You are on page 1of 38

เครื่องรับวิทยุ

ระบบ FM
สาระสาคัญ

• จากการที่การส่ งกระจายสี ยงระบบ AM ทาการส่ งกระจายเสี ยงในย่ านความถี่ 525 KHZ ถึง 1605 KHZ
ในย่ านความถี่ดังกล่ าว ดาเนินการมาในระยะเวลาหนึ่งสถานีวทิ ยุระบบ AM มีจานวนมากเป็ นลาดับ แต่ ละสถานี
ก็มีขอบเขตความถี่ของตนเอง เมื่อมีการเพิม่ จานวนสถานีเพิม่ มากขึน้ ไปเรื่ อยๆ ปรากฏว่าจานวนสถานีไม่
สามารถจะเพิม่ ได้ อีกแล้ ว ถ้ าจะเพิม่ จะต้ องขยายย่ านความถี่ให้ สูงขึน้ จึงมีการพัฒนาส่ งย่ านความถี่ใหม่ เป็ น
การส่ งวิทยุระบบ FM จะมีย่านความถี่ที่สูงขึน้ มากกว่าเดิม คือ ความถี่ 88 MHZ ถึง 108 MHZ การส่ งวิทยุ
ระบบ FM คุณภาพของเสี ยงจะดีมากกว่าระบบ AM มาก ในปัจจุบันสถานีวทิ ยุระบบ FM มาครองตลาดทาให้
ระบบ AM จานวนสถานีลดลงไปมาก
บล็อกไดอะแกรมเครื่องรับวิทยุ FM

➢ คล้ ายกับบล็อกไดอะแกรมของระบบAM เพราะเป็ น


เครื่ องรับแบบซุปเปอร์ เฮทเทอโรดายน์ เหมือนกัน

➢ แตกต่ างกันเฉพาะในเรื่ องความถี่ที่แตกต่ างกัน


ภาคจูนเนอร์ (Tuner)

➢ ภาคจูนเนอร์ (Tuner) หรื อ ฟร้ อนท์ เอ็นด์ (Front End) จะเป็ นภาคแรกของเครื่ องรับ ระบบ FM
➢ โดยจะบรรจุในกระป๋องหรื อกล่องโลหะ เพื่อป้องกันสัญญาณรบกวนต่าง ๆ ที่จะเข้าสู่ ภาคจูนเนอร์
➢ จะคล้ ายกับวงจรอาร์ -เอฟ คอนเวอร์ เตอร์ ในระบบ AM
การทางานของจูนเนอร์

➢ เลือกรับสั ญญาณความถี่ย่าน FM (วงจรจูนที่ 1)

➢ การส่ งความถี่ย่าน FM คือ 88 MHZ - 108 MHZ วิธีเลือกรับความถี่หรื อ เลือกรับสถานีใดสถานี


หนึ่ง คือจะใช้ วงจรจูน เมื่อเลือกสถานีที่ต้องการได้ แล้ วจะส่ งให้ ภาคอาร์ -เอฟ แอมปลิฟาย
ดาเนินการต่ อไป
1. ภาค อาร์-เอฟ แอมปลิฟาย
(RF Amplifier)

➢ นาเอาสั ญญาณที่ วงจรจูนที่ 1 เลือกรับเข้ามา ทาการขยายให้ มีกาลังของสั ญญาณสู งขึน้ แล้ ว


ส่ งสั ญญาณให้ ภาคมิกเซอร์ ต่ อไป
2. ภาคออสซิลเลเตอร์
(Oscillator) (วงจรจูนที่ 3)

➢ มีหน้ าที่สร้ างความถี่ขนึ้ มา ที่เครื่ องรับวิทยุ

➢ ความถี่ที่สร้ างจะมีเพียงความถี่เดียวและความถี่ทสี่ ร้ างจะสู งกว่ าความถี่ที่รับเข้ ามา 10.7


