You are on page 1of 80

NON-IONIZING

RADIATION
Kittichai Wantanajittikul
Radiologic Technology, Associated Medical Science, CMU
Electromagnetic wave
WHAT IS NON-IONIZING RADIATION?

• คลืนแม่เหล็กไฟฟ้าใด ๆ
• พลังงานไม่พอทีจะทําให้ อิเล็กตรอน หลุดจากอะตอมหรือโมเลกุล
• พลังงานเพียงพอ แค่ กระตุน้ ให้อะตอมย้ายไปในระดับพลังงาน (state) ทีสูงกว่า

https://energywavetheory.com/photons/photon-interactions/

http://alevelphysics.org.uk/quantum.html
TYPES OF NON-IONIZING RADIATION

Wavelength Frequency, Energy


TYPES OF NON-IONIZING RADIATION

• Power Elec  ELF Wavelength Frequency, Energy

• Geophysics  VLF
• Radio Broadcast, RFID  LF, MF, HF, VHF
• Microwave, TV, Radar, RFID, Cell phone  UHF
• WIFI  SHF, EHF
• Infrared
• Visible light
• Near ultraviolet radiation
EXTREMELY LOW FREQUENCY (ELF)

• Range of radiation frequencies from 300 Hz to 3 kHz


• 3-300 Hz  การสือสารกับเรือดํานํา
• 300-3 kHz  การสือสารในเหมือง
• 50-60 Hz  ไฟบ้าน

https://www.ssupercable.com/category/infographic/
EXTREMELY LOW FREQUENCY (ELF)

• Effect  Distance & time


• ก่อมะเร็ง  จากการศึกษาไม่สามารถแสดงผลได้ชดั เจน
• ระบบสืบพันธุแ์ ละการคลอดบุตร  ไม่พบว่าการสัมผัสในระดับทีพบทัวไปในสิงแวดล้อม จะก่อให้เกิดผลผิดปกติ
ใดๆ ในด้านการเจริญพันธุแ์ ละความผิดปกติตอ่ บุตร
• ระบบเลือด, ภูมิคมุ้ กัน และต่อมไร้ทอ่  ไม่มีการศึกษาทีชัดเจนใดทีบ่งชีว่า การสัมผัสในระดับทีพบใน
ชีวิตประจําวัน จะทําให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพในด้านระบบเลือด ระบบภูมิคมุ้ กัน หรือระบบต่อมไร้ทอ่ ทีชัดเจน
• ระบบประสาทพฤติกรรมศาสตร์  คนทํางานสัมผัสสนามแม่เหล็กไฟฟ้าจะมีการฆ่าตัวตายมากกว่าปกติ และ
การศึกษาพบภาวะซึมเศร้าในประชากรทีบ้านอยูใ่ กล้สายส่งไฟฟ้าแรงสูง  จํานวนน้อยมาก ยังสรุปไม่ได้แน่ชดั
VERY LOW FREQUENCY (VLF)

• ช่วงความถี  3 kHz to 30 kHz


• การสือสารใต้นาํ
• ธรณีฟิสิกส์
• เครืองตรวจจับโลหะ
RADIO BROADCASTING
RADIO BROADCASTING
RADIO BROADCASTING

• Modulation
• Amplitude Modulation (AM)  30 kHz – 30 MHz
• Frequency Modulation (FM)  88 -108 MHz
AM FM
RADIO BROADCAST

• Amplitude Modulation (AM)  30 kHz – 30 MHz


• คุณภาพของเสียงไม่ดีนกั เพราะเกิดการรบกวนได้งา่ ย เช่น ถูกรบกวนจากสถานี
ข้างเคียง เครืองใช้ไฟฟ้า และทีสําคัญคือการรบกวนจากธรรมชาติ ได้แก่ เวลาฝนตก ฟ้า
แลบ ฟ้าผ่า สภาพอากาศทีแปรปรวน ทําให้เสียงขาดหายเป็ นช่วง ๆ
RADIO BROADCAST

• Frequency Modulation (FM)  88 -108 MHz


• คุณภาพเสียงดีเยียม ไม่เกิดสัญญาณรบกวนจากสภาพอากาศแปรปรวน แต่สง่ ได้ในระยะประมาณ
ไม่เกินประมาณ 150 กิโลเมตร ปั จจุบนั นิยมส่งในแบบสเตอริโอทีเรียกว่าระบบ FM Stereo
Multiplex ซึงเครืองรับวิทยุสามารถแยกสัญญาณออกเป็ น 2 ข้าง ลําโพงซ้ายขวา
FM Stereo Multiplex
RADIO FREQUENCY IDENTIFICATION (RFID)
RADIO FREQUENCY IDENTIFICATION (RFID)

