You are on page 1of 9

รอบ TGAT/TPAT 22-26 พฤศจิกายน 2566 ชุดที่ 1 TCAS67

ชื่อ-นามสกุล ……………………………………………...…………………............................……………........………………...
เลขที่นั่งสอบ ……………………………………………………… สถานที่สอบ …………………………………………...

TPAT1 วิชTGAT
าเฉพาะ กสพท.

ฉบับที่ 3 ความคิดเชื่อมโยง
ออกข้อสอบโดย AlphaClassroom

กฎระเบียบและรายละเอียดของการสอบ

1. ข้อสอบมีทั้งหมด 20 ข้อ 7 หน้า (ไม่รวมหน้าปก) 100 คะแนน


แต่ละข้ออาจมีได้หลายคาตอบ หากตอบผิดจะถูกหักคะแนนคาตอบที่ผิด
คาตอบละ 3 คะแนน โดยหักจากคะแนนรวมของข้อสอบข้อนั้น ไม่หักข้ามข้อ
2. เวลาสอบทั้งหมด 60 นาที
3. กรอกคาตอบลงบนกระดาษคาตอบบนเว็บไซต์ให้ชด ั เจน
4. ในกรณีทีเ่ ป็น ข้อเติมคา ต้องเลือกตอบให้ ครบทัง
้ หกหลัก โดยในหลักที่ไม่มี
แอ
ค่าให้กดเลือกเลข 0 ให้ครบ
5. หากหมดเวลาสอบ จะไม่สามารถกดคาตอบลงบนเว็บไซต์และระบบจะบังคับ
ให้ส่งข้อสอบทันที
6. ห้ามใช้เครื่องคานวณในการทาข้อสอบ

ห้ามทาซ้า หรือเผยแพร่ก่อนได้รแอ
ับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร
ข้ อ สอบ > TPAT1 EXAM1 1/7

TPAT1 MOCK TPAT1 ความคิ ด เชื่ อมโยง ชุ ด ที่ 1 03


บทความที่ใช้ในการสอบ
คาสั่ง
อ่านบทความ เรื่อง “เลือกเรียนอย่างไรจึงจะเรียนอย่างมีความสุข และสนุกกับการเรียน” ท้ายบทความ
จะมีตารางสรุปข้อความที่กาหนด ซึ่งแต่ละข้อความ มีเลขรหัส 2 หลักกากับ ตั้งแต่เลข 01 ถึง 20 รวมทั้งสิ้น
20 รหัส เมื่ออ่านแล้วให้สรุ ปความเชื่อมโยงของข้อความที่กาหนดแต่ละข้อความกับข้อความอื่น ๆ
ที่เหลือให้สอดคล้องกับเนื้อหาที่กล่าวในบทความ และเป็ นไปตามเกณฑ์ท่กี าหนดต่อไปนี้

เกณฑ์ท่กี าหนด ได้แก่


 ถ้าข้อความที่กาหนดมีขอ้ ความอื่น (ซึ่งอาจจะมีได้หลายข้อความ) เป็ นผลโดยตรง ให้ระบายตัวเลข
2 หลัก หน้าข้อความที่เป็ นผลโดยตรง แล้วตามด้วยอักษร “A”
 ถ้าข้อความที่กาหนดมีขอ้ ความอื่น (ซึ่งอาจจะมีได้หลายข้อความ) เป็ นองค์ประกอบ / คุณสมบัติ /
ลักษณะ ให้ร ะบายตัวเลข 2 หลักหน้าข้อ ความที่เป็ น องค์ประกอบ/ คุณสมบัติ / ลักษณะ แล้ว
ตามด้วยตัวอักษร “D”
 ถ้าข้อความที่กาหนดมีผลทาให้ขอ้ ความอื่น (ซึ่งอาจจะมีได้หลายข้อความ) ถูกลด / แก้ไข / ยับยั้ง /
ป้ องกัน / ห้าม/ ขัดขวาง ให้ระบายตัวเลข 2 หลักหน้าข้อความที่ถูกลด / แก้ไข / ยับยั้ง / ป้องกัน /
ห้ามขัดขวาง แล้วตามด้วยตัวอักษร "F"
 ถ้าข้อ ความที่กาหนด ไม่มีข้อความอื่ น ที่เป็ นผลโดยตรง หรือ ที่เป็ นองค์ประกอบ / คุณ สมบัติ /
ลักษณะ หรือถูกลด / แก้ไข / ยับยัง้ / ป้องกัน / ห้าม / ขัดขวาง ดังกล่าวข้างต้น ให้ระบายคาตอบเป็ น
ตัวเลข “99” แล้วตามด้วยตัวอักษร “H”