KHZ เสมอ เมื่อทาการสร้ างได้ แล้ ว โดย (วงจรจูนที่ 3) จะส่ งให้ ภาคมิกเซอร์ ต่อไป
3. ภาคมิกเซอร์ (Mixer)

ภาคมิกเซอร์ จะนาเอาสั ญญาณ 2 แหล่งมาดาเนินการ คือ

1. สั ญญาณจากภาคอาร์ -เอฟ แอมปลิฟาย


2. สั ญญาณจากภาคออสซิลเลเตอร์
3. ภาคมิกเซอร์ (Mixer)

1. สั ญญาณจากภาคอาร์ -เอฟ แอมปลิฟาย คือ วงจรนีจ้ ะเลือกรับสถานี เข้ามาด้ วยวงจรจูนที่ 1


แล้วดาเนินการขยายใน อาร์ -เอฟ แอมปลิฟาย ส่ งให้ วงจรจูนที่ 2 ถ่ ายทอดสั ญญาณไปยัง
ภาคมิกเซอร์ สัญญาณในส่ วนนีเ้ รียกว่ า สั ญญาณ RF
2. สั ญญาณจากภาคออสซิลเลเตอร์ คือ การทางานของวงจรจูนที่ 3 วงจรจูนจะสร้ างความถี่
สู งกว่ าความถี่ที่รับเข้ ามา 10.7 MHZ เสมอ สั ญญาณในส่ วนนีเ้ รียกว่ า สั ญญาณ OSC
3. ภาคมิกเซอร์ (Mixer)

ภาคมิกเซอร์ จะส่ งสั ญญาณจาก 2 แหล่ง จะมาดาเนินการในภาคมิกเซอร์


• ก่อให้ เกิดผลรวมของความถี่ เรียกว่า “ผลบวก”
• และหักล้าง (beat) ความถี่เรียกว่า “ผลต่าง”
ดังนั้น ผลจากการทางานจะก่ อให้ เกิดสั ญญาณที่เอาต์ พุตของภาคมิกเซอร์ 4 ความถี่
ภาคออสซิลเลเตอร์ (Oscillator)

➢ ภาคออสซิลเลเตอร์ จะทาหน้ าที่สร้ างความถี่ขนึ้ มาในเครื่ องรับวิทยุ การ สร้ างความถี่จะ


สร้ างสู งกว่ าความถี่เลือกกับเข้ ามา 10.7 MHZ เสมอ
หลักการสร้างความถี่

➢ จะต้ องสร้ างสู งกว่ าความถี่ที่เลือกรับเข้ ามา 10.7 MHZ เสมอ หรื อใช้ สูตรคานวณ
วงจรสร้างความถีอ
่ อสซิลเลเตอร์

➢ จะอาศัยการทางานของวงจรจูน หรื อ วงจรแท้งค์ (Tank) คือ ถ้าการคานวณออกมาว่ า ค่า


วงจรจูน รีโซแนนซ์ กับค่ าความถี่ใด ก็แสดงว่ า วงจรนั้นสร้ าง ความถี่ตามที่ค่าคานวณ
ได้ วงจรจูน จะประกอบไปด้ วยวงจรหลักเพียงอุปกรณ์ 2 อย่าง คือ คาปาซิเตอร์ (C) และ
ขดลวด (L)
ภาคมิกเซอร์ (Mixer)

➢ จะนาสั ญญาณจาก 2 แหล่ง มาดาเนินการตามขบวนการของมิกเซอร์ คือ TR2 ได้ มาจาก


1. จากภาค อาร์ เอฟ แอมป์ คือ TR1 คัปปลิง้ ผ่ าน C22 มาเข้าขาเบสของมิกเซอร์
2. จากภาคออสซิลเลเตอร์ คือ TR3 คัปปลิง้ ผ่าน C24 มาเข้ าขาเบสของมิกเซอร์
วงจร AFC
(Automatic Frequency Control)

➢ ในการปรับหาสถานีที่ต้องการรับ บางครั้งผู้ฟังนึกว่ าปรับตรงสถานีที่ต้องการรับมากที่สุดแล้ ว


