You are on page 1of 30

มาตรฐานระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

มาตรฐาน ว.ส.ท. 03003-49

1
การติดตัง้ ระบบปรับอากาศและระบายอากาศเพือ่ ความปลอดภัย
ด้านอัคคีภยั

ขอบเขต
• หมวดนีค้ รอบคลุมการสร้าง ติดตัง้ ใช้งาน และบารุงรักษา ระบบปรับอากาศและระบาย
อากาศ ซึง่ รวมถึง แผงกรองอากาศ, ท่อลม และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อปกป้องชีวิตและ
ทรัพย์สินจากไฟ ควันและก๊าซจากเพลิงไหม้ หรือจากเหตุการณ์อื่นซึง่ คล้ายคลึงกัน

2
วัตถุประสงค์
ความต้องการขัน้ ต่าสาหรับความปลอดภัยจากเพลิงไหม้ มีวตั ถุประสงค์ดงั นี ้
• จากัดการกระจายของควันผ่านระบบท่อลมภายในอาคาร หรือเข้าสูอ่ าคารจากภายนอก
• จากัดการกระจายของไฟผ่านระบบท่อลมจากพืน้ ที่ที่เกิดเพลิงไหม้ ไม่ว่าจะอยูภ่ ายในหรือ
ภายนอกอาคาร
• คงไว้ซงึ่ ความสามารถในการป้องกันไฟของอาคารและส่วนประกอบเช่น พืน้ ผนัง หลังคา ที่
มีการติดตัง้ ระบบท่อลม
• จากัดให้มีแหล่งกาเนิดไฟและวัสดุติดไฟในระบบท่อลมน้อยที่สดุ
• อนุญาตให้ใช้ระบบท่อลมภายในอาคารเพื่อการระบายควันไฟในกรณีเพลิงไหม้ได้

3
ระบบปรับอากาศและระบายอากาศ

ความต้องการทั่วไปสาหรับอุปกรณ์
• ต้องจัดวางตาแหน่งอุปกรณ์ให้สามารถเข้าถึงได้เพื่อการตรวจสอบ บารุงรักษา และซ่อมแซม
• การติดตัง้ อุปกรณ์ตอ้ งมีการป้องกันเพื่อไม่ให้เกิดอันตรายกับบุคคลที่เข้าใกล้
• ต้องมีการป้องกันช่องสาหรับดูดลมของอุปกรณ์ เช่น การมีตะแกรงโลหะ เพื่อป้องกัน
อุบตั ิเหตุจากบุคคลหรือป้องกันวัสดุที่ไม่ตอ้ งการเข้าไปในระบบได้
• การเดินสายไฟและการติดตัง้ อุปกรณ์ไฟฟ้าต้องเป็ นไปตามมาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้า
สาหรับประเทศไทย (มาตรฐาน ว.ส.ท. 2001)

4
การติดตัง้ ควรเข้าซ่อมบารุ งได้โดยรอบ

5
อุปกรณ์ในระบบ

ช่องนาอากาศเข้าจากภายนอก
• ช่องนาอากาศเข้าจากภายนอกต้องอยูใ่ นตาแหน่งที่หลีกเลี่ยงการดูดวัสดุติดไฟหรือไอระเหย
ที่ติดไฟได้
• ช่องนาอากาศเข้าจากภายนอกต้องอยูใ่ นตาแหน่งที่มีอนั ตรายต่าที่สดุ จากการเกิดเพลิงไหม้
ในอาคาร
• ต้องป้องกันช่องนาอากาศเข้าจากภายนอกด้วยวัสดุที่ไม่ผกุ ร่อน
• ช่องนาอากาศเข้าต้องอยูใ่ นตาแหน่งที่หลีกเลี่ยงการนาไฟและควันไฟเข้าสูอ่ าคาร

