไม่อยากอ่าน
ดังนัน
้ การแก้ไขจึงต้องมามองที่จุดประสงค์ว่าข้อสอบนีจ
้ ะวัดความ
สามารถในการอ่านของเด็ก หรือวัดความเข้าใจในเนื้อหา หากเป็ นอย่าง
หลัง ก็อาจเปลี่ยนวิธีการสอบมาเป็ นอ่านให้ฟังแทนที่จะให้เด็กอ่านเอง
เด็กก็จะตอบได้ ซึ่งในเด็กบางคนการเรียนรู้จากการฟั งและใช้ภาพ
ประกอบจะช่วยให้เข้าใจเนื้อหาที่เรียนได้” นี่เองคือโจทย์สำคัญ
18

สำหรับครูและผู้ปกครอง ที่จะต้องช่วยเหลือการเรียนรู้ของลูก เพราะ


เมื่อเด็กได้รับการดูแลให้เกิดกระบวนการเรียนรู้อย่างเหมาะสม เด็กจะ
เริ่มสนใจอ่านเขียนมากขึน

อย่างไรก็ตามเรารู้แล้วว่า เด็ก LD มีความบกพร่องเฉพาะเรื่อง
เรียน ดังนัน
้ ในทักษะด้านอื่นๆ เช่น กีฬา ดนตรี ศิลปะ เด็กจึงยัง
สามารถพัฒนาได้ หากมีการส่งเสริมที่ถูกทาง แม้ความบกพร่องทางการ
เรียนรู้จะไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่สามารถเรียนรู้เพื่อเอาชนะ
ข้อบกพร่องที่มีอยู่นไี ้ ด้ค่ะ ลูกจะก้าวข้ามกำแพงแห่งอุปสรรคนีไ้ ปได้
หรือไม่ นอกจากขึน
้ อยู่กับตัวเด็กเองและการได้รับการ
ดูแลที่ถูกต้องแต่เนิ่นๆ แล้ว ในส่วนความรัก ความเข้าใจและกำลังใจ
ของครอบครัวก็เป็ นสิ่งสำคัญนะคะ...แล้วจะพบว่าปฏิหาริย์นน
ั ้ มีจริง
อาการอย่างหนึ่งที่เราพบบ่อยมากคือ เด็กซน เด็กดื้อ ถ้า
เด็กคนไหนซน หรือดื้อ
คนสมัยก่อนจะบอกว่าเป็ นเด็กฉลาด เพราะเด็กเหล่านีช
้ อบคิด ชอบทำ
หรือเรียกง่าย ๆว่า การริเริ่มในการทำอย่างนัน
้ อย่างนีเ้ สมอ ถ้าเด็ก
ทำงานแล้วสำเร็จเป็ นชิน
้ เป็ นอันก็ดีไป แต่ถ้ามีแต่ริเริ่มแล้วทำไม่เสร็จ
ค้างไว้อย่างนัน
้ สนใจแต่สิ่งที่เข้ามาใหม่เรื่อย ๆ มีความสนใจในการ
ทำกิจกรรมน้อย เราจึงควรมาศึกษาว่า นัน
้ คืออาการสมาธิสน
ั ้ หรือ
เปล่า เพื่อความเข้าใจเด็กสมาธิสน
ั ้ /ซน สำหรับผู้ปกครองและครู
ปั จจุบันนี ้ วงการแพทย์ได้ศึกษาและพบว่าโรคสมาธิ
สัน
้ มีจริง และมีมากด้วยคือประมาณ 2-5% ของเด็กวัยเรียนเป็ นโรคนี ้
19

นั่นคือ ห้องเรียนหนึ่งจะมีเด็กเป็ นโรคสมาธิสน


ั ้ ประมาณ 1-2 คน คำว่า
"  สมาธิสน
ั ้ " ทำให้เราเข้าใจผิดคิดว่าเด็กมีปัญหาสมาธิ แต่ในความเป็ น
จริงแล้ว งานวิจัยชีใ้ ห้เห็นว่าปั ญหาของเด็กที่เป็ นโรคนีม
้ ิใช่อยู่ที่การ
ควบคุมสมาธิเพียงอย่างเดียว แต่อยู่ที่การควบคุมตนเองในหลายด้าน
เช่น สมาธิ อารมณ์ การเคลื่อนไหว ฉะนัน
้ เด็กที่ถูกวินิจฉัยว่าเป็ น " โรค
สมาธิสน
ั ้ " จึงมักมีอาการร่วมหลายอย่างนอกจากสมาธิบกพร่อง เด็กมัก
จะซน ใจร้อน ไม่เป็ นระเบียบ ฯลฯ

สรุปความเป็ น LD ของนักเรียน ที่ครูควรเข้าใจและพร้อมที่จะต้อง


แก้ไข
ผลวิจัยเด็กไทยอ่านหนังสือไม่ออกเขียนไม่ได้ จากภาควิชาการ
ศึกษาพิเศษ มศว.คว้ารางวัลผลงานวิจัยดีเด่น ประจำปี 2546 จากสภา
วิจัยฯ เผยยอดเด็กอ่านหนังสือไม่ออกเขียนไม่ได้มีจำนวน 6 แสนคน
ถือเป็ นเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ หรือ LD ปั ญหาเด็กกลุ่มนี ้
ถ้าไม่ช่วยแก้ไข ส่งผลถึงปั ญหาสังคมต่อไป ติงครูไม่เข้าใจดุด่าเด็กจน
เด็กเกลียดโรงเรียน ตัวการสร้างปมให้เด็กก้าวร้าว
ศ.ดร.ผดุง อารยะวิญญู หัวหน้าภาควิชาการศึกษาพิเศษ
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว.) เปิ ดเผยถึง
งานวิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมสำหรับเด็กที่อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ ซึ่งเป็ น
ผลงานวิจัยที่ได้รับรางวัลจากสำนักงานคณะกรรม การสภาวิจัยแห่ง
ชาติ(วช.) ประจำปี 2546 ว่า ปั จจุบันมีจำนวนเด็กไทยที่อ่านไม่ออก
20

เขียนไม่ได้มากกว่า 6 แสนคน คิดเป็ นร้อยละ 4.5 ของประชากรในวัย


เรียนทัง้ หมดทัง้ ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
ศ.ดร.ผดุง กล่าวต่อไปว่า นอกจากเด็กแล้ว ยังพบว่าผู้ใหญ่เอง
ก็ประสบปั ญหานี ้ ซึ่งจะแสดงอาการให้เห็นในหลายรูปแบบด้วยกัน
อาทิ ลืมง่าย เช่นเพิ่งจะทำอะไรเสร็จก็จะลืม ทำงานไม่เป็ นระเบียบ เมื่อ
ลงมือทำอะไรสิ่งนัน
้ ก็เลอะเทอะ ไม่เข้าใจในเรื่องที่อ่าน อ่านจับใจความ
ไม่ได้ สิ่งที่อยากจะฝากให้ครูทุกท่านได้เข้าใจและทำหน้าที่ของ
ความเป็ นครูให้สมกับจรรณยาบรรณวิชาชีพครูทีเขียนไว้ สำคัญครู
ควรมีจิตสำนึกความเป็ นครูให้มากควรตระหนักในหน้าที่หลักให้มาก
เด็ก LD เป็ นคนไม่ละเอียด ไม่พินิจพิจารณา มองลวกๆ แต่เด็ก
ลุ่มนีม
้ ีความโดดเด่นเรื่องดนตรี กีฬา บางคนเป็ นหัวโจก บางคนขโมย
นอกจากนี ้ ในรายที่รับการอบรมสั่งสอนไม่ดี มักจะหลอกครูอาจารย์ใน
ห้องเรียน ครูจึงมองเด็ก LD เป็ นเด็กไม่เอาถ่าน สร้างแต่ปัญหา ที่น่า
สนใจไปกว่านัน
้ ก็คือ
ขณะนีป
้ ั ญหาเด็ก LD เป็ นปั ญหาระดับชาติ เริ่มจากในโรงเรียน
ครูไม่เข้าใจเด็กจึงสอนเด็ก LD ไม่ได้ มักตำหนิเด็กโดนใช้คำพูดเชิงลบ
กับนักเรียนที่อ่านหนังสือไม่ออกว่า โง่ ฯลฯ เมื่อครูพูดอย่างนัน
้ เพื่อนๆ
ที่อยู่ในห้องก็มองเช่นเดียวกับครู ส่งผลให้เด็กไม่อยากไปโรงเรียน เด็ก
บางคนปรับตัวไม่ได้ก็มีพฤติกรรมก้าวร้าว บางคนขว้างปาข้าวของ เกเร
สร้างปั ญหาขึน
้ ในโรงเรียน โดนทำโทษ ในที่สุดก็ไม่มาโรงเรียน
อยากแนะนำว่าครูไม่ควรตำหนิเด็กว่าอ่านหนังสือไม่ออก
21

ครูควรจะเฉยๆ ครูควรมีจรรยาบรรณความเป็ นครูบ้าง แต่ควรจะพูด


ลักษณะให้กำลังใจ อยากถามว่าครูทำได้หรือไม่ หากครูยังทำตัวเช่นเดิม
เด็กจะเกลียดโรงเรียน เมื่อไม่มาโรงเรียนก็จะสร้างปั ญหานอกโรงเรียน
ก้าวร้าว ตัง้ ตัวเองเป็ นนักเลง
เมื่อปั ญหาขยับสู่ระดับนโยบายคือระดับชาติ กระทรวง
ศึกษาธิการ (ศธ.)ประกาศว่าเด็กอ่านหนังสือไม่ออก ต้องแก้ไขปั ญหา
อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้อย่างเร่งด่วน ประกาศอย่างไรก็แก้ไม่ได้ ถ้าเราไม่
สนใจเด็กกลุ่ม LD ซึง่ มีอยู่ในประเทศมาก