ทั้งนี้ให้ใช้เลขกากับข้อความที่กาหนด 01, 02, 03, ..., 20 เป็ นเลขข้อ 1, 2, 3, 4, …, 20 ใน


กระดาษคาตอบ ข้อสอบแต่ละข้ออาจมีได้หลายคาตอบ หากตอบผิดจะถูกหักคะแนนคาตอบที่ผิด
คาตอบละ 3 คะแนน

ชื่อ: เบอร์โทร:
EXAM1 2/7 ข้ อ สอบ > TPAT1

03 MOCK TPAT1 ความคิ ด เชื่ อมโยง ชุ ด ที่ 1 TPAT1

คาชีแ้ จง : ข้อสอบชุดนีม้ ีทงั้ หมด 20 ข้อ


บทความ : เลือกเรียนอย่างไรจึงจะเรียนอย่างมีความสุข และสนุกกับการเรียน
(1) ขณะนี ้นัก เรี ย นชั้น มัธ ยมศึ ก ษาตอนปลายโดยเฉพาะชั้ น ม.6 คงก าลัง เครี ย ดกัน มากพอควร
ไหนจะต้องเตรียมตัวสูศ้ ึกหนัก คือ การสอบ Admission ไหนจะต้องคิดตัดสินใจว่าจะเลือกศึกษาต่อสาขาวิชา
อะไรดี รวมทัง้ จะเลือกเรียนที่สถาบันไหนดี

(2) จากข้อ มูลที่ไ ด้จากนิ สิต นัก ศึ กษาของสถาบันอุด มศึ กษาหลายแห่ งพบว่า ปั จ จัยที่เกี่ยวข้อ งกับ
การตัดสินใจเลือกศึกษาต่อมีหลากหลายมาก ได้แก่ เลือกตามกลุ่มเพื่อนสนิท เลือกตามแฟน เลือกตามใจ
พ่อแม่ เลือกเพราะครูแนะแนวแนะนา เลือกเพราะชอบสถาบัน เลือกเพราะคะแนนถึง และที่ฟังดูมีเหตุผลดี
ก็คือ ตัดสินใจเลือกโดยใช้ขอ้ มูลด้านต่าง ๆ และใช้วิจารณญาณของตัวนักศึกษาเอง

(3) ก่ อ นสมัค รสอบ Admission นัก เรี ย นหลายคนไม่ ค้น หาตัว เองให้พ บเสี ย ก่ อ นว่ า ชอบสาขาวิ ช า
อะไรกัน แน่ หลายคนเลื อ กเพราะครู แ นะแนว เช่ น “เธอได้ค ะแนนวิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ คณิ ต ศาสตร์ และ
ภาษาอังกฤษสูงมาก น่าจะเลือกคณะแพทยศาสตร์หรือวิศวกรรมศาสตร์” หรือ “เธออ่อนวิทย์ คณิต อย่าเรียน
สายวิทย์เลย สมัครเรียนสายศิลป์ ดีกว่า เช่น นิติศาสตร์” เป็ นต้น

(4) มีนักเรียนจานวนไม่นอ้ ยที่ติดเพื่อน พอรูว้ ่าเพื่อนสนิทส่วนใหญ่เลือกสาขาวิชาอะไร คณะใด ก็เลือก


ตามกลุ่ม เพื่อนสนิท บางคนก็ร ักใคร่ใหลหลงแฟนมาก แฟนเลือ กเรียนที่ไหนก็ขอตามไปด้วย พอภายหลัง
เลิกรากันไปก็เลยเคว้งคว้าง ถ้าได้เรียนในสาขาวิชาที่ตนเองชอบก็โชคดีไป แต่ถา้ ได้สาขาวิชาชีพที่ไม่ชอบเลย
ก็จะมีปัญหาตามมา

