You are on page 1of 4

การวิเคราะห์ค ำถามวิชากฎหมาย 1

การวิเคราะห์ค ำถามเป็ นเรื่ องสำคัญสำหรับนักศึกษาหรื อผูเ้ ข้าสอบมากเพราะ


การวิเคราะห์ คำถามที่ถูกต้องจะนำไปสู่ การตอบคำถามได้อย่างถูกต้อง วิธีการ
วิเคราะห์ค ำถามเริ่ มด้วยการอ่านคำ ถามหรื อข้อสอบอย่างช้าๆ มีสติและสมาธิ
ซึ่ งจะทำ ให้เกิดความเข้าใจกับคำ ถามว่า ต้องการถามอะไรหรื อทดสอบอะไร
คือการจับประเด็นคำถาม นัน่ เองแต่กม็ กั จะปรากฏอยูเ่ สมอว่า เมื่อนักศึกษา
อ่านข้อสอบจบข้อแล้วก็ยงั ไม่ทราบว่าถามอะไร หรื อยังจับประเด็นไม่ได้ผู ้
เขียนข้อเสนอวิธีที่จะช่วยให้นกั ศึกษาจับประเด็นคำถามได้ถูกต้องและ ง่ายขึ้น
คือในขณะที่นกั ศึกษาอ่านข้อสอบเมื่ออ่านถึงชื่อบุคคลหรื อสถานที่กใ็ ห้ท ำ
เครื่ องหมายโดย วงกลมชื่อนั้นๆ ไว้ ส่ วนข้อความสำคัญก็ให้ขีดเส้นใต้ไว้ และ
หากนึกตัวบทกฎหมายหรื อคำพิพากษา ฎีกาที่เกี่ยวข้องได้ขณะนั้น ก็ให้เขียน
ย่อๆ ไว้ในข้อสอบหรื อที่วา่ งข้างข้อสอบนั้น แต่ท้ งั นี้ตอ้ งระวัง ว่ามีค ำสัง่ หรื อ
ระเบียบการสอบห้ามมิให้ขีดเขียนในกระดาษคำถามหรื อไม่ ซึ่ งส่วนใหญ่แล้ว
จะไม่มี ข้อห้ามดังกล่าววิธีการวงกลมชื่อบุคคลหรื อสถานที่น้ี จะช่วยให้
นักศึกษาไม่พลาด กรณี ในคำถามมี ตัวละครเป็ นชื่อบุคคลหลายคน และชื่อ
คล้ายกัน เช่น นายสี นายแสง นายใส นายสุ ข และนายเสาร์ เป็ นต้น สมัยที่ผู ้
เขียนยังเป็ นนักศึกษาอยูก่ ็ เคยนึกต่อว่า ผูอ้ อกข้อสอบว่า มีชื่ออื่นตั้งมากมาย
ทำไมไม่ ตั้งชื่อตัวละครให้แตกต่างกันได้ไม่สบั สน เมื่อผูเ้ ขียนได้ถามอาจารย
ผู ้ ออกข้อ สอบก็ได้ความกระจ่าง ว่า อาจารย์ผอู ้ อกข้อสอบต้องการทดสอบ
มิใช่เพียงความรู ้ทางกฎหมายเท่าน้นั แต่ยงั ต้องการ ทดสอบความละเอียด
รอบคอบพร้อมทั้งเชาว์ของนักศึกษาอีกด้วย จึงได้ออกข้อสอบเช่นนั้น ดังนั้น
ถ้านักศึกษาพบลักษณะคำถามทำนองนี้กอ็ ย่างเพิ่มอารมณ์เสี ยเพราะอาจจะทา
ให้ท ำให้ท ำข้อสอบ ไม่ได้ วิธีช่วยการวิเคราะห์ค ำถามอีกวิธีหนึ่งก็คือให้
สังเกตข้อความในตอนท้ายคำถามว่าถาม อะไรโดยที่โครงสร้างของคำถาม
ประเภทปั ญหาวินิจฉัยนั้น อาจแยกเป็ นสามส่ วนด้วยกันคือ
ส่ วนแรก เป็ นข้อเท็จจริ งบรรยายถึงพฤติการณ์แห่งการกระทำ หรื อข้อเท็จจริ ง
อื่นๆ ซึ่ งจะนำไปสู่ สิ่งที่เป็ นปั ญหาให้วนิ ิจฉัย ส่ วนที่สองเป็ นข้อเท็จจริ งที่เป็ น