• เทคโนโลยีในการบ่งชีแบบหนึง อาศัยคลืนวิทยุ โดยจะมีสว่ นประกอบสําคัญคือ เครืองอ่าน กับ


แท็ก โดยแท็กจะมีการส่งข้อมูลทีเป็ นเอกลักษณ์หรือหมายเลขประจําตัวออกมาเป็ นคลืนวิทยุเมือ
ถูกกระตุน้ ด้วยกระบวนการบางอย่างจากเครืองอ่าน
RADIO FREQUENCY IDENTIFICATION (RFID)

• องค์ประกอบหลัก
• ป้าย (Tag, Transponder)
• เครืองอ่านป้าย (Reader, Interrogator)
• ฮาร์ดแวร์ หรือ ระบบทีใช้ประมวลผล
RADIO FREQUENCY IDENTIFICATION (RFID)

• ป้าย (Tag, Transponder)


• Passive  ไม่จาํ เป็ นต้องใช้แหล่งจ่ายไฟจากภายนอก ไม่มีตวั ส่งสัญญาณ (transmitter) อ่านข้อมูลได้ในระยะสันๆ เท่านันไม่
เกิน 1 เมตร
• Active  อาศัยแหล่งจ่ายไฟจากภายนอก เพือจ่ายไฟให้วงจรทํางาน โดยมีตวั ส่งสัญญาณ ระยะการอ่านข้อมูลได้ประมาณ 100 เมตร
• Semi-passive  มีแหล่งจ่ายไฟจากภายนอกในการทํางาน แต่ใช้สาํ หรับส่วนอืน ๆ เช่น เสียงเตือน เซ็นเซอร์ ฯลฯ ยกเว้น ตัวส่ง
สัญญาณ อ่านข้อมูลได้ในระยะไกลกว่า passive เพราะ มีการกระตุน้ จาก battery ช่วย
RADIO FREQUENCY IDENTIFICATION (RFID)

• เครืองอ่านป้าย (Reader, Interrogator)


• มีหน้าทีทําการเชือมต่อกับป้ายเพือทําการอ่านหรือเขียนข้อมูลลงในป้ายโดยใช้สญ
ั ญาณวิทยุ
• ประกอบด้วย เสาอากาศ เพือใช้รบั -ส่งสัญญาณ, ภาครับ-ภาคส่งสัญญาณวิทยุ, วงจรควบคุมการอ่าน-เขียนข้อมูล
และส่วนทีติดต่อกับคอมพิวเตอร์
RADIO FREQUENCY IDENTIFICATION (RFID)

• เครืองอ่านป้าย (Reader, Interrogator)

7DJ
RADIO FREQUENCY IDENTIFICATION (RFID)

• ฮาร์ดแวร์ หรือ ระบบทีใช้ประมวลผล


• เป็ นส่วนทีจะทําการประมวลผลข้อมูลทีได้มาจากป้าย (Tag) หรือจะสร้างข้อมูลเพือส่งไปยังป้าย
(Tag)
• เป็ นทีเก็บระบบฐานข้อมูล
RADIO FREQUENCY IDENTIFICATION (RFID)

• ช่วงความถีใช้งานของ RFID
• LF (125 kHz)  รับส่งข้อมูลระยะใกล้ ความเร็วในการอ่านค่อนข้างช้า ใช้มากในระบบควบคุมการ
เปิ ดปิ ดประตู ระบบคียก์ าร์ด ระบบลงเวลาทํางาน บัตรสมาชิก และใช้งานทางด้านปศุสตั ว์
• HF (13.56 MHz)  ใช้มากในงานทางด้านไอที และงานทีต้องการความปลอดภัยสูง เช่น ใช้งาน
ในบัตรสมาร์ทการ์ดแบบไร้หน้าสัมผัส เช่น บัตรเงินสด บัตรเครดิต และบัตรโดยสารรถไฟฟ้า และ มีการใช้
งานเป็ นแท็กตามมาตรฐาน NFC สําหรับโทรศัพท์มือถือ และ ใช้งานเป็ นป้ายสินค้า
• UHF (860-960 MHz)  ใช้งานได้ในระยะทีไกลกว่าช่วงความถีอืน นิยมใช้งานเป็ นป้ายสินค้า
ตามมาตรฐาน EPC (ใช้งานแทนระบบบาร์โค้ด)
RADIO FREQUENCY IDENTIFICATION (RFID)

