You are on page 1of 26

1

การเขียนตอบข้ อสอบวิชากฎหมาย1

การทดสอบความรู ้ ท างกฎหมายไม่ ว่ า ในระดั บ ปริ ญญาทางกฎหมาย เนติ บ ัณ ฑิ ต


ทนายความ ผูช้ ่ วยผูพ้ ิพากษา อัยการผูช้ ่ วย หรื อสายวิชาชี พกฎหมายต่างๆ จะให้ความสาคัญใน
วิธีการเขียนตอบข้อสอบวิชากฎหมายมากกว่าวิธีอื่น ดังนั้น ผูถ้ ูกทดสอบจะต้องเขียนตอบข้อสอบ
ได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน ครบประเด็นเป็ นขั้นเป็ นตอน สละสลวยโดยใช้ภาษาทางกฎหมายจึงจะได้
คะแนนดี
การเขียนตอบข้อสอบวิชากฎหมาย ( ยงยศ เอี่ยมทอง) มี หลัก ปรัชญา “ท าอย่างไรผูถ้ ู ก
ทดสอบจึงสามารถสื่ อความหมาย หรื อถ่ ายทอดความรู ้ ออกมาเป็ นภาษาเขี ยนให้ผูท้ ดสอบหรื อ
กรรมการผูต้ รวจข้อสอบทราบว่า ผูถ้ ูกทดสอบมีความรู ้ในวิชากฎหมายตามที่ถูกสอบ” นัน่ คือ ผูถ้ ูก
ทดสอบจะต้องเขี ยนตอบข้อสอบได้อย่างถู กต้องชัดเจนครบประเด็น เป็ นขั้นเป็ นตอนกะทัดรั ด
สละสลวยโดยใช้ภาษากฎหมาย
1. การใช้ ภาษาเขียน
การใช้ภาษาเขียนตอบ เนื่องจากเป็ นการทดสอบความรู ้ทางกฎหมายภาษาที่ใช้จึงต้องเป็ น
ภาษากฎหมาย คงจะมีบางท่านสงสัยว่า ภาษากฎหมายที่วา่ นี้ เอามาจากไหนคาตอบก็คือ สกัดเอามา
จาก ตัวบท และ คาพิพากษาฎีกา เช่น มีคาถามที่ให้วนิ ิ จฉัยเรื่ องฎีกาความผิดฐานรับของโจรซึ่ งตาม
ประมวลอาญา มาตรา 357 มีลกั ษณะของการกระทาที่เป็ นองค์ประกอบความผิดหลายประการคือ
ช่ วยซ่ อนเร้ น ช่ วยจาหน่ าย ช่ วยพาเอาไป ซื้ อไว้ รับจานา หรื อ รับไว้โดยประการอื่น แต่คาถามมี
ข้อเท็จจริ งพียงว่าจาเลยช่ วยรับเอาไว้ เพื่อจาหน่ าย ดังนี้ ก็สกัดเอาถ้อยคาในตัวบทเฉพาะเรื่ องช่ วย
จาหน่ายเท่านั้น เป็ นต้น

1 ทศพร มูลรัตน์. วิจัยเรื่ อง การใช้ กระบวนการกลุ่มในการพัฒนาทักษะการเขียนตอบข้ อสอบของ


นักศึกษา ใน รายวิชากฎหมายลักษณะทรัพย์สิน(LW2201). เชียงราย : มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย,
2553
2

2. ประเภทคาถามวิชากฎหมาย
ประเภทคาถามหรื อประเภทข้อสอบ อาจแบ่งออกเป็ นประเภทใหญ่ๆ ได้ 3 ประเภท คือ 1
1. ประเภทความจา
2. ประเภทปัญหาวินิจฉัย
3. ประเภทบรรยาย
คาถามประเภทความจา มักจะใช้ทดสอบในระดับปริ ญญาตรี เพราะต้องการทดสอบว่า
นักศึกษาจาหลักกฎหมายได้หรื อไม่ ตัวอย่าง เช่น ถามว่า บ่อเกิดแห่ งหนี้ มีกี่ประการ อะไรบ้าง หรื อ
โทษตามาประมวลกฎหมายอาญามี กี่ประเภทอะไรบ้าง เป็ นต้น การเขี ยนตอบคาถามประเภทนี้
นับ ว่าง่ายมาก เพราะเพี ยงแต่เขี ยนตอบให้ครบตามตัวบทกฎหมาย จัดย่อหน้าและวรรคตอนให้
สวยงาม อ่านง่ายก็เพียงพอแล้ว
คาถามปั ญ หาวินิ จฉั ย เป็ นค าถามหรื อข้อสอบที่ มีทุ ก สนามทั้งในระดับ ปริ ญ ญาตรี เนติ
บัณฑิ ต นิ ติกร อัยการผูช้ ่ วย และผูพ้ ิพากษา เพราะข้อสอบประเภทนี้ สามารถทดสอบผูเ้ ข้าสอบว่ามี
ความรู ้กฎหมายดีเพียงใด สามารถนาเอาความรู ้มาใช้ได้จริ งหรื อไม่และยังสามารถทดสอบเชาว์หรื อ
ไหวพริ บได้เป็ นอย่างดี
คาถามปั ญหาวินิจฉัยหรื อที่ เรี ยกกันติ ดปากว่า ปั ญหาตุ๊กตา นั้น ลัก ษณะคาถามเป็ นการ
สร้างเรื่ องเหตุการณ์หรื อสมมุติขอ้ เท็จจริ งขึ้นมา ซึ่ งผูอ้ อกข้อสอบอาจจะสร้างขึ้นมาหรื อดัดแปลงมา
จากคาพิพากษาฎีกาก็ได้ แล้วให้ผเู ้ ข้าสอบหรื อผูถ้ ูกทดสอบวินิจฉัยหาคาตอบโดยอาศัยเหตุจากหลัก
ตัวบทกฎหมาย
คาถามประเภทบรรยาย มักใช้ทดสอบความรู ้ในระดับปริ ญญาโท หรื อปริ ญญาเอกเพราะ
การศึกษาทั้งสองระดับดังกล่าวนี้ มุ่งที่จะเพาะแนวคิดทฤษฎี กฎหมายและฝึ กให้นกั ศึกษาหรื อคิ ด
ทฤษฎี หมายใหม่ๆ ทาให้วิชานิ ติศาสตร์ มีการพัฒนาในเชิ งวิชาการ ดังนั้น ลักษณะคาถามประเภท

1
ยงยศ เอี่ยมทอง. คู่มือนักศึกษา เขียนตอบข้ อสอบวิชากฎหมาย ภาคหนึ่ง. พิมพ์อกั ษร : กรุ งเทพฯ,
2550 หน้า 1 - 2
3

บรรยายจึงมักจะตั้งคาถามให้นกั ศึกษาหรื อผูเ้ ข้าสอบได้แสดงความเห็น และเขียนตอบแบบบรรยาย