ชื่อ: เบอร์โทร:
ข้ อ สอบ > TPAT1 EXAM1 3/7

TPAT1 MOCK TPAT1 ความคิ ด เชื่ อมโยง ชุ ด ที่ 1 03


(5) นักศึกษาหลายคนให้ขอ้ มูลว่า พ่อแม่มีส่วนเป็ นอย่างมากที่ทาให้เลือกสาขาวิชาที่กาลังศึกษาอยู่ใน
ขณะนี ้ พ่อแม่บางรายใช้วิธีการแทบทุกอย่าง ทั้งชักจูง เกลีย้ กล่อม ยกเหตุผลต่าง ๆ นานา แม้แต่บังคับขู่เข็ญ
หรือเอารางวัลชิน้ ใหญ่มาล่อ เพื่อให้ลูกสมัครเรียนสาขาที่ตนเองชอบหรือเห็นว่าดี แต่หลายกรณีก็ตอ้ งโทษ
ตัวนักเรียนเองที่ไม่รูจ้ ักโต คิดเองตัดสินใจเองไม่เป็ น จะทาอะไรก็ต้อ งคอยถามหรือพึ่งพ่อ แม่ร่าไป ตัวเอง
ชอบอะไรอยากเรียนอะไรก็ไม่รู ้ ต้องให้พ่อแม่เลือกให้ พอเรียนไปสักพักเกิดไม่ชอบใจขึน้ มาก็ปัดความผิดไปให้
พ่อแม่

(6) สถาบันการศึกษาเป็ นปัจจัยอีกอย่างหนึ่งที่มีอิทธิพลต่อการเลือกสมัครเรียนต่อมากพอควร ถ้าเลือก


สถาบัน ด้ว ยการหาข้อ มูล ว่ า คณะหรื อ สถาบัน หรื อ มหาวิ ท ยาลัย แห่ ง ใดสอนดี ครู บ าอาจารย์มี ความรู ้
ความสามารถสูง เอาใจใส่ดูแลนักศึกษา มีเครื่องมืออุปกรณ์และสื่อการเรียนการสอนพรั่งพร้อม บัณฑิตที่
สาเร็จการศึกษาเป็ นที่ยอมรับในวงการ ฯลฯ ก็น่าจะเป็ นเรื่องที่ดี แต่ปรากฏว่านักเรียนหลายคนไม่เคยสนใจ
ข้อมูลเหล่านี ้ กลับให้ความสาคัญในสิ่งตรงกันข้าม เช่น อยากเรียนคณะหรือมหาวิทยาลัยนี ้ เพราะเรียนง่าย
จบง่ายดี อาจารย์ไ ม่เข้ม งวด แต่งตัวผิดระเบีย บอย่า งไรก็ไ ด้ หรือ อยู่ท่ามกลางแหล่ ง บัน เทิ งเริ งรมย์แ ละ
ศูนย์การค้าทันสมัย ฯลฯ

(7) การเลือกสมัครเรียนต่อ ด้วยปั จจัยดังกล่าวข้างต้น ไม่ว่าจะด้วยเลือกตามกลุ่มเพื่อ น เลือกตามใจ


พ่อแม่ ตามคาแนะนาของครูแนะแนว หรือเลือกเพราะชอบสถาบัน สิ่งที่จะเกิดขึน้ ตามมาก็คือ อาจได้สาขา
วิชาชีพที่ไ ม่ช อบเลยหรือได้สาขาวิชาชีพที่ชอบบ้างไม่ชอบบ้าง และหากโชคเข้าข้างก็อ าจได้สาขาวิชาชีพ
ที่ชอบ ในสองกรณีแรก คือได้สาขาวิชาชีพที่ไม่ชอบเลยหรือชอบบ้างไม่ชอบบ้างนั้น จะเกิดผลเสียหรือปัญหา
ตามมา กล่าวคือ บางคนก็ตัดสินใจลาออก สมัครสอบ Admission ใหม่ โดยอาจเรียนบางวิชาไปสักพักหนึ่งก็
ขอลาออก มากวดวิชารอสอบใหม่ปีหน้า แต่บางคนก็เรียนต่อไป เพราะไหน ๆ ก็สอบเข้ามาแล้ว แต่ดว้ ยไม่ชอบ
วิชาชีพที่เรียนหรือชอบบ้างไม่ชอบบ้าง จึงส่งผลให้การเรียนเป็ นไปในลักษณะฝื นใจเรียนและมีปัญหาการเรียน
ปั ญหาการเรียนอาจมีได้ทั้งคะแนนไม่ดี สอบตก หรือร้ายไปกว่านั้นก็คือ ถูกรีไทร์ แต่ก็มีไม่นอ้ ยที่เรียนไปได้
เรื่อย ๆ จนจบการศึกษา แต่บางคนถึงจะเรียนจบแล้วกลับหันไปทางานอย่างอื่นที่ไม่ตรงกับสาขาวิชาที่เรียนมา
เพราะความไม่ชอบวิชาชีพนัน้