6
ตาแหน่งท่อลมเข้าควรอยูส่ งู

7
อุปกรณ์ในระบบ

แผงกรองอากาศ
• แผงกรองอากาศต้องทาจากวัสดุไม่ลามไฟ
• สารเคลือบเหนียวสาหรับแผงกรองอากาศต้องมีจดุ วาบไฟไม่ต่ากว่า 163 องศาเซลเซียส
• แผงกรองอากาศและสารเคลือบเหนียว ต้องไม่ก่อให้เกิดมลพิษ กลิ่น หรืออันตรายในการใช้
งาน

8
อุปกรณ์ในระบบ

พัดลม
• ช่องทางลมเข้าของพัดลมต้องได้รบั การป้องกันไม่ให้วตั ถุแปลกปลอม กระดาษ หรือขยะ
สามารถเข้าไปได้
อุปกรณ์ทาความเย็น
• วัสดุที่ใช้ในการผลิตเครือ่ งส่งลมเย็นหรืออุปกรณ์ที่คล้ายคลึงกันจะต้องเป็ นไปตามข้อกาหนด
เรือ่ งวัสดุเสริมในระบบกระจายลม
• การติดตัง้ อุปกรณ์ทาความเย็นต้องเป็ นไปตามข้อกาหนด บทที่ 5 ข้อกาหนดด้านความ
ปลอดภัยสาหรับระบบการทาความเย็น หรือ ANSI/ASHRAE 15 Safety Standard for
Refrigeration Systems

9
การกระจายลม

ท่อลม
• ท่อลมต้องสร้างขึน้ จากวัสดุที่ไม่ติดไฟและไม่เป็ นส่วนที่ทาให้เกิดควันเมื่อเกิดเพลิงไหม้ เช่น
แผ่นเหล็กชุบสังกะสี แผ่นเหล็กดา แผ่นเหล็กไร้สนิม ทองแดง คอนกรีต
• ท่อลมต้องสร้างขึน้ ด้วยวัสดุที่เสริมความแข็งแรงและป้องกันการรั่วเพื่อให้เป็ นไปตามความ
ต้องการใช้งาน
• วัสดุที่ใช้สร้างท่อลมต้องเหมาะสมกับการสัมผัสอย่างต่อเนื่องกับอุณหภูมิและความชืน้ ของ
อากาศที่อยูใ่ นท่อลม

10
การกระจายลม

ท่อลมอ่อน
• วัสดุที่ใช้ทาท่อลมอ่อนต้องเป็ นวัสดุไม่ติดไฟ
• ห้ามใช้ทอ่ ลมอ่อนกับลมที่มีอณ ุ หภูมิสงู กว่า 120 องศาเซลเซียส
• ห้ามใช้ทอ่ ลมอ่อนยาวเกิน 4.00 เมตร
• ห้ามต่อท่อลมอ่อนผ่านผนังที่ตอ้ งทนไฟตัง้ แต่ 1 ชั่วโมงขึน้ ไป
• ห้ามต่อท่อลมอ่อนผ่านพืน้ ของอาคาร

11
การกระจายลม

วัสดุเสริมในระบบกระจายลม
• วัสดุเสริมที่ติดตัง้ ในระบบท่อลม เช่น ฉนวน วัสดุปอ้ งกันความชืน้ วัสดุดดู ซับเสียง เทปกาว
ต้องเป็ นวัสดุที่มีดชั นีการลามไฟไม่เกิน 25 และดัชนีการเกิดควันไม่เกิน 50
• วัสดุหมุ้ ท่อลมต้องไม่ตอ่ เนื่องผ่านผนังหรือพืน้ ที่ที่ตอ้ งการการทนไฟ
• วัสดุบภุ ายในท่อลม (Air Duct Lining) ต้องไม่ตอ่ เนื่องเข้าใกล้ลนิ ้ กันไฟ เพื่อไม่ให้เป็ น
อุปสรรคต่อการทางานของลิน้ กันไฟ
• วัสดุหมุ้ ท่อลมต้องไม่หมุ้ ปิ ดหรือเป็ นอุปสรรคต่อการใช้ช่องเปิ ดบริการท่อลม