เพื่อความเที่ยงตรงและถูกต้ องที่สุด ให้ ทดลองผลักสวิทซ์ AFC มาตาแหน่ ง “ON” การ ผลัก
สวิทซ์ มาตาแหน่ ง “ON” คือ ให้ เครื่ องดาเนินการปรับความถี่ที่ต้องการรับให้ ถูกต้ องอย่ าง
อัตโนมัติ หรื อแม่ นยายิง่ ขึน้ นั้นคือ ตรงความถี่ของสถานีที่ต้องการรับมากที่สุด
วงจร AFC
(Automatic Frequency Control)

➢ วิธีการของวงจร AFC คือ จะมีแรงไฟ AFC มาจากวงจร เอฟ – เอ็ม ดีเทคเตอร์ (FM
Detector) ถ้ าตรงสถานีรับมากที่สุดแรงไฟ AFC จะสู งสุ ด แรงไฟ AFC จะย้อนกลับมา
ควบคุมวาริแคป (Varicap) คือ D1
วงจร AFC
(Automatic Frequency Control)

➢ วาริแคป (Varicap) คือ อุปกรณ์ อเิ ล็กทรอนิกส์ ชนิดหนึ่งมีคุณสมบัติ คือ เมื่อนาแรงไฟดีซี


มาป้ อนหรื อต่ อเข้ าวาริแคปค่ าแรงไฟ ดีซีจะทาให้ ค่าความจุเปลีย่ นแปลงเหมือนคาปาซิ
เตอร์ ที่เปลีย่ นค่ าได้ ค่าคาปาซิสเตอร์ ของวาริแคปจะเปลีย่ นค่ าตามแรงไฟที่ป้อนให้ แก่ วาริ
แคป
➢ จากคุณสมบัติของวาริแคปนีเ้ องจะมาเปลีย่ นค่ าของวงจรจูนให้ ถูกต้ องอย่ างอัตโนมัติ โดย
อาศัยแรงไฟจากวงจร AFC (มาจากการทางานของภาค FM ดีเทคเตอร์ )
การทางานของวงจร AFC

➢ เมื่อผลักสวิทซ์ AFC ตาแหน่ ง “ON” แรงไฟดีซีจากวงจร AFC คือได้มาจากการ ทางาน


ภาคเอฟ-เอ็ม ดีเทคเตอร์ จะย้อนกลับผ่าน R 18 ผ่ าน R 11 มาต่ อเข้ าที่วาริแคป (D1) ทาให้
ค่ าของคาปาซิเตอร์ ของวาริแคป (เปลีย่ นค่ าได้ ) มีค่า ๆ หนึ่ง จะมีผลต่ อการสร้ างความถี่
ออส ซิลเลเตอร์ D1 จะต่ อระหว่ าง C28 และ C 26 จะพบว่ าวงจรนีจ้ ะต่ อไปยัง วงจร จูนที่
3 คือวงจรสร้ างความถี่ออสซิลเลเตอร์ (C11 และ L3) วิธีการนีจ้ ะทาให้ การรับสถานีที่
เลือก รับมีความถูกต้ องอย่ างอัตโนมัติ
การถ่ายทอดสัญญาณจากภาค อาร์ – เอฟ แอมป์
และจากการออสซิลเลเตอร์ สูภ
่ าคมิกเซอร์

➢ เมื่อวงจรออสซิลเลเตอร์ สร้ างความถี่


ได้ แล้ วจะ ต้ องถูกถ่ ายทอดไปยัง
ภาคมิกเซอร์

➢ จะพบว่า C24 จะทาหน้ าที่ คัปปลิง้ สู่


ภาคมิกเซอร์
ภาคมิกเซอร์

➢ จะนาเอาสัญญาณจาก 2 แหล่ง มาผสมกันหรื อรวมกัน เพื่อ ก่อให้ เกิดความถี่กลางหรื อความถี่