ชื่อ: เบอร์โทร:
EXAM1 4/7 ข้ อ สอบ > TPAT1

03 MOCK TPAT1 ความคิ ด เชื่ อมโยง ชุ ด ที่ 1 TPAT1

(8) จากที่ ก ล่ า วมานั ก เรี ย นคงได้ข้อ คิ ด ที่ เ ป็ นประโยชน์ต่ อ การตั ด สิ น ใจเลื อ กสมั ค รเรี ย นต่ อ ใน
ระดับอุดมศึกษาว่า หากตัดสินใจเลือกสาขาวิชาชีพโดยพึ่งแต่ผอู้ ื่น ไม่หาข้อมูลด้วยตนเองว่าสาขาวิช านั้น
เขาเรียนกันอย่างไร ทางานกันอย่างไร แล้วใช้วิจารณญาณถามใจตนเองให้ถ่องแท้ก่อนว่ารักว่าชอบลักษณะ
การเรียนการสอน และการทางานของสาขาวิช านั้นจริงหรือไม่ ผลที่ออกมาก็อาจเป็ นดังที่กล่าวข้างต้น คือ
มีปัญหาทัง้ การเรียน และการทางานหลังจากสาเร็จการศึกษาแล้ว

(9) ดังนั้นจึงขอแนะนาให้นักเรียนหาข้อ มูลก่อ นที่จ ะตัดสินใจเลือกสาขาวิชาที่จ ะสมัครสอบ ข้อ มูลที่


จาเป็ นอันดับแรก คือ ข้อมูลลักษณะการประกอบวิชาชีพ วิชาชีพที่เราสนใจนัน้ เขาทางานกันอย่างไร ลักษณะ
งานเช่นนั้นมีจุดมุ่งหมายอะไร มีความก้าวหน้าในวิช าชีพอย่างไร เราชอบหรือ ไม่ที่จ ะทางานในลักษณะ
อย่างนั้นด้วยจุดมุ่งหมายเช่นนัน้ การที่จะรูข้ อ้ มูลได้ถูกต้องตรงตามสภาพการณ์จริงก็ตอ้ งหาจากแหล่งข้อมูล
ที่ถกู ต้อง เช่น อยากรูว้ ่าอาชีพแพทย์ทางานกันอย่างไร ก็อาจถามไถ่ญาติพี่นอ้ งหรือคนรูจ้ กั ที่เป็ นหมอ เข้าร่วม
กิจกรรมแนะแนวสาขาวิชา หรือแม้แต่ขอเป็ นอาสาสมัครช่วยงานในโรงพยาบาล เป็ นต้น ข้อมูลประการที่สอง
คือ ข้อ มูลลักษณะการเรี ยนการสอนของวิชาชีพ ที่เราสนใจ ได้แก่ หลักสูตรเป็ นอย่ า งไร มีวิช าอะไรบ้า ง
เรียนภาคทฤษฎีภาคปฏิบัติอย่างไร มีการให้ฝึกงานหรือไม่ ที่ ใดบ้าง เป็ นต้น เมื่อ ได้ข้อ มูลมาแล้วก็ตอ้ งใช้
วิจารณญาณถามใจและวิเคราะห์ตนเองว่าวิชาที่เรียนในหลักสูตรและลักษณะรูปแบบวิธีการเรียนการสอน
ตามที่หาข้อมูลมาเหมาะกับตัวเราหรือไม่ จะเรียนได้ตลอดรอดฝั่งหรือไม่ และที่สาคัญ คือ ลักษณะการทางาน
ของวิชาชีพนัน้ ต้องใช้วิจารณญาณไตร่ตรองดูว่าเราชอบวิชาชีพนัน้ จริงหรือ และชอบเพราะอะไร