12
การกระจายลม

ช่องลมออก
• ลมที่จ่ายไปยังพืน้ ที่ตา่ งๆต้องไม่มีสว่ นผสมของไอระเหยที่ติดไฟได้ วัตถุแขวนลอยในอากาศ
หรือฝุ่ น ในปริมาณหรือความเข้มข้นที่ก่อให้เกิดอันตราย
• ช่องลมออกต้องทาจากวัสดุที่ไม่ติดไฟ หรือวัสดุที่มีดชั นีการลามไฟไม่เกิน 25 และดัชนีการ
เกิดควันไม่เกิน 50
• ช่องลมออกต้องติดตัง้ อยูส่ งู จากพืน้ อย่างน้อย 0.10 เมตร
• หากช่องลมออกอยูส่ งู จากพืน้ น้อยกว่า 2.20 เมตร ช่องลมออกต้องมีการป้องกันด้วย
หน้ากากลม (Grille) หรือวิธีการอื่น

13
การกระจายลม

ช่องลมเข้า
• ห้ามหมุนเวียนลมกลับมาใช้จากพืน้ ที่ที่มีไอระเหยที่ติดไฟได้ วัตถุแขวนลอยในอากาศ หรือ
ฝุ่ น ในปริมาณหรือความเข้มข้นที่ก่อให้เกิดอันตราย
• ช่องลมเข้าต้องทาจากวัสดุไม่ติดไฟ หรือวัสดุที่มีดชั นีการลามไฟไม่เกิน 25 และดัชนีการเกิด
ควันไม่เกิน 50
• ช่องลมเข้าต้องติดตัง้ อยูส่ งู จากพืน้ อย่างน้อย 0.10 เมตร
• หากช่องลมเข้าอยูส่ งู จากพืน้ น้อยกว่า 2.20 เมตร ช่องลมเข้าต้องมีการป้องกันด้วยหน้ากาก
ลม (Grille) หรือวิธีการอื่น

14
การกระจายลม
กล่องลม (Plenum)
• ช่องว่างเหนือฝ้าเพดาน สามารถใช้เป็ นช่องส่งลมหรือช่องดูดลมจากพืน้ ที่ใช้งานได้ เมื่อ
ปฏิบตั ิตามข้อกาหนดเรือ่ งกล่องลม
• อุณหภูมิลมที่ผ่านช่องว่างเหนือฝ้าเพดานไม่เกิน 120 องศาเซลเซียส
• วัสดุในช่องว่างเหนือฝ้าเพดานที่สมั ผัสกับลมต้องเป็ นวัสดุที่ไม่ติดไฟ และมีดชั นีการเกิดควัน
ไม่เกิน 50
• ห้องเครือ่ งส่งลมเย็นสามารถใช้เป็ นเป็ นกล่องลมได้ แต่วสั ดุหมุ้ ท่อลมหรือฉนวน หรือวัสดุดดู
ซับเสียงที่ติดตัง้ ภายในห้องเครือ่ งส่งลมเย็นต้องมีคณ
ุ สมบัติตามข้อกาหนดเรือ่ งการกันไฟ

15
การกระจายลม

กล่องลม (Plenum) ต่อ


• ห้ามใช้หอ้ งเครือ่ งส่งลมเย็นที่ใช้เป็ นกล่องลมเป็ นพืน้ ที่เก็บของหรือเป็ นพืน้ ที่ใช้งานอื่น
• ช่องว่างใต้พืน้ ยก (Raised Floor) สามารถใช้เป็ นช่องส่งลมหรือช่องดูดลมจากพืน้ ที่ใช้งานได้
เมื่อปฏิบตั ิตามข้อกาหนดเรือ่ งกล่องลม
• อุณหภูมิลมที่ผ่านช่องว่างใต้พืน้ ยกไม่เกิน 120 องศาเซลเซียส
• วัสดุในช่องว่างใต้พืน้ ยกที่สมั ผัสกับลมต้องเป็ นวัสดุที่ไม่ติดไฟ และมีดชั นีการเกิดควันไม่เกิน
50