ไอ-เอฟ ในระบบ FM ความถี่ ไอ-เอฟ 10.7 MHZ
จุดประสงค์ของมิกเซอร์
1. กรรมวิธีของภาคมิกเซอร์ จะนาสั ญญาณจาก 2 แหล่ง มาผสมกันคือ จาก
- ภาค อาร์ -เอฟ แอมปลิฟาย (RF Amplifier)
- ภาค ออสซิลเลเตอร์ (Oscillator)
2. ถ่ ายทอดสั ญญาณจากภาคมิกเซอร์ ส่ ู ภาคขยาย ไอ-เอฟ ที่ 1 ไอ-เอฟ ทรานสฟอร์ เมอร์ 1 (IFT 1)
จะทาหน้ าที่กรองให้ เฉพาะความถี่ 10.7 MHz เท่ านั้นผ่ านวงจรไปได้ หมายความว่ าความถี่ต่าง ๆ
ที่มาปรากฏทางด้ าน Primary มีถึง 4 ความถี่ แต่ ปรากฏทางด้ าน Secondaryเพียงความถี่เดียว
คือ 10.7 MHZ
จุดประสงค์ของมิกเซอร์

3. การถ่ ายทอดสั ญญาณจากภาคมิกเซอร์ ส่ ู ภาคขยาย ไอ-เอฟ ที่ 1 ไอ-เอฟทรานสฟอร์ เมอร์ 1


(IFT 1) เป็ นการถ่ ายทอดหรื อคัปปลิง้ จากภาค มิกเซอร์ ส่ ู ภาคขยาย ไอ-เอฟที่ 1 คือ ขยาย ไอ-
เอฟ ที่ 1 คือความถี่ 10.7 MHz เท่ านั้น ที่จะไปดาเนินการขยายในภาคขยาย ไอ-เอฟที่ 1
อิเล็กทรอนิกส์จูนเนอร์

เนื่ องจากการพัฒนาวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ไม่ ว่าเกีย่ วกับอุปกรณ์ คุณภาพ ประสิ ทธิภาพในการ


ทางานสู งขึน้ และทันสมัยยิง่ ขึน้ แม้ แต่ จูนเนอร์ ไม่ ว่าจะเป็ นของเครื่ องรับโทรทัศน์ หรื อของวิทยุ
FM ก่ อนนี้ จะมีขนาดใหญ่ มาก ทุกวันนีถ้ ูกพัฒนามีขนาดเล็กลงมามาก ทั้งๆ ที่วงจรต่ างๆ ยังมี
เหมือนเดิม เพียงแต่ พฒ ั นาอุปกรณ์ ต่าง ๆ มีขนาดเล็กลง จนในที่สุดเมื่อจูนเนอร์ เสี ยโอกาสซ่ อมเกือบ
ไม่ มีเลย มีแต่ เปลีย่ นอุปกรณ์ สาเร็จรู ปทั้งชุด (กระป๋อง จูนเนอร์ )
วาริแคป (Varicap)

วาริแคป ไดโอด (Varicap Diode) หรื อ วาแร็คเตอร์ ไดโอด (Varactor Diode) เรียกชื่ อย่อว่ า
“วาริแคป” อุปกรณ์ ชนิดนีม้ าทาหน้ าที่แทน “วาริเอเบิล” โดยใช้ แรงดันมา เปลีย่ นค่ าการเก็บ
ประจุ เรียกว่ า แรงดันไฟจูนนิ่ง (BT) หรื อ (VT)
วาริแคป (Varicap)

วาริแคปก็เหมือนไดโอดทั่ว ๆ ไป เพียงแต่ สร้ างให้ บริเวณรอยต่ อของ PN (PN Junction)


มีค่าความจุของตัวเก็บประจุ โดยค่ าความจุสามารถเปลีย่ นแปลงได้ หรื อ สามารถเปลีย่ น
ค่ าได้ เมื่อเราป้ อนแรงเคลื่อนไฟฟ้า