ปั ญหาให้วนิ ิจฉัย และส่ วนที่สาม อยูต่ อนสุ ดท้ายของคำถาม ซึ่ งมักจะใช้คา ว่า
“ดังนี้...” หรื อ “ถ้าท่านเป็ นผูพ้ ิพากษาท่านจะวินิจฉัยอย่างไร” เป็ นต้น เมื่อ
กล่าวถึงตอนนี้ นกั ศึกษาคงอยากจะได้เห็นตัวอย่างการวิเคราะห์ค ำถามขอให้ใจ
เย็นๆไว้ก่อนเพราะผูเ้ ขียนมีตวั อย่างหูดูอีกมากมายในภาค 2 ซึ่ งจะยกตัวอย่าง
ให้ดูลว้ นๆ อย่างจุใจทีเดียว
4.วิธีฝึกเขียนตอบ ก่อนที่จะกล่าวถึงวิธีฝึกตอบ ขอกล่าวถึงหลักสำคัญของ
การตอบข้อสอบเสี ยก่อน การเขียน ตอบที่ดีควรประกอบด้วยองค์ประกอบดัง
ต่อไปนี้
1. ตอบถูกต้องตรงประเด็น และครบถ้วน
2. ภาษาที่ใช้ตอ้ งเป็ นภาษากฎหมาย
3. ชัดเจนกะทัดรัด ไม่ฟมเฟื ุ่ อย
4. ลายมือเขียนต้องอ่านง่ายและสะอาด
5. ทำไม่ผดิ คำสัง่
ตอบถูกต้องตรงประเด็นและครบถ้วน หมายถึงในคำถามแต่ละข้อจะมีประเด็น
ที่ถามอยู่ หลายประเด็น โดยจะมีประเด็นหลักกับ ประเด็นรอง เกณฑ์การให้
คะแนนของกรรมการผูต้ รวจสอบ ข้อสอบจะให้คะแนนในประเด็นหลัก
มากกว่าประเด็นรอง นักศึกษาจะต้องตอบให้ครบทุกประเด็น จึงจะได้คะแนน
ดี ซึ่ งการฝึ กฝนทำได้ดว้ ยการเอาข้อสอบเก่ามาหัดทำโดยการอ่านคำถามแล้ว
ตอบ ในใจจากนั้นก็ดูธงคำตอบประกอบแล้วหัดแยกประเด็นด้วยการสังเกต
จากธงคำตอบ
ภาษาที่ใช้เขียนตอบต้องเป็ นภาษากฎหมาย ดังที่ได้กล่าวมาแล้วในเรื่ องของ
การใช้ภาษาใน การเขียนตอบว่าต้องใช้ภาษากฎหมาย ไม่ใช่ภาษาชาวบ้าน
เพราะหากไม่ใช้ภาษากฎหมายก็อาจจะถูกหักคะแนน หรื อได้คะแนนไม่ดีเช่น
ในความผิดฐานลักทรัพย์ภาษากฎหมายใช้วา่ “ผูใ้ ดเอาทรัพย์ของผูอ้ ื่นไป” ถ้า
นักศึกษาเขียนว่า “ผูใ้ ดนำทรัพย์ของผูอ้ ื่นไป...” ก็จะทำให้เสี ยคะแนนได้
ชัดเจน กะทัดรัด ไม่ฟมเฟื ุ่ อย หมายถึงการเขียนตอบแต่เนื้อๆ ตรงประเด็นไม่
อ้อมค้อม เหมือนขี้มา้ เลียบค่ายเลี้ยวไปเลี้ยวมาการเขียนตอบที่ดีไม่ควรจะเกิน
หนึ่งหน้ากระดาษมาตรฐานเอสี่ (A4) หรื อประมาณ 3 ส่วน 4 หน้า
กระดาษมาตรฐาน ลายมือเขียนตอบต้องอ่านง่าย และสะอาด หมายถึง เขียน
ให้ผตู ้ รวจอ่านง่ายไม่เล่นหางหรื อ เขียนหวดัจนเกินไป เพราะกรรมการผูต้ รวจ
ข้อ สอบมาเป็ นร้อยคนเป็ นพันคน ผูเ้ ข้าสอบจึงควรช่วย แบ่งเบาภาระท่าน
กรรมการผูต้ รวจขอ้สอบด้วยการเขียนให้อ่านง่ายๆ และสะอาดเรี ยบร้อย ทำไม่
ผิดคำสัง่ หมายถึงคำสัง่ ที่ระบุให้ผเู ้ ข้าสอบปฏิบตั ิงานในการสอบ เช่น ไม่เขียน