16
การกระจายลม

ระบบลมสาหรับทางเดินร่วม (Corridor Air System)


• ห้ามใช้ทางเดินร่วมที่ใช้เป็ นเส้นทางอพยพในสถานพยาบาลและที่พกั อาศัย เป็ นส่วนหนึง่
ของระบบลมจ่าย, ลมกลับ และลมระบายทิง้ สาหรับพืน้ ที่ที่อยูต่ ิดกับทางเดินร่วม
• ห้ามมีช่องเปิ ดสาหรับส่งผ่านลม (Air transfer opening) บนผนังหรือประตูที่กนั้ ระหว่าง
ทางเดินร่วมที่ใช้เป็ นเส้นทางอพยพกับพืน้ ที่ที่อยูต่ ิดทางเดินร่วม
• ห้ามใช้เส้นทางหนีไฟ (Exit) เป็ นส่วนหนึง่ ของระบบลมจ่าย, ลมกลับ และลมระบายทิง้
สาหรับพืน้ ที่อื่นๆของอาคาร

17
การประสานระบบกับอาคาร

ห้องเครือ่ งส่งลมเย็นที่มีทอ่ ลมต่อเข้ากับช่องเปิ ดแนวดิ่ง (Shaft) โดยตรง


• ห้องเครือ่ งส่งลมเย็นที่มีทอ่ ลมต่อเข้ากับช่องเปิ ดแนวดิ่งต้องจัดให้มีการแบ่งกัน้ ห้องกับช่อง
เปิ ดแนวดิ่ง ตลอดจนป้องกันช่องเปิ ดที่ตอ่ เชื่อมกับช่องเปิ ดแนวดิ่ง ด้วยวัสดุทนไฟ
ข้อยกเว้น
• ไม่ตอ้ งแบ่งกัน้ ห้องเครือ่ งและช่องเปิ ดกับช่องเปิ ดแนวดิ่งด้วยวัสดุทนไฟถ้าหากปิ ดล้อมห้อง
เครือ่ งส่งลมเย็นด้วยวัสดุทนไฟที่มีการทนไฟไม่นอ้ ยกว่าข้อกาหนดเรือ่ งพืน้ และช่องเปิ ด
แนวดิ่ง

18
การเจาะทะลุ – การปกป้ องช่องเปิ ด
(Protection of openings)
ผนังทนไฟ (Fire-Rated Walls or Partitions
• ท่อลมทะลุผ่านผนังทนไฟตัง้ แต่ 2 ชั่วโมงขึน้ ไปต้องติดตัง้ ลิน้ กันไฟ
พืน้ ทนไฟ (Floors Required to Have a Fire Resistance Rating)
• ท่อลมทะลุผ่านพืน้ ทนไฟต้องติดตัง้ ลิน้ กันไฟหรือต้องหุม้ (Enclose) ตามที่กาหนดในเรือ่ ง
ช่องเปิ ดแนวดิ่ง

19
ช่องเปิ ดแนวดิง่ (Shaft)

• ท่อลมทะลุผ่านพืน้ ของอาคารต้องหุม้ ด้วยผนังซึง่ สร้างด้วยวัสดุทนไฟ


• ผนังหุม้ ช่องเปิ ดแนวดิ่งต้องทนไฟได้ไม่นอ้ ยกว่า 1 ชั่วโมง สาหรับช่องเปิ ดแนวดิ่งที่อยูใ่ น
อาคารที่สงู น้อยกว่า 4 ชัน้
• ผนังหุม้ ช่องเปิ ดแนวดิ่งต้องทนไฟได้ไม่นอ้ ยกว่า 2 ชั่วโมง สาหรับช่องเปิ ดแนวดิ่งที่อยูใ่ น
อาคารที่สงู ตัง้ แต่ 4 ชัน้ ขึน้ ไป
• ในกรณีที่ทอ่ ลมทะลุผ่านพืน้ ของอาคารเพียงชัน้ เดียว สามารถใช้ลิน้ กันไฟแทนผนังหุม้ ได้