ความ
3. การวิเคราะห์ คาถามวิชากฎหมาย 1
การวิเคราะห์คาถามเป็ นเรื่ องสาคัญสาหรับนักศึกษาหรื อผูเ้ ข้าสอบมากเพราะการวิเคราะห์
คาถามที่ถูกต้อง จะนาไปสู่ การตอบคาถามได้อย่างถูกต้อง
วิธีการวิเคราะห์คาถามเริ่ มด้วยการอ่านคาถามหรื อข้อสอบอย่างช้าๆ มีสติและสมาธิ ซ่ ึ งจะ
ทาให้เกิ ดความเข้าใจกับคาถามว่า ต้องการถามอะไรหรื อทดสอบอะไรคือการจับประเด็นคาถาม
นัน่ เอง แต่ก็มกั จะปรากฏอยูเ่ สมอว่า เมื่อนักศึกษาอ่านข้อสอบจบข้อแล้วก็ยงั ไม่ทราบว่า ถามอะไร
หรื อยังจับประเด็นไม่ได้ ผูเ้ ขียนขอเสนอวิธีที่จะช่ วยให้นกั ศึกษาจับประเด็นคาถามได้ถูกต้องและ
ง่ายขึ้น คือในขณะที่นักศึ กษาอ่ านข้ อสอบเมื่ ออ่ านถึงชื่ อบุคคลหรื อสถานที่ก็ให้ ทาเครื่ องหมายโดย
วงกลมชื่ อนั้นๆ ไว้ ส่ วนข้ อความสาคัญก็ให้ ขีดเส้ นใต้ ไว้ และหากนึกตัวบทกฎหมายหรื อคาพิพากษา
ฎีกาที่เกี่ยวข้ องได้ ขณะนั้ น ก็ให้ เขียนย่ อๆ ไว้ ในข้ อสอบหรื อที่ว่างข้ างข้ อสอบนั้น แต่ ท้ังนี้ต้องระวัง
ว่ามีคาสั่ งหรื อระเบียบการสอบห้ ามมิให้ ขีดเขียนในกระดาษคาถามหรื อไม่ ซึ่ งส่ วนใหญ่แล้วจะไม่มี
ข้อห้ามดังกล่าว วิธีการวงกลมชื่ อบุคคลหรื อสถานที่น้ ี จะช่วยให้นกั ศึกษาไม่พลาด กรณี ในคาถามมี
ตัวละครเป็ นชื่ อบุคคลหลายคน และชื่ อคล้ายกัน เช่น นายสี นายแสง นายใส นายสุ ข และนายเสาร์
เป็ นต้น สมัยที่ผเู ้ ขียนยังเป็ นนักศึกษาอยูก่ ็เคยนึ กต่อว่าผูอ้ อกข้อสอบว่ามีชื่ออื่นตั้งมากมายทาไมไม่
ตั้งชื่อตัวละครให้แตกต่างกันได้ไม่สับสน เมื่อผูเ้ ขียนได้ถามอาจารย์ผอู ้ อกข้อสอบก็ได้ความกระจ่าง
ว่า อาจารย์ผู อ้ อกข้อ สอบต้อ งการทดสอบมิ ใ ช่ เพี ย งความรู ้ ท างกฎหมายเท่ านั้น แต่ ย งั ต้องการ
ทดสอบความละเอียดรอบคอบพร้อมทั้งเชาว์ของนักศึกษาอีกด้วย จึงได้ออกข้อสอบเช่นนั้น ดังนั้น
ถ้านักศึกษาพบลักษณะคาถามทานองนี้ ก็อย่างเพิ่มอารมณ์ เสี ยเพราะอาจจะทาให้ทาให้ทาข้อสอบ
ไม่ได้
วิธีช่วยการวิเคราะห์ คาถามอี กวิธีหนึ่ งก็คือ ให้สังเกตข้อความในตอนท้ายคาถามว่าถาม
อะไร โดยที่โครงสร้างของคาถามประเภทปั ญหาวินิจฉัยนั้น อาจแยกเป็ นสามส่ วนด้วยกันคือ

1
ยงยศ เอี่ยมทอง. คู่มือนักศึกษา เขียนตอบข้ อสอบวิชากฎหมาย ภาคหนึ่ง. พิมพ์อกั ษร : กรุ งเทพฯ,
2550 หน้า 2 - 3
4

ส่ วนแรก เป็ นข้อเท็จจริ งบรรยายถึงพฤติการณ์ แห่ งการกระทาหรื อข้อเท็จจริ งอื่นๆ ซึ่ งจะ
นาไปสู่ สิ่งที่เป็ นปั ญหาให้วนิ ิจฉัย
ส่ วนทีส่ อง เป็ นข้อเท็จจริ งที่เป็ นปัญหาให้วนิ ิจฉัย และ
ส่ วนที่ส าม อยู่ตอนสุ ดท้ายของค าถาม ซึ่ ง มัก จะใช้ค าว่า “ดัง นี้ ...” หรื อ “ถ้าท่ านเป็ นผู ้
พิพากษาท่านจะวินิจฉัยอย่างไร” เป็ นต้น
เมื่อกล่าวถึ งตอนนี้ นักศึกษาคงอยากจะได้เห็ นตัวอย่างการวิเคราะห์ คาถามขอให้ใจเย็นๆ
ไว้ก่อนเพราะผูเ้ ขียนมีตวั อย่างหู ดูอีกมากมายในภาค 2 ซึ่ งจะยกตัวอย่างให้ดูลว้ นๆ อย่างจุใจทีเดียว
4. วิธีฝึกเขียนตอบ
ก่อนที่จะกล่าวถึงวิธีฝึกตอบ ขอกล่าวถึงหลักสาคัญของการตอบข้อสอบเสี ยก่อน การเขียน
ตอบที่ดีควรประกอบด้วยองค์ประกอบดังต่อไปนี้1
1. ตอบถูกต้องตรงประเด็น และครบถ้วน
2. ภาษาที่ใช้ตอ้ งเป็ นภาษากฎหมาย
3. ชัดเจน กะทัดรัด ไม่ฟุ่มเฟื อย
4. ลายมือเขียนต้องอ่านง่าย และสะอาด
5. ทาไม่ผดิ คาสั่ง
ตอบถู กต้ องตรงประเด็นและครบถ้ วน หมายถึ งในคาถามแต่ละข้อจะมีประเด็นที่ถามอยู่
หลายประเด็น โดยจะมีประเด็นหลักกับประเด็นรอง เกณฑ์การให้คะแนนของกรรมการผูต้ รวจสอบ
ข้อสอบจะให้คะแนนในประเด็นหลักมากกว่าประเด็นรอง นักศึกษาจะต้องตอบให้ครบทุกประเด็น
จึงจะได้คะแนนดี ซึ่ งการฝึ กฝนทาได้ดว้ ยการเอาข้อสอบเก่ามาหัดทาโดยการอ่านคาถามแล้วตอบ
ในใจจากนั้นก็ดูธงคาตอบประกอบแล้วหัดแยกประเด็นด้วยการสังเกตจากธงคาตอบ
ภาษาทีใ่ ช้ เขียนตอบต้ องเป็ นภาษากฎหมาย ดังที่ได้กล่าวมาแล้วในเรื่ องของการใช้ภาษาใน
การเขียนตอบว่าต้องใช้ภาษากฎหมาย ไม่ใช่ ภาษาชาวบ้านเพราะหากไม่ใช้ภาษากฎหมายก็อาจจะ

1
ยงยศ เอี่ยมทอง. คู่มือนักศึกษา เขียนตอบข้ อสอบวิชากฎหมาย ภาคหนึ่ง. พิมพ์อกั ษร : กรุ งเทพฯ,
2550 หน้า 3 - 4
5