ตอบ สองข้อในกระดาษแผ่น เดียวกันหรื อเมื่อเขียนผิดให้ขีดฆ่าโดยไม่ตอ้ ง
ลงชื่อกำกับหรื อให้ใช้ปากกา สี น้ำเงินเขียนคำตอบเท่าน้นั ห้ามใช้สีอื่น เป็ นต้น
คำสัง่ เหล่านี้หากนักศึกษาปฏิบตั ิไม่ถูกต้องก็ อาจจะทำให้เสี ยคะแนนหรื ออาจ
ถูกปรับให้ตกเลยทีเดียว
5. การวางแผนเขียนคำตอบ การวางแผนการเขียนตอบ นักศึกษามักจะ
ประสบปั ญหาไม่ทราบว่าจะเริ่ มเขียนตอบ อย่างไร หรื อบางคร้ังเมื่อเขียนไป
จวนจะจบข้อแล้วก็คิดขึ้นมาว่า ควรจะเอาข้อความที่อยูต่ รงกลาง ข้อขึ้นไป
ตอบข้างบน จึงจะสละสลวย จะแก้ไขเขียนใหม่กไ็ ม่ทนั เวลาจึงต้องปล่อยเลย
ตามเลยทำให้คะแนนน้อยกว่าเท่าที่ควร ปั ญหานี้ แก้ไปได้ดว้ ยการฝึ กฝนวาง
โครงสร้างของคำตอบเสี ยก่อน แล้วจึงจะลงมือเขียน โครงสร้างของการเขียน
ตอบอาจแบ่งได้เป็ น 4 แบบด้วยกัน คือ
1. แบบสี่ ส่วน
2. แบบสามส่ วน
3. แบบสองส่ วน
4. แบบหนึ่งส่ วน คำว่า “ส่วน” ที่กล่าวนี้เรี ยกตามจำนวนย่อหน้าที่เขียน
ตอบ กล่าวคือถ้ามี3 ย่อ หน้าก็เรี ยกว่า สามส่ วน ถ้ามี2 ย่อ หน้าก็เรี ยกว่าสอง
ส่ วน และถ้ามียอ่ หน้าเดียวก็เรี ยกว่าหนึ่งส่ วน 6 แบบสี่ ส่วน คือย่อ หน้าที่
หนึ่งเป็ นประเด็จคำถามที่ประสงค์จะตอบย่อหน้าที่สองเป็ นหลักกฎหมาย ย่อ
หน้าที่สามเป็ นการปรับข้อเท็จจริ งในคำถามกับหลักกฎหมายและย่อหน้าที่สี่
เป็ นการสรุ ปคำตอบ แบบสามส่ วน คือย่อ หน้าที่หนึ่งเป็ นหลักกฎหมาย ย่อ
หน้าที่สองเป็ นการปรับข้อเท็จจริ งในคำถามกับหลักกฎหมายและย่อหน้าที่
สามเป็ นการสรุ ปคำตอบ แบบสองส่ วน คือ มีสองย่อหน้าโดยย่อหน้าแรก
เป็ นการจับประเด็นย่อหน้าสองเป็ นการ วินิจฉัยและตอบ แบบส่ วนเดียว มี
เพียงย่อ หน้าเดียว หรื อที่มกั จะเรี ยกกันว่าตอบแบบฟันธงคือเมื่อเริ่ มเขียน ก็
วินิจฉัยคำตอบเลยแล้วจึงอธิบายหลักกฎหมายประกอบ การเขียนตอบแบบนี้
เหมาะกับการสอบ เนติบณ ั ฑิต อัยการผูช้ ่วยหรื อผูช้ ่วยผูพ้ ิพากษาเพราะ
ประหยัดเวลาในการเขียนตอบดีมากและแสดง ให้เห็นว่าผูเ้ ข้าสอบเขียนตอบมี
ความรู ้ความชำนาญในกฎหมายเป็ นอย่างดีแต่อย่างไรก็ตามถ้ามีการ ฝึ กซ้อม
เขียนตอบที่ดีแล้วก็จะมีเวลาเหลือมาก ซึ่ งหากเป็ นเช่นนี้กข็ อแนะนำว่าควรจะ
ตอบแบบสาม ส่วนบ้างในบางข้อที่มนั่ ใจในคำตอบ และหลักกฎหมาย เพราะ
การตอบแบบสามส่ วนทำให้ได้ คะแนนมากที่สุด

You might also like