20
ช่องเปิ ดแนวดิง่ (Shaft) ต่อ

ช่องเปิ ดแนวดิ่งที่มีทอ่ ลมภายใน ห้ามมีสิ่งต่อไปนีอ้ ยูภ่ ายใน


• ท่อลมระบายควันหรืออากาศที่มีไขมันจากห้องครัวหรืออุปกรณ์ครัว
• ท่อลมใช้สาหรับอากาศที่มีสารระเหยติดไฟ สารกัดกร่อน
• ท่อลมใช้สาหรับขนถ่ายวัสดุ, ไอ หรือ ฝุ่น
• ช่องขนส่งผ้า
• ท่อ ยกเว้นท่อนา้ ที่ทาจากวัสดุไม่ติดไฟ ไม่มีอนั ตราย หรือ ไม่มีพิษ ทัง้ ขณะใช้งานปกติและ
เมื่อถูกไฟไหม้
• วัสดุติดไฟ

21
ช่องเปิ ดแนวดิง่ (Shaft) ต่อ

ช่องเปิ ดจากผนังหุม้ ช่องเปิ ดแนวดิ่งทัง้ แบบเปิ ดโดยตรงหรือโดยต่อท่อลมผ่าน ต้องติดตัง้ ลิน้ กันไฟ


ข้อยกเว้น
• สามารถทดแทนลิน้ กันไฟด้วยการติดตัง้ ท่อลมย่อย (Subduct) ที่ทาจากแผ่นโลหะ มี
ลักษณะเป็ นท่อลมที่หกั เลีย้ วขึน้ ด้านบนภายในช่องเปิ ดแนวดิ่ง โดยมีความสูงไม่นอ้ ยกว่า
0.55 เมตร และ ใช้สาหรับช่องเปิ ดแนวดิ่งที่สง่ ลมขึน้ ด้านบนเท่านัน้ ทัง้ นีช้ ่องเปิ ดแนวดิ่งต้อง
ได้รบั การกาหนดขนาดโดยเผื่อการติดตัง้ ท่อลมย่อยไว้แล้ว

22
23
ลิน้ กันไฟ ลิน้ กันควัน

ลิน้ กันไฟ
• ลิน้ กันไฟที่ใช้ปอ้ งกันช่องเปิ ดบนผนังหรือพืน้ ที่ทนไฟน้อยกว่า 3 ชั่วโมง ต้องมีอตั ราการทนไฟ
อย่างน้อย 1 ชั่วโมง 30 นาที ทดสอบตามมาตรฐาน UL 555 Standard for Safety Fire
Dampers
• ลิน้ กันไฟที่ใช้ปอ้ งกันช่องเปิ ดบนผนังหรือพืน้ ที่ทนไฟตัง้ แต่ 3 ชั่วโมงขึน้ ไป ต้องมีอตั ราการทน
ไฟอย่างน้อย 3 ชั่วโมง ทดสอบตามมาตรฐาน UL 555 Standard for Safety Fire Dampers

24
รูปตัดแสดงการติดตัง้
FIRE DAMPER

25
ลิน้ กันไฟ ลิน้ กันควัน

ลิน้ กันควัน
• ลิน้ กันควันที่ใช้ปอ้ งกันแนวกันควันหรือใช้ในระบบควบคุมควันต้องเป็ นชนิดที่ออกแบบมา
เพื่อใช้เป็ นลิน้ กันควัน โดยสามารถทนอุณหภูมิได้สงู และมีการรั่วซึมน้อย และต้องจัดเป็ นลิน้
กันควันตามมาตรฐาน UL 555S Standard for Safety Smoke Dampers