• การประยุกต์ใช้งาน RFID
• อุตสาหกรรมรถยนต์  ติดตามส่วนประกอบรถยนต์ ก็จะประกอบไปด้วย การบริหารสินค้าคงคลัง การ
ป้องกันการขโมย การยืนยันตัวสินค้าว่าเป็ นของแท้ การแสดงตัวของรถยนต์แต่ละคัน การอนุญาตการเข้า-
ออก (การฝัง RFID ไว้กบั กุญแจ หรือ คียก์ าร์ดสําหรับเปิ ดประตูรถ)
RADIO FREQUENCY IDENTIFICATION (RFID)

• การประยุกต์ใช้งาน RFID
• การแพทย์  ติดทีตัว หรือ ฝังชินส่วน RFID เข้าใต้ผิวหนังของผูป้ ่ วย รูปร่างของเจ้าไมโครชิพนีจะมี
ขนาดเล็กเท่า เมล็ดข้าว เพือช่วยเก็บข้อมูลในทางการแพทย์ เช่น กรุป๊ เลือด การเกิดภูมิแพ้ ลักษณะเฉพาะ
ของผูป้ ่ วยแต่ละบุคคล เพือให้แพทย์ชว่ ยรักษาและวินิจฉัยให้ตรงกับโรคมากทีสุด อีกทังยังใช้ เป็ นรหัสส่วน
บุคคลของผูป้ ่ วย

https://synteksmart.en.made-in-china.com/product/ijOJTSXAEykY/China-
Professional-ISO11784-785-13-56-MHz-Capsule-RFID-Tag-Glass-Tube-Tag.html
https://medicalfuturist.com/rfid-implant-chip/
http://tristaramericas.com/5-exemplos-de-como-o-
rfid-esta-presente-no-nosso-dia-a-dia/medicine/
RADIO FREQUENCY IDENTIFICATION (RFID)

• การประยุกต์ใช้งาน RFID
• เกษตรกรรม  ใช้รว่ มกับเทคโนโลยี RFID เพือควบคุมเครืองให้อาหารแม่หมู ระบบจะควบคุมให้เครือง
ให้อาหารปล่อยอาหารมาตามปริมาณทีเหมาะสมกับแม่หมูแต่ละตัว โดยเช็คจากป้าย RFID สําหรับระบุ
หมายเลขประจําตัวของแม่หมูแต่ละตัว ซึงจะติดไว้ทีหูของแม่หมู เครืองอ่าน RFID บริเวณจุดให้อาหารทํา
หน้าทีรับสัญญาณจากแถบ RFID ทําให้รูว้ า่ แม่หมูทีเข้ามากินอาหารเป็ นแม่หมูหมายเลขใด

https://www.msah.com/services/dogs/dog-microchip
https://www.gsrfid.com/factory-making-rfid-metal-
https://nfctagfactorycom.wordpress.com/2018/09/05/rfid-pig- tag-injectable-microchip-rfid-glass-capsule-tag-for-
ear-tag-for-pig-breeding/ animal-id-tracking-gsrfid.html
RADIO FREQUENCY IDENTIFICATION (RFID)

• การประยุกต์ใช้งาน RFID
• การเข้าออกอาคาร, การจ่ายเงิน, e-passport
RADIO FREQUENCY IDENTIFICATION (RFID)

• RFID Blocking
RADIO FREQUENCY IDENTIFICATION (RFID)
RADIO FREQUENCY IDENTIFICATION (RFID)
MICROWAVE
MICROWAVE

• เตาไมโครเวฟ
• หลักการทํางาน แผ่คลืนย่านความถีไมโครเวฟ โดยปกติจะใช้ ช่วงความถี 2.45 GHz
ผ่านเข้าไปในอาหาร ทําให้โมเลกุลของนํา ไขมัน และ นําตาล ทีอยูใ่ นอาหารจะดูดซับพลังงาน
ของคลืนทีผ่านเข้าไป เกิดเป็ นความร้อนขึน
• โมเลกุลส่วนใหญ่นนเป็
ั นโมเลกุลทีมีขวไฟฟ้
ั า บวก และ ลบ เมือคลืนไมโครเวฟ ผ่านเข้าไป
โมเลกุลเหล่านีก็จะถูกเหนียวนํา และหมุนปรับเรียงตัวตามแนวของคลืน และเนืองจากคลืนมี
เปลียนแปลงสลับไปมา ทําให้โมเลกุลหมุนกลับไปมา เกิดความร้อนขึน
MICROWAVE