ถู กหัก คะแนน หรื อได้คะแนนไม่ดี เช่ นในความผิดฐานลัก ทรัพ ย์ภาษากฎหมายใช้ว่า “ผูใ้ ด เอา
ทรัพย์ ของผูอ้ ื่นไป” ถ้านักศึกษาเขียนว่า “ผูใ้ ดนา ทรัพย์ของผูอ้ ื่นไป...” ก็จะทาให้เสี ยคะแนนได้
ชั ดเจน กะทัด รั ด ไม่ ฟุ่ มเฟื อย หมายถึ งการเขีย นตอบแต่ เนื้ อๆ ตรงประเด็นไม่ออ้ มค้อม
เหมือนขี้มา้ เลียบค่ายเลี้ยวไปเลี้ยวมา การเขียนตอบที่ดีไม่ควรจะเกินหนึ่งหน้ากระดาษมาตรฐานเอสี่
(A4) หรื อประมาณ 3 ส่ วน 4 หน้ากระดาษมาตรฐาน
ลายมือเขียนตอบต้ องอ่ านง่ าย และสะอาด หมายถึง เขียนให้ ผูต้ รวจอ่านง่ายไม่เล่นหางหรื อ
เขียนหวัดจนเกินไป เพราะกรรมการผูต้ รวจ ข้อสอบมาเป็ นร้อยคนเป็ นพันคน ผูเ้ ข้าสอบจึงควรช่วย
แบ่งเบาภาระท่านกรรมการผูต้ รวจข้อสอบด้วยการเขียนให้อ่านง่ายๆ และสะอาดเรี ยบร้อย
ทาไม่ ผิดคาสั่ ง หมายถึงคาสั่งที่ระบุให้ผูเ้ ข้าสอบปฏิบตั ิงานในการสอบ เช่ น ไม่เขียนตอบ
สองข้อในกระดาษแผ่นเดียวกัน หรื อเมื่อเขียนผิดให้ขีดฆ่าโดยไม่ตอ้ งลงชื่อกากับหรื อให้ใช้ปากกา
สี น้ าเงิ นเขี ยนค าตอบเท่ านั้น ห้ ามใช้สี อื่น เป็ นต้น คาสั่ งเหล่ านี้ หากนัก ศึ กษาปฏิ บ ตั ิ ไม่ ถู ก ต้องก็
อาจจะทาให้เสี ยคะแนนหรื ออาจถูกปรับให้ตกเลยทีเดียว
5. การวางแผนเขียนคาตอบ
การวางแผนการเขี ย นตอบ นัก ศึ ก ษามัก จะประสบปั ญ หาไม่ ท ราบว่าจะเริ่ ม เขี ย นตอบ
อย่างไร หรื อบางครั้งเมื่อเขียนไปจวนจะจบข้อแล้ว ก็คิดขึ้นมาว่าควรจะเอาข้อความที่อยู่ตรงกลาง
ข้อขึ้นไปตอบข้างบน จึงจะสละสลวย จะแก้ไขเขียนใหม่ก็ไม่ทนั เวลา จึงต้องปล่อยเลยตามเลยทา
ให้คะแนนน้อยกว่าเท่าที่ ควร ปั ญหานี้ แก้ไปได้ดว้ ยการฝึ กฝนวางโครงสร้ างของคาตอบเสี ยก่อน
แล้วจึงจะลงมือเขียน โครงสร้างของการเขียนตอบอาจแบ่งได้เป็ น 4 แบบด้วยกัน คือ
1. แบบสี่ ส่วน
2. แบบสามส่ วน
3. แบบสองส่ วน
4. แบบหนึ่งส่ วน
คาว่า “ส่ วน” ที่กล่าวนี้เรี ยกตามจานวนย่อหน้าที่เขียนตอบ กล่าวคือถ้ามี 3 ย่อหน้าก็เรี ยกว่า
สามส่ วน ถ้ามี 2 ย่อหน้าก็เรี ยกว่า สองส่ วน และถ้ามียอ่ หน้าเดียวก็เรี ยกว่า หนึ่งส่ วน
6

แบบสี่ ส่วน คือ ย่อหน้าที่หนึ่ งเป็ นประเด็จคาถามที่ประสงค์จะตอบ ย่อหน้าที่สองเป็ นหลัก


กฎหมาย ย่อหน้าที่สามเป็ นการปรับข้อเท็จจริ งในคาถามกับหลักกฎหมาย และย่อหน้าที่สี่เป็ นการ
สรุ ปคาตอบ
แบบสามส่ วน คือ ย่อหน้าที่หนึ่งเป็ นหลักกฎหมาย ย่อหน้าที่สองเป็ นการปรับข้อเท็จจริ งใน
คาถามกับหลักกฎหมาย และย่อหน้าที่สามเป็ นการสรุ ปคาตอบ
แบบสองส่ วน คื อ มีสองย่อหน้าโดยย่อหน้าแรกเป็ นการจับประเด็น ย่อหน้าสองเป็ นการ
วินิจฉัยและตอบ
แบบส่ วนเดียว มีเพียงย่อหน้าเดียว หรื อที่มกั จะเรี ยกกันว่า ตอบแบบฟันธง คือ เมื่อเริ่ มเขียน
ก็วินิจฉัยคาตอบเลย แล้วจึงอธิ บายหลักกฎหมายประกอบ การเขียนตอบแบบนี้ เหมาะกับการสอบ
ั ฑิต อัยการผูช้ ่วยหรื อผูช้ ่วยผูพ้ ิพากษาเพราะประหยัดเวลาในการเขียนตอบดีมาก และแสดง
เนติบณ
ให้เห็นว่า ผูเ้ ข้าสอบเขียนตอบมีความรู ้ความชานาญในกฎหมายเป็ นอย่างดี แต่อย่างไรก็ตามถ้ามีการ
ฝึ กซ้อมเขียนตอบที่ดีแล้วก็จะมีเวลาเหลือมาก ซึ่ งหากเป็ นเช่นนี้ ก็ขอแนะนาว่าควรจะตอบแบบสาม
ส่ วนบ้างในบางข้อที่ ม นั่ ใจในคาตอบ และหลัก กฎหมาย เพราะการตอบแบบสามส่ วนท าให้ได้
คะแนนมากที่สุด
7

โครงสร้ างการเขียนตอบแบบสี่ ส่วน

คาตอบ
กรณี ตามปัญหามีประเด็นที่ตอ้ งวินิจฉัยคือ
ประเด็นปัญหา ประเด็นที่หนึ่ง คือ ...........................................................................................
ประเด็นที่สอง คือ ............................................................................................
กรณี ตามปั ญหาประมวลกฎหมาย.......................................วางหลักกฎหมาย
ไว้วา่ .................................................................................................................
หลักกฎหมาย ........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
ข้อเท็จจริ งตามปัญหา การที่.......................................................................
ปรับข้ อเท็จ .........................................................................................................................
จริงให้ เข้ ากับ ..........................................................................................................................
หลักกฎหมาย .........................................................................................................................
ทีย่ กมาไว้ใน .........................................................................................................................
ย่อหน้ าแล้ว .........................................................................................................................
ด้วยเหตุผลดังที่ได้วนิ ิจฉัยมาแล้วข้างต้น.....................................................
สรุ ปคาตอบ ........................................................................................................................

การเขียนตอบในลักษณะนี้ จะมีการกาหนดประเด็นที่จะต้องวินิจฉัยไว้ต้ งั แต่แรก เพื่อให้มี


การกาหนดทิศทางในการเขียนตาตอบเอาไว้และสะดวกต่อกรรมการผูต้ รวจในการตรวจและให้
คะแนน โดยกรรมกราสอบหรื อผูต้ รวจข้อสอบจะแบ่งคะแนนในข้อนั้นๆ ออกเป็ นสี่ ส่วน คือ ส่ วน
ของการกาหนดประเด็นในการวินิจฉัย ส่ วนของหลักกฎหมาย ส่ วนของการวินิจฉัยข้อเท็จจริ งโดย
อาศัยหลักกฎหมายที่ ยกมานั้นมาปรับ และส่ วนของสรุ ปคาตอบ โดยคะแนนทั้งสี่ ส่วนนี้ จะแบ่ง
8

คะแนนไม่ เท่ า กัน เช่ น คะแนนเต็ ม 20 คะแนนอาจแบ่ ง ให้ ก าหนดประเด็ น 2-4 คะแนน หลัก
กฎหมาย 6-8 คะแนน การวินิจฉัย 8-10 คะแนน และสรุ ปคาตอบ 1- 2 คะแนน เป็ นต้น ซึ่งการเขียน
ตอบแบบสี่ ส่วนนี้ มีขอ้ ควรระวังคือ หากมีการกาหนดประเด็นปั ญหาที่ตอ้ งวินิจฉัยผิดมาตั้งแต่แรก
อาจทาให้การวางหลักกฎหมายและการวินิจฉัยข้อเท็จจริ งในข้อนั้นผิดทั้งหมดได้
9

โครงสร้ างการเขียนตอบแบบสามส่ วน

คาตอบ
กรณี ตามปั ญหาประมวลกฎหมาย.......................................วางหลักกฎหมาย
ไว้วา่ .................................................................................................................
หลักกฎหมาย ........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
ข้อเท็จจริ งตามปัญหา การที่.......................................................................
ปรับข้ อเท็จ .........................................................................................................................
จริงให้ เข้ ากับ
.........................................................................................................................
.
หลักกฎหมาย .........................................................................................................................
ทีย่ กมาไว้ใน .........................................................................................................................
ย่อหน้ าแล้ว .........................................................................................................................
ด้วยเหตุผลดังที่ได้วนิ ิจฉัยมาแล้วข้างต้น.....................................................
สรุ ปคาตอบ ........................................................................................................................