26
การติดตัง้ ลิน้ กันไฟ ลิน้ กันควัน

• ต้องแสดงตาแหน่งและลักษณะการติดตัง้ ของลิน้ กันไฟและลิน้ กันควันทัง้ หมดในแบบแปลน


ของอาคาร
• การติดตัง้ ลิน้ กันไฟต้องยึดติดกับผนังกันไฟอย่างมั่นคงแข็งแรง ในกรณีที่ทอ่ ลมเกิดการพัง
หรือยุบตัวระหว่างเกิดเพลิงไหม้ ลิน้ กันไฟจะต้องคงอยูใ่ นตาแหน่งเดิม
• การติดตัง้ ลิน้ กันไฟต้องมีช่องว่างเผื่อการขยายตัว 3 มิลลิเมตรต่อความกว้างหรือความยาว
ของลิน้ กันไฟ 0.30 เมตร
• ต้องจัดให้มีช่องเปิ ดบริการห่างจากลิน้ กันไฟหรือลิน้ กันควันไม่เกิน 0.60 เมตร

27
การควบคุม

การควบคุมด้วยมือ
• เครือ่ งส่งลมเย็น พัดลม และทุกๆระบบส่งลม ต้องจัดให้มีวิธีการควบคุมด้วยมือ เพื่อใช้ใน
การหยุดการทางานในกรณีฉกุ เฉิน
ลิน้ กันควัน
• ลิน้ กันควันต้องถูกควบคุมด้วยอุปกรณ์ส่งั การทางานอัตโนมัติ
• ลิน้ กันควันต้องสามารถควบคุมจากศูนย์ส่งั การไปยังตาแหน่งเปิ ดหรือปิ ดได้
• ลิน้ กันควันที่ติดตัง้ ในผนังกันควันสามารถเปิ ดค้างไว้ได้ โดยที่อปุ กรณ์ตรวจจับควันและ
มอเตอร์ขบั ลิน้ กันควันต้องพร้อมทางานตลอดเวลา

28
การตรวจจับควันสาหรับการควบคุมอัตโนมัติ

• อุปกรณ์ที่ตอ้ งปิ ดโดยอัตโนมัติจะต้องได้รบั การทดสอบปี ละหนึง่ ครัง้


• ต้องติดตัง้ อุปกรณ์ตรวจจับควันชนิดที่ใช้สาหรับระบบท่อลมในตาแหน่งดังนี ้
– ที่ตาแหน่งทางแยกลมแรก สาหรับระบบที่มีขนาดส่งลมมากกว่า 1,000 ลิตรต่อวินาที
– ที่ทกุ ชัน้ ก่อนจุดต่อเข้าท่อลมกลับร่วมที่ผ่านมากกว่า 1 ชัน้
• ไม่ตอ้ งติดตัง้ อุปกรณ์ตรวจจับควันในระบบลมกลับ ถ้ามีการติดตัง้ อุปกรณ์ตรวจจับควันใน
พืน้ ที่แล้ว

29
การตรวจจับควันสาหรับการควบคุมอัตโนมัติ

• ไม่ตอ้ งติดตัง้ อุปกรณ์ตรวจจับควันในระบบท่อลม ถ้าระบบท่อลมนัน้ ทาหน้าที่ระบายลมจาก


ภายในอาคารออกสูภ่ ายนอกอาคารเพียงอย่างเดียว
• อุปกรณ์ตรวจจับควันระบบปรับอากาศ ไม่จาเป็ นต้องส่งสัญญาณให้ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้
ของอาคารส่งสัญญาณเตือนเพื่ออพยพ
• ในกรณีที่อาคารไม่มีระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ อุปกรณ์ตรวจจับควันต้องแสดง
สัญญาณที่มองเห็นหรือได้ยินในพืน้ ที่ที่มีคนใช้งาน

30

You might also like