แนะจัดสอนเป็ นรายบุคคล
ศ.ดร.ผดุง กล่าวต่อถึงวิธีการสอนเด็กที่มีความ
บกพร่องทางการเรียนรู้ว่า ควรจัดการเรียนการสอนเป็ นรายบุคคล
เนื่องจากเด็กมีความหลากหลาย แต่สามารถให้เด็กเรียนรวมกับเพื่อน
คนอื่นๆ ในชัน
้ ได้ การจัดทำแผนการเรียนให้กับเด็กลุ่มนีต
้ ้องมีคณะ
ทำงาน ประกอบด้วย ผู้ปกครอง ผู้บริหารโรงเรียน ครูสอนเด็กปกติ ครู
การศึกษาพิเศษ นักจิตวิทยา และผู้เชี่ยวชาญด้านเด็ก LD
สำหรับปั ญหาที่พบในการสอนเด็ก LD นัน
้ อยู่ที่ตัวครูที่ไม่มีวิธีการสอน
ที่เหมาะสมให้เด็กยิ่งไปกว่านัน
้ ครูยังขาดคู่มือ แบบฝึ ก ตลอดถึง
นวัตกรรมที่จะนำมาสอนเด็กให้สามารถเรียนได้ ปั จจุบันนวัตกรรม

@@@ การที่จะทำให้ประสบผลสำเร็จในการแก้ไข เด็ก LD


สำคัญที่สุดคือ ตัวครูต้องเอาใจใส่นักเรียนมีการปลุกจิตสำนึกให้ทุก
22

คนเข้าใจ มีความเมตตา สงสาร และช่วยเหลือเด็ก LD ไม่ทำให้


เขาคิดว่าเป็ นส่วนเกินหรือบกพร่อง หรือแตกต่างจากเพื่อน ๆ ถ้า
ทำได้จะประสบผลสำเร็จในการช่วยเด็ก LD ได้ ความภาคภูมิใจก็
จะเกิดขึน
้ กับครูคนนัน

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่ องทางการเรียนรู้

ลักษณะความ
ประเภทของการช่วย
บกพร่อง การช่วยเหลือและอำนวย
เหลือ
ของนักเรียนที่มี ความสะดวกด้านการวัด และ
และอำนวยความ
ความบกพร่อง ประเมินผลที่ควรคำนึงถึง
สะดวก
ทางการเรียนรู้
ด้านการอ่าน - การนำเสนอข้อสอบ - มีผู้อ่าน/ เครื่องอ่านข้อสอบให้ฟัง
(presentation) - เทปเสียง หรือซีดี
- โปรแกรมอ่านหน้าจอ(Screen
reader)
- บริการอ่านข้อสอบ
- การตอบข้อสอบ - เหมือนเด็กทั่วไป
(response)
- การจัดสภาพแวดล้อม - เหมือนเด็กทั่วไป
(setting) - ปรับสถานที่สอบ เพื่อนักเรียนจะได้
ไม่ ไปทำความรบกวนให้กับผู้อ่ น
ื หาก
23

จำเป็ น
- การกำหนดเวลาสอบ - ให้เวลาเพิ่มเติม เช่น เพิ่มเวลาในการ
และ ตารางสอบ สอบ เพิ่มเวลาในการอ่าน เพื่อให้
(timing and นักเรียน ระลึกถึงคำที่เคยอ่าน
scheduling)
ด้านการเขียน - การนำเสนอข้อสอบ - พิมพ์ หรือพูดโดยใช้ wor
(presentation) d processor
- ใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีที่ช่วยในการ
สะกด คำและ ไวยากรณ์ เช่น เครื่อง
มือ/ อุปกรณ์อิเลคทรอนิกส์ที่ช่วยใน
การสะกดคำ การสะกดคำโดยใช้
คอมพิวเตอร์
- การตอบข้อสอบ - พูดบอกคำตอบผ่านผู้ช่วยเขียน
(response) (scribe)
- พิมพ์ หรือพูดโดยใช้ word
processor
- ใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีที่ช่วยในการ
สะกดคำและ ไวยากรณ์ เช่น เครื่อง
มือ/ อุปกรณ์อิเลคทรอนิกส์ที่ช่วยใน
การสะกดคำ การสะกดคำโดยใช้
คอมพิวเตอร์
- วิธีสอบปากเปล่า
- การจัดสภาพแวดล้อม - เปลี่ยนแปลงสถานที่สอบ เพื่อ
(setting) นักเรียน
24

จะได้ไม่ไปทำความรบกวนให้กับผู้อ่ น

- การกำหนดเวลาสอบ - ให้เวลาเพิ่มเติม เช่น เพิ่มจำนวน
และ ชั่วโมงสอบ
ตารางสอบ (timing
and scheduling)

ลักษณะความ
ประเภทของการ
บกพร่อง การช่วยเหลือและอำนวย
ช่วยเหลือ
ของนักเรียนที่มี ความสะดวกด้านการวัด และ
และอำนวยความ
ความบกพร่อง ประเมินผลที่ควรคำนึงถึง
สะดวก
ทางการเรียนรู้
ด้านการคิด - การนำเสนอข้อสอบ - การอ่านคำสั่งและข้อคำถามของ
คำนวณ (presentation) แบบทดสอบ
- โปรแกรม Kurzweil 3100
- โปรแกรมอ่านจอภาพ
- โปรแกรมเดซี่
- สร้างแบบทดสอบเฉพาะบุคคลดังนี ้
* เนื้อหาที่ออกข้อสอบต้อง
สอดคล้องกับ เนื้อหาที่สอน
* ปรับลดจำนวนข้อสอบ
* ปรับลด ตัวเลือกและข้อสอบ ดังนี ้
ป.1-3 ควรมี 3 ตัวเลือก
25

ป.4-6 ควรมี 4 ตัวเลือก


* การพิมพ์ตัวเลือกควรเรียงลำดับ
ก. ข. ค.
* หนึ่งหน้ากระดาษควรไม่เกิน 5 ข้อ
* ภาพ สัญลักษณ์ประกอบในการจัด
ทำ
แบบทดสอบ
* ครูช่วยอ่านให้ฟังในกรณีเด็กอ่านไม่
ได้
* ตรวจจากการจัดทำชิน
้ งาน , โครง
งาน
* พูดตอบคำถาม
* คำสั่งไม่ซับซ้อน ถ้าเป็ นไปได้ไม่เกิน
2 คำสั่ง
- การตอบข้อสอบ - นักเรียนบอกคำตอบผ่านผู้ช่วยสอบ
(response) - พิมพ์หรือพูดโดยใช้โปรแกรมการสั่ง
การด้วยเสียง หรือคำพูด
- ใช้โปรแกรมช่วยในการเขียนและ
สะกดคำ
- ใช้การเขียนโน้ต เค้าโครงการเนื้อหา
วิชาและแนวทาง
การเรียนรู้วิชาพื้นฐาน
- โปรแกรมอ่านจอภาพ
- โปรแกรมเดซี่
26

- ใช้อุปกรณ์/ เครื่องคำนวณ
- visual organizers ,graphic
organizers
- การจัดสภาพแวดล้อม - ปรับสถานที่สอบหรือจัดห้องสอบ
(setting)
- การกำหนดเวลาสอบ - อาจมีความจำเป็ นต้องขยายเวลาใน
และ ตารางสอบ การอ่าน
(timingand scheduli - ให้เวลาเพิ่มมากขึน
้ ให้พักในเวลา
ng) สอบ
- ให้เวลาเพิ่มเติม เช่น เพิ่มจำนวน
ชั่วโมงสอบ
วิธีการวัดและประเมินผลนักเรียนที่มีความบกพร่ องทางการเรียนรู้
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างมาตรฐาน/ตัวชีว้ ัด/จุด
ประสงค์เชิงพฤติกรรม กลุ่มสาระภาษาไทย สำหรับนักเรียนที่
มีความบกพร่องทางการเรียนรู้

วิธีการและ
สาระการเรียน จุดประสงค์
มาตรฐานการ เครื่องมือ
ตัวชีว
้ ัด รู้ เชิง
เรียนรู้ วัดประเมิน
แกนกลาง พฤติกรรม
ผล
สาระที่ 1 1. อานออก - การอ่านออก 1. สามารถ วิธีการ
การอาน เสียง คํา ขอ เสียง อ่านคำ - การทดสอบ
27

มาตรฐาน ท 1.1 ความ เรื่อง และการบอก พื้นฐาน ชัน


้ ป. เครื่องมือ
ใชกระบวนกา สัน
้ ๆ และ ความหมาย 3 ที่มีตัวสะกด - แบบทดสอบ
รอาน บทรอยก ของคำ ตรงตาม เกณฑ์การ
สรางความรูและ รอง งายๆ และบทร้อย มาตราแม่กบ ประเมิน
ความคิด เพื่อนํา ไดถูกตอง กรอง จำนวน อ่านคำได้ถูก
ไปใชตัดสินใจ คลองแคลว ง่าย ๆ 20 คำ ได้ถูก ต้อง
แกปญหาในกา ต้อง ร้อยละ 70 จาก
รดําเนิน 2. สามารถ จำนวน 20 คำ
ชีวิตและมีนิสัย อ่านคำ
รักการอาน พื้นฐาน ชัน
้ ป.
3 ที่มีตัวสะกด
ตรงตาม
มาตราแม่กด
จำนวน
20 คำ ได้ถูก
ต้อง
3. สามารถ
อ่านคำ
พื้นฐาน ชัน
้ ป.
3 ที่มีตัวสะกด
ตรงตาม
มาตราแม่กก
จำนวน
20 คำ ได้ถูก
28