• ส่วนประกอบเตาไมโครเวฟ
• แมกนีตรอน
• ส่วนควบคุมแมกนีตรอน (โดยทัวไปใช้ ไมโครคอนโทรลเลอร์)
• ท่อนําคลืน หรือ เวฟไกด์ (waveguide)
• โลหะหมุน (ใบกวน)
• ช่องสําหรับอบอาหาร
• ประตูตู้
• ตาข่ายโลหะ (กรงฟาราเดย์)
MICROWAVE

• ข้อสงสัยเกียวกับการใช้เตาไมโครเวฟ
• คลืนไมโครเวฟตกค้างในอาหารได้หรือไม่?
 คลืนทีออกมาไม่ได้แตกตัวเป็ นอนุภาค ถ่ายเทพลังงาน แล้วก็สลายไป ไม่ตกค้างในอาหาร
• คลืนไมโครเวฟทําลายคุณค่าทางอาหารหรือไม่?
 ยังไม่มีหลักฐานยืนยันใดๆ อย่างชัดเจนว่า คลืนไมโครเวฟทําลายคุณค่าของอาหาร
MICROWAVE

• ข้อสงสัยเกียวกับการใช้เตาไมโครเวฟ
• แสงจากเตาไมโครเวฟเป็ นอันตรายต่อตาหรือไม่?
 ไม่ใช่แสงคลืนไมโครเวฟ เป็ นแสงไฟธรรมดาทีติดไว้ในตูใ้ ห้เรามองเห็นอาหารเท่านัน สามารถ
มองดูแสงนันได้
MICROWAVE

• ข้อสงสัยเกียวกับการใช้เตาไมโครเวฟ
• คลืนไมโครเวฟรัวไหลออกมาทําอันตรายกับผูใ้ ช้ได้หรือไม่?
 ประตูของเตาไมโครเวฟ มีตาข่ายกันอยู่ เรียกว่า “ลูกกรงฟาราเดย์” (ช่องของตาข่ายลูกกรงนี
เล็กกว่าความยาวคลืนไมโครเวฟ) คลืนจึงไม่สามารถลอดผ่านออกมา และไม่สามารถเจาะทะลุ
ทะลวงผ่านผนังตูแ้ ละฝาตูอ้ อกมาได้
MICROWAVE

• ข้อควรระวังในการใช้งานเตาไมโครเวฟ
• ระยะห่าง  อย่าอยูใ่ กล้ หรือแนบหน้าดูอาหารในเตาว่าเป็ น
อย่างไรบ้าง ควรยืนห่างเตาไมโครเวฟ ประมาณ 50-100 cm

Electromagnetic Pollution of the Environment Due Leakage Radiation from Microwave Ovens (Laura Floroian, 2019)
Evaluation of a Novel Thermal Accelerant for Augmentation of Microwave
Energy during Image-guided Tumor Ablation (William Keun Chan Park, 2017)
MICROWAVE

• ข้อควรระวังในการใช้งานเตาไมโครเวฟ
• ปริมาณอาหาร
• อาหารทีชินหนามากหรือใหญ่มาก  อาหารรวมเป็ น
กระจุกเดียว คลืนไมโครเวฟไม่สามารถผ่านเข้าไปถึงใจ
กลางของอาหารได้ ทําให้อาหารสุกได้ไม่เท่ากัน
• ปริมาณอาหารทีน้อยเกินไป  เมือมีอาหารน้อยเกินไปที
จะดูดซับคลืนไว้ได้ คลืนไมโครเวฟจะสะท้อนกลับ ทําให้เตา
ไมโครเวฟนันร้อน และเสียหายได้
MICROWAVE

• ข้อควรระวังในการใช้งานเตาไมโครเวฟ
• การต้มนํา  ระวัง superheating
• วิธีแก้  ภาชนะมีรอย ผิวขรุขระ, ใส่วตั ถุที
เข้าเตาได้ในแก้ว
MICROWAVE

• ข้อควรระวังในการใช้งานเตาไมโครเวฟ
• การเลือกภาชนะ  ควรเป็ นภาชนะทีมีคณ ุ สมบัตไิ ม่ดดู กลืนคลืนไมโครเวฟ เช่น แก้ว เซรามิก กระดาษ หรือ
พลาสติกชนิดทีระบุวา่ ใช้กบั เตาไมโครเวฟได้
TELEVISION BROADCASTING