(10) การตั ด สิ น ใจเลื อ กโดยใช้ข้อ มู ล และใช้วิ จ ารณญาณของตนเองพิ จ ารณาข้อ มู ล ที่ ห ามาได้


ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลสาคัญสองอย่างดังกล่าวข้างต้น คือ ข้อมูลลักษณะการเรียนการสอนและข้อมูลลักษณะ
การประกอบวิชาชีพ ผลที่ตามมาก็คือ ได้สาขาวิชาชีพที่ชอบจริง (ทั้งนีข้ อ้ มูลต้องถูกต้องและตัวเราเองก็ตอ้ ง
เก่งพอที่จะสอบเข้าได้ดว้ ย) ส่วนการเลือกด้วยปั จจัยอื่น ๆ ดังกล่าวมาแล้ว หากโชคดีก็อาจได้สาขาวิชาชีพ
ที่ชอบ แต่ที่รา้ ยที่สดุ ก็คือ ได้สาขาวิชาชีพที่ไม่ชอบเลย

ชื่อ: เบอร์โทร:
ข้ อ สอบ > TPAT1 EXAM1 5/7

TPAT1 MOCK TPAT1 ความคิ ด เชื่ อมโยง ชุ ด ที่ 1 03


(11) ผูท้ ี่สอบเข้ามหาวิทยาลัยได้สาขาวิช าชีพที่ตนชอบนั้น ผลที่ตามมาก็น่าจะดีและไม่มีปัญหาใด ๆ
ทั้งในด้านการเรียนและการประกอบวิชาชีพ แต่กลับปรากฏว่าไม่เป็ นจริงเช่นนั้นเสมอไป ทาไมจึงเป็ นเช่นนัน้
หากนักเรียนหรือ แม้แต่ นักศึกษาที่ไ ด้เรียนในสาขาวิช าที่ตนต้อ งการสมใจแล้ว ได้ลองวิเคราะห์ตนเองอีก
ขั้นหนึ่งก็น่าจะได้คาตอบ กล่าวคือ ถ้าลองถามตัวเองต่อไปอีกว่า ที่ได้สาขาวิชาชีพที่ชอบนั้นเรา ชอบอะไร
กันแน่ คาตอบจะมีไ ด้สองอย่าง คือ อย่างแรกอาจออกมาว่า ชอบผลประโยชน์ตอบแทนจากวิชาชีพ เช่น
เป็ นวิช าชีพที่ทางานสบาย หาเงินได้คล่อ งดี หรือ ได้มีโอกาสเป็ นนักแสดง ได้เป็ นดาราที่มีชื่อเสียง เป็ นต้น
ส่วนอีกคาตอบหนึ่งจะไปคนละทาง คือ ชอบจุดมุ่งหมายที่แท้จริงของวิชาชีพ ความชอบเช่นนีบ้ างคนอาจจะ
สงสั ย ว่ า หมายความว่ า อย่ า งไร โดยทั่ ว ไปวิ ช าชี พ แต่ ล ะอย่ า งย่ อ มมี จุ ด มุ่ง หมายในอัน ที่ จ ะก่ อ ให้เ กิ ด
คุณประโยชน์แก่สังคม เช่น อาชีพแพทย์ มีจุดมุ่งหมายเพื่อดูแลรักษาประชาชนให้มีสขุ ภาพดี หายจากโรคภัย
ไข้เจ็บ วิศวกรหรือสถาปนิกมีจุดมุ่งหมายที่แท้จริงของวิชาชีพ จะนาไปสู่ความมุ่งมั่นปรารถนาและต้องการมี
ความรู ต้ รงตามจุดมุ่งหมายของวิ ชาชีพที่เราศึกษา ความต้อ งการเช่นนีจ้ ะก่อ ให้เกิดกาลังใจและเกิดพลัง
ในการเรี ย น จะเรี ย นหนัก แค่ ไ หนก็ ไ ม่ ย่ อ ท้อ ไม่ รู ้สึ ก เบื่ อ หน่ า ย เพราะต้อ งการมี ค วามรู ้ ความสามารถ
เพื่อนาไปใช้สร้างคุณประโยชน์ตามจุดมุ่งหมายของวิชาชีพ เมื่อเกิดพลังในการเรียนเช่นนี ้ ผลที่ตามมาก็คือ
เรียนอย่างมีความสุขและสนุกกับการเรียน ยิ่งทุ่มเทตัง้ ใจเรียนก็ยิ่งได้ความรูค้ วามเข้าใจมาก และยิ่งได้เรียนรู ้
มากก็ยิ่งมีความสุข