การเขียนตอบในลักษณะนี้ มกั นิ ยมเขี ยนตอบในชั้นปริ ญญาตรี โดยกรรมกราสอบหรื อผู ้


ตรวจข้อสอบจะแบ่งคะแนนในข้อนั้นๆ ออกเป็ นสองส่ วน คือ ส่ วนของหลักกฎหมายส่ วนหนึ่ งกับ
ส่ วนของการวินิจฉัยข้อเท็จจริ งโดยอาศัยหลักกฎหมายที่ยกมานั้นอีกส่ วนหนึ่ ง โดยคะแนนทั้งสอง
ส่ วนนี้จะแบ่งเท่าๆ กัน ซึ่ งในบางครั้งอาจให้คะแนนในส่ วนของหลักกฎหมายมากกว่า เช่น คะแนน
เต็ม 20 คะแนนอาจแบ่งให้หลักกฎหมาย 10-12 คะแนน ส่ วนวินิจฉัยก็จะอยู่ระหว่าง 8-10 คะแนน
เป็ นต้น ดังนั้น นักศึกษาชั้นปริ ญญาตรี จึงควรเขียนตอบโดยเริ่ มต้นด้วยการวางหลักกฎหมายก่อน
10

ทุกครั้งที่เขียนตอบ ซึ่ งมีขอ้ ควรระวังว่า เมื่อยกหลักกฎหมายในย่อหน้าที่หนึ่ งแล้วพอมาถึงย่อหน้าที่


สองหรื อส่ วนที่สองในขั้นตอนวินิจฉัยข้อเท็จจริ งนั้น การปรับหลักกฎหมายก็จะต้องกล่าวถึงหลัก
กฎหมายที่นามาใช้ประกอบอีก มิใช่เพียงแต่กล่าวว่า ตามหลักกฎหมายที่กล่าวมาแล้วข้างต้น เพราะ
จะทาให้ได้คะแนนน้อยเนื่ องจากในส่ วนวินิจฉัยกรรมการต้องการทราบว่า นักศึกษาหรื อผูเ้ ข้าสอบ
สามารถปรับหลักกฎหมายเข้ากับข้อเท็จจริ งได้หรื อไม่ หรื อกล่าวอีกนัยหนึ่ งคือ เอากฎหมายมาใช้
เป็ นหรื อไม่
11

โครงสร้ างการเขียนตอบแบบสองส่ วน

คาตอบ
กรณี ตามปั ญหามีประเด็นที่ตอ้ งวินิจฉัยว่า.................................................
.........................................................................................................................
ข้อเท็จจริ งตามปัญหา การที่.......................................................................
ปรับ .........................................................................................................................
ข้ อเท็จจริง .........................................................................................................................
เข้ ากับ .........................................................................................................................
หลักกฎหมาย .........................................................................................................................
แล้ วสรุ ป .........................................................................................................................
คาตอบ .........................................................................................................................
ด้วยเหตุผลดังที่ได้วนิ ิจฉัยมาแล้วข้างต้น.....................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

การเขี ยนตอบในลักษณะนี้ มักจะใช้เขี ยนตอบในการสอบแข่งขันคัดเลื อกเพราะผูเ้ ขี ยน


ตอบสามารถแสดงออกถึงความแม่นยาในหลักกฎหมาย และประหยัดเวลาในการเขียนตอบอีกทั้ง
ยังช่ วยให้ผูต้ รวจข้อสอบทราบว่าผูเ้ ขียนตอบหรื อผูเ้ ข้าสอบวินิจฉัยคาถามได้ถูกต้องหรื อไม่ โดย
เพียงแต่ดูประเด็นคาตอบในย่อหน้าแรก แต่ อย่ างไรก็ตามสาหรั บผู้ที่ไม่ มั่นใจในคาตอบ ควรใช้การ
เขี ย นตอบแบบสามส่ วนจะเหมาะกว่า เพราะถึ ง แม้ต อบผิ ด ก็ ย งั ได้ค ะแนนจากส่ ว นที่ วางหลัก
กฎหมายอยูบ่ า้ งเรี ยกว่าผิดอย่างมีครู
12

โครงสร้ างการเขียนตอบแบบหนึ่งส่ วน

คาตอบ
ตามปัญหา (หรื อกรณี ตามปั ญหา) การที่.....................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
ปรับ ........................................................................................................................
ข้ อเท็จจริง .........................................................................................................................
เข้ ากับ .........................................................................................................................
หลักกฎหมาย .........................................................................................................................
แล้ วสรุ ป .........................................................................................................................
คาตอบ ........................................................................................................................
ด้วยเหตุผลดังที่ได้วนิ ิจฉัยมาแล้วข้างต้น.....................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

การเขียนตอบแบบส่ วนเดียวนี้ มักเรี ยกว่า “ฟันธง” เหมาะสาหรับการเขียนตอบในการสอบ


ั ฑิ ต อัยการผูช้ ่ วย และผูช้ ่ วยผูพ้ ิพากษา ไม่เหมาะที่จะใช้เขียนตอบในชั้นปริ ญญาตรี เพราะ
เนติบณ
ขาดส่ วนที่แยกเป็ นหลักกฎหมายซึ่ งกรรมการจะต้องให้คะแนน แต่สาหรับผูท้ ี่ไม่มนั่ ใจในคาตอบ
ผิดก็ ยงั ได้คะแนนจากหลัก กฎหมายที่ เขี ยนตอบไว้ แต่ ท้ งั นี้ ก็ ข้ ึ นอยู่ก ับ กรรมการผูต้ รวจข้อสอบ
เพราะการสอบบางสนามถ้าตอบผิดก็ไม่มีคะแนนให้แม้จะวางหลักกฎหมายได้ถูกต้อง
13