• โทรทัศน์ (Television)
• การถ่ายทอดเสียงและภาพพร้อมกันจากทีหนึงไปยังอีกทีหนึง
• TV Transmission  เปลียนสัญญาณภาพและเสียงเป็ นคลืนแม่เหล็กไฟฟ้า
• TV Receiver  เปลียนคลืนแม่เหล็กไฟฟ้าเป็ นสัญญาณภาพและเสียง
TERRESTRIAL TV

• การส่งสัญญาณโทรทัศน์ภาคพืนดิน  ส่ง
คลืนสัญญาณไปในอากาศ เมือติดตังเสาอากาศ
แล้วต่อสายนําสัญญาณเข้าเครืองรับ ก็สามารถรับ
สัญญาณโทรทัศน์จากสถานีสง่ ได้ มีชว่ งความถีใช้
งานคือ VHF และ UHF
TERRESTRIAL TV

• ระบบการส่งสัญญาณโทรทัศน์ในประเทศไทย  ระบบโทรทัศน์ PAL ย่านความถี


VHF เต็มแล้ว ตังสถานีใหม่ใช้ UHF
ช่อ งความถีใช้งาน ย่านความถี ช่วงความถี
ช่อง 2-4 VHF 41 - 68 MHz
สถานีวิทยุ FM VHF 88 - 108 MHz
ช่อง 5-13 VHF 174 - 230 MHz
ช่อง 21-69 UHF 470 - 806 MHz
TERRESTRIAL TV

• ระบบสายอากาศเครืองส่งและรับวิทยุโทรทัศน์
• ระบบสายอากาศเครืองส่ง  มีขนาดใหญ่ ติดตังเป็ นแนวนอนหรือแนวตังก็ได้
• สําหรับการส่งสัญญาณโทรทัศน์ระบบ VHF ในประเทศไทย  แนวนอน
• เสาอากาศของเครืองส่งโทรทัศน์จะสูงมาก  คลืนแพร่กระจายไปได้ไกล โดยปราศจากสิงขวางกัน
ต่างๆ และให้ครอบคลุมพืนที เขตบริการมากทีสุดด้วย
TERRESTRIAL TV

• เสารับสัญญาณ
ANALOG TV VS DIGITAL TV

• Analog Television  ส่งแบบ AM และ FM ระบบสี 3


แบบ คือ NTSC, PAL และ SECAM
• Digital Television  ภาพและเสียงทีดีกว่าระบบ
Analog ระบบทีใช้คือ HDTV
SATELLITE TV

• การส่งสัญญาณโทรทัศน์ผา่ นดาวเทียม  เป็ นการ


ส่งสัญญาณโทรทัศน์โดยผ่านดาวเทียม คลืน 2
ประเภทหลักในการแพร่ภาพ
• C-band : 4-8 GHz  จานตะแกรงโปร่งสีดาํ
เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5 m ขึนไป
• Ku-band : 12-18 GHz  จานทึบ เส้น
ผ่านศูนย์กลาง 60-80 cm
CABLE TV

• การส่งสัญญาณโทรทัศน์ผา่ นช่องนําสัญญาณ  เป็ น


การส่งสัญญาณไปตามสายนําสัญญาณหรือสายเคเบิล
ไปยังเครืองรับโทรทัศน์ ซึงเป็ นการติดต่อโดยตรงระหว่าง
สถานีสง่ กับผูร้ บั สัญญาณ
• รวบรวมรายการจากแหล่งต่าง ๆ มารวมไว้ดว้ ยกัน ทังระบบ
C-BAND, KU-BAND และ ฟรีทีวี โดยนํามาจัด
ความถีให้เป็ นระเบียบ เพือส่งสัญญาณออกไปทางสายหรือ
คลืนสัญญาณตรงไปยังเครืองรับโทรทัศน์
INTERNET PROTOCOL TELEVISION (IPTV)

• การส่งสัญญาณโทรทัศน์ผา่ นอินเตอร์เน็ต  เป็ น


การส่งสัญญาณโทรทัศน์โดยผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
สามารถเปิ ดใช้งานและรับชมได้ดว้ ยเครืองคอมพิวเตอร์
ทีต่อผ่านระบบเครือข่าย
IPTV VS DIGITAL TV

• Digital TV  37 ช่อง
• IPTV  37 ช่อง + Internet
streaming
• NETFLIX, Spotify, HBO GO, iFLIX
• ข้อเสีย IPTV
• Internet ช้าหรือล่ม
• คุณภาพความชัดเจนของภาพ
• ลิขสิทธิภาพยนตร์ และการถ่ายทอดสด
MOBILE PHONE