*** สรุ ป วาริแคป คล้ายกับ คาปาซิเตอร์ ที่เปลีย่ นค่ าได้ เมื่อเราเปลีย่ นแรงไปที่ป้อนให้ แก่
วาริแคป
บล็อกไดอะแกรมอิเล็กทรอนิกส์จูนเนอร์

อิเล็กทรอนิกส์ จูนเนอร์ มาทาหน้ าที่แทนจูนเนอร์ แบบเดิมที่ศึกษาผ่ านมาแล้ ว โดยมีการนามาใช้


จูนหาสถานีวิทยุ AM และ FM ตลอดจูนเนอร์ ของโทรทัศน์ ในจูนเนอร์ เครื่ องรับวิทยุ FM
ประกอบด้ วย 3 ชุด คือ
1. วงจรจูน ชุดที่ 1 เลือกสถานีจะอยู่ก่อนการขยาย RF Amp
2. วงจรจูน ชุดที่ 2 เป็ นความถี่เอาต์ พุต ของวงจร RF Amp
3. วงจรจูน ชุดที่ 3 เป็ นวงจรจูนความถี่ออสซิลเลเตอร์
ภาคขยายไอ - เอฟ (IF Amplifier)

ระบบ FM จะนาสั ญญาณความถี่ ไอ-เอฟ 10.7 MHz มาทาการขยายทั้งส่ วนสู ง (Amplitude)


ของสั ญญาณและให้ ความกว้ างของสั ญญาณ ที่เรียกว่ า แบนด์ วิดท์ (Band Width) ผ่ านได้ ตลอด
ภาคขยาย ไอ-เอฟ จะมี 2-3 ภาค การมีภาคขยายมากแสดงถึงประสิ ทธิภาพ และคุณภาพของ
เครื่ องรับยิง่ มีภาคขยายมากย่อมหมายถึงประสิ ทธิภาพของเครื่ องรับนั้นๆ สู งขึน้ ตามไปด้ วย
ภาคขยายไอ - เอฟที่ 1 (IF Amp 1)

ภาคขยาย ไอ - เอฟที่ 1 จะนาเอาสั ญญาณ ความถี่ ไอ -เอฟ 10.7 MHZ มาทาการขยายให้ มีกาลัง
เพิม่ ขึน้ นั้นคือ การขยายกาลัง หรื อส่ วนสู งของสั ญญาณ และในขณะ เดียวกัน จะต้ องให้ ความกว้ าง
ของสั ญญาณหรื อแบนด์ วิดท์ ผ่ านได้ ตลอด
การขยายจะถูกควบคุมให้เป็นไปอย่างอัตโนมัติ

การขยายของวงจรไอ-เอฟที่ 1 จะถูกควบคุมให้ การขยายเป็ นไปอย่ างอัตโนมัติโดยจะ ต้ องนาเอา


แรงไฟ AGC เรียกว่ า IF-AGC แรงไฟ AGC จะได้ มาจากการทางานของภาค เอฟ เอ็ม ดีเทคเตอร์
(FM-Detector) แรงไฟ IF-AGC มาควบคุมแรงไฟเบสไบอัส เพื่อให้ การขยาย เป็ นไปอย่ างสม่าเสมอ
หมายถึง การรับสถานีใดๆ ในขีดความสามารถ ของเครื่ องรับ จะรับสั ญญาณ ได้
การขยายจะถูกควบคุมให้เป็นไปอย่างอัตโนมัติ

สถานีส่งวิทยุระบบ FM ย่อมจะมีระยะทางห่ างจากเครื่ องรับแตกต่ างกัน ดังนั้นจะส่ งผลให้ กาลัง