คาอธิบาย
จากโครงสร้างทั้งสามแบบที่ยกมาให้ดูน้ ีมีขอ้ สังเกต คือ ประโยคเปิ ดวรรค
ประโยค ที่วา่ นี่ มีความสาคัญมากเพราะจะทาให้รูปแบบการเขียนรวมทั้งใจความหรื อเนื้ อหา
สาคัญของคาตอบ มีความชัดเจน กะทัดรัด ยิง่ ขึ้น
อาจจะมีท่านผูอ้ ่านบางคนสงสัยหรื อมีขอ้ โต้แย้งว่า ถ้าใช้ ประโยคเปิ ดวรรค อย่างอื่นๆ แทน
จะได้หรื อไม่ เช่น ไม่ใช้วา่ “กรณี ตามอุทาหรณ์” หรื อจะใช้ส้ นั ๆ ว่า “ตามปัญหา” แทนได้หรื อไม่
สาหรับข้อสงสัยนี้แยกอธิ บาย ดังนี้
1) “กรณี ตามคาถาม” หรื อ “ตามปั ญหา” ใช้แทน “กรณี ตามปั ญหา” ได้เพราะมีความหมาย
อย่างเดียวกัน แต่เหตุที่ผเู ้ ขียนแนะนาให้ใช้ “กรณี ตามปัญหา” ก็เพราะคาว่า “กรณี ” ตามพจนานุกรม
แปลว่า คดี หรื อ เรื่ อง หรื อ เหตุ ซึ่ งจะแสดงให้เห็นว่าที่จะกล่าวต่อไปนี้จะเป็ นเฉพาะเรื่ องที่เกี่ยวกับ
ปั ญหาที่ถามในข้อสอบนี้ หรื อวิชานี่เท่านั้น
ส่ ว นค าว่า “ปั ญ หา” แปลว่ า ข้อ สงสั ย ข้อ ที่ ต้อ งพิ จ ารณาแก้ไ ข และเมื่ อ เป็ นปั ญ หาวิ ช า
กฎหมายก็จะต้องพิสูจน์หาคาตอบด้วยเหตุ และผล ซึ่ งมี ลกั ษณะเป็ นสากลว่าคาถามดังนั้นเมื่ อใช้
“กรณีตามปัญหา” เปิ ดวรรค ก็จะทาให้คาตอบของเรามีลกั ษณะเป็ นสากลยิง่ ขึ้น
2) “กรณี ตามข้อสอบ” หรื อ “กรณีตามอุทาหรณ์ ” จะนามาใช้แทน “กรณี ตามปั ญหา” หรื อ
“กรณี ตามคาถาม” ไม่ ได้ เพราะ “กรณี ตามข้อสอบ” แม้จะมีความหมายทานองเดี ยวกันกับ “กรณี
ตามปั ญหา” หรื อ กรณี ตามคาถามก็ตาม แต่ถา้ หากใช้เขียนแทนกันก็จะทาให้ตอบของเราขาดความ
กระชับ เพราะทาให้เห็นว่าการเขียนตอบขิงเรานั้นตามข้อสอบทุกข้อไม่ได้เน้นข้อใด จึงไม่นิยมใช้
แทนกัน
ส่ วนคาว่า “กรณี ตามอุทาหรณ์” ใช้แทน “ กรณี ตามปัญหา” หรื อ “กรณี ตามคาถาม” ไม่ ได้ โดย
เด็ดขาด เพราะคาว่า “อุทาหรณ์ ” แปลว่า ตัวอย่าง ดังนั้น ถ้าเป็ นกรณี ตามตัวอย่างเมื่อถามแล้วก็ตอ้ ง
ตอบทันที คือ ผูอ้ อกข้อสอบก็จะต้องเฉลยคาตอบ หรื อปั ญหานั้นในทันทีโดยเขียนรวมมาตอนท้าย
คาถามนั้นๆ ด้วยเหตุน้ ีจะใช้ “กรณี ตามอุทาหรณ์” แทน “กรณี ตามปัญหา” ไม่ ได้
อนึ่ ง ท่านผูอ้ ่านคงจะไม่เคยอ่านคาเฉลย หรื อคาตอบของมหาวิทยาลัยหรื อสถาบันการศึกษา
วิชากฎหมายหลายๆ สถาบันมาแล้ว ซึ่ งท่านผูอ้ ่านคงจะได้พบเห็ นว่ายังมี การใช้คาว่า “กรณีตาม
14

อุทาหรณ์ ” หรื อ “ตามอุทาหรณ์ ” เขียนตอบเฉลยข้อสอบกันอยูก่ ็ขอให้ทาความเข้าใจเสี ยใหม่วา่ ไม่


พึงใช้ดว้ ยเหตุผลที่กล่าวข้างต้น
ที่กล่าวมาแล้วเป็ นการอธิ บายความหมายและเหตุผลของการใช้คาหรื อประโยชน์เปิ ดวรรค
แรก ส่ วนย่อหน้าที่สองหรื อวรรคที่สองนั้นใช้ประโยคเปิ ดว่า “ข้อเท็จจริ งตามปั ญหา” ก็เพื่อจะเน้น
ให้เห็ นว่า เรื่ องราวที่จะวินิจฉัยต่อไปนี้ เป็ นเรื่ องข้อเท็จจริ งในปั ญหาที่ ถามนี้ เท่านั้น หรื อบางท่าน
อาจใช้คาว่า “การที”่ เปิ ดวรรคก็ได้
ส่ วนย่อหน้าสุ ดท้ายคือ สรุ ปคาตอบที่ใช้ว่า “ด้วยเหตุผลดังที่ได้วินิจฉัยมาแล้วข้างต้น ” นั้น
ท่านผูอ้ ่านก็จะเห็นว่า ด้วยประโยคดังกล่าวนี้เมื่อเขียนลงไปแล้วก็จะทาให้เห็นว่าการเขียนตอบของ
เรานั้นเป็ นไปด้วยเหตุผลและพินิจพิเคราะห์มิใช่เป็ นการเขียนตอบโดยไม่มีหลักอ้างอิงหรื อเดา ทา
ให้คาตอบของเราน่าดูน่าเลื่อมใสขึ้นมากเลยทีเดียวและอีกประการหนึ่ง การสรุ ปคาตอบนี้ ก็เพื่อช่วย
ให้ท่านกรรมการผูต้ รวจข้อสอบเห็นว่า เรามีความมัน่ ใจในคาตอบและง่ายแก่การตรวจข้อสอบอีก
ด้วยโดยย่อหน้าดังกล่ าวนี้ ไม่ตอ้ งเขี ยนคาว่า “สรุ ป” ไว้ที่หน้าย่อหน้า เพราะจะไม่จาเป็ น แต่ก็ยงั
ปรากฏอยูเ่ สมอว่า มีผเู ้ ข้าสอบเขียนคาว่าสรุ ปไว้ที่หน้าย่อหน้านี้อยูบ่ ่อยๆ ซึ่ งเป็ นข้อที่ไม่ควรปฏิบตั ิ

6. โครงสร้ างการเขียนตอบแบบอื่นๆ
นอกจากโครงสร้ า งทั้ง สามแบบที่ นิ ย มใช้เขี ย นตอบข้อ สอบเป็ นอย่า งมากซึ่ งผู เ้ ขี ย นได้
ยกตัวอย่างมาให้ดูแล้วนั้น ก็ยงั มีแบบโครงสร้ างการเขียนตอบแบบอื่นๆ ซึ่ งเกิ ดจากการประยุกต์
แบบของการเขียนตอบที่ผเู ้ ขียนยกตัวอย่างนั้น เช่น 1
กรณีการเขียนตอบทีม่ ีหลักกฎหมายหลายหลักหรื อหลายมาตรา ให้ใช้โครงสร้าง ดังนี้

1
ยงยศ เอี่ยมทอง. คู่มือนักศึกษา เขียนตอบข้ อสอบวิชากฎหมาย ภาคหนึ่ง. พิมพ์อกั ษร : กรุ งเทพฯ,
2550 หน้า 10 - 12
15

แบบที่ 1
กรณี ตามปัญหาประมวลกฎหมายอาญาได้วางหลักกฎหมายไว้
1)...............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
2)...............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
3)...............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
ข้อเท็จจริ งตามปั ญหาแยกวินิจฉัยดังนี้
1) กรณี การกระทาของนาย......................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
2) กรณี การกระทาของนาย......................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
ด้วยเหตุผลดังที่ได้วนิ ิจฉัยมาแล้วข้างต้น..................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

การเขียนโดยใช้ตวั เลขกากับย่อหน้าย่อยดังกล่าวนี้ ตอ้ งระวังมิให้กรรมการผูต้ รวจข้อสอบ


สับสนคิดว่าเป็ นการตอบในข้อใหม่หรื อข้ออื่นไป ดังนั้นถ้าไม่จาเป็ น ขอแนะนาให้ใช้แบบที่ 2 ที่จะ
กล่าวต่อไปซึ่ งแบ่งโดยย่อหน้าไม่ตอ้ งมีเลขกากับและดีกว่า
16

แบบที่ 2
กรณี ตามปัญหาประมวลกฎหมายอาญาได้วางหลักกฎหมายไว้………………………………
………………………………………………………………………………………….…………....
…………………………………………………………………………………………………..…...
ข้อเท็จจริ งตามปั ญหาแยกวินิจฉัย ดังนี้
ประเด็นแรก การที่....................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………….....
…………………………………………………………………………………………………...…..
ประเด็นที่สอง การที่.................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
ประเด็นที่สาม การที่…………………………………………………………………..………
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
ด้วยเหตุผลดังที่ได้วนิ ิจฉัยมาแล้ว
ข้างต้น……………………………………………………....
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
17