• การสือสารสองทาง
CELL PHONE

• ระบบโทรศัพท์แบบรวงผึง (Cellular Mobile Telephone


System) หรือเรียกสันๆ ว่าโทรศัพท์เคลือนที (Cellular
Telephone)
K=7
• ไม่จาํ เป็ นต้องใช้เครืองส่งทีกําลังส่งสูงๆ สามารถนําความถีซําๆ มาใช้งานได้อีก
 เซลล์ทีติดกันจะใช้ยา่ นความถีทีแตกต่างกันป้องกันการเกิดสัญญาณรบกวน
แทรกสอด
• หากต้องการใช้โทรศัพท์เคลือนทีเพิมขึนก็จะแบ่งจํานวนเซลล์ออกแบบเป็ นเซลล์
ย่อย (Cell Splitting) ให้มากขึนตามต้องการได้
K = 19
CELL PHONE

• โครงสร้างพืนฐาน
• ตัวเครืองโทรศัพท์เคลือนที (Mobile Station ; MS)
• ระบบสถานีฐาน (Base Station ; BS)
• ตัวสถานีฐาน (Base Transceiver Station ; BTS)
• ส่วนควบคุมสถานีฐาน (Base Station Controller;
BSC)
• เครือข่ายโทรศัพท์พืนฐาน (Public Switched
Telephone Network ; PSTN)
CELL PHONE

• ขันตอนการทํางาน
• โทรศัพท์เคลือนที
• Stand by  ตรวจสอบหาสัญญาณจากช่องสัญญาณทีมีอยูใ่ นเซลล์นนโดยอั ั ตโนมัติ ปรับความถีให้ตรงกับช่องสัญญาณที
มีความแรงมากทีสุดของสถานีฐานทีอยูใ่ กล้ทีสุด คงสถานะไว้จนกว่าเครืองโทรศัพท์จะเคลือนทีไปยังพืนทีอืน
• Call  เครืองโทรศัพท์จะส่งสัญญาณออกไปให้กบั สถานีฐาน
CELL PHONE

• ขันตอนการทํางาน
• สถานีฐาน
• รับสัญญาณ เลือกช่องสัญญาณให้โดยอัตโนมัติ สถานีฐานจะเชือมต่ออยูก่ บั ชุมสายโทรศัพท์เคลือนที
• ควบคุมและเชือมต่อสัญญาณและต่อกันเป็ นระบบเครือข่ายโทรศัพท์เคลือนที หากเป็ นข้อมูลเลขหมายโทรศัพท์เคลือนที
• หากสัญญาณนันเป็ นเลขหมายของโทรศัพท์พืนฐาน  ส่งต่อเข้าไปเชือมต่อกับระบบชุมสายโทรศัพท์พืนฐาน (PSTN)

PSTN
CELL PHONE

• ขันตอนการทํางาน
• การเคลือนทีของโทรศัพท์เคลือนที  ระบบทราบระดับความแรงของสัญญาณวิทยุทีติดต่อกับเครืองโทรศัพท์เคลือนทีได้ ถ้าสัญญาณ
ตําลงมาก ระบบจะย้ายการเชือมต่อไปติดต่อกับสถานีฐานในเซลล์อืนซึงโทรศัพท์กาํ ลังเคลือนทีเข้าใกล้และมีการรับสัญญาณแรงทีสุด
เรียก Handoff หรือ Handover
CELL PHONE

• ภาพรวมของระบบโทรศัพท์เคลือนที
CELL PHONE

• ยุคของโทรศัพท์มือถือ: xG  x Generation
CELL PHONE

• 1G
• แรกสุดไม่ได้มีการกําหนด gen เริมมีตอน 3G
• ระบบ Analog
• ส่งแค่สญ
ั ญาณเสียง โทรออก/รับสาย
• ไม่รองรับการใช้งานจํานวนมาก
• เกิดการดักฟั งได้งา่ ย ไม่ปลอดภัย
CELL PHONE

• 2G
• เปลียนมาเป็ นระบบ Digital
• มีการเข้ารหัส ส่งทางคลืนไมโครเวฟ
• ปลอดภัยมากขึน
• เสียงคมชัดขึน รองรับผูใ้ ช้งานมากขึน
• ส่งข้อความ SMS
• ยุคเฟื องฟู
CELL PHONE

• 2.5G
• เทคโนโลยี GPRS
• จอสี
• รองรับสายเรียกเข้า polyphonic
• เล่น Internet ได้ ความเร็ว 115 kbps
CELL PHONE