ต้อง
4. สามารถ
อ่านคำ
พื้นฐาน ชัน
้ ป.
3 ที่มีตัวสะกด
ตรงตาม
มาตราแม่กม
จำนวน
20 คำ ได้ถูก
ต้อง
5. สามารถ
อ่านคำ
พื้นฐาน ชัน
้ ป.
3 ที่มีตัวสะกด
ตรงตาม
มาตราแม่กน
จำนวน
20 คำ ได้ถูก
ต้อง
29

วิธีการและ
สาระการเรียน จุดประสงค์
มาตรฐานการ เครื่องมือ
ตัวชีว
้ ัด รู้ เชิง
เรียนรู้ วัดประเมิน
แกนกลาง พฤติกรรม
ผล
สาระที่ 2 การ 1. คัด - การคัด 1. สามารถ วิธีการ
เขียน มาตรฐาน ลายมือ ตัว ลายมือ เขียนคำ - การทดสอบ
ท 2.1 บรรจง ตัวบรรจงเต็ม พื้นฐาน ชัน
้ ป. เครื่องมือ
ใชกระบวนการ เต็ม บรรทัด 3 ที่มีตัวสะกด - แบบทดสอบ
เขียน บรรทัด ตามรูปแบบ ตรงตาม เกณฑ์การผ่าน
เขียนสื่อสาร การเขียน มาตราแม่กบ เขียนคำได้ถูก
เขียนเรียงความ ตัวอักษรไทย ตามคำบอก ต้อง
ยอความ และ จำนวน ร้อยละ 70
เขียนเรื่องราวใน 20 คำ ได้ถูก
รูปแบบตาง ๆ ต้อง
เขียนรายงาน 2. สามารถ
ข้อมูล เขียนคำ
สารสนเทศและ พื้นฐาน ชัน
้ ป.
รายงาน 3 ที่มีตัวสะกด
การศึกษา ตรงตาม
คนควาอยางมี มาตราแม่กด
ประสิทธิภาพ ตามคำบอก
จำนวน
20 คำ ได้ถูก
ต้อง
30

3. สามารถ
เขียนคำ
พื้นฐาน ชัน
้ ป.
3 ที่มีตัวสะกด
ตรงตาม
มาตราแม่กก
ตามคำบอก
จำนวน
20 คำ ได้ถูก
ต้อง
4. สามารถ
เขียนคำ
พื้นฐาน ชัน
้ ป.
3 ที่มีตัวสะกด
ตรงตาม
มาตราแม่กม
ตามคำบอก
จำนวน
20 คำ ได้ถูก
ต้อง
5. สามารถ
เขียนคำ
พื้นฐาน ชัน
้ ป.
3 ที่มีตัวสะกด
31

ตรงตาม
มาตราแม่กน
ตามคำบอก
จำนวน
20 คำ ได้ถูก
ต้อง

วิธีการและ
สาระการเรียน จุดประสงค์
มาตรฐานการ เครื่องมือ
ตัวชีว
้ ัด รู้ เชิง
เรียนรู้ วัดประเมิน
แกนกลาง พฤติกรรม
ผล
สาระที่ 2 การ 1. คัด - การคัด 1. สามารถ วิธีการ
เขียน มาตรฐาน ลายมือ ตัว ลายมือ เขียนคำ - การทดสอบ
ท 2.1 บรรจง ตัวบรรจงเต็ม พื้นฐาน ชัน
้ ป. เครื่องมือ
ใชกระบวนการ เต็ม บรรทัด 3 ที่มีตัวสะกด - แบบทดสอบ
เขียน บรรทัด ตามรูปแบบ ตรงตาม เกณฑ์การผ่าน
เขียนสื่อสาร การเขียน มาตราแม่กบ เขียนคำได้ถูก
เขียนเรียงความ ตัวอักษรไทย ตามคำบอก ต้อง
ยอความ และ จำนวน ร้อยละ 70
เขียนเรื่องราวใน 20 คำ ได้ถูก
รูปแบบตาง ๆ ต้อง
32

เขียนรายงาน 2. สามารถ
ข้อมูล เขียนคำ
สารสนเทศและ พื้นฐาน ชัน
้ ป.
รายงาน 3 ที่มีตัวสะกด
การศึกษา ตรงตาม
คนควาอยางมี มาตราแม่กด
ประสิทธิภาพ ตามคำบอก
จำนวน
20 คำ ได้ถูก
ต้อง
3. สามารถ
เขียนคำ
พื้นฐาน ชัน
้ ป.
3 ที่มีตัวสะกด
ตรงตาม
มาตราแม่กก
ตามคำบอก
จำนวน
20 คำ ได้ถูก
ต้อง
4. สามารถ
เขียนคำ
พื้นฐาน ชัน
้ ป.
3 ที่มีตัวสะกด
33

ตรงตาม
มาตราแม่กม
ตามคำบอก
จำนวน
20 คำ ได้ถูก
ต้อง
5. สามารถ
เขียนคำ
พื้นฐาน ชัน
้ ป.
3 ที่มีตัวสะกด
ตรงตาม
มาตราแม่กน
ตามคำบอก
จำนวน
20 คำ ได้ถูก
ต้อง

วิธีการและ
สาระการเรียน จุดประสงค์
มาตรฐานการ เครื่องมือ
ตัวชีว
้ ัด รู้ เชิง
เรียนรู้ วัดประเมิน
แกนกลาง พฤติกรรม
ผล
34

สาระที่ 2 การ 1. คัด - การคัด 1. สามารถ วิธีการ


เขียน มาตรฐาน ลายมือ ตัว ลายมือ เขียนคำ - การทดสอบ
ท 2.1 บรรจง ตัวบรรจงเต็ม พื้นฐาน ชัน
้ ป. เครื่องมือ
ใชกระบวนการ เต็ม บรรทัด 3 ที่มีตัวสะกด - แบบทดสอบ
เขียน บรรทัด ตามรูปแบบ ตรงตาม เกณฑ์การผ่าน
เขียนสื่อสาร การเขียน มาตราแม่กบ เขียนคำได้ถูก
เขียนเรียงความ ตัวอักษรไทย ตามคำบอก ต้อง
ยอความ และ จำนวน ร้อยละ 70
เขียนเรื่องราวใน 20 คำ ได้ถูก
รูปแบบตาง ๆ ต้อง
เขียนรายงาน 2. สามารถ
ข้อมูล เขียนคำ
สารสนเทศและ พื้นฐาน ชัน
้ ป.
รายงาน 3 ที่มีตัวสะกด
การศึกษา ตรงตาม
คนควาอยางมี มาตราแม่กด
ประสิทธิภาพ ตามคำบอก
จำนวน
20 คำ ได้ถูก
ต้อง
3. สามารถ
เขียนคำ
พื้นฐาน ชัน
้ ป.
3 ที่มีตัวสะกด
35

ตรงตาม
มาตราแม่กก
ตามคำบอก
จำนวน
20 คำ ได้ถูก
ต้อง
4. สามารถ
เขียนคำ
พื้นฐาน ชัน
้ ป.
3 ที่มีตัวสะกด
ตรงตาม
มาตราแม่กม
ตามคำบอก
จำนวน
20 คำ ได้ถูก
ต้อง
5. สามารถ
เขียนคำ
พื้นฐาน ชัน
้ ป.
3 ที่มีตัวสะกด
ตรงตาม
มาตราแม่กน
ตามคำบอก
จำนวน
36

20 คำ ได้ถูก
ต้อง

วิธีการและ
สาระการเรียน จุดประสงค์
มาตรฐานการ เครื่องมือ
ตัวชีว
้ ัด รู้ เชิง
เรียนรู้ วัดประเมิน
แกนกลาง พฤติกรรม
ผล
สาระที่ 2 การ 1. คัด - การคัด 1. สามารถ วิธีการ
เขียน มาตรฐาน ลายมือ ตัว ลายมือ เขียนคำ - การทดสอบ
ท 2.1 บรรจง ตัวบรรจงเต็ม พื้นฐาน ชัน
้ ป. เครื่องมือ
ใชกระบวนการ เต็ม บรรทัด 3 ที่มีตัวสะกด - แบบทดสอบ
เขียน บรรทัด ตามรูปแบบ ตรงตาม เกณฑ์การผ่าน
เขียนสื่อสาร การเขียน มาตราแม่กบ เขียนคำได้ถูก
เขียนเรียงความ ตัวอักษรไทย ตามคำบอก ต้อง
ยอความ และ จำนวน ร้อยละ 70
เขียนเรื่องราวใน 20 คำ ได้ถูก
รูปแบบตาง ๆ ต้อง
เขียนรายงาน 2. สามารถ
ข้อมูล เขียนคำ
สารสนเทศและ พื้นฐาน ชัน
้ ป.
รายงาน 3 ที่มีตัวสะกด
37

การศึกษา ตรงตาม
คนควาอยางมี มาตราแม่กด
ประสิทธิภาพ ตามคำบอก
จำนวน
20 คำ ได้ถูก
ต้อง
3. สามารถ
เขียนคำ
พื้นฐาน ชัน
้ ป.
3 ที่มีตัวสะกด
ตรงตาม
มาตราแม่กก
ตามคำบอก
จำนวน
20 คำ ได้ถูก
ต้อง
4. สามารถ
เขียนคำ
พื้นฐาน ชัน
้ ป.
3 ที่มีตัวสะกด
ตรงตาม
มาตราแม่กม
ตามคำบอก
จำนวน
38

20 คำ ได้ถูก
ต้อง
5. สามารถ
เขียนคำ
พื้นฐาน ชัน
้ ป.
3 ที่มีตัวสะกด
ตรงตาม
มาตราแม่กน
ตามคำบอก
จำนวน
20 คำ ได้ถูก
ต้อง

ตัวอย่าง การวัดและประเมินผลตามแผนการจัดการศึกษาเฉพาะ
บุคคล (IEP)
(Individualized Education Program : IEP)
สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้