7. การยกหลักกฎหมาย 1
นอกจากโครงสร้างหรื อรู ปแบบของการเขียนตอบที่ยกมานี้ แล้ว รายละเอียดในการเขียน
ตอบโดยเฉพาะการยกหลักกฎหมายก็มีผูส้ งสัยว่า ควรจะยกมาเขียนอย่างไรจะยกมาทั้งหมด หรื อ
เอามาเฉพาะที่ ใช้ในการวินิจฉัยปั ญหา และจาเป็ นหรื อไม่ว่าจะต้องเขียนให้เหมื อนกันตัวบททุ ก
ตัวอักษร
ในประเด็ นข้อนี้ ผูเ้ ขี ยนได้กล่ าวมาแล้วในตอนต้นแต่ ไม่ ได้ก ล่ าวถึ งรายละเอี ยดจึ งขอ
อธิ บายเพิ่มเติมดังนี้ ตัวบทนามาเขียนไว้เฉพาะทีจ่ ะใช้ ในการวินิจฉัยปัญหาและเอามาเฉพาะใจความ
สาคัญ ดังจะได้เห็นจากโครงสร้างในส่ วนที่เกี่ยวกับการวางหลักกฎหมายจะใช้คาเปิ ดวรรคว่า กรณี
ตามปั ญหาประมวลกฎหมายอาญาวางหลักกฎหมาย ไว้ว่า... ไม่ได้เขียนว่า บัญญัติว่า ซึ่ งจะต้อง
ลอกความในตัวบทมาเขียนไว้ให้เหมือน และถูกต้องตามที่บญั ญัติไว้ในตัวบทนั้นๆ จะผิดเพี้ยนมิได้
ซึ่ งเป็ นการยากที่ปุถุชนธรรมดาจะทาได้ จึงให้ใช้คาว่า วางหลักกฎหมาย หรื อ วางหลัก แทน
สาหรั บ เลขมาตราและเลขคาพิ พ ากษาศาลฎี ก า ก็ มีผูส้ งสั ยเป็ นจานวนมากกว่าจะต้อง
เขียนในคาตอบหรื อไม่ ข้อนี้ ขอเรี ยนว่าการใส่ เลขมาตราหรื อเลขคาพิพากษาศาลฎีกาในคาตอบนั้น
เหมาะสาหรับผูท้ ี่มนั่ ใจจริ งๆ เพราะแสดงถึงความเก่งเป็ นพิเศษของผูเ้ ข้าสอบผูน้ ้ นั แต่ถ้าไม่ ใส่ เลข
มาตรา หรื อเลขคาพิพากษาศาลฎีกาก็ไม่ ทาให้ เสี ยคะแนน ในทางตรงข้ามถ้าเขียนเลขมาตราหรื อคา
พิพากษาศาลฎีกาผิดก็จะถูกลงไปได้ไม่มีขอ้ ห้ามอะไร
ฉะนั้น การที่จะเขียนเลขมาตราหรื อเลขคาพิพากษาศาลฎีกาลงในคาตอบหากไม่แน่ใจจึง
ไม่ควรเขียนลงไป แต่ถา้ มัน่ ใจก็เขียนลงไปได้ไม่มีขอ้ ห้ามอะไร
โครงสร้ างที่ยกตัวอย่ างมาให้ ดูนี้เป็ นเพียงขั้นพื้นฐาน ฉะนั้นเมื่อนักศึกษาได้ ฝึกฝนเขียน
ตอบจนชานาญแล้ วก็จะมีแบบฉบับเขียนของตนเอง โครงสร้ างนี้จึงเป็ นเพียงข้ อเสนอแนะเท่ านั้น
ไม่ ใช่ แบบบังคับแต่ อย่างใด

1
ยงยศ เอี่ยมทอง. คู่มือนักศึกษา เขียนตอบข้ อสอบวิชากฎหมาย ภาคหนึ่ง. พิมพ์อกั ษร : กรุ งเทพฯ,
2550 หน้า 13
18

นอกจากรู ป แบบของการเขี ย นตอบข้อ สอบตามที่ ก ล่ า วมาแล้ว วิธี ก ารฝึ กการเขี ย นตอบ


ข้อสอบ การปฏิ บ ัติตนในห้ องสอบและยุท ธวิธี ในการเขี ย นตอบก็ มี ส่ วนส าคัญ ที่ จะท าให้ ท่ า น
นักศึกษาหรื อผูเ้ ข้าสอบสามารถสอบได้เช่นกัน จึงควรปฏิบตั ิดงั นี้
8. ฝึ กการเขียนตอบข้ อสอบ 1
1. ให้เอาข้อสอบเก่ ามาอ่ าน แล้วเขี ยนตอบโดยไม่ ต้องดู ธ งคาตอบ เสร็ จแล้วเปิ ดดู ธ ง
ค าตอบให้ ดู ว่าถู ก หรื อ ไม่ ถ้าไม่ ถู ก ให้ เขี ย นตอบใหม่ โดยปิ ดธงค าตอบไว้แ ล้ว เปิ ดดู ธ งค าตอบ
เปรี ยบเทียบกับที่ เขียนตอบดู ว่า ตอบครบประเด็นหรื อไม่ ภาษาที่ใช้อ่านแล้วเข้าใจหรื อไม่ ให้ทา
เช่นนี้ ซ้ าไปซ้ ามาจนมัน่ ใจ แล้วจึงเอาที่เราเขียนตอบนี้ ไปให้เพื่อนหรื อผูร้ ู ้อ่านจะได้ช่วยวิจารณ์และ
แนะนา
2. ให้ฝึกเขียนตอบก่อนประมาณ 1 เดือน หรื ออย่างน้อย 1 สัปดาห์โดยทาทุกวันด้วยการ
เริ่ มจากเขียนตอบ 1 ข้อ แล้วค่อยๆ เพิ่มให้ถึง 10 ข้อ โดยให้กาหนดเวลาเขียนตอบให้ทาเสร็ จใน 2
ชัว่ โมง (เวลาสอบจริ งภายใน 4 ชัว่ โมง) เหตุที่ตอ้ งเขียนให้เสร็ จภายใน 2 ชัว่ โมง ก็เพื่อฝึ กความเร็ ว
ในการเขียน เพราะมักจะปรากฏอยูเ่ สมอว่ามีนกั ศึกษาจานวนมากเขียนตอบไม่ทนั ทั้งๆ ที่ทาข้อสอบ
ได้ จึงเป็ นที่น่าเสี ยดายอย่างยิง่ ที่ตอ้ งสอบตกเพราะเหตุน้ ี
3. เขียนให้ตวั ใหญ่อ่านง่าย จัดวรรคตอน ย่อหน้าให้หน้าอ่านและต้องสะอาดด้วย ควรใช้
ปากกาสี น้ าเงินเขียน และควรเป็ นด้ามเดียวกับที่เราใช้ฝึกเขียนตอบห้ามใช้สีแดงโดยเด็ดขาด ห้าม
ขีดเส้นใต้หรื อทาเครื่ องหมายอื่นใด เพราะกรรมการอาจตีความว่าเป็ นการกระทาที่ส่อไปทางทุจริ ต
ซึ่ งอาจถูกตัดคะแนนในข้อนั้น หรื อถูกปรับตกก็ได้
4. การใช้ปากกาควรเป็ นลู กลื่นด้ามเดี ยวกับที่ใช้ฝึกเขียน และควรเตรี ยมไว้หลายๆ ด้าม
โดยด้ามที่ เตรี ยมไว้สารองจะต้องเป็ นปากกาที่ เคยใช้ หรื อเขียนมาแล้วบ้างเพื่อให้น้ าหมึกไหลได้
สะดวก เพราะปากกาใหม่จะมีเส้นสี จางและฝื ดทาให้เขียนไม่สะดวก