• 2.75G
• เทคโนโลยี GPRS
• ส่ง MMS
• จอสี
• รองรับสายเรียกเข้า MP3
• เล่น Internet ได้ ความเร็ว 70-130 kbps
CELL PHONE

• 3G
• ออนไลน์ตลอดเวลา
• การสือสารผ่านการส่งข้อมูล
• VDO call, VDO conference
• Streaming
• Online game
• Download contents
CELL PHONE

• 4G
• พัฒนาทุกอย่างจากอดีต 1G 2G 3G ทําให้มี
ประสิทธิภาพมากขึน
• ความเร็วในการส่งข้อมูล 100 Mpbs
• ดูหนัง ฟั งแพลง ผ่าน ระบบได้
CELL PHONE

• 5G
• Internet of Things หรือ IoT
• ดาวน์โหลดวีดีโอ หนัง หรือแอปฯ ได้เร็วถึง 10,000 Mbps
• มีความถีสําหรับใช้งานมากกว่า
• รับรองจํานวนผูใ้ ช้งานในแต่ละพืนทีได้มากกว่า
CELL PHONE

• ผลการค้นคว้าเกียวกับอิทธิพลของคลืนโทรศัพท์มือถือ
• มะเร็ง
• คลืนแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วงคลืนไมโครเวฟ โดยองค์การอนามัยโลก  ความเสียงทีจะก่อให้เกิดโรคมะเร็งเพียงในระดับ 2B (อาจจะ
ก่อให้เกิดโรคมะเร็งได้ แต่อยูใ่ นระดับของความเป็ นไปได้ทีตํามาก)
• คลืนไมโครเวฟจากโทรศัพท์มือถือก็มีผลต่อสมอง ในแง่ทีทําให้สมองมีปฏิกิรยิ าตอบสนองต่อคําถามแบบ “ใช่” หรือ “ไม่ใช่” ได้รวดเร็ว
ขึน แต่ไม่มีผลต่อการทํางานของสมองในแง่อืน ๆ และยังไม่สามารถสรุปได้วา่ เป็ นอันตรายต่อสมอง
• เกิดเนืองอกในสมอง
• ผลส่วนใหญ่ไม่พบว่ามีอตั ราการใช้โทรศัพท์มือถือของผูป้ ่ วยโรคเนืองอกในสมองมากกว่าผูท้ ีไม่ได้เป็ นโรคนีแต่อย่างใด และการใช้
โทรศัพท์มือถือไม่ได้สง่ ผลให้มีแนวโน้มเกิดเนืองอกสมองมากขึน
• ศีรษะข้างทีได้รบั รังสีวทิ ยุจากโทรศัพท์มือถือบ่อยครังกว่าไม่ได้มีอตั ราการเกิดเนืองอกในสมองมากกว่าแต่อย่างใด
CELL PHONE

• ป้องกันอันตรายจากคลืนโทรศัพท์มือถืออย่างไร ?
• พยายามใช้โทรศัพท์คยุ เท่าทีจําเป็ นเท่านัน หรือใช้โทรศัพท์บา้ นแทน
• ใช้ลาํ โพงหรือหูฟังช่วยเพิมระยะห่างระหว่างโทรศัพท์มือถือและศีรษะ
• ใช้การส่งข้อความแทนการโทรศัพท์คยุ
• อาจเลือกใช้โทรศัพท์มือถือทีมีอตั ราการดูดซับรังสีคลืนวิทยุเข้าสูร่ า่ งกายของผูใ้ ช้งานตํา หรือทีเรียกว่าค่า
SAR (Specific Absorption Rate) ซึงจะส่งผลให้มีปริมาณรังสีทีถูกดูดซับเข้าสูร่ า่ งกาย
น้อยกว่าโทรศัพท์มือถือทีมีคา่ SAR สูงกว่า
WIRELESS FIDELITY (WI-FI)

• WI-FI  ชุดผลิตภัณฑ์หรืออุปกรณ์ทีสามารถ
เชือมต่อกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบไร้สายได้
• Wireless LAN (WLAN)  การติดต่อสือสารระหว่าง
เครืองคอมพิวเตอร์กบั อุปกรณ์เครือข่าย คอมพิวเตอร์ดว้ ย
กันเอง โดยปราศจากการใช้ส ายสัญญาณในการเชือมต่อ
• ใช้คลืนแม่เหล็กไฟฟ้า เพือรับส่งข้อมูล  ใช้ยา่ น คลืนวิทยุ
(SHF, EHF) หรือ Infrared ก็ได้
WIRELESS FIDELITY (WI-FI)