ของสั ญญาณแต่ ละสถานีย่อมแตกต่ างกันด้ วย เมื่อนาสั ญญาณไปขยายเสี ยง จะทาให้ ความดัง
แต่ ละสถานีย่อมต่ างกัน คือ บางสถานีจะดังมาก บางสถานีจะดังน้ อยลง วิธีจะแก้ ไขหรื อ ชดเชย
ให้ กาลังของแต่ ละสถานีกาลังใกล้ เคียงกัน จะนากาลังที่จะขยายเสี ยงส่ วนหนึ่งมากาหนดเป็ น
แรงไฟ AGC
การขยายจะถูกควบคุมให้เป็นไปอย่างอัตโนมัติ

เช่ น IF AGC ควบคุมการขยายของภาค ไอ – เอฟที่ 1


RF AGC ควบคุมการขยายของภาค อาร์ เอฟ แอมป์ ในจูนเนอร์
IF AGC จะถูกส่ งให้ ไปควบคุมการขยายของวงจรขยาย ไอ – เอฟที่ 1 โดยส่ งแรงไฟ
ไปรวมกับเบส จึงทาให้ การควบคุมการขยายของภาคขยาย ไอ – เอฟที่ 1 เป็ นไปอย่ าง อัตโนมัติ
สถานีที่มีกาลังเข้ามามาก สั ญญาณหลังภาค FM ดีเทคเตอร์ กจ็ ะมาก จะนาสั ญญาณมากาหนดเป็ น
แรงไฟ AGC ย้ อนกลับไปควบคุมการขยายของภาค ขยาย ไอ – เอฟ ที่ 1 ให้ การขยายลดลง จะส่ งผล
ให้ กาลังที่จะออกไปขยายเสี ยงลดลงด้ วย คือ มีระดับปานกลางหรื อ ระดับที่ต้องการ
การขยายจะถูกควบคุมให้เป็นไปอย่างอัตโนมัติ

• ถ้าสถานีทมี่ กี าลังเข้ามาน้ อย สัญญาณหลังภาค FM ดีเทคเตอร์ กจ็ ะน้ อย จะนาสัญญาณมา


กาหนดเป็ นแรงไฟ AGC ย้ อนกลับไปควบคุมการขยายของภาค ขยาย ไอ – เอฟ ที่ 1 ให้ การ
ขยายเพิม่ ขึน้ จะส่ งผลให้ กาลังทีจ่ ะออกไปขยายเสี ยงเพิม่ ขึน้ ด้ วย คือ มีระดับปานกลางหรื อ
ระดับทีต่ ้ องการ
• ดังนั้น แสดงว่ า กาลังของสั ญญาณแต่ ละสถานีทเี่ ครื่ องรับเลือกเข้ ามานั้น จะมาก น้ อย
อย่ างไรจะมีวงจรแก้ไขหรื อชดเชยให้ กาลังทีจ่ ะไปขยายเสี ยงทีม่ ขี นาดปานกลางหรื อระดับที่
ต้ องการเสมอ
การถ่ายทอดสัญญาณจากภาคขยาย ไอ - เอฟที่
1 สู่ภาคขยาย ไอ - เอฟ ที่
การถ่ ายทอดสั ญญาณจากภาคขยาย ไอ-เอฟที่ 1 สู่ ภาคขยาย ไอ-เอฟ ที่ 2 จะใช้ วิธีการ
ของทรานฟอร์ เมอร์ คัปปลิง้ (Transformer Coupling) นั้นคือ ไอ-เอฟ ทรานฟอร์ เมอร์
10.7 MHz คือ วงจรจูนของ ไอ-เอฟ ถูกกาหนดไว้ ที่ค่ารีโซแนนซ์ ที่ 10.7MHz ดังนั้น ความถี่ที่
จะผ่ าน ไอ-เอฟ ทรานฟอร์ เมอร์ จะมีค่าเท่ ากับ 10.7 MHz เท่ านั้นที่ผ่าน ได้ ความถี่ที่นอกจากนี้
จะไม่ สามารถผ่ าน ไอ-เอฟ ได้ เลย เป็ นการกลัน่ กรองเพื่อให้ ได้ ความถี่ที่ ผ่ านได้ คือ 10.7 MHz
อีกครั้งหนึ่ง
ภาคขยาย ไอ-เอฟ ที่ 2