ชื่อสถานศึกษา โรงเรียนเด็กดี ระดับชัน


้ ป.3 สังกัด สพป. บร.1
เริ่มใช้แผน วันที่ 16 พฤษภาคม 2558 สิน
้ สุดแผน วันที่ 31
มีนาคม 2559
39

1 ข้อมูลทั่วไป
ชื่อ -ชื่อ สกุล เด็ก ชายดำดี สีส ะอาด เพศ  ชาย 
หญิง
เลขประจำตัวประชาชน 1- 1001-00101 – 00-1
การจดทะเบียนคนพิการ  ไม่จด  ยังไม่จด  จดแล้ว
วัน/เดือน/ปี เกิด 1 มิถุนายน 2549 อายุ 9 ปี 11 เดือน
ศาสนา พุทธ
ประเภทความพิการ บุคคลที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
ลักษณะความพิการ มีปัญหาด้านการอ่าน การเขียน และ การคิด
คำนวณ
ชื่อ – ชื่อสกุลบิดา นายขาวสุด สีสะอาด
ชื่อ – ชื่อสกุลมารดา นางบัวลอย สีสะอาด
ชื่อ – ชื่อสกุลผู้ปกครอง นางบัวลอย สีสะอาด
เกี่ยวข้องเป็ น มารดา
ที่อยู่ผู้ปกครองที่ติดต่อได้บ้านเลขที่ 4 ซอย - หมู่ที่ 1
ถนน แม่ริม ตำบลแม่ริม
อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ รหัสไปรษณีย์ 50180 โทรศัพท์ -
โทรศัพท์เคลื่อนที่ 089-7700900 โทรสาร - e-
mail address -

2. ข้อมูลด้านการแพทย์หรือด้านสุขภาพ
40

 โรคประจำตัว (ระบุ) โรคหอบหืด


 ประวัติการแพ้ยา (ระบุ)
................…............-...........................................................
 โรคภูมิแพ้ (ระบุ)
.....................…….............-...........................................................
 ข้อจำกัดอื่นๆ (ระบุ)
............................……....-...........................................................
 ผลการตรวจทางการแพทย์ (ระบุ) แพทย์วินิจฉัยว่าเป็ นเด็ก
ที่มีความบกพร่องทาง การเรียนรู้และมีภาวะสมาธิสน
ั ้ ร่วมด้วย

3. ข้อมูลด้านการศึกษา
 ไม่เคยได้รับการศึกษา / บริการทางการศึกษา
 เคยได้รับการศึกษา / บริการทางการศึกษาจาก
 ศูนย์การศึกษาพิเศษ……………………………..
ระดับ……………………..พ.ศ…...……..….
 โรงเรียนเฉพาะความพิการ……………………..
ระดับ……………………..พ.ศ……………..
41

 โรงเรียนเรียนร่วม โรงเรียนวัดช่างเคี่ยน ระดับ


ป.1-ป.2 พ.ศ. 2557
 การศึกษาด้านอาชีพ……..………….…………..
ระดับ……………………..พ.ศ……………..
 การศึกษานอกระบบ…….………….…………..
ระดับ……………………..พ.ศ……………..
 การศึกษาตามอัธยาศัย…...………….………..
ระดับ……………………..พ.ศ……………..
 อื่นๆ……………………...………….…….………..
ระดับ……………………..พ.ศ…………….
ปั จจุบันรับการศึกษาที่ โรงเรียนวัดช่างเคี่ยน ระดับชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่
3 ปี การศึกษา 2558

4. ข้อมูลอื่น ๆที่จำเป็ น
1) พ่อแม่แยกกันอยู่
2) มีน้ำใจ ชอบช่วยเหลือครู และเพื่อน
3) ชอบลุกนั่งไม่อยู่กับที่ ทำงานเสร็จเป็ นบางครัง้ คราว
4) มีความสามารถในการวาดรูป และสนใจด้านศิลปะเป็ นอย่าง
มาก
5) เมื่อสำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษา ต้องการศึกษาต่อใน
ระดับมัธยมศึกษา
42
5. การกำหนดแนวทางการศึกษาและการวางแผนการจัดการศึกษาพิเศษ

เป้ าหมายระยะเวลา จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม


ระดับความสามารถในปั จจุบัน การวัดและประเมินผล ผ
1 ปี (เป้ าหมายระยะสัน
้ )
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
สาระที่ 1 การอ่าน
มาตรฐาน ท.1.1
ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และ
ความคิด เพื่อนำไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหา
ในการดำเนินชีวิต
และมีนิสัยรักการอ่าน
ตัวชีว้ ัด ท 1.1 ป 3/1 อานออกเสียง คํา
ขอความ เรื่องสัน
้ ๆ และ บทรอยกรอง
งายๆ ไดถูกตอง คลองแคลว
จุดเด่น
1. สามารถบอกพยัญชนะ ก-ฮ ได้ครบ
และ
ถูกต้องทัง้ 44 ตัว
41

2. สามารถอ่านคำพื้นฐานในหนังสือ
ภาษาไทย ภายในวันที่ 31
ชัน
้ ป.3 แม่ ก กา ได้ มีนาคม 2559 1. ภายในวันที่ 30 มิถุนายน วิธีการ นางเอ็นดู
จุดด้อย ดช.ดำดี สามารถอ่าน 2558 - การทดสอบ ตลอดกาล
1. ไม่สามารถอ่านคำพื้นฐาน ชัน
้ ป.3 คำพื้นฐาน เมื่อให้อ่านคำพื้นฐานชัน
้ เครื่องมือ ครูผู้สอน
ที่มีตัวสะกด ในระดับ ป.3 ที่มีตัว ป.3 ที่มีตัวสะกดตรงตามแม่ - แบบทดสอบ สาระ
ตรงตามมาตราแม่กบ กด กก กม สะกด กบ 20 คำ ด.ช. ดำดี อ่าน เกณฑ์การผ่าน การเรียนรู้
กน ได้ ตรงตามมาตราแม่ ได้ถูกต้อง ร้อยละ 70 อ่านคำได้ถูกต้อง ร้อย ภาษาไทย
กบ กด กก กม กน ละ 70 จากจำนวน 20
ได้ 100 คำ คำ

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
ระดับความสามารถในปั จจุบัน เป้ าหมายระยะเวลา (เป้ าหมายระยะสัน
้ ) การวัดและประเมินผล ผู้รับผิดชอบ
1 ปี
2. ภายในวันที่ 10 วิธีการ นางเอ็นดู
กันยายน 2558 - การทดสอบ ตลอดกาล
เมื่อให้อ่านคำพื้นฐานชัน
้ เครื่องมือ ครูผู้สอน
42

ป.3 ที่มีตัวสะกดตรงตามแม่ - แบบทดสอบ สา


กบ 20 คำ ด.ช. ดำดี อ่าน เกณฑ์การผ่าน กา
ได้ถูกต้อง ร้อยละ 70 อ่านคำได้ถูกต้อง ร้อย ภา
ละ 70
จากจำนวน 20 คำ
3. ภายในวันที่ 10 วิธีการ นา
พฤศจิกายน 2558 - การทดสอบ ตล
เมื่อให้อ่านคำพื้นฐานชัน
้ เครื่องมือ คร
ป.3 ที่มีตัวสะกดตรงตามแม่ - แบบทดสอบ สา
กบ 20 คำ ด.ช. ดำดี อ่าน เกณฑ์การผ่าน กา
ได้ถูกต้อง ร้อยละ 70 อ่านคำได้ถูกต้อง ร้อย ภา
ละ 70
จากจำนวน 20 คำ
4. ภายในวันที่ 10 มกราคม วิธีการ นา
2558 - การทดสอบ ตล
เมื่อให้อ่านคำพื้นฐานชัน
้ เครื่องมือ คร
ป.3 ที่มีตัวสะกดตรงตามแม่ - แบบทดสอบ สา
กบ 20 คำ ด.ช. ดำดี อ่าน เกณฑ์การผ่าน กา
43

ได้ถูกต้อง ร้อยละ 70 อ่านคำได้ถูกต้อง ร้อย ภาษาไทย


ละ 70

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
ระดับความสามารถในปั จจุบัน เป้ าหมายระยะเวลา 1 ปี (เป้ าหมายระยะสัน
้ ) การวัดและประเมินผล ผู้รับผิดชอบ
5. ภายในวันที่ 31 วิธีการ นางเอ็นดู
มีนาคม 2558 - การทดสอบ ตลอดกาล
เมื่อให้อ่านคำพื้นฐานชัน
้ เครื่องมือ ครูผู้สอนสาระ
ป.3 ที่มีตัวสะกดตรงตาม - แบบทดสอบ การเรียนรู้
แม่กบ 20 คำ ด.ช. ดำดี เกณฑ์การผ่าน ภาษาไทย
อ่านได้ถูกต้อง ร้อยละ 7 อ่านคำได้ถูกต้อง ร้อย
0 ละ 70
44

สาระที่ 2 การเขียน
มาตรฐาน ท 2.1 ใช้
กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร
เขียนเรียงความ ย่อความ และ
เขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ
เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศ
และรายงานการศึกษาค้นคว้า
อย่างมี
ประสิทธิภาพ
ตัวชีว้ ัด 1 คัดลายมือ ตัวบรรจง
เต็มบรรทัด
ตัวชีว้ ัด 2 เขียนบรรยาย เกี่ยว
กับสิ่งใด สิ่งหนึ่งไดอยาง ชัดเจน
จุดเด่น
1.สามารถเขียนพยัญชนะ ก -
ฮ ตามคำบอกได้
2. สามารถเขียนคำพื้นฐาน
หนังสือภาษาไทย
45

ระดับชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 3
มาตราแม่ ก กา ได้

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
ระดับความสามารถในปั จจุบัน เป้ าหมายระยะเวลา 1 ปี (เป้ าหมายระยะสัน
้ ) การวัดและประเมินผล ผู้รับผิดชอบ
จุดด้อย ภายในวันที่ 31 มีนาคม 1. เมื่อให้เขียนคำพื้นฐาน วิธีการ นางเอ็นดู
1. ไม่สามารถเขียนคำพื้นฐาน 2558 ในระดับ - การทดสอบ ตลอดกาล
ในระดับชัน
้ ด.ช. ดำดี สามารถเขียน ชัน
้ ป. 3 ที่มีตัวสะกดตรง เครื่องมือ ครูผู้สอนสาระ
ประถมศึกษาปี ที่ 3 ที่มีตัว คำพื้นฐาน ตามมาตรา ในแม่กบ - แบบทดสอบ การเรียนรู้
สะกดทัง้ 8 มาตรา ในระดับชัน
้ ป. 3 ที่มีตัว จำนวน 20 คำ เกณฑ์การผ่าน ภาษาไทย
ตัวสะกดได้ (แม่ กน กก สะกดตรงตาม ด.ช. ดำดี สามารถเขียน เขียนคำได้ถูกต้อง ร้อย
กม กง กบ กด เกย มาตราในแม่ กบ กด ได้ถูกต้อง ละ 70
เกอว ) กก กม กน ได้ 100 ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70
คำ
2. เมื่อให้เขียนคำพื้นฐาน วิธีการ นางเอ็นดู
46

ในระดับ - การทดสอบ ตลอดก


ชัน
้ ป. 3 ที่มีตัวสะกดตรง เครื่องมือ ครูผู้สอ
ตามมาตรา ในแม่กด - แบบทดสอบ การเรีย
จำนวน 20 คำ เกณฑ์การผ่าน ภาษาไท
ด.ช. ดำดี สามารถเขียน เขียนคำได้ถูกต้อง ร้อย
ได้ถูกต้อง ละ 70
ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70

3. เมื่อให้เขียนคำพื้น วิธีการ นางเอ็น


ฐานในระดับ - การทดสอบ ตลอดก
ชัน
้ ป. 3 ที่มีตัวสะกดตรง เครื่องมือ ครูผู้สอ
ตามมาตรา ในแม่กก - แบบทดสอบ การเรีย
จำนวน 20 คำ เกณฑ์การผ่าน ภาษาไท
ด.ช. ดำดี สามารถเขียน เขียนคำได้ถูกต้อง ร้อย
ได้ถูกต้อง ละ 70
ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70
47

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
ระดับความสามารถในปั จจุบัน เป้ าหมายระยะเวลา 1 ปี (เป้ าหมายระยะสัน
้ ) การวัดและประเมินผล ผู้รับผิดชอบ
4. เมื่อให้เขียนคำพื้นฐาน วิธีการ นางเอ็นดู
ในระดับ - การทดสอบ ตลอดกาล
ชัน
้ ป. 3 ที่มีตัวสะกดตรง เครื่องมือ ครูผู้สอนสาระ
ตามมาตรา ในแม่กน - แบบทดสอบ การเรียนรู้
จำนวน 20 คำ เกณฑ์การผ่าน ภาษาไทย
ด.ช. ดำดี สามารถเขียน เขียนคำได้ถูกต้อง ร้อย
ได้ถูกต้อง ละ 70
ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70

5. เมื่อให้เขียนคำพื้นฐาน วิธีการ นางเอ็นดู


ในระดับ - การทดสอบ ตลอดกาล
ชัน
้ ป. 3 ที่มีตัวสะกดตรง เครื่องมือ ครูผู้สอนสาระ
ตามมาตรา ในแม่กม - แบบทดสอบ การเรียนรู้
48

จำนวน 20 คำ เกณฑ์การผ่าน ภาษาไท


ด.ช. ดำดี สามารถเขียน เขียนคำได้ถูกต้อง ร้อย
ได้ถูกต้อง ละ 70
ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70
49

จุดประสงค์เชิง
ระดับความสามารถในปั จจุบัน เป้ าหมายระยะเวลา 1 ปี พฤติกรรม การวัดและประเมินผล ผู้รับผิดชอบ
(เป้ าหมายระยะสัน
้ )
สาระที่ 3 การฟั ง กำหนดตามสาระ มาตรฐาน กำหนดตามตัวชีว้ ัด วิธีการ นางเอ็นดู
สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษา การเรียนรู้ตามระดับชัน
้ และสาระ - การทดสอบ ตลอดกาล
สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม ประถมศึกษาปี ที่ 3 การเรียนรู้แกนกลาง - ทำชิน
้ งาน,โครงงาน ครูผู้สอนสาระ
ตามระดับ - การประเมินชิน
้ งาน, การเรียนรู้
ชัน
้ ประถมศึกษาปีที่ 3 - การแบบประเมิน ภาษาไทย
ภ า ย ใ น ว ัน ท ี่ 31 โครงงาน
ม ีน า ค ม 2559 เ ม ่ อ
ื เครื่องมือ
ก ำ ห น ด ต า ม ต ัว ช ว
ี ้ ัด - แบบทดสอบ
และสาระการเรีย นรู้ - แบบประเมินชิน

แกนกลางตามระดับ งาน
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 3 เกณฑ์การผ่าน
ด.ช.ดำดี เรีย นได้ผ ่า น ร้อยละ 70
เกณฑ์ ร้อยละ 70
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2 1. ภายในวันที่ 10 วิธีการ
สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ 558 กรกฎาคม 2558 เมื่อ - การทดสอบบ
50

มาตรฐาน ค 1.2 ด.ช ดำดี สามารถบวกเลขที่มี ให้บวกเลขที่มีการทด เครื่องมือ


เข้าใจถึงผลที่เกิดขึน
้ จากการดำเนิน การทดและมี ผลลัพธ์ไม่เกิน 50 ด.ช - แบบทดสอบ
การของจำนวนและ ผลลัพธ์ไม่เกิน 100 ได้ ดำดี เกณฑ์การผ่าน
ความสัมพันธ์ระหว่างการดำเนินการ ทำได้ ร้อยละ 80 ผลลัพธ์ถูกต้องร้อย
ต่าง ๆ และ 2. ภายในวันที่ 10 ละ 80
สามารถใช้การดำเนินการในการแก้ กันยายน 2558 เมื่อให้
ปั ญหาการบวก บวกเลขที่มีการทด
จุดเด่น ผลลัพธ์ ไม่เกิน 100
1. รู้ความหมายของการบวก ด.ช ดำดี สามารถ
และการใช้ เครื่องหมายบวก 100 ทำได้ร้อยละ 80
2 สามารถบวกเลข โดยไม่มีการ
ทด ผลลัพธ์ไม่เกิน 100
จุดด้อย
ไม่สามารถบวกเลขที่มีการทด และมี
ผลลัพธ์ไม่เกิน 100

จุดประสงค์เชิง
51

ระดับความสามารถในปั จจุบัน เป้ าหมายระยะเวลา 1 ปี พฤติกรรม การวัดและประเมินผล ผู้รับผิดชอบ


(เป้ าหมายระยะสัน
้ )
สาระที่ 2 การวัด นักเรียนเรียนรู้ตามสาระ เมื่อกำหนดให้เรียนรู้ วิธีการ นางใจดี
มาตรฐาน ตามตัวชีว้ ัดและ สาระ - ทำโครงงาน/ ทำ ตลอดกาล
การเรียนรู้ตามระดับชัน
้ การเรียนรู้แกนกลาง ชิน
้ งาน ครูประจำกลุ่ม
ประถมศึกษาปี ที่ 3 ตาม ระดับชัน
้ ประถม - การทดสอบ สาระ การ
ศึกษาปี ที่ 3 เครื่องมือ เรียนรู้
ด.ช.ดำดี เรีย นได้ผ ่า น - แบบประเมินชิน
้ คณิตศาสตร์
เกณฑ์ ร้อ ยละ 50 ขึน
้ งาน
ไป - แบบประเมินโครง
งาน
- แบบทดสอบ
เกณฑ์การผ่าน
ร้อยละ 50 ขึน
้ ไป
สาระที่ 3 เรขาคณิต นักเรียนเรียนรู้ตามสาระ เมื่อกำหนดให้เรียนรู้ วิธีการ นางใจดี
สาระที่ 4 พีชคณิต มาตรฐาน ตามตัวชีว้ ัดและ สาระ - ทำโครงงาน/ ทำ ตลอดกาล
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและ การเรียนรู้ตามระดับชัน
้ การเรียนรู้แกนกลาง ชิน
้ งาน ครูประจำกลุ่ม
52

ความน่าจะเป็ น ประถมศึกษาปี ที่ 3 ตาม ระดับชัน


้ ประถม - การทดสอบ สาร
สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทาง ศึกษาปี ที่ 3 เครื่องมือ เรีย
คณิตศาสตร์ ด.ช.ดำดี เรีย นได้ผ ่า น - แบบประเมินชิน
้ คณ
สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทาง เกณฑ์ ร้อ ยละ 50 ขึน
้ งาน
คณิตศาสตร์ ไป - แบบประเมินโครง
งาน
- แบบทดสอบ
เกณฑ์การผ่าน
ร้อยละ 50 ขึน
้ ไป

ระดับความสามารถในปั จจุบัน เป้ าหมายระยะเวลา จุดประสงค์เชิง การวัดและประเมินผล ผู้รับ


1 ปี พฤติกรรม
53

(เป้ าหมายระยะสัน
้ )
54

สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ นักเรียนเรียนรู้ตาม เมื่อกำหนดให้เรียนรู้ วิธีการ นางใจ