1
ยงยศ เอี่ยมทอง. คู่มือนักศึกษา เขียนตอบข้ อสอบวิชากฎหมาย ภาคหนึ่ง. พิมพ์อกั ษร : กรุ งเทพฯ,
2550 หน้า 13 - 14
19

9. ข้ อควรระวังและการปฏิบัติตัวในห้ องสอบ 1
1. เตรี ยมอุปกรณ์การเขียนไปให้พร้อม และควรเข้าห้องน้ าก่อนเข้าห้องสอบ
2. เมื่ อได้รับ ข้อ สอบแล้วให้ ฟั ง ค าชี้ แ จงจากกรรมการผูค้ ุ ม สอบอย่าลงมื อ ท าก่ อ นได้รั บ
สัญญาณ
3. เมื่อได้รับสัญญาณแล้ว ให้อ่านคาสั่งในข้อสอบโดยละเอียดอย่าทานอกเหนือคาสั่ง
4. เริ่ มลงมือทาโดยการอ่านข้อสอบให้หมดทุกข้อและในระหว่างที่อ่านถ้านึ กอะไรได้เขียน
ย่อไว้ที่ริมกระดาษคาถามในข้อนั้น
5. เมื่ออ่านข้อสอบทุกข้อแล้วให้เริ่ มเขียนตอบในข้อที่คิดว่าทาได้มากที่สุดก่อน
6. ในระหว่างการเขียนตอบควรดูเวลาว่าเหลืออยูเ่ ท่าไรตลอดเวลาเพื่อคานวณเวลาเขียนตอบ
ข้อสอบให้ทนั
7. เมื่อเขียนเสร็ จถ้ามีเวลาเหลือห้ามออกจากห้องสอบก่อนหมดเวลา จงใช้เวลาที่เหลือในการ
ทบทวนคาตอบที่เขียนตอบว่ามีตกเติมตรงไหนบ้าง แต่ไม่ควรแก้คาตอบโดยแก้ขอ้ วินิจฉัยเพราะ
ของเดิมมักจะถูก

10. ยุทธวิธีในการเขียนตอบข้ อสอบ 2


ถ้าเปรี ยบสนามสอบเป็ นสนามรบ การที่ จะรบให้ชนะก็ตอ้ งมียุทธวิธีที่ดีฉันใดฉันนั้น
การสอบข้อเขียนที่หวังจะได้คะแนนมากๆ ก็จะต้องมีวิธีการเขียนตอบที่ดีซ่ ึ งผูเ้ ขียนขอแนะนาหลัก
ยุทธวิธีเขียนตอบ 3 ประการ ดังนี้
1. เมื่ออ่ านข้ อสอบแล้ วมั่นใจในคาตอบทั้งจาหลักกฎหมายที่นาปรับบทวินิจฉั ยคาถามได้ ก็
ใช้วธิ ีเขียนตอบแบบสามส่ วนคือวางกฎหมายก่อนแล้ว จึงปรับบทกฎหมายวินิจฉัย และสรุ ปคาตอบ
2. กรณี ที่อ่านคาถามแล้วปรากฏว่าเกิ ดอาการมือแปดด้าน คือไม่รู้ว่าจะตอบอย่างไร ไม่รู้ว่า
ข้อสอบถามอะไร ก็อย่าได้ตกใจ ให้รวบรวมสติ และทาใจเย็นแล้วอ่านข้อสอบช้าๆ อีกสักหนึ่ งถึ ง

1
ยงยศ เอี่ยมทอง.คู่มือนักศึกษา เขียนตอบข้ อสอบวิชากฎหมาย ภาคหนึ่ง. พิมพ์อกั ษร : กรุ งเทพฯ
หน้า 14 - 15
2
ยงยศ เอี่ยมทอง. เรื่ องเดียวกัน., 2550 หน้า 15
20

สองเที่ยว แล้วก็ใช้กฎหมายธรรมชาติมาเป็ นหลักวินิจฉัยหาคาตอบนัน่ คือให้คิดว่าความยุติธรรมอยู่


ตรงไหนก็ให้ตอบไปในทางที่สอดคล้องกับความยุติธรรม เมื่อสาธยายมาถึงตรงนี้ คงจะมีผอู ้ ่านบาง
ท่านนึ กแย้งว่า เมื่อจาหลักกฎหมายไม่ได้แล้วจะเอาอะไรมาเขียนตอบ ผูเ้ ขียนขอแนะว่า ก็คาถามนัน่
ไงเอามาเขียนเป็ นคาตอบ ทั้งนี้มิได้ หมานความว่ าให้ ลอกคาถามเอามาเป็ นคาตอบ แต่ ให้ ดึงเอามา
เฉพาะข้ อเท็จจริงที่นามาวินิจฉัยเท่ านั้น ที่กล่าวมานี่ ถ้าพูดง่ายๆ ก็คือการเดาอย่างมีหลักซึ่ งดีกว่าส่ ง
กระดาษเปล่า
ทั้งสามประการที่กล่าวมานี้ ขอให้ท่านผูอ้ ่านเลื อกใช้ตามสถานการณ์ ที่เกิ ดขึ้นแต่อย่าได้ใช้
ประการที่ 3 ตอบทุกข้อก็แล้วกัน

เอกสารอ้างอิง
ทศพร มูลรัตน์. การใช้ กระบวนการกลุ่มในการพัฒนาทักษะการเขียนตอบข้ อสอบของนักศึกษาใน
รายวิชากฎหมายลักษณะทรัพย์สิน(LW2201). เชียงราย : มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย, 2553
ธานินทร์ กรัยวิเชียร. คาแนะนานักศึกษากฎหมาย. กรุ งเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , 2550
มานิตย์ จุมปา. การศึกษากฎหมายและการตอบข้ อสอบกฎหมาย. กรุ งเทพฯ : นิติธรรม , 2548.
ยงยศ เอี่ยมทอง. คู่มือนักศึกษา เขียนตอบข้ อสอบวิชากฎหมาย ภาคหนึ่ง. กรุ งเทพฯ: พิมพ์อกั ษร , 2550
21

การเก็งข้ อสอบ 1
ศาสตราจารย์ธานินทร์ กรัยวิเชียร

การเก็งข้อสอบนั้นมีหลายแบบด้วยกัน เช่ น บางคนเตรี ยมวิชาที่จะสอบนั้นมาเป็ นอย่างดี


และดูเพิ่มเติมขึ้นอีกในตนเก็งเองว่ากรรมการสอบจะออกสอบในเรื่ องนั้นๆ การเก็งอีกประเภทหนึ่ ง
ก็คือการเก็งโดยการศึ กษาจากแนวคาถามที่ เคยสอบมาแล้วว่า วิธีการตั้งคาถามนั้น อาจารย์ได้ต้ งั
คาถามแบบใดเพื่อที่จะได้เตรี ยมตัวตอบได้ถูกต้องตามที่ถาม โดยได้ทบทวนวิชานั้นมาอย่างดี แล้ว
นอกจากนี้ ยงั มี การเก็งอี กประเภทหนึ่ งซึ่ งใช้กนั ในหมู่นักศึ กษาประเภท สุ กเอาเผากิน คือพวกที่
เร่ งรัดดูหนังสื อเตรี ยมตัวสอบเพียงไม่กี่วนั คือการเก้งแบบเสี่ ยงทาย

ผูเ้ ขียนเห็ นว่า การเก็งแบบดู เพิ่มเติมขึ้นไปอีกในข้อที่คิดว่ากรรมการสอบจะออกสอบใน