สั ญญาณความถี่ ไอ-เอฟ 10.7 MHZ จากภาคขยาย ไอ-เอฟ ที่ 1 ถูกคัปปลิง้ มาสู่ ภาคขยาย
ไอ-เอฟที่ 2 ภาคขยายไอ-เอฟที่ 2 จะขยายกาลังของสั ญญาณ คือขยาย ส่ วนสู ง (Amplitude)
ของสั ญญาณให้ สูงขึน้ ขณะเดียวกันนั้นจะต้ องให้ ความกว้ าง (Band Width) คือ แบนด์ วดิ ท์
ผ่ านได้ ด้วย
ภาคขยาย ไอ-เอฟ ที่ 2

การถ่ ายทอดสั ญญาณจากภาคขยายไอ-เอฟที่ 2 ไปยัง เอฟ เอ็ม ดีเทคเตอร์ (FM Detector)


การถ่ ายทอดสั ญญาณจาก ภาคขยายไอ-เอฟที่ 2 ไปยัง เอฟ เอ็ม ดีเทคเตอร์ (FM Detector)
จะใช้ วิธีการของทรานสฟอร์ เมอร์ 10.7 MHZ ดังนั้นความถี่ที่จะผ่าน ไอ-เอฟ ได้ คือ 10.7 MHz
เท่ านั้น เพื่อส่ งให้ ภาคเอฟ เอ็ม ดีเทคเตอร์ (FM Detector)
วงจรภาคขยายไอ-เอฟ (IF Amplifier)

จากการที่ได้ ศึกษาหลัก และวิธีการทางานเบื้องต้ นของภาคขยาย ไอ-เอฟ มาแล้ ว ในบทเรียนนีจ้ ะให้


ศึกษาวงจรภาคขยาย ไอ-เอฟ วงจรขยาย ไอ-เอฟ ก็หมายถึงจะนาเอา สั ญญาณความถี่ ไอ-เอฟ 10.7
MHZ มาดาเนินการขยายเป็ นขั้นตอนที่ 1-2-3 ตามลาดับ ใน วงจรขยาย ไอ-เอฟ ระบบ FM
ภาคขยาย 1-2-3 แต่ ละภาควงจรคล้าย ๆ กัน โดยจะศึกษา ลาดับดังนี้
1. วงจรขยาย ไอ-เอฟ ใช้ ทรานซิสเตอร์
2. เซอร์ รามิคฟิ ลเตอร์ (Ceramic Filter)
เซอร์รามิคฟิลเตอร์ (Ceramic Filter)

เป็ นอุปกรณ์ นามาแทน ไอ-เอฟ ทรานสฟอร์ เมอร์ เช่ น เซอร์ รามิคฟิ ลเตอร์ ระบุไว้ ที่อุปกรณ์
ว่ า 10.7 MHZ แสดงว่ า เซอร์ รามิคฟิ ลเตอร์ จะยอมให้ เฉพาะความถี่ 10. 7 MHz ผ่ านได้ เท่ านั้น
และในเครื่ องรับโทรทัศน์ เซอร์ รามิคฟิ ลเตอร์ ระบุไว้ ว่า 5.5 MHZ ก็แสดงว่ า เซรามิคฟิ ลเตอร์
ตัวนั้น จะยอมให้ เฉพาะ 5.5 MHZ เท่ านั้นที่ผ่านได้
เอฟ – เอ็ม ดีเทคเตอร์ (FM Detector)

การดีเทคเตอร์ (Detector) หรื อ เรียกอีกชื่ อหนึ่งว่ า การดีมอดูเลเตอร์ (De-Modulator)


คือ จะทาการแยกสั ญญาณเสี ยง (AF: Audio frequency) ออกจากสั ญญาณคลื่นวิทยุ
(RF: Radio Frequency) หรื อคลื่นพาหะ (Carrier)

You might also like