สามารถเรียนได้ตามสาระ มาตรฐาน สาระการเรียนรู้ ตามตัวชีว้ ัดและ สาระ - ทำชิน
้ งาน,โครงงาน กาล
การเรียนรู้ตามระดับชัน
้ ประถมศึกษา วิทยาศาสตร์ การเรียนรู้แกนกลาง - การประเมินชิน
้ งาน, ครูประ
ปี ที่ 3 มาตรฐานระดับชัน
้ ตาม ระดับชัน
้ ประถม - การประเมินโครงงาน สาระ
ประถมศึกษาปี ที่ 3 ศึกษาปี ที่ 3 เครื่องมือ การเร
ด.ช.ดำดี เรีย นได้ผ ่า น - ทดสอบ/แบบ วิทยาศ
เกณฑ์ ร้อ ยละ 50 ขึน
้ ทดสอบ
ไป - ขยายเวลาในการสอบ
ให้มีเวลามากขึน

- จัดแยกห้องสอบที่
เหมาะสม
- อ่านข้อสอบให้ฟัง
เกณฑ์การผ่าน
ร้อยละ 50 ขึน
้ ไป
สาระการเรียนรู้สังคม ศาสนาและ นักเรียนเรียนรู้ตาม เมื่อกำหนดให้เรียนรู้ วิธีการ นางใจ
วัฒนธรรม สาระ มาตรฐานการ ตามตัวชีว้ ัดและ สาระ - ทำชิน
้ งาน กาล
สามารถเรียนได้ตามสาระ มาตรฐาน เรียนรู้ตามระดับชัน
้ การเรียนรู้แกนกลาง - การประเมินชิน
้ งาน, ครูประ
การเรียนรู้ ตาม ระดับชัน
้ ประถม เครื่องมือ สาระ
55

ตามระดับชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 3 ประถมศึกษาปี ที่ 3 ศึกษาปี ที่ 3 - แบบทดสอบ การเรียนรู้สังคม
ด.ช.ดำดี เรีย นได้ผ ่า น - แบบประเมินชิน
้ งาน ศาสนา
เกณฑ์ ร้อ ยละ 50 ขึน
้ เกณฑ์การผ่าน และวัฒนธรรม
ไป ร้อยละ 50 ขึน
้ ไป

ระดับความสามารถใน เป้ าหมายระยะเวลา 1 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม การวัดและประเมินผล ผู้รับผิดชอบ


ปั จจุบัน ปี (เป้ าหมายระยะสัน
้ )

สาระการเรียนรู้ศิลปะ นักเรียนเรียนรู้ตาม เมื่อกำหนดให้เรียนรู้ตามตัวชี ้ วิธีการ นายไมตรี จิต


สามารถเรียนได้ตามสาระ สาระ มาตรฐาน การ วัดและ สาระการเรียนรู้แกน - การประเมินชิน
้ งาน แจ่มใส
มาตรฐานการเรียนรู้ตาม เรียนรู้ตามระดับชัน
้ กลางตาม ระดับชัน
้ ประถม เครื่องมือ ครูประจำกลุ่ม
56

ระดับชัน
้ ป. 3 ประถม ศึกษาปี ที่ 3 ศึกษาปี ที่ 3 ด.ช.ดำดี เรียนได้ - แบบประเมินชิน
้ งาน สาระ กา
ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 50 ขึน
้ ไป เกณฑ์การผาน รู้
ร้อยละ 50 ขึน
้ ไป
สาระการเรียนรู้สุขศึกษา นักเรียนเรียนรู้ตาม เมื่อกำหนดให้เรียนรู้ตามตัวชี ้ วิธีการ นายยิม

และพลศึกษา สาระ มาตรฐาน วัดและ สาระการเรียนรู้แกน - การประเมินชิน
้ งาน ครูประจ
สามารถเรียนได้ตามสาระ การเรียนรู้ตามระดับชัน
้ กลางตาม ระดับชัน
้ ประถม - การสังเกต สาระ กา
มาตรฐานการเรียนรู้ตาม ประถม ศึกษาปี ที่ 3 ศึกษาปี ที่ 3 ด.ช.ดำดี เรียนได้ - การทดสอบ รู้สุขศึกษ
ระดับชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 50 ขึน
้ ไป เครื่องมือ และพลศ
3 - แบบประเมินชิน
้ งาน
- แบบการสังเกต
- แบบทดสอบ
เกณฑ์การผ่าน
ร้อยละ 50 ขึน
้ ไป
57

ระดับความสามารถใน เป้ าหมายระยะเวลา 1 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม การวัดและประเมินผล ผู้รับผิดชอบ


ปั จจุบัน ปี (เป้ าหมายระยะสัน
้ )

สาระการเรียนรู้การงาน นักเรียนเรียนรู้ตาม เมื่อกำหนดให้เรียนรู้ตามตัวชีว้ ัด วิธีการ นายงานดี


อาชีพและ สาระ มาตรฐานการ และ สาระการเรียนรู้แกนกลางตาม - การประเมินชิน
้ งาน ขยันยิ่ง
เทคโนโลยี เรียนรู้ตามระดับ ระดับชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 3 - การประเมินโครง ครูประจำ
สามารถเรียนได้ตามสาระ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 3 ด.ช.ดำดี เรียนได้ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ งาน กลุ่ม สาระ
มาตรฐานการเรียนรู้ตาม 50 ขึน
้ ไป เครื่องมือ การเรียนรู้
ระดับชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 3 - แบบประเมินชิน
้ การงาน
งาน อาชีพและ
- แบบประเมินโครง เทคโนโลยี
งาน
เกณฑ์การผ่าน
ร้อยละ 50 ขึน
้ ไป
ระสาระการเรียนรู้ภาษา นักเรียนเรียนรู้ตาม เมื่อกำหนดให้เรียนรู้ตามตัวชีว้ ัด วิธีการ นายอังกฤษ
ต่างประเทศ สาระ มาตรฐาน และ สาระการเรียนรู้แกนกลางตาม - การทดสอบ ต่างประเทศ
58

สามารถเรียนได้ตามสาระ การเรียนรู้ตามระดับชัน
้ ระดับชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 3 - การประเมินชิน
้ งาน ครูปร
มาตรฐานการเรียนรู้ตาม ประถม ศึกษาปี ที่ 3 ด.ช.ดำดี เรียนได้ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ เครื่องมือ กลุ่ม
ระดับชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 3 50 ขึน
้ ไป - แบบทดสอบ การเ
- แบบประเมินชิน
้ งาน
เกณฑ์การผ่าน
ร้อยละ 50 ขึน
้ ไป

6 . ความต้องการด้านสิ่งอำนวยความสะดวก เทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการ และ


ความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา
ท รายการ รหัส สิ่งที่มอ
ี ยู่แล้ว สิ่งที่ตอ
้ งการ จำนวน เหตุผลและ ผู้ประเมิน
59

ี่ ผู้จด
ั หา วิธีการ ผู้จัดหา วิธีการ เงิน ความจำเป็ น
( (2 (3 (1 (2 (3 (1 (2 (3) (1) (2) (3) ที่ขอ
1 ) ) ) ) ) ) ) อุดหนุน
)
บัญชี ก ดช.ดำดี มี นางเอ็นดู ตลอดกาล
1 คอมพิวเตอร์ตงั ้ โต๊ะ AC05   ปั ญหาด้าน ครูผส
ู้ อนสาระ
01 การอ่าน การ การเรียนรู้ภาษาไทย
บัญชี ข เขียน
2 หนังสือชุดแก้ไข BE17   99 บาท การคิดคำนวณ
ความบกพร่อง 34 ต่ำกว่า
ด้านการสะกดคำ ชุด ระดับชัน
้ ทีเ่ รียน
ที่ 2 อยู่
3 หนังสือชุดแก้ไข BE17   99 บาท ปั จจุบัน 2 ชัน

ความบกพร่อง 35 เรียน
ด้านการสะกดคำ ชุด ทำให้มีผลกระ
ที่ 3 ทบ
4 หนังสือชุดแก้ไข BE17   99 บาท ต่อการเรียนรู้
ความบกพร่อง 38 สาระ
ด้านการสะกดคำ ชุด อื่น ๆ และมีผล
ที่ 6 สัมฤทธิ ์
60

5 หนังสือชุดแก้ไข BE17   99 บาท ทางการเรียนต่ำ


ความบกพร่อง 39 จำเป็ น
ด้านการสะกดคำ ชุด ต้องได้รับการ
ที่ 7 แก้ไข
6 หนังสือชุดแก้ไข BE17   99 บาท และพัฒนา
ความบกพร่อง 40 อย่างเร่งด่วน
ด้านการสะกดคำ ชุด
ที่ 8
7 หนังสือชุดแก้ไข BE17   65 บาท
ความบกพร่อง 34
ด้านการอ่านการ
เขียน ชุดที่ 11
8 หนังสือชุดแก้ไขคว BE18   440
แบบฝึ กชุด 34 บาท
บวก ลบ คูณ หาร
ผ่านหลักเม็ดนับ
เรื่องที่ 2
บัญชี ค
9 บริการสอนเสริม CS01   1000
01 บาท
61

รวมรายการที่ขอรับการ 9 รายการ
อุดหนุน
รวมจำนวนเงินที่ขอรับ 2,000 บาท (สองพันบาทถ้วน)
การอุดหนุน
หมายเหตุ ผู้จด
ั หา (1) ผู้ปกครอง (2) สถานศึกษา (3) สถานพยาบาล/อื่น ๆ
วิธีการ (1) ขอรับการอุดหนุน (2) ขอยืม (3) ขอยืมเงิน

~ 30 ~
7. คณะกรรมการจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
ชื่อ ตำแหน่ง
ลายมือชื่อ
6.1 นายมานะ จัดการ ผู้อำนวยการโรงเรียนเด็กดี
…….…………
6.2 นางบัวลอย สีสะอาด บิดา/มารดา/ผู้ปกครอง
…….…………
6.3 นางเอ็นดู ตลอดกาล ครูประจำชัน
้ /ครูประจำกลุ่มสา
ระฯภาษาไทย …….…………
6.4 นายปิ ติ ชูใจ ครูประจำกลุ่มสาระฯคณิตศาสตร์
…….…………

ประชุมเมื่อวันที่ 12 เดือน พฤษภาคม พ.ศ.