(12) สาหรับเรื่อ งผลประโยชน์ตอบแทนจากวิชาชีพนั้นก็เป็ นเรื่องธรรมดาของคนเราที่จะต้อ งทางาน


หาเงินมาจับจ่ายใช้สอยเลีย้ งตนเอง ครอบครัว และพ่อ แม่ญาติพี่น้ อง เหตุที่หยิบยกประเด็นนีข้ ึน้ มาก็เพื่อ
เตือนใจว่า เมื่อไรเรียนในสาขาวิชาชีพที่ตนชอบแล้ว ก็อย่ามุ่งไปที่ผลประโยชน์ตอบแทนมากเกินไปจนลืม
จุ ด มุ่ง หมายที่แ ท้จริง ของวิช าชีพ ขอให้ป รับ ปรุ ง พัฒนาความอย่ างความต้อ งการที่ จ ะเรีย นเพื่ อ จะบรรลุ
จุดมุ่งหมายที่แท้จริงของวิชาชีพให้เกิดขึน้ ให้ได้ เพราะหากยังชอบผลประโยชน์ตอบแทนจากวิชาชีพเป็ นหลั ก
จะลดหรือบั่นทอนความมุ่งมั่น หรือความต้องการที่จะมีความรูค้ วามสามารถตรงตามจุดมุ่งหมายของวิชาชีพ
รวมทั้งจะบั่นทอนความเพียรพยายาม หรือ พลังในการเรียนอีกด้วย จะได้รีบไปหาประโยชน์เข้าหาตัวเอง
ซึ่งนับว่าเสียทีที่ได้มีโอกาสเข้ามาศึกษาในระดับอุดมศึกษาในสาขาวิชาที่ตนเองชอบ

ชื่อ: เบอร์โทร:
EXAM1 6/7 ข้ อ สอบ > TPAT1

03 MOCK TPAT1 ความคิ ด เชื่ อมโยง ชุ ด ที่ 1 TPAT1

สาหรับร่างแผนผังการเชื่อมโยง

ชื่อ: เบอร์โทร:
ข้ อ สอบ > TPAT1 EXAM1 7/7

TPAT1 MOCK TPAT1 ความคิ ด เชื่ อมโยง ชุ ด ที่ 1 03


ตารางกาหนดเลขกากับข้อความและที่ว่างสาหรับร่างรหัสคาตอบ
ร่างรหัสคาตอบ
เลขกากับ ข้อความที่กาหนด
ที่จะระบายในกระดาษคาตอบ
01 เกิดพลังในการเรียน
02 ข้อมูลลักษณะการประกอบวิชาชีพ
03 ข้อมูลลักษณะการเรียนการสอนของวิชาชีพ
04 คะแนนไม่ดี สอบตก
05 ชอบจุดมุ่งหมายที่แท้จริงของวิชาชีพ
06 ชอบผลประโยชน์ตอบแทนจากวิชาชีพ
07 ได้สาขาวิชาชีพที่ชอบ
08 ได้สาขาวิชาชีพที่ชอบบ้างไม่ชอบบ้าง
09 ได้สาขาวิชาชีพที่ไม่ชอบเลย
10 ต้องการมีความรูต้ รงตามจุดมุ่งหมายของวิชาชีพ
11 ถูกรีไทร์
12 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อ
13 ฝื นใจเรียนและมีปัญหาการเรียน
14 เรียนอย่างมีความสุข
15 ลาออก สมัครสอบ Admission ใหม่
16 เลือกโดยใช้ขอ้ มูลและใช้วิจารณญาณของตนเอง
17 เลือกตามกลุ่มเพื่อนสนิท
18 เลือกตามใจพ่อแม่
19 เลือกเพราะครูแนะแนว
20 เลือกเพราะชอบสถาบัน

ชื่อ: เบอร์โทร:

You might also like