เรื่ องนั้นและการเก็ งแบบศึ ก ษาจากแนวคาถามที่ เคยออกสอบมาแล้ว เป็ นวิธีที่ ถูก ต้อง นักศึ กษา
สมควรที่จะทาอย่างยิง่ โดยเฉพาะในการสอบแข่งขันประเภทต่างๆ เพราะความรู ้ความสามารถของ
ผูส้ อบแข่งขันมักจะใกล้เคียงกัน แต่ก็สามารถที่จะเอาชนะกันได้ดว้ ยรายละเอียดและความลึกซึ้ งใน
การตอบ แม้วา่ รายละเอียดและความลึกซึ้ งในการตอบนั้นจะดีเด่นกว่ากันเพียงเล็กน้อย ก็อาจทาให้
คะแนนดี เด่นผิดกันได้ เพราะฉะนั้น การศึกษาเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ งเป็ นพิเศษเพื่อการสอบโดยเฉพาะ
ย่อมช่วยสนับสนุ นให้คาตอบของนักศึกษาละเอียด และลึกซึ้ งกว่าปกติ และในขณะเดียวกัน ก็ไม่มี
ส่ วนเสี ยอันใดเลย เพราะว่าในเรื่ องอื่นๆ นักศึกษาก็ได้เตรี ยมมาอย่างเต็มที่อยูแ่ ล้วทุกแง่ทุกมุม

ปั ญหาจึ งมี ว่า จะเก็งใจกรรมการสอบว่าจะออกข้อสอบอย่างไร? นักศึ กษาย่อมจะเก็งใจ


กรรมการสอบได้บางส่ วนเหมือนกัน ถ้าหากได้ร่ าเรี ยนกับกรรมการสอบผูน้ ้ นั มา หรื อได้เคยเห็ น
คาถาม ซึ่ งท่านผูน้ ้ นั ออกมาในครั้งก่อนๆ ยิ่งกว่านั้น กรรมการสอบบางคนก็เคยเปิ ดเผยวิธีการออก
ข้อสอบของตนให้นกั ศึกษาทราบด้วยซ้ าไป ซึ่ งก็เป็ นประโยชน์แก่นกั ศึกษาในด้านการตระเตรี ยม
การสอบเป็ นอย่างยิง่

1 ธานิ นทร์ กรัยวิเชียร. คาแนะนานักศึกษากฎหมาย. พิมพ์ครั้งที่ 5, กรุ งเทพฯ :


มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , 2550, หน้า 210 - 213
22

การเก็งข้อสอบแบบเสี่ ยงทายในหมู่นกั ศึกษาประเภท สุ กเอาเผากิน หวังพึ่งวาระสุ ดท้าย ดู


หนัง สื อ ใกล้ส อบนั้ น เป็ นสิ่ ง ที่ พึ ง ละเว้น อย่า งเด็ ด ขาด เพราะโดยปกติ ก รรมการสอบก็ เก็ ง อยู่
เหมื อนกันว่านักศึ กษาจะเก็ งข้อสอบอย่างไร? จึ งไม่ออกข้อสอบที่ นักศึ ก ษาเก็งอยู่ ฉะนั้น การที่
นักศึกษาจะเก็งข้อสอบได้ถูกต้องนั้น นักศึกษาจะต้ องเก็งว่า กรรมการสอบเก็งว่ านักศึกษาเก็งอะไร
การจะเก็งให้ถูกต้องถึง 3 ชั้น ไม่ใช่เรื่ องง่าย และโดยปกติก็มกั จะเป็ นผลให้นกั ศึกษาต้องเก็งวิชาที่
สอบครั้ งแล้ว ครั้ งเล่ า กว่า จะสอบได้ฉ ะนั้น ทางที่ ดี ที่ สุ ด จึ ง สมควรที่ จะเก็ ง แบบที่ นัก ศึ ก ษาได้
ตระเตรี ยมวิชาที่ จะสอบไว้อย่างดี แล้วและดู เพิ่มเติ มเป็ นพิ เศษต่อยอดขึ้ นไปอี กในข้อที่ ตนคิ ดว่า
กรรมการสอบจะออกข้อสอบในเรื่ องนั้น และแบบที่นักศึกษาเก็งข้อสอบโดยการศึ กษาจากแนว
คาถามต่างๆ ที่เคยสอบมาแล้ว เพื่อให้นกั ศึกษาจะได้พร้อมที่จะเผชิญต่อข้อสอบได้ทุกประเภทอย่าง
มัน่ ใจ.

“ปัญหาใด ถ้ ารู้ ก็ตอบได้ ง่าย ถ้ าไม่ ร้ ู ก็ตอบไม่ ได้ ทาอย่ างไรจึงจะรู้ อยู่ทตี่ ัวนักศึกษาเอง คือ
ตั้งใจและอ่านให้ มาก ทาความเข้ าใจให้ ดี และจดจาให้ ได้ ด้วย มีคาถากันตกอยู่บทหนึ่งว่ า

“จาได้ ใช้ ถูกต้ อง ว่ องไว”

ศาสตราจารย์ประพนธ์ ศาตะมาน
23

คานา

การเขียนตอบข้อสอบทางกฎหมายนั้น ไม่ว่าในระดับปริ ญญาทางกฎหมาย เนติบณ


ั ฑิ ต
ทนายความ ผู ช้ ่ ว ยผู พ้ ิ พ ากษา อัย การผู ช้ ่ ว ยหรื อ สายวิ ช าชี พ กฎหมายต่ า ง ๆ ให้ ค วามส าคัญ
ในวิธีการเขียนตอบข้อสอบวิชากฎหมายเป็ นอย่างมาก นักศึกษาจึงต้องเขี ยนตอบข้อสอบอย่าง
ถูกต้อง ชัดเจน ครบประเด็นเป็ นขั้นเป็ นตอน สละสลวยโดยใช้ภาษาทางกฎหมายจึงจะได้คะแนนดี
เอกสารฉบับนี้ มีวตั ถุ ประสงค์จดั ทาขึ้นเพื่อช่ วยเป็ นแนวทางให้นักศึ กษาทราบถึ งวิธีการ
เขียนตอบข้อสอบทางกฎหมายได้อย่างถูกรู ปแบบ ซึ่ งจะทาให้นกั ศึกษาได้คะแนนมากขึ้น โดยได้
รวบรวม คัดลอกข้อมู ล จากหนังสื อ “คู่ มื อนัก ศึ ก ษา เขี ย นตอบข้อสอบวิช ากฎหมาย ภาคหนึ่ ง ”
ของอาจารย์ยงยศ เอี่ยมทอง และหนังสื อ “คาแนะนานักศึก ษากฎหมาย” ของอาจารย์ธานิ นทร์
กรัยวิเชียร ตลอดจนหนังสื อ ตารา เอกสารอื่นๆที่เกี่ยวข้อง และขอขอบคุณร้านปี้ แอนด์น้อง ที่ได้
อุปการะในการจัดพิมพ์ในครั้งนี้ ผูจ้ ดั ทาขอขอบคุณมา ณ ที่น้ ีดว้ ย

สานักวิชานิติศาสตร์
สิ งหาคม 2561
24

สารบัญ
หน้ า
คานา ก
การเขียนตอบข้อสอบวิชากฎหมาย 1
การใช้ภาษาเขียน 1
ประเภทคาถามวิชากฎหมาย 2
การวิเคราะห์คาถามวิชากฎหมาย 3
วิธีฝึกเขียนตอบ 4
การวางแผนเขียนคาตอบ 5
โครงสร้างการเขียนตอบแบบสี่ ส่วน 7
โครงสร้างการเขียนตอบแบบสามส่ วน 9
โครงสร้างการเขียนตอบแบบสองส่ วน 11
โครงสร้างการเขียนตอบแบบหนึ่งส่ วน 12
โครงสร้างการเขียนตอบแบบอื่นๆ 14
การยกหลักกฎหมาย 17
การฝึ กการเขียนตอบข้อสอบ 18
ข้อควรระวังและการปฏิบตั ิตวั ในห้องสอบ 19
ยุทธวิธีในการเขียนตอบข้อสอบ 19
เอกสารอ้างอิง 20
บทความเรื่ อง การเก็งข้อสอบ 21

You might also like