2558

8. ความเห็นของบิดา มารดา ผู้ปกครองหรือนักเรียนการจัดทำ


แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ฉบับนี ้
ข้าพเจ้า  เห็นด้วย  ไม่เห็นด้วย

ลงชื่อ บัวลอย สีสะอาด


(นางบัวลอย สีสะอาด )
บิดา/มารดา/ผู้ปกครอง
วันที่ 12 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2558
63

แผนการสอนเฉพาะบุคคล
(Individual Implementation Plan : IIP)

1. ชื่อ-ชื่อสกุล ด.ช.ดำดี สีสะอาด ระดับชัน


้ ป.3 ประเภทความ
พิการ บุคคลที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2558
64

2. สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย สาระที่ 1 การอ่าน


3. เป้ าหมายระยะยาว 1 ปี ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2559
ด.ช.ดำดีสามารถอ่านคำพื้นฐานในระดับชัน
้ ป.3 ที่มีตัวสะกดตรง
มาตราในแม่กบ แม่กด แม่กก แม่กม แม่กน ได้ 100 คำ
4. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (เป้ าหมายระยะสัน
้ )
ภายในวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ.2558 เมื่อให้อ่านคำพื้นฐานใน
ระดับชัน
้ ป.3 ที่มีตัวสะกดตรงตาม
มาตราในแม่กบ จำนวน 20 คำแบบสุ่ม ด.ช.ดำดี สามารถอ่านได้ถูก
ต้อง
5. แผนที่ 1 วันที่ใช้แผน 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 ถึง วันที่ 20
พฤษภาคม 2558 เวลา 60 นาที
6. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ที่ 1.1 (จุดประสงค์การเรียนรู้)
เมื่อกำหนดให้ ด.ช. ดำดี สามารถอ่านได้ถูกต้อง ร้อยละ 70
7. เนื้อหา
คำพื้นฐานในระดับชัน
้ ป.3 มาตราสะกด แม่กบ ตรงมาตรา ได้แก่
คำว่า “กบ”

8. กิจกรรมการเรียนการสอน
ขัน
้ นำ
นักเรียนดูภาพกบ และร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับการอากัปกิริยา
การกบ
ขัน
้ สอน
65

ครูใช้วิธีสอนโดยใช้ประสาทสัมผัสหลายด้าน (Multi Sensory


Approach) และการฝึ กทักษะย่อย (Skill Training) โดยมี
กระบวนการสอน ดังนี ้
1. ครูนำบัตรคำ “กบ” ที่ใช้กระดาษทรายตัดเป็ นพยัญชนะ ก
และ บ ไปให้เด็กใช้มือสัมผัสคำในบัตรคำ พร้อมออกเสียงอ่านตามครู
2. นักเรียนเลือกบัตรคำ "กบ" ใส่ตะกร้าตามเวลาที่ครูกำหนด
3. ให้นักเรียนนำบัตรคำว่า “กบ” ไปติดบนกระดานแม่เหล็ก
พร้อมเขียนคำลงบนกระดาษปรุ๊ฟที่ครูเตรียมไว้ให้
4. นักเรียนทำใบงานที่ 1
5. นักเรียนเล่นเกมจับคู่ภาพกับคำ (ภาพกบ) พร้อมกับอ่าน
ออกเสียงคำว่า "กบ"
6. นักเรียนทำใบงานที่ 2 และใบงานที่ 3
7. นักเรียนระบายสีคำด้วยสีที่กำหนดและนับจำนวนคำ กบ ที่
นักเรียนระบายสี พร้อมทัง้ อ่าน
ให้ครูฟัง

ขัน
้ สรุป
1. ครูทบทวนการอ่านโดยให้นักเรียนอ่านออกเสียงคำว่า "กบ"
ให้ถูกต้องตามอักขรวิธี
2. ให้แรงเสริมทางบวกและแรงเสริมที่เป็ นรางวัล

9. สื่อ/อุปกรณ์/สิ่งอำนวยความสะดวก/บริการ
1) ภาพกบ
66

2) บัตรคำ “กบ”
3) กระดานแม่เหล็ก
4) ตะกร้า
5) ใบงานที่ 1
6) ใบงานมที่ 2
7) ใบงานที่ 3
8) สีไม้
10. การวัดผลและประเมินผล
1. วิธีการ
- การทดสอบ
- การสังเกตพฤติกรรม
2. เครื่องมือ
- แบบทดสอบ
- แบบสังเกต
3. เกณฑ์การผ่าน
อ่านคำว่า “กบ” ได้ร้อยละ 70
11. การเสริมแรง
1. คำชมเชย
2. สติ๊กเกอร์
12. ความคิดเห็นของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
เห็นชอบให้ใช้แผนนีใ้ นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้ โดย
ในส่วนของบัตรคำควรมีการเพิ่ม รหัสสีในส่วนของตัว “บ” เพื่อเพิ่ม
ความสนใจและนำทางแก่นก
ั เรียน
67

ลงชื่อ มานะ จัดการ


(นายมานะ จัดการ)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนเด็กดี
16 /พฤษภาคม/2558

13. บันทึกหลังการสอน
................................................................................................................
................................................................................................................
................................................................................................................
................................................................................................................
............................

13.1 ผลการสอน
................................................................................................................
................................................................................................................
................................................................................................................
................................................................................................................
............................

13.2 ปั ญหาและอุปสรรค
................................................................................................................
................................................................................................................
68

................................................................................................................
................................................................................................................
............................

13.3 ข้อเสนอแนะแก้ไข
................................................................................................................
................................................................................................................
................................................................................................................
................................................................................................................
............................
69

ใบงานที่ 1
คำชีแ
้ จง ให้นก
ั เรียนใช้นว
ิ ้ ลากไปตามตัวพยัญชนะ สระ

และอ่านเป็ นคำ

เกณฑ์การให้คะแนน
4 อ่านได้ด้วยตนเอง
3 อ่านได้โดยครูกระตุ้น 1-2 ครัง้
2 อ่านได้โดยครูกระตุ้น 3-4 ครัง้
1 อ่านได้โดยครูกระตุ้น 5 ครัง้
70

เกณฑ์การผ่าน
คะแนนตัง้ แต่ 3 คะแนนชึน
้ ไป ผ่านเกณฑ์

ใบงานที่ 2
คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนกากบาท ( X ) คำที่อ่านออกเสียง
ว่า “กบ” และอ่านออกเสียงคำให้ถูกต้อง

กบ บก บก กบ
บก กบ บก กบ
71

บก

กบ กบ กบ

กบ กบ กบ
เกณฑ์การให้คะแนน อ่านถูกต้อง คำละ 1 คะแนน
อ่านไม่ถูก 0 คะแนน
เกณฑ์การผ่าน คะแนน 7 คะแนน ผ่านเกณฑ์
72

ใบงานที่ 3

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนระบายสีคำที่อ่านว่า “กบ” และ
อ่านออกเสียงให้ถูกต้อง

กบ บก กบ บก

บก กบ กบ บก

กบ บก บก กบ

บก กบ บก กบ

กบ บก กบ บก
73

เกณฑ์การให้คะแนน ระบายสีคำและอ่านได้ถูกต้อง
คำละ 1 คะแนน
อ่านไม่ถูก 0
คะแนน
เกณฑ์การผ่าน คะแนน 7 คะแนน ผ่านเกณฑ์

บันทึกหลังการสอน
1. ด.ช.ดำดี สีสะอาด อ่านคำที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราในแม่
กบ ตามจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ได้ถูกต้อง คิดเป็ นร้อยละ 100
74

2. ด.ช.ดำดี สีสะอาด สามารถทำกิจกรรมตามใบงานที่ 1 ได้


3 คะแนน โดยครูกระตุ้นเตือน 1-2 ครัง้ ในระหว่างทำกิจกรรมและ
ผ่านเกณฑ์
3. ด.ช.ดำดี สีสะอาด สามารถทำกิจกรรมตามใบงานที่ 2 ได้
8 ในระหว่างทำกิจกรรม
และผ่านเกณฑ์
4. ด.ช.ดำดี สีสะอาด สามารถทำกิจกรรมตามใบงานที่ 3 ได้
9 ในระหว่างทำกิจกรรม
และผ่านเกณฑ์

(นางเอ็นดู ตลอดกาล)

ครูผู้รับผิดชอบ
วันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ.
2558
ตัวอย่าง
แบบบันทึกผลการประเมินตามจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

แผ คะแ สรุปผล
นที่ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม นน ร้อย ผ่า ไม่
(24) ละ น ผ่าน
1 เด็กชายดำดี สามารถอ่านคำว่า กบ ได้ถูกต้อง 20 83.3 /
อย่างน้อยร้อยละ 70 3
2 เด็กชายดำดีสามารถอ่านคำว่า ดาบ ได้ถูกต้อง 22 91.6 /
อย่างน้อยร้อยละ 70 1
3 เด็กชายดำดี สามารถอ่านคำว่า คาบ ได้ถูกต้อง 18 75.4 /
อย่างน้อยร้อยละ 70 5
4 เด็กชายดำดีสามารถอ่านคำว่า ตอบ ได้ถูกต้อง 19 79.1 /
อย่างน้อยร้อยละ 70 6
5 เด็กชายดำดี สามารถอ่านคำว่า ชอบ ได้ถูกต้อง 20 83.3 /
อย่างน้อยร้อยละ 70 3
6 เด็กชายดำดีสามารถอ่านคำว่า รอบ ได้ถูกต้อง 18 75.4 /
อย่างน้อยร้อยละ 70 5
7 เด็กชายดำดี สามารถอ่านคำว่า แคบ ได้ถูก 20 83.3 /
ต้องอย่างน้อยร้อยละ 70 3
8 เด็กชายดำดีสามารถอ่านคำว่า รีบ ได้ถูกต้อง 18 75.4 /
อย่างน้อยร้อยละ 70 5
9 เด็กชายดำดี สามารถอ่านคำว่า ยางลบ ได้ถูก 20 83.3 /
ต้องอย่างน้อยร้อยละ 70 3
76