• ลักษณะการเชือมต่อของอุปกรณ์
• Infrastructure  อุปกรณ์ 2 ประเภท
• สถานีผใู้ ช้ (Client Station)
• สถานีแม่ขา่ ย (Access Point)
WIRELESS FIDELITY (WI-FI)

• ลักษณะการเชือมต่อของอุปกรณ์
• Ad-Hoc เชือมต่อแบบ Peer-to-Peer
ประหยัด โดยมีเพียงการ์ดเครือข่ายไร้สาย และ
คอมพิวเตอร์อย่างน้อย 2 เครือง
WIRELESS FIDELITY (WI-FI)

• WIFI อันตราย?
INFRARED (IR)

• เป็ นคลืนแม่เหล็กไฟฟ้า  ทีมีความถีตังแต่ 1011 – 1014 Hz


(700 nm - 1 mm) ซึงตามองไม่เห็นแต่สามารถรับรูถ้ งึ
ความร้อนทีเกิดขึนได้
• แบ่งช่วงความยาวคลืนได้เป็ น 3 ช่วงคือ
• รังสีอินฟราเรดช่วงคลืนสัน (SIR, NIR)
• รังสีอินฟราเรดช่วงคลืนกลาง (MIR)
• รังสีอินฟราเรดช่วงคลืนยาว (LIR, FIR)
INFRARED (IR)

• รังสีอินฟราเรดช่วงคลืนสัน (NIR) ความยาว


คลืนประมาณ 0.7 m – 1.5 m  ใช้
ในงานถ่ายภาพความร้อน
INFRARED (IR)

• รังสีอินฟราเรดช่วงคลืนกลาง (MIR) ความ


ยาวคลืนประมาณ 1.5 m – 5.6 m
 ใช้กบั ระบบนําวิถีของจรวด Missile
INFRARED (IR)

• รังสีอินฟราเรดช่วงคลืนยาว (LIR, FIR)


ความยาวคลืนประมาณ 5.6 m-1000
m มีพลังงานความร้อนไม่มาก  ใช้ในการ
บําบัดผูป้ ่ วย เช่น อาการปวดเมือยเรือรัง และ
ผูป้ ่ วยด้วยโรคความดันโลหิต รวมถึงการควบคุม
นําหนัก เป็ นต้น
INFRARED (IR)

• การประยุกต์ใช้อินฟราเรดในชีวิตประจําวัน อืนๆ
• กล้องถ่ายรูปใช้กลางคืน และกล้องส่องทางไกลทีใช้ในเวลา
กลางคืน แสดงภาพความร้อน เพิมความปลอดภัยเวลาขับ
รถในเวลากลางคืน
• รีโมทคอนโทรลในเครืองใช้ไฟฟ้า
• เครืองกําเนิดความร้อนทัวไป เช่นเตาแก๊สอินฟราเรดใน
ครัวเรือน
VISIBLE LIGHT
ULTRAVIOLET (UV)

• รังสีเหนือม่วง  คลืนแม่เหล็กไฟฟ้า ความยาวคลืนในช่วง


100~400 nm แบ่งเป็ น
• UVA : ความยาวคลืน 320-400 nm : ไม่ถกู ดูดซับจาก
ชันบรรยากาศทีห่อหุม้ โลก คนเราจึงได้รบั รังสีชนิดนีมากกว่าชนิด
อืน ๆ
• UVB : ความยาวคลืน 290-320 nm : ชันบรรยากาศที
ห่อหุม้ โลกดูดซับรังสีชนิดนีไม่ได้ทงหมด
ั ทําให้มีบางส่วนตกลง
มายังพืนโลก
• UVC : ความยาวคลืน 220-290 nm : ชันบรรยากาศ
โลกสามารถดูดซับรังสียวู ีซีจากธรรมชาติไว้ได้ทงหมด
ั รังสีชนิดนีจึง
ไม่ตกลงมายังพืนโลก
ULTRAVIOLET (UV)

• ทีมาของรังสียวู ี
• การแผ่รงั สีของดวงอาทิตย์
(solar radiation)
• แหล่งทีมนุษย์สร้างขึน
(artificial sources)
ULTRAVIOLET (UV)

• Advantage
ULTRAVIOLET (UV)

• Disadvantage
• อันตรายต่อผิวหนัง
• ป้องกัน  หลีกเลียงการโดนแดด
เป็ นเวลานานทาครีม
• อันตรายต่อดวงตา  ใส่แว่นทีมีเลนส์
ป้องกัน UV
SUN LIGHT

• Sun Light  UV (5%) + Visible light (45%) + Infrared (50%)

You might also like