10 เด็กชายดำดีสามารถอ่านคำว่า ตะเกียบได้ถูก 21 87. /


ต้องอย่างน้อยร้อยละ 70 50
11 เด็กชายดำดี สามารถอ่านคำว่า อาบ ได้ถูกต้อง 20 83.3 /
อย่างน้อยร้อยละ 70 3
12 เด็กชายดำดีสามารถอ่านคำว่า เก็บ ได้ถูกต้อง 18 75. /
อย่างน้อยร้อยละ 70 45
13 เด็กชายดำดี สามารถอ่านคำว่า กลับ ได้ถูก 20 83.3 /
ต้องอย่างน้อยร้อยละ 70 3
14 เด็กชายดำดีสามารถอ่านคำว่า กับ ได้ถูกต้อง 22 91.6 /
อย่างน้อยร้อยละ 70 6
15 เด็กชายดำดี สามารถอ่านคำว่า จับ ได้ถูกต้อง 23 95.8 /
อย่างน้อยร้อยละ 70 3
16 เด็กชายดำดีสามารถอ่านคำว่า กราบ ได้ถูกต้อง 18 75.4 /
อย่างน้อยร้อยละ 70 5
17 เด็กชายดำดี สามารถอ่านคำว่า พบ ได้ถูกต้อง 23 95.6 /
อย่างน้อยร้อยละ 70 6
18 เด็กชายดำดีสามารถอ่านคำว่า พระ ได้ถูกต้อง 22 91.6 /
อย่างน้อยร้อยละ 70 6
19 เด็กชายดำดี สามารถอ่านคำว่า ทับ ได้ถูกต้อง 18 75.4 /
อย่างน้อยร้อยละ 70 5
20 เด็กชายดำดีสามารถอ่านคำว่า ตะคาบ ได้ถูก 19 83.3 /
ต้องอย่างน้อยร้อยละ 70 3
รวมเฉลี่ย 19.9 86. /
5 54
77

ตัวอย่าง
แบบสรุปการประเมินผลตามแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
(IEP)
ชื่อเด็กชายดำดี สีสะอาด ประเภทความพิการ บกพร่องทางการเรียนรู้
ปี การศึกษา 2558

สรุปผลการจัดการศึกษา
เป้ าหมายระยะยาว จำนวนจุด จำนวนจุด จำนวนจุด
กลุ่ม 1 ปี ประสงค์ ประสงค์ ประสงค์
สาระ ตามแผนการจัดการ เชิง เชิง เชิง
การ ศึกษาเฉพาะบุคคล พฤติกรรม พฤติกรรม พฤติกรรม
ทัง้ หมด ที่ผ่าน ที่ไม่ผา่ น
เรียนรู้ (IEP) (IEP)
(ข้อ) (ข้อ) (ข้อ)
78

ภาษา ภายในวันที่ 31
ไทย มีนาคม 2558 เด็ก 20 20 -
ชายดำดี สามารถอ่าน
คำพื้นฐาน
ในระดับชัน
้ ป. 1 ที่มี
ตัวสะกดตรงตาม
มาตราในแม่กบ แม่
กด แม่กก แม่กม แม่
กน ได้ 100 คำ
ภายในวันที่31 20 20 -
มีนาคม 2558 เด็ก
ชายดำดี สามารถเขียน
คำพื้นฐาน
ในระดับชัน
้ ป.1 ที่มี
ตัวสะกดตรงตาม
มาตราในแม่กบ แม่
กด แม่กก แม่กม แม่
กน ได้ 100 คำ

รวมจำนวนจุดประสงค์เชิง 40
พฤติกรรมที่ผ่าน
ร้อยละ 100
79

ระดับคุณภาพการเรียนรู้ 4

ระดับคุณภาพการเรียนรู้

จำนวนจุดประสงค์ที่ผ่าน 40 จุดประสงค์ ได้ระดับ 4 แปล


ความหมาย ผ่านระดับดีเยี่ยม
จำนวนจุดประสงค์ที่ผ่าน 31-39 จุดประสงค์ ได้ระดับ 3 แปล
ความหมาย ผ่านระดับดี
จำนวนจุดประสงค์ที่ผ่าน 21-30 จุดประสงค์ ได้ระดับ 2 แปล
ความหมาย ผ่านระดับพอใช้
จำนวนจุดประสงค์ที่ผ่าน 11-20 จุดประสงค์ ได้ระดับ 1 แปล
ความหมาย ผ่านระดับปรับปรุง
จำนวนจุดประสงค์ที่ผ่านต่ำกว่า 11 จุดประสงค์ ได้ระดับ 0 แปล
ความหมาย ไม่ผ่าน

ตัวอย่างแบบบันทึกพฤติกรรมการอ่านออกเสียงคำ
ชื่อ............................................................. ชัน
้ ...................... วันที่
บันทึก...........................

คำชีแ
้ จง ให้ผู้บันทึกคะแนนการอ่านออกเสียงคำของนักเรียน และ
ลงบันทึกเป็ นคะแนนดังนี ้
80

คะแนน 4 หมายถึง มีพฤติกรรมการอ่านออกเสียงคำ


ได้ถูกต้องทันที ที่เห็นคำ
คะแนน 3 หมายถึง มีพฤติกรรมการอ่านออกเสียงคำ
ได้ถูกต้องแต่ต้องใช้เวลาในการออกเสียง ไม่เกิน 1 นาที
คะแนน 2 หมายถึง มีพฤติกรรมการอ่านออกเสียงคำ
ได้ถูกต้องแต่ต้องใช้เวลาในการออกเสียงนานมากกว่า 1 นาที
คะแนน 1 หมายถึง มีพฤติกรรมการอ่านออกเสียงคำ
ได้ถูกต้องแต่ครูต้องคอยช่วยเหลือในการอ่าน
คะแนน 0 หมายถึง มีพฤติกรรมนิ่ง ไม่อ่าน หรืออ่าน
ไม่ได้
81

คำ คะแนนพฤติกรรมอ่านออก สรุป
เสียงคำ ผ่าน ไม่
ผ่าน
กบ
ดาบ
คาบ
ตอบ
ชอบ
รอบ
แคบ
รีบ
ยางลบ
ตะเกียบ
อาบ
เก็บ
กลับ
กับ
จับ
กราบ
พบ
พับ
กับ
ตะขาบ
รวมคะแนน
82

ร้อยละ

เกณฑ์การผ่าน :
คะแนนการอ่านคำแต่ละคำต้องได้ 3 คะแนนขึน
้ ไป
ผ่านเกณฑ์
คะแนนรวม 14 คะแนนขึน
้ ไป ผ่านเกณฑ์ คิดเป็ นร้อย
ละ 70

แบบบันทึกการทดสอบความสามารถในการอ่านคำ
83

ชื่อ.............................................................................ชัน
้ ..........................
....คนที่...........
วันที่สอบ ................................................................. คะแนนที่
ได้.................................
คำชีแ
้ จง 1. แบบทดสอบมีทงั ้ หมด 20 คำ 20 คะแนน เวลา 30
นาที
2. ให้นักเรียนอ่านคำที่ครูกำหนดให้ แล้วครู
เป็ นผู้บันทึกการอ่านคำ
ของนักเรียนลงในกระดาษคำตอบ
84

คำ บันทึกการอ่านออกเสียง คะแนน
คำ
กบ กบ 1
ดาบ
คาบ
ตอบ
ชอบ
รอบ
แคบ
รีบ
ยางลบ
ตะเกีย

อาบ
เก็บ
กลับ
กับ
จับ
กราบ
พบ
พับ
กับ
85

ตะขาบ
รวม
ร้อยละ
เกณฑ์การให้คะแนน :
อ่านออกเสียงได้ถูกต้อง 1 คำ ได้ 1 คะแนน
อ่านไม่ถูกต้องได้ 0 คะแนน
เกณฑ์การผ่าน: ได้คะแนนรวม 14 คะแนนขึน
้ ไป ผ่านเกณฑ์ คิด
เป็ นร้อยละ 70
บรรณานุกรม

นางโสภา ลากอก. บทความบทความรู้และเข้าใจเด็กที่มีภาวะ


บกพร่องทางการเรียนรู้ (LD) พร้อมความต้องการพิเศษ
ของเด็ก. เอกสารเผยแพร่ 4/2555.

ศ.ดร. ผดุง อารยวิญญู ภาควิชาการศึกษาพิเศษ คณะศึกษาศาสตร์


มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว.)

นพ.ธีระเกียติ เจริญเศรษฐศิลป์ พบ. MRCPsych( UK),ภาควิชา


จิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ศ.ศรียา นิยมธรรม ,ภาควิชาการศึกษาพิเศษ คณะศึกษาศาสตร์ มศว.

เพียงทิพย์ พรหมพันธ์. เด็กสมาธิสน


ั ้ . 2549. สำนักพิมพ์ For Chlld :
กรุงเทพมหานคร
86

www.sped.nrru.ac.th/km/km2/mr/ - 17k

http://specialed-center1.com/page/wichakan_ld2.htm

http://specialed-center1.com/page/wichakan_dislaksia.htm

http://specialed-center1.com/page/wichakan_school.htm

http://www.oknation.net/blog/nam-peth/2008/09/05/entry-
1

http://www.braille-cet.in.th/braille/braille-uploads/libs/LD
%20 คืออะไร_74d9.doc

www.clinicrak.com, www.elib-online.com, http://


happyhomeclinic.com